ce439 telecommunication

124
INFRASTRUCTURE Chapter 5 page 1 INFRASTRUCTURE Telecommunication CE439

Upload: not-my-documents

Post on 10-Apr-2015

236 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 1

INFRASTRUCTURE

Telecommunication

CE439

Page 2: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 2

ระบบโทรคมนาคม

โทรคมนาคม คือการขยายขอบเขตของการสื่อสารให้มีผลในระยะไกลการสื่อสารโทรคมนาคม อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ ดังนี้1. การสื่อสารที่เชื่อมต่อดว้ยสาย (Wired) เช่น โทรศัพท์พื้นฐาน เคเบิ้ล

ใยแก้ว (สัญญาณโทรทัศน์ หรือ อินเตอร์เนท) โทรเลข เป็นต้น2. การสื่อสารที่เชื่อมต่อแบบไร้สาย (Wireless) เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่

สัญญาณวิทยุ โทรทัศน์ วิทยุสื่อสาร ดาวเทียม เป็นต้น

Page 3: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 3

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เกิดจากการรวมตัวของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีโทรคมนาคม ดงัตอ่ไปนี้

- เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์- เทคโนโลยีเครือข่าย- เทคโนโลยีการส่งผ่านข้อมูล (Telecommunications Transmission

Technology)

Page 4: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 4

อุตสาหกรรมสารสนเทศ (The information industry )

เดิมการพิจารณาถึงกิจการโทรคมนาคม (Telecommunication) การกระจายภาพและเสียง (Broadcast) และ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์สามารถท าได้ไม่ยากนัก แต่ในปัจจบุันการแยกอย่างชัดเจนดังกล่าวไม่สามารถท าได้ง่ายนัก

การรวมตัวกันของการสื่อสาร (Communications) คอมพิวเตอร์ และการบันเทิงและสารสนเทศ (Information/Entertainment sectors) เป็นพื้นฐานในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นอยู่

Page 5: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 5

อุตสาหกรรมการสื่อสารและข้อมูล

สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union : ITU) ให้ค าจ ากัดความว่าอุตสาหกรรมการสื่อสารและข้อมูล (Info-communication Industry) จะรวมถึงภาคอตุสาหกรรมต่างๆ ดังต่อไปนี้

- ภาคโทรคมนาคม

- ภาคอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์

- ภาคโสตทัศนวัสดุ (Audio-visual)

Page 6: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 6

อุตสาหกรรมสารสนเทศ (ต่อ)

ปัจจุบันขนาดของภาคสารสนเทศ (Information Sector) ของโลกมีมูลค่าถึง 1,352 พันล้านเหรียญสหรัฐ สามารถแบ่งย่อยออกเป็นสี่ส่วนดังต่อไปนี้

- การบริการโทรคมนาคมและอุปกรณ์ (Telecommunication services and equipment)

- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การบริการและอุปกรณ์ (Computer software, services and equipment)

- การกระจายภาพและเสียงและอุปกรณ์ (Sound and television broadcasting and equipment)

- อุปกรณ์โสตทัศนวัสดุเพื่อการบันเทิง (Audio-visual entertainment)

Page 7: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 7

โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ

โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่ทันสมัยจะประกอบไป ด้วยเครือข่ายหลักประมาณ 6 เครือข่ายดังต่อไปนี้ 1. เครือข่ายโทรศัพท์ (Public Telephone Network)2. เครือข่ายระบบรวงผึ้งและเครือข่ายการสื่อสารเคลื่อนที่อื่นๆ (Cellular and

other mobile communications networks)3. การกระจายเสียงโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial broadcast television)4. เครือข่ายเคเบิลทีวี (Cable television networks)5. บริการดาวเทียมส่งตรงถึงบ้าน (Direct to home (DTH) satellite services)6. เครือข่ายอินเตอร์เนต (Internet)

Page 8: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 8

โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ (ต่อ)

สหรัฐฯ ได้ให้ความหมายของค าว่า “โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ” ใน “The National Information Infrastructure, Agenda for Action” (1993) : 1. เครือข่ายโทรคมนาคมที่สามารถเชื่อมต่อกันได้ (Interconnected) และใช้ร่วมกันได้ (Interoperable)

2. ระบบคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ โทรสาร โทรศัพท์ และเครื่องมือการสื่อสารอื่นๆ3. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) บริการสารสนเทศ (Information

Services) และฐานข้อมูล (Databases) เช่น ห้องสมุด เป็นต้น 4. บุคลากรที่ได้รับการอบรมที่สามารถสร้าง บ ารุงรักษา และสามารถใช้ระบบที่กล่าวมาได้

Page 9: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 9

การใช้โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศในการพัฒนาประเทศ

การน าโครงสร้างดงักล่าวมาประยุกต์ใช้งานต่างๆ ดงัต่อไปนี้ 1. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)2. ภาคอุตสาหกรรม3. สาธารณสุข4. การศึกษา5. ศิลปวัฒนธรรม6. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม7. การบริหารภาครัฐที่ดี8. การพัฒนาประชาธิปไตย

Page 10: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 10

โครงสร้างการบริการกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทย

Page 11: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 11

แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2548-2550

วิสัยทัศน์• ก ากับดูแลกิจการโทรคมนาคมของประเทศมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นธรรม โปร่งใส และเท่าเทียมกัน ควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยให้ทันสมัย มีคุณภาพ ทั่วถึง ในราคาที่เหมาะสม และสามารถปรับตัวทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 12: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 12

นโยบายคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

1. นโยบายการบริหารคลื่นความถ่ี• จัดสรรอย่างเป็นธรรมและใช้ประโยชน์คลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพ

เพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชนและประเทศชาติ

2. นโยบายการแข่งขัน • สนับสนุนให้ใช้กลไกของตลาด เพื่อให้เกิดการแข่งขันในกติกาที่เป็นธรรม

ในตลาดโทรคมนาคมและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง

3. นโยบายการออกใบอนุญาต• ออกใบอนุญาตโดยเน้นการแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็นธรรมและป้องกัน

การผูกขาด

Page 13: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 13

นโยบายคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (ต่อ)

4. นโยบายอินเตอร์เน็ต• ส่งเสริมการประกอบกิจการอินเตอร์ เน็ตให้แพร่หลาย โดยคิดค่า

ใบอนุญาตต่ าสุด หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมใบอนุญาต

5. นโยบายอนุญาตและก ากับดูแลการประกอบกิจการ• ก ากับดูแลประกอบกิจการให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม เพื่อให้

ค่าบริการโทรคมนาคม สามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาค และเพื่อให้มีคุณภาพดี

6. นโยบายการเชื่อมต่อโครงข่าย• สร้างกฎเกณฑ์การเชื่อมโยงโครงข่ายบนพื้นฐานของราคาต้นทุนที่เป็น

ธรรม

Page 14: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 14

นโยบายคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (ต่อ)

7. นโยบายเลขหมายโทรคมนาคม• จัดให้มเีลขหมายโทรคมนาคมอย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอส าหรับ

การขยายงานและโครงข่ายผู้ประกอบการ และจัดเลขหมายเฉพาะ เพื่อกิจการสาธารณประโยชน์ ความมั่นคงของประเทศ และการส ารองเลขหมายฉุกเฉิน

8. นโยบายการบริการโทรคมนาคมอย่างทั่วถึง• ผลักดันให้มีบริการโทรคมนาคมอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียมกันท่ัวประเทศ

Page 15: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 15

นโยบายคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (ต่อ)

9. นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม• ส่งเสริมเสริมอุตสาหกรรมให้สามารถแข่งขันในประเทศและต่างประเทศ

ได้ โดยสนับสนุนให้มีการวิจัย พัฒนา ผลิต ประกอบเครื่องอุปกรณ์ส่วนโทรคมนาคมในประเทศไทย

10. นโยบายคุ้มครองผู้บริโภค• ก าหนดมาตรการให้ผู้ใช้บริการสามารถเลือกบริการโทรคมนาคมได้อย่าง

หลากหลาย และมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานในราคาที่เป็นธรรม

Page 16: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 16

นโยบายคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (ต่อ)

11. นโยบายพัฒนาบุคลากร• ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาบุคลากร การปรับเปลี่ยนทัศนคติและ

วัฒนธรรมองค์กร โดยให้ทุนแก่บุคลากรท่ีมีศักยภาพไปฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาต่อ ท าวิจัย และ/หรือ ฝึกงานกับองค์กรก ากับดูแลในต่างประเทศ และเน้นเรื่องการท างานเป็นทีม และความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของบุคลากรและสนับสนุนบุคลากรที่มีความสามาถหรือผลงานให้ได้รับความก้าวหน้า

Page 17: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 17

หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดอันดับประเทศ

Page 18: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 18

E-readiness rankings

ที่มา: EIU & IBM Institute for Business Value

Page 19: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 19

Networked Readiness Index (WEF)

ท่ีมา: World Economic Forum

Page 20: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 20

Technological Infrastructure (IMD)

ที่มา: World Competitiveness Yearbook

Page 21: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 21

Network Readiness Index

จากการจัดระดับความพร้อมของโครงข่ายโทรคมนาคม (Networked Readiness Index: NRI) ในปี 2008-2009 ซึ่งจัดท าโดย World Economic Forum ประเทศไทยมีคา่ NRI อยู่ล าดับที่ 47 จาก 134 ประเทศ

Page 22: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 22

การจัดท าดัชน ีNRI นั้น จะพิจารณาปัจจยัหลักสามปัจจัย คือ 1. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม

- สภาพแวดล้อมของตลาด- สภาพแวดล้อมทางด้านนโยบายและการก ากับดูแล- สภาพแวดล้อมทางด้านโครงสร้างพืน้ฐาน

2. ความพร้อมในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร- ความพร้อมของประชาชน- ความพร้อมของภาคธุรกิจ- ความพร้อมของภาครัฐ

3. ปัจจัยด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจริง- การใช้งานของประชาชน- การใช้งานของภาคธุรกิจ- การใช้งานของภาครัฐ

Network Readiness Index (ต่อ)

Page 23: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 23

Network Readiness Index (ต่อ)

Page 24: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 24

ท าไมการจัดอันดับความสามารถด้าน ICT จึงสาคัญ ?

Page 25: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 25

ตัวชี้วัดส าคัญที่ประเทศไทยไดค้ะแนนน้อย

Page 26: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 26

ปัจจัยส าคญัที่ฉุดรั้งอันดับการพัฒนา ICT ของประเทศไทย

ความพร้อมด้านโครงสร้างพืน้ฐานสารสนเทศ ซึ่งยังมีไมเ่พียงพอและยงัแพร่กระจายไม่ทั่วถึง ท าใหก้ารพัฒนาและการใช้ประโยชน์ของ ICT เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ การพัฒนาธุรกิจ การใหบ้รกิารของภาครฐัไม่สามารถเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 27: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 27

นโยบาย IT และแผนแม่บท ICT ของประเทศไทย

Page 28: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 28

เส้นเวลาของ นโยบาย IT และแผนแม่บท ICT ของประเทศ

Page 29: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 29

แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 1

Page 30: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 30

นโยบาย IT 2010

Page 31: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 31

Vision 2020 is a Malaysian ideal introduced by the former Prime Minister of Malaysia, Mahathir bin Mohamad during the tabling of the Sixth Malaysia Plan in 1991. (พ.ศ. 2533)“Hopefully the Malaysian who is born today and in

the years to come will be the last generation of our citizens who will be living in a country that is called 'developing'. The ultimate objective that we should aim for is a Malaysia that is a fully developed country by the year 2020”.

Mahathir’s VISION 2020

Page 32: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 32

Malaysia should not be developed only in the economic sense. It must be a nation that is fully developed along all the dimensions: economically, politically, socially, spiritually, psychologically and culturally. We must be fully developed in terms of national unity and social cohesion, in terms of our economy, in terms of social justice, political stability, system of government, quality of life, social and spiritual values, national pride and confidence.

“1 Malaysia” People First. Performance Now.

Page 33: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 33

By the year 2020, Malaysia can be a united nation, with a confident Malaysian society, infused by strong moral and ethical values, living in a society that is democratic, liberal and tolerant, caring, economically just and equitable, progressive and prosperous, and in full possession of an economy that is competitive, dynamic, robust and resilient.

Malaysia As A Fully Developed Country

Page 34: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 34

นโยบาย IT 2010

Page 35: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 35

IT 2010 Flagships ‟ 5 E’s

Page 36: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 36

แนวทางการพัฒนาของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 1

Page 37: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 37

วิสัยทัศน์ของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 1

Page 38: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 38

เป้าหมายของการพัฒนา ICT

Page 39: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 39

ยุทธศาสตร์ของของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 1

Page 40: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 40

ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และผลลัพธ์ที่พึงประสงค์

Page 41: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 41

ล าดับของการด าเนินการตามยุทธศาสตร์

Page 42: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 42

สรุปเป้าหมายของนโยบาย IT2010

Page 43: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 43

ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของนโยบาย IT2010 ในปี 2549

ที่มา: รายงานการประเมนิผลงานตามกรอบนโยบายนโยบาย IT2010 ของประเทศไทย

Page 44: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 44

Technology Achievement Index : TAI Value (UNDP)

ที่มา: รายงานการประเมนิผลงานตามกรอบนโยบายนโยบาย IT2010 ของประเทศไทย

Page 45: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 45

ดัชนีผลสัมฤทธิ์ทางเทคโนโลยีของประเทศไทย

ที่มา: รายงานการประเมนิผลงานตามกรอบนโยบายนโยบาย IT2010 ของประเทศไทย

Page 46: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 46

แผนแม่บท ICT ของประเทศไทย ฉบับที่ 2

Page 47: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 47

แนวคิดในการจัดท าแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2

• ท าอย่างไรประเทศไทยจะแข่งขันได้ (ด้วย ICT) และท าอย่างไรประเทศไทยจะพึ่งพาตนเอง (ด้าน ICT) ได้มากขึ้น ?

• เราจะเพิ่มการใช้ประโยชนจ์าก ICT ให้มากกว่าท่ีผ่านมาได้อย่างไร !!!• เราจะสร้างความเชื่อมโยงระหว่างการพฒันา ICT กับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างไร !!!

Page 48: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 48

แนวคิดในการจัดท าแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 (ต่อ)

Our “weak” culture is our strengthจีน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ = strong culture

ดีด้านจัดการ แต่ไม่มีความสุข

Page 49: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 49

สรุปหลักการและประเด็นสาคัญของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2

• มีเป้าหมายในเชิงการพัฒนาสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

• สานความต่อเนื่องทางนโยบายจาก IT2010 และแผนแม่บทฯ (ฉบับที่ 1) ที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย

• เน้นแก้ไขจุดอ่อนที่สาคัญ 2 ประการเป็นล าดับแรก ได้แก่ การพัฒนาคน และการบริหารจัดการ ICT ระดับชาติ นอกจากนี้ ยังให้ความสาคัญกับการเร่งพัฒนาโครงข่ายความเร็วสูงให้มีการกระจายอย่างท่ัวถึงและราคาเป็นธรรมเนื่องจากเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ส าคัญส าหรับการพัฒนาในสังคมและเศรษฐกิจฐานความรู้และนวัตกรรมท่ีอาศัย ICT เป็นพลังขับเคลื่อนหลัก และเป็นสิ่งที่ประเทศไทยยังมีระดับการพัฒนาท่ีด้อยกว่าหลายๆ ประเทศ

Page 50: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 50

สรุปหลักการและประเด็นสาคัญของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2

• ให้ความสาคัญกับการพัฒนาที่มุ่งเน้นให้เกิดธรรมาภิบาล ทั้งในส่วนของการบริหารจัดการ ICT ระดับชาติ ที่ต้องบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล และการใช้ ICT ในภาครัฐ เพื่อช่วยสนับสนุนให้เกิดธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

„ ใช้แนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาท่ีสมดุลด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายในโดย

-เรง่พัฒนาคนให้มีความสามารถที่จะสร้างของเพื่อใช้เองได้ และพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศให้มีความเข้มแข็ง โดยการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา และการส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ในระยะยาว

- ค านึงถึงความพรอ้มด้านทรัพยากร และการใช้อย่างคุ้มค่า

Page 51: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 51

สรุปหลักการและประเด็นสาคัญของแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2

„ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาและการใช้ ICT เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและความได้เปรียบในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการที่ไทยมีศักยภาพ โดยเฉพาะในภาคการเกษตรการท่องเที่ยว และการบริการด้านสุขภาพ โดยใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมไทย และเอกลักษณ์ของไทย

Page 52: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 52

วิสัยทัศน์ของแผนแม่บท ICT

Page 53: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 53

วิสัยทัศน-์พันธกิจ-วัตถุประสงค์

Page 54: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 54

เป้าหมาย

• ประชาชนอย่างน้อย 50% สามารถเข้าถึงและใช้ ICT ได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน

• ยกระดับความพร้อมด้าน ICT ใน Networked Readiness Rankings ใหอ้ยู่ในกลุ่ม Top 25%

• มีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ต่อ GDP ไม่น้อยกว่า 15%

Page 55: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 55

ยุทธศาสตร์การพัฒนา

Page 56: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 56

ยุทธศาสตร์ที่ 1: พัฒนาก าลังคน

การพัฒนากาลังคนด้าน ICT และบุคคลทัว่ไปให้มคีวามสามารถในการสร้างสรรคผ์ลิต และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน (Information Literacy)

โดยสรุป.... ในช่วง 5 ปีของแผนฯ จะมุ่งเน้น• การเตรียมการด้านการศึกษาเพื่อสร้างรากฐาน/เตรียมคนไว้สาหรับการพัฒนาในอีก 5-10 ปีข้างหน้า

• สร้างทักษะของคนให้เก่งขึ้น โดยเน้น learning process and skill building เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม

Page 57: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 57

ยุทธศาสตร์ที่ 2: การบริหารจัดการ ICT อย่างมีธรรมาภิบาล

เป้าหมายสาคัญ ‟ “Leadership and Governance”• มีหน่วยงานกลางที่ท าหน้าที่เป็นองค์กรขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน ICT สามารถประสานให้เกิดการพัฒนาแบบบูรณาการ

• มีสภา ICT เพื่อเป็นตัวแทนของภาคเอกชนในการประสานนโยบายและท างานร่วมกับภาครัฐ

• มีกฎหมาย กฎระเบียบที่เอื้อต่อการใช้ ICT• มีกระบวนการจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เน้นการบูรณาการ ลดความซ้าซ้อน

Page 58: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 58

ยุทธศาสตร์ที่ 3: การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ICT

เป้าหมายสาคัญ ‟ “Broadband Infrastructure”• ทุกครัวเรือนและสถานประกอบการในจังหวัดศูนย์กลางความเจริญ สามารถเข้าถึงบริการเครือข่ายความเร็วสูง

• สถาบันการศึกษาระดับมัธยมขึ้นไป เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตท่ีความเร็วอย่างน้อย 10 Mbps

• ห้องสมุดประชาชน/ศูนย์การเรียนชุมชน/ศูนย์สารสนเทศชุมชน เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตท่ีความเร็วอย่างน้อย 4 Mbps

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้กระจายทั่วถึงไปสู่ประชาชนทั่วประเทศ

Page 59: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 59

ยุทธศาสตร์ที่ 3: การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ICT (ต่อ)

• สถานพยาบาลและสถานีอนามัยในชนบทห่างไกลทั่วประเทศเชือ่มต่ออินเทอร์เน็ตได้ที่ความเร็วอย่างน้อย 4 Mbps และมีระบบการแพทย์ทางไกลที่มีประสิทธิภาพและใช้ได้จริง

• มีระบบการแจ้งเตือน และการจัดการภัยพิบัติที่ทันสมัย ด าเนินการได้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล

• มีการจัดสรรทรัพยากรโทรคมนาคมและโครงข่าย ICT ที่ทันสมัย พร้อมบุคลากรในกิจการที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยสาธารณะ

Page 60: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 60

ยุทธศาสตร์ที่ 4: การใช้ ICT ในการบริหารจัดการภาครัฐ

เป้าหมายสาคัญ ‟ “Enhanced e-Services Delivery”• มีบริการพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็น single window ใช้บริการได้ผ่านสื่อหลายประเภท ออกแบบและพัฒนาโดยใช้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

• ทุกหน่วยงานมีช่องทางสาหรับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะผ่านบริการออนไลน์

• ยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพของ e-government services (ดูจาก e-government performance rankings)

การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ

Page 61: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 61

ยุทธศาสตร์ที่ 5: ยกระดับขีดความสามารถของอุตสาหกรรม ICT

เป้าหมายส าคัญ ‟ “Enhanced e-Services Delivery”• สัดส่วนของซอฟต์แวร์ที่ผลิตในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของมูลค่าตลาดในประเทศโดยรวม มูลค่าการส่งออกซอฟต์แวร์ของไทยเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2551 อย่างน้อยร้อยละ 30

• มูลค่าของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ภายในประเทศเติบโตเป็นไม่ต่ากว่า 100,000 ล้านบาท ภายในปี 2556

• มูลค่าของตลาดดิจิทัลคอนเท้นต์ ในประเทศเติบโตเป็นไม่ต่ากว่า 165,000 ล้านบาทภายในปีพ.ศ. 2556 โดยมีสัดส่วนที่ผลิตในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

ยกระดับขดีความสามารถในการแข่งขันของอตุสาหกรรม ICT เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้าประเทศ

Page 62: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 62

ยุทธศาสตร์ที่ 5: ยกระดับขีดความสามารถของอุตสาหกรรม ICT

เป้าหมายส าคัญ (ต่อ)• เพิ่มการลงทุนในการวิจัยด้าน ICT ของภาครัฐและเอกชนอย่างน้อยร้อยละ 15 จากปี พ.ศ. 2551

• มีเมืองที่เป็นศูนย์กลางการพัฒนา ICT ในระดับโลกในประเทศไทย• ผู้ประกอบการ ICT ไทยได้ท าโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐเพิ่มขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 20 จากปี พ.ศ. 2551

Page 63: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 63

ยุทธศาสตร์ที่ 6: การใช้ ICT เพื่อการแข่งขันที่ยั่งยืน

เป้าหมายส าคัญ ‟ Strengthen our “Niche”• ลดค่าใช้จ่ายด้าน logistics ตามที่ระบุในยุทธศาสตร์การพัฒนา Logistics ของประเทศไทย

• สัดส่วนสถานประกอบการ (เน้น SMEs) ที่เข้าถึงและใช้ ICT มากขึ้น• เพิ่มสถานประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และเพิ่มมูลค่าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศ• เพิ่มการจ้างแรงงานด้าน ICT เป็น 200,000 คน• ยกระดับ e-Readiness Rankings เพิ่มขึ้น 10 อันดับ

การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ขันอย่างยั่งยืน

เกษตร ท่องเที่ยว และบริการสุขภาพ

Page 64: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 64

ตลาดค้าปลีกบริการโทรคมนาคม

Page 65: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 65

ตลาดค้าปลีกบริการโทรคมนาคม

Page 66: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 66

จ านวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจ าที่

Page 67: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 67

การเข้าถึงการใช้บริการโทรศัพท์ประจ าที่

Page 68: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 68

ส่วนแบ่งตลาดของตลาดบริการโทรศัพท์ประจ าที่ ในปี 2551

Page 69: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 69

ค่าดัชนี HHI ของตลาดบริการโทรศัพท์ประจ าที่

Page 70: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 70

ดัชนี HHI

HHI คือ ดัชนีวัดระดับการแข่งขันในตลาดHHI < 1,000 ตลาดมีการแข่งขันแล้ว1,000 < HHI < 1,800 ตลาดมีการแข่งขันในระดับหนึ่งแต่เป็นไปได้ว่ามี

ผู้บริการรายใหญ่อยู่ในตลาดHHI > 1,800 ตลาดมีการกระจุกตัวHHI = 10,000 ตลาดนั้นเป็นตลาดผูกขาดมีผู้ให้บริการเพียงรายเดียว

Page 71: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 71

ค่าดัชนี HHI ของโทรศัพท์ประจ าที่ จ าแนกตามพื้นที่

Page 72: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 72

รายรับเฉลี่ยของผู้ให้บริการโทรศัพท์ประจ าที่ (TRUE)

Page 73: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 73

จ านวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

Page 74: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 74

จ านวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ - จ าแนกตามประเภท

Page 75: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 75

สัดส่วนมูลค่าการใช้บริการ Voice และ Non-voice

Page 76: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 76

สัดส่วนการใช้บริการ Non-voice บนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่

Page 77: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 77

ส่วนแบ่งตลาดของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ปี 2551

Page 78: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 78

ส่วนแบ่งตลาดของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2549-2551

Page 79: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 79

ส่วนแบ่งตลาดของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Post-paid

Page 80: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 80

ส่วนแบ่งตลาดของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Pre-paid

Page 81: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 81

ค่าดัชนี HHI ของตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบต่างๆ

Page 82: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 82

ค่าดัชนี HHI ของตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

Page 83: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 83

อัตราค่าบริการเฉลี่ยและรายรับเฉลี่ยต่อเดือนต่อเลขหมาย

ARPU - Average revenue per user

Page 84: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 84

อัตราค่าบริการเฉลี่ย Q3 2552

อัตราค่าบริการเฉลี่ยของ Industry เท่ากับ 1.25 บาท/นาที

Page 85: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 85

รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ Post-paid

Page 86: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 86

รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ Pre-paid

Page 87: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 87

การส่งเสริมการขายใหม่ของบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Q3 2552

Page 88: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 88

การส่งเสริมการขายใหม่ของบริการเสียงโทรศัพท์เคลื่อนที่

Page 89: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 89

อัตราค่าบริการเฉลี่ย

Page 90: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 90

จ านวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต

Page 91: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 91

จ านวนผู้ลงทะเบียนใช้บริการอินเทอร์เน็ต

Page 92: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 92

Domain under .th

Page 93: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 93

Internet Bandwidth in Thailand

IIG - การแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างประเทศNIX - การแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในประเทศ

Page 94: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 94

ส่วนแบ่งตลาดของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ปี 2551

Page 95: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 95

อัตราค่าบริการรายเดือนส าหรับบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง

Page 96: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 96

รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง

Page 97: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 97

ลักษณะการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในปี 2542

http://ntl.nectec.or.th/internet/map/1999/19990101-800x600.gif

Page 98: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 98

ลักษณะการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตภายในประเทศปี 2553

http://internet.nectec.or.th/internetmap/map/domesticmap/inetmap022010_domestic.png

Page 99: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 99

ลักษณะการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไปต่างประเทศปี 2553

http://internet.nectec.or.th/internetmap/map/internationalmap/inetmap022010_international.png

Page 100: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 100

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไปต่างประเทศ

http://www.hostingbangkok.com/images/internet-map.gif

Page 101: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 101

ตลาดค้าส่งบริการโทรคมนาคม (โครงข่ายและเกตเวย์)

Page 102: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 102

สัดส่วนมูลค่าจากการเชื่อมต่อโครงข่าย ไตรมาศที่ 3 ปี 2552

Page 103: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 103

สัดส่วนการใช้บริการข้ามโครงข่าย ไตรมาศที่ 3 ปี 2552

Page 104: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 104

สัดส่วนมูลค่าจากการเชื่อมต่อโครงข่ายตามผู้ให้บริการ

ไตรมาศที่ 3 ปี 2552

Page 105: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 105

เปรียบเทียบการมีโทรศัพท์ใช้ต่อประชากร 100 คน

ที่มา: ITU 2006

Page 106: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 106

เปรียบเทียบจ านวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตของประเทศต่างๆ

ที่มา: ITU 2006

Page 107: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 107

เปรียบเทียบค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Pre-paid

ที่มา: IMD World Competitiveness Year Book, 2007

Page 108: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 108

เปรียบเทียบค่าบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

ที่มา: IMD World Competitiveness Year Book, 2007

Page 109: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 109

โครงข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมของประเทศในปัจจุบัน

1. ระบบโครงข่ายสื่อสารผ่านดาวเทียมในวันที่ 1 เมษายน 2510 ประเทศไทยได้เริ่มใช้ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม INTELSAT II-F2 โดยเช่าสถานีภาคพื้นดินเป็นการชั่วคราวจากบริษัท RCA ติดต่อกับสถานีภาคพื้นดินฮาวาย ผ่านดาวเทียม INTELSAT ทางด้านมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นครั้งแรก เพ่ือให้บริการแก่ทหารอเมริกัน ซึ่งมาท าการรบในสงครามอินโดจีน

2. ระบบเคเบิลใต้น้ าใยแก้ว

Page 110: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 110

ระบบโครงข่ายสื่อสารผ่านดาวเทียม

1. โครงข่ายภายในประเทศเริ่มต้นจากการเช่าช่องสัญญาณดาวเทียมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย เช่น ดาวเทียมปาลาปา เอเชียแสท เพื่อใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จากกรุงเทพฯ ไปยังต่างจังหวัด กระทรวงคมนาคมได้ให้สัมปทานแก่บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จ ากัด (มหาชน) ด าเนินการส่งดาวเทียมไทยคม (Thaicom) ขึ้นสู่วงโคจรโดยมีอายุสัมปทาน 30 ปี (ปี 2534-2564)

2. โครงข่ายระหว่างประเทศประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกล าดับท่ี 49 ขององค์การอินเทลแซท (INTELSAT) เมื่อเดือนพฤษภาคม 2509 ใช้บริการดาวเทียมประเภทประจ าที่ (Fixed Satellite Service) ได้แก่ ดาวเทียมของ INTELSAT ไทยคม เป็นต้น และดาวเทียมประเภทเคลื่อนท่ี (Mobile Satellite Service) ได้แก่ ดาวเทียมของ INMARSAT เป็นต้น

Page 111: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 111

โครงข่ายดาวเทียมหลักที่ กสท. ใช้งานในปัจจุบัน

INTELSAT ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศในย่านมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทร แปซิฟิกINMARSAT ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์เครื่องลูกข่ายและโครงข่าย หรือชุมสายโทรศัพท์สาธารณะที่มีอยู่เดิมของประเทศ THAICOM ใช้ในการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้ภายในประเทศและ เชื่อมโยงกับสถานีแม่ข่ายเพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศได้

นอกจากนี้ กสท ยังได้เข้าร่วมลงทุนในโครงการสื่อสารดาวเทียมระบบอื่น ๆ อีกหลายโครงการ เช่น ASIA Cellular Satellite (ACeS), Global Star, Odyssey เป็นต้น

Page 112: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 112

ดาวเทียมประจ าที่ ที่ กสท. ให้บริการสื่อสารผ่านดาวเทียม

1. ดาวเทียม INTELSAT มีสถานี GATEWAY 3 แห่ง คือ - สถานีดาวเทียม ศรีราชา จ.ชลบุรี - สถานีดาวเทียม นนทบุรี จ.นนทบุรี - สถานีดาวเทียม สิรินธร จ.อุบลราชธานี2. ดาวเทียม THAICOM 1, 2, 5 บริการรับ-ส่ง สัญญาณ TV 3. ดาวเทียม Pan Am Sat บริการรับ-ส่ง สัญญาณ TV4. ดาวเทียม Asia Sat บริการรับ-ส่ง สัญญาณ TV5. ดาวเทียม ST-1 บริการรับ-ส่ง DATA6. ดาวเทียม JCSAT บริการรับ-ส่ง สัญญาณ TV

Page 113: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 113

สถานีดาวเทียม

กสท. มีสถานีดาวเทียมเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารท้ังในและระหว่างประเทศ จ านวน 3 แห่ง ได้แก่1. สถานีดาวเทียมศรีราชา เป็นสถานีดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ต าบลทุ่งสุขลา อ าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ลงนามในสัญญาก่อสร้างเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2510

2. สถานีดาวเทียมนนทบุรี ตั้งอยู่ที่อ าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เริ่มเปิดให้บริการโทรคมนาคมระหว่างประเทศเมือ่เดือนธันวาคม 2541 ส าหรับการให้บริการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมและบริการข้อมูลความเร็วสูง

3. สถานีดาวเทียมสิรินธร ตั้งอยู่ที่อ าเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อส่งเสริมการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการสื่อสารโทรคมนาคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มเปิดใช้งานครั้งแรกเมื่อปี 2543

Page 114: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 114

ระบบเคเบิ้ลใยแก้ว

Page 115: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 115

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าของประเทศไทย

DSCN (Domestic Submarine Cable Network)ระบบเคเบิลใต้น้ าใยแก้ว DSCN เป็นระบบเชื่อมโยงภายในประเทศ ระหว่างศรีราชา เพชรบุรี ชุมพร เกาะสมุย และ สงขลา มีความยาวทั้งสิ้น 887 กิโลเมตร เป็นระบบ 10 กิกะบิทต่อวินาที มีจ านวนช่องสัญญาณ 120,960 วงจร เปิดใช้งานเมื่อ 24 พฤษภาคม 2544

Page 116: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 116

ระบบเคเบิลใต้น้ าที่เชื่อมโยงไปต่างประเทศ

Page 117: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 117

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

บมจ.กสท. โทรคมนาคม ในฐานะตัวแทนประเทศไทยได้ร่วมลงทุน/ก่อสร้าง ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ ากับต่างประเทศ (International Submarine Cable Systems) ได้แก่

• TVH• APCN (Asia Pacific Cable Network )• FLAG• SEA-ME-WE 3 (South East Asia ‟ Middle East- Western Europe 3)• TIS• SEA-ME-WE 4• AAG

http://www.space.mict.go.th/activity.php?id=telecom

Page 118: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 118

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

TVH Cable เป็นระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ า ไทย-เวียดนาม-ฮ่องกง (T-V-H) เชื่อมโยงระหว่างไทย (ศรีราชา) เวียดนาม (วังเตา) และฮ่องกง (ดีพวอเตอร์เบย์) มีความยาว 3, 400 กิโลเมตร หรือประมาณ 1,835.85 ไมล์ทะเล (Nautical Mile) เป็นระบบ PDH ขนาด 560x2 Mbps. หรือมีจ านวนช่องสัญญาณ 7,560x2 วงจร เริ่มใช้งาน ธันวาคม 2538

Page 119: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 119

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

APCN (Asia Pacific Cable Network) เป็นระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ า เชื่อมโยงระหว่างประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน ฮ่องกง ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ มีความยาว 12, 000 กิโลเมตร หรือ ประมาณ 6, 480 ไมล์ทะเล (Nautical Mile) เป็นระบบ Synchronous Digital Hierachy (SDH) ขนาด 5 Gbps. หรือมีจ านวนช่องสัญญาณ 60,480 วงจรโดยใช้เทคโนโลยี Optical Amplifier (OA) เริ่มใช้งาน 9 มกราคม 2540

Page 120: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 120

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

FLAG EURO-ASIA เป็นระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าของบริษัท FLAG Telecom ซึ่งอยู่ในกลุ่มบริษัท Reliance Group มีระยะทางประมาณ 28,000 กิโลเมตร เชื่อมโยง 12 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ สเปน อิตาลี อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อินเดีย มาเลเซีย ไทย ฮ่องกง จีน เกาหลีใต้ และประเทศญี่ปุ่น มีจุดขึ้นบกที่ จ.สตูล และ จ. สงขลา ระบบนี้ใช้เทคโนโลยี Optical Amplifier (OA) และ SDH เช่นเดียวกับข่ายเคเบิ้ลใต้น้ า APCN เป็นระบบ 2 x 5 กิกะบิทต่อวินาที มีจ านวนช่องสัญญาณ 60,480 x 2 วงจร เริ่มใช้งาน 22 พฤศจิกายน 2540

Page 121: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 121

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

SEA-ME-WE 3 (South East Asia-Middle East-Western Europe 3) เป็นระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียเข้าด้วยกันกว่า 30 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ เยอรมัน เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส โปรตุเกส โมร็อกโก อิตาลี กรีซ ตุรกี ไซปรัส อียิปต์ จีบูติ ซาอุดิอาระเบีย โอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา พม่า ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเชีย ออสเตรเลีย บรูไน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเก๊า ฮ่องกง จีน ไต้หวัน เกาหลีและญี่ปุ่น ใช้เทคโนโลยี WDM (Wavelength Division Multiplex) ขนาด 10 Gbps หรือมีจ านวนช่องสัญญาณ 120,960 วงจร และสามารถพัฒนาได้สูงถึง 20 Gbps มีจุดขึ้นบกที่ จ.สตูล เริ่มใช้งาน สิงหาคม 2542

Page 122: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 122

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

TIS เป็นระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ า ไทย-อินโดนีเซีย-สิงคโปร์ เชื่อมโยงระหว่างไทย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ มีความยาว 1,100 กิโลเมตร เป็นระบบ 30 Gbps มีจ านวนช่องสัญญาณ 362,880 วงจร แต่สามารถเพิ่มความจุได้สูงสุดถึง 320 Gbps หรือเทียบเท่าวงจรโทรศัพท์ 3,840,000 วงจร เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยี OA, SDH และ Dense Wavelength Division Multiplex (DWDM) เริ่มใช้งาน พฤศจิกายน 2546

Page 123: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 123

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

SEA-ME-WE 4 (South East Asia-Middle East-Western Europe 4) เป็นระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านประเทศทางตะวันออกกลางกว่า 14 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส อัลจีเรีย ตูนีเซีย อิตาลี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ปากีสถาน ศรีลังกา อินเดีย บังกลาเทศ ซาอุดิอาระเบีย ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ มีระยะทางประมาณ 20, 000 กิโลเมตรใช้เทคโนโลยี DWDM (Dense Wavelength Division Multiplex) ที่มีความจุถึงระดับ 1.28 terabit per second โดยมีจุดขึ้นบกที่ จ.สตูล กสท. ร่วมลงทุนในโครงการนี้ 2,600 ล้านบาท ระบบนี้ก่อสร้างเสร็จในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2548

Page 124: CE439 Telecommunication

INFRASTRUCTUREChapter 5 page 124

ระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่มีจุดขึ้นบกที่ประเทศไทย

AAG (Asia-America Gateway) เป็นระบบเคเบิ้ลใยแก้วใต้น้ าที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชียไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา มีจุดขึ้นบก 10 แห่ง ดังนี้ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน กวม เวียดนาม ฮ่องกง ฟิลิปปินส์ ฮาวาย แคลิฟอร์เนีย มีระยะทางประมาณ 20,000กิโลเมตร ใช้เทคโนโลยี DWDM (Dense Wavelength Division Multiplex) รองรับ Bandwidth ได้สูงสุดถึง 1.92 Tb/s กล่าวคือในเวลา 1 วินาที เราจะสามารถส่งข้อมูลใน DVD ได้เกือบ 500 แผ่น หรือส่งผ่านสัญญาณ HDTV พร้อมกันถึง 130,000 สัญญาณโดยมีจุดขึ้นบกที่ ศรีราชา จ.ชลบุรี เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552