chiang mai zoo variety magazine | june 2014

10
MAGAZINE วารสารสวนสัตว์เชียงใหม่ ปีท่ 1 ฉบับที่ 7 วันที่ 15 มิถุนายน 2557 มิสเตอร์ ฮาโรลด์ เมสัน ยัง (Mr. Harold Mason Young) ผู้ก่อตั้งสวนสัตว์เชียงใหม่

Upload: chiang-mai-zoo

Post on 16-Mar-2016

221 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

TRANSCRIPT

Page 1: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

MAGAZINE

วารสารสวนสัตว์เชียงใหม ่ปีที่ 1 ฉบับที่ 7 วันที่ 15 มิถุนายน 2557

มิสเตอร์ ฮาโรลด์ เมสัน ยัง (Mr. Harold Mason Young) ผู้ก่อตั้งสวนสัตว์เชียงใหม่

Page 2: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

“สุขสันต์วันเกิดสวนสัตว์เชียงใหม่”

กรรณิการ์ จันทรังษี

ทีมงานบรรณาธิการ

บรรณาธิการ

37ปีถ้าเทียบเป็นอายุคนก็อยู่ในวัยกลางคนกำาลังขยันขันแข็งสร้างเนื้อสร้างตัวสร้างครอบครัวเช่นเดียวกับสวนสัตว์

เชียงใหม่ที่ได้ผ่านระยะเริ่มต้นคลานเดินและสะสมกำาลังวังชาที่จะก้าวกระโดดไปจนสามารถทัดเทียมสวนสัตว์นานาประเทศ

ได้จะสังเกตได้จากที่ผ่านมาสวนสัตว์เชียงใหม่ได้ตระเตรียมสถานที่อำานวยความสะดวกต่างๆให้สามารถรองรับรูปแบบการท่อง

เที่ยวที่หลากหลายมากขึ้น รวมไปถึงการวางรากฐานด้านงานอนุรักษ์ วิจัย และการให้การศึกษากับกำาลังของชาติ ควบคู่ไปกับ

การท่องเที่ยวอย่างสนุกสนานซึ่งมีความจำาเป็นที่จะทำาให้การท่องเที่ยวทางธรรมชาติมีความยั่งยืนมากที่สุดการท่องเที่ยวในสวน

สัตว์เชียงใหม่ จึงมิใช่การท่องเที่ยวเพื่อความรื่นรมย์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่เป็นการท่องเที่ยวที่สามารถปลูกฝังจิตสำานึกรักษา

ธรรมชาตินานาสัตว์ไว้ได้ด้วยและจะส่งผลเป็นอนาคตที่สดใสของประเทศไทยและของโลกสืบไป

2

Page 3: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

4

สารบัญ

สรรหามาเล่า

มหัศจรรย์สัตว์โลกซาวลา.....ยูนิคอร์นแห่งเอเชีย 4

ของดีในสวนสัตว์เชียงใหม่

เยี่ยมบ้านน้องเต่าในวันเต่าโลก 6

เรื่องเด่น เดือนนี้

เปิดบันทึกกำาเนิดสวนสัตว์เชียงใหม่ 8

ชุมนุมนักเขียน

นักเขียนฉบับนี้ 9

3

Page 4: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

สรรหามาเล่า | มหัศจรรย์สัตว์โลก ซาวลา.....ยูนิคอร์นแห่งเอเชีย

4

เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวที่สร้างความตื่นตะลึงให้กับวงการอนุรักษ์

สัตว์ป่าโลก นั่นก็คือ การที่ซาวลาซึ่งเป็นสัตว์ที่หายากที่สุดและมีสถานะ

ถูกคุกคามมากที่สุดในโลกขณะนี้ ได้ถูกบันทึกภาพด้วยกล้องดักถ่าย

ภาพสัตว์ที่บริเวณเทือกเขาอันนัมประเทศเวียดนาม โดยกองทุนสัตว์ป่า

โลกหรือWorldWildFund(WWF)และถือเป็นภาพซาวลาภาพแรก

ของศตวรรษที่21และเป็นความหวังใหม่ของการฟื้นคืนสายพันธุ์นี้เลยที

เดียว

ซาวลาคืออะไร มีหน้าตายังไง และอยู่แห่งหนไหนบนโลกใบนี้

ทำาไมจึงเป็นสัตว์ที่นักอนุรักษ์แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยกให้เป็นสัตว์

เทพเจ้า......ขอเชิญติดตาม.......

พ.ศ.2535ซาวลาหรือวัวหวู่กวางถูกค้นพบเป็นครั้งแรกระหว่าง

การลาดตระเวนสำารวจป่าหวู่กวางระหว่างกระทรวงป่าไม้เวียดนามและ

WWFโดยพบกะโหลกสัตว์ป่าที่มีเขายาวในบ้านนายพรานนับเป็นการ

ค้นพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่และเป็นชนิดใหม่ในรอบ 50 ปี

และนับเป็นการค้นพบสิ่งมีชีวิตที่มหัศจรรย์แห่งศตวรรษที่ 20 , พ.ศ. 2541 มีรายงานพบซาวลาในป่าเวียดนาม และ พ.ศ.

2542พบภาพซาวลาจากกล้องดักถ่ายภาพที่ประเทศลาวเป็นครั้งสุดท้ายที่มีรายงานการพบซาวลาในป่า

14ปีต่อมาเมื่อวันที่7กันยายนพ.ศ.2556WWFและทีมป่าไม้ของเวียดนามพบภาพของซาวลาจากกล้องดักถ่าย

ภาพ ที่เทือกเขาอันนัม ประเทศเวียดนาม ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในรอบศตวรรษที่ 21 เป็นการจุดประกายความหวังในการอนุรักษ์

สายพันธุ์ที่เกือบจะสูญพันธุ์ไปแล้วจากโลกนี้

ภาพของซาวลาจากกล้องดักถ่ายภาพที่เทือกเขาอันนัมประเทศเวียดนาม

Page 5: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

สรรหามาเล่า | มหัศจรรย์สัตว์โลก ซาวลา.....ยูนิคอร์นแห่งเอเชีย

5

Saola(sow-la)หรือวัวหวู่กวางเป็นสัตว์ที่อยู่ในตระกูล

เดียวกับวัว(FamilyBovidae)และเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวของ

GenusPseudoryxมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าPseusoryxnghet-

inhensisแปลว่าออริกซ์ปลอมแห่งป่าเหง่ตินมีลักษณะเด่นคือ

เขาเกลียวคู่ขนานกันมีปลายแหลมซึ่งสามารถมีความยาวได้ถึง

50เซนติเมตรมีเขาทั้งในตัวผู้และตัวเมียมีต่อมใต้ตาขนาดใหญ่

มีหนังคลุมเปิด-ปิดได้นำา้หนักประมาณ80-100kgสูง80

–90cmเขายาว35-50cmนิสัยชอบอยู่ตามลำาพังบางครั้ง

พบเป็นคู่หากินเวลากลางวันโดยเฉพาะช่วงเช้าตรู่ตั้งท้องนานประมาณ33สัปดาห์(เทียบกับสัตว์ใกล้เคียงพวกantelope)

ตกลูกครั้งละ1ตัวอายุขัยประมาณ8-9ปีอาหารได้แก่ใบไม้พืชสมุนไพรพบกระจายพันธุ์เป็นบริเวณเล็กๆในแถบเทือกเขา

อันนัมพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศลาวและเวียดนามมีถิ่นอาศัยอยู่ในบริเวณป่าดิบชื้นที่ความสูง400-1000เมตรจาก

ระดับนำา้ทะเล

เหมือนกับสัตว์ชนิดอื่นๆในโลก การดำารงชีวิตของซาวลา

ถูกคุกคามทั้งจาก การลักลอบล่าสัตว์อย่างผิดกฎหมาย โดยเฉพาะ

การติดบ่วงกับดักนายพรานที่ตั้งใจจะดักสัตว์ชนิดอื่นๆรวมถึงการ

สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยจากการบุกรุกทำาลายป่า เพื่อการสร้างถนน

สร้างเขื่อนการขยายพื้นที่เกษตรกรรมการทำาเหมืองการทำาป่าไม้

ปัจจุบันสถานภาพทางการอนุรักษ์ของซาวลาถูกจัดไว้ดังนี้

•IUCNredlist:CriticallyEndangered(CR)(2008)มีความ

เสี่ยงสูงที่จะสูญพันธุ์จากธรรมชาติ

•CITES:AppendixI(2009)

• Population : The IUCN SaolaWorkingGroupคาดคะเน

จำานวนประชากรซาวลาว่าน่าจะมีประมาณ200-300ตัวหรือ

อาจเป็นเพียงหลักสิบเท่านั้น

ข้อเท็จจริง

•ข้อมูลชีววิทยาเกี่ยวกับซาวลายังมีน้อยเนื่องจากจำานวนสัตว์มีอยู่น้อยและความยากในการเข้าถึงแหล่งอาศัยที่อยู่ในป่าลึก

•ข้อมูลที่มีอยู่ได้มาจากการศึกษาในซาวลาที่มีชีวิต2-3ตัวส่วนมากมาจากโครงกระดูกและคำาบอกเล่าจากคนพื้นถิ่น

•ซาวลาไม่สามารถรอดชีวิตในสภาพการเพาะเลี้ยงได้

• ซาวลา เป็นสัญลักษณ์หนึ่งที่แสดงถึงความหลากหลายทางชีวพันธุ์ของเทือกเขาอันนัม ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของ

สายพันธุ์หายากที่น่าพิศวง มีการค้นพบสัตว์ป่าหายากที่พบที่นี่เพียงที่เดียวเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นการค้นพบซาวลา เก้งอีกสอง

สายพันธุ์คือเก้งยักษ์(large-antleredmuntjac)และเก้งเจื่องเซินหรือเก้งอันนัม(theTruongSonmuntjac)ที่ถูกค้น

พบในป่าบริเวณเทือกเขาอันนัมในปี1994และ1997ตามลำาดับ

ที่มาของข้อมูล กองทุนสัตว์ป่าโลก(WWF),SaolaWorkingGroup(www.savethesaola.org)

www.ultimateungulate.com,www.arkive.org,www.iucn.org

เรื่องโดย สพญ.ขวัญเรือน ดวงสอาด | หัวหน้างานสุขภาพสตัว์

Page 6: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

ของดีในสวนสัตว์เชียงใหม่ | เยี่ยมบ้านน้องเต่า ในวันเต่าโลก

“เต่าเต่าเต่าเต่ามันมีสี่ขาสี่ตีนเดินมามันทำาหัวผลุบผลุบโผล่”ได้ยินน้องน้องเด็ก

น้อยอนุบาลร้องเพลงตอนมาร่วมงาน“วันเต่าโลก”ที่สวนสัตว์เชียงใหม่วันที่23-25พฤษภาคม

2557ที่ผ่านมาก็ให้นึกถึงว่าเต่าเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ชิดกับวิถีชีวิตคนไทยมาช้านานทำาบุญได้บุญมากอายุยืนต้องปล่อยเต่าแต่

ต้องระวังหน่อยต้องมีความรู้เกี่ยวกับเต่าด้วยถึงจะปล่อยเต่าถูกวิธีถ้าไม่มีความรู้จากได้บุญจะกลายเป็นทำาบาปฆ่าเต่าได้

เต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานในชั้น(Class)Reptiliaถูกจัดอยู่ในอันดับ(Order)Chelonia(หรืออันดับTestudines)

ปัจจุบันทั่วโลกมีทั้งหมด12วงศ์(Families)สำาหรับเต่าในประเทศไทยพบจำานวน6วงศ์คือ

1.วงศ์เต่าบก หรือเทอร์ทอยส์ หรือเทสทูดินิดี (Family: Testudinidae or Tertoises)

ได้แก่เต่าเหลือง,เต่าเดือย,เต่าหกเหลือง,เต่าหกดำาเป็นเต่าที่อาศัยบนบนเท่านั้น

กระดองด้านบนโค้งขาหลังหนามีรูปร่างคล้ายขาช้างขาหน้าแบนมีเกล็ดปกคลุมขนาดใหญ่

ไม่มีพังผืดระหว่างนิ้วเท้าเป็นเต่ากินพืชหญ้าดอกไม้ผลไม้

2.วงศ์เต่าหัวโต หรือวงศ์เพลททีสเทอรีดี

(Family: Platysternidae or Big head turtle)

ได้แก่เต่าปูลูเป็นเต่ากระดองค่อนข้างแบนมีหัวขนาดใหญ่จนไม่สามารถ

หดหัวเข้ากระดองได้พบอาศัยตามลำาธารนำา้ในภูเขาสูงเท่านั้นอยู่ในสถานภาพเสื่

ยงต่อการสูญพันธุ์

3.วงศ์เต่านำา้จืด หรือเบตากูริดี (Family:Bataguridae or Turtles)

ได้แก่เต่ากะอาน,เต่าลายตีนเป็ดหรือเต่าหัวแดง,เต่าหับ,เต่าแดงหรือ

เต่าใบไม้,เต่าหวาย,เต่าจักร,เต่าบัว,เต่านาไทย,เต่าปากเหลือง,เต่าทับทิม,เต่า

จัน,เต่าดำา,เต่าแก้มแดง เป็นเต่านำา้จืดมีพังผืดที่เท้าพบตามลำาธาร

4.วงศ์เต่ากระดองอ่อน หรือตะพาบ (Family:Trionychidae or Softshell

turtles)

ด้านบนปกคลุมด้วยกระดองอ่อนชอบซ่อนตัวใต้นำา้ในโคลนได้แก่

ตะพาบนำา้,ตะพาบม่านลายไทย,ตะพาบแก้มแดง,ตะพาบหับ,ตะพาบหัวกบ,

ตะพาบไต้หวัน

เต่าแต่ละชนิดมีแหล่งที่อยู่อาศัยเฉพาะที่เช่นพวกที่อยู่ในบริเวณปากแม่

นำา้จะไม่พบว่ามีอยู่ในบริเวณนำา้จืดที่ลึกเข้ามาในแผ่นดินมากหรือพบในทะเลลึก

เลยนอกจากนี้เต่าแต่ละชนิดยังกินอาหารแตกต่างกันดังนั้นประเพณีการปล่อย

เต่าเพื่อเอาบุญของคนไทยจึงมักเป็นการทำาบาปเสียมากกว่าเนื่องจากนำาเต่าไป

ปล่อยผิดที่ผิดทางทำาให้เต่าส่วนใหญ่ต้องตายเพราะไม่ใช่แหล่งที่อยู่อาศัยของมัน

และขาดอาหาร

เพื่อให้การทำาบุญไม่สูญเปล่าเรามารู้จักชนิดของเต่าในประเทศไทยกัน

หน่อยนะคะ

6

เต่าปูลู

เต่าเหลือง

เต่าแก้มแดง

ตะพาบหัวกบ

Page 7: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

ของดีในสวนสัตว์เชียงใหม่ | เยี่ยมบ้านน้องเต่า ในวันเต่าโลก

5.วงศ์เต่าทะเล หรือชีโลนิดี้

(Family:Cheloniidae or Sea Turtles)

ขาหน้าเปลี่ยนแปลงรูปร่างให้คล้ายกับครีบปลาให้เหมาะสำาหรับการว่าย

นำา้เป็นเต่าที่ไม่สามารถหดหัวเข้ากระดองได้ได้แก่เต่าตะนุ. เต่ากระ,เต่าหญ้า,

เต่าหัวโต

6.วงศ์เดอโมชีลิอิดี หรือเต่ากระดองหนัง (Family: Dermochelyidae or

Letherback Turtles)

เต่าทะเลที่มีหนังปกคลุมกระดองด้านบนมีเพียง1ชนิดคือเต่า

มะเฟืองลักษณะภายนอกสังเกตได้ง่ายจะมีกระดองหนังเป็นเหลี่ยมคล้ายผล

มะเฟืองจัดเป็นชนิดเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มาก

นักท่องเที่ยวสามารถเยี่ยมชมน้องเต่าหลากหลายสายพันธุ์ถึง27ชนิดมากกว่า300ตัวทั้งสายพันธุ์หายากใกล้สูญ

พันธุ์ในประเทศไทยอย่างเช่นเต่าหกดำาเต่าหกเหลืองและสายพันธุ์หายากจากต่างประเทศเช่นเต่าอัลดาบราได้ที่โซนสัตว์

เลื้อยคลานสวนสัตว์เชียงใหม่ทุกวันแล้วเจอกันนะคะ

ที่มาข้อมูล

http://animals.jrank.org/pages/3605/Tortoises-Testudinidae-PHYSICAL-CHARACTERISTICS.html

http://museum.stkc.go.th/cu/turtle_main.php

เต่าตะนุ

เต่ามะเฟือง

เรียบเรียง สพญ.กรรณิการ์ จันทรังษี | หัวหน้างานอนุรักษ์

7

นิทรรศการวันเต่าโลก สวนสัตว์เชียงใหม่ 23 พฤษภาคม 2557

Page 8: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

เรื่องเด่น เดือนนี้ | เปิดบันทึกกำ เนิดสวนสัตว์เชียงใหม่

8

ปีพ.ศ.2495นายฮาโรลด์เมสันยังมิชชั่นนารีชาวอเมริกันผู้เข้ามาเป็นอาสาสมัครสอนการยังชีพในป่าให้กับทหาร

และตำารวจชายแดนในช่วงสงครามเกาหลีได้รวบรวมสัตว์ป่าและเปิดเป็นสวนสัตว์เล็กๆของเอกชนณบริเวณบ้านเวฬุวันเชิง

ดอยสุเทพบ้านเช่าของนายกีและนางกิมฮ้อนิมมานเหมินทร์

6เมษายนพ.ศ.2500สวนสัตว์ของนายฮาโรลด์เมสันยังมิชชั่นนารีชาว

อเมริกันเปิดให้บริการเข้าชมอย่างเป็นทางการโดยย้ายจากบริเวณบ้านเวฬุวันเข้าใช้

พื้นที่ในป่าสงวนเชิงดอยสุเทพได้รับการสนับสนุนจากผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ใน

ขณะนั้นซึ่งได้รับพื้นที่เพิ่มเติมเป็นจำานวน60ไร่เปิดให้บริการจนกระทั่งนายฮาโรลด์

เมสันยังถึงแก่อนิจกรรมในปีพ.ศ.2518 พ.ศ.2518–2520องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ได้พิจารณาเห็น

คุณค่าของสวนสัตว์ของนายฮาโรลด์เมสันยังในฐานะเป็นแหล่งพักผ่อนศึกษาสัตว์

ของประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่และเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวแหล่งหนึ่งตาม

โครงการปรับปรุงดอยสุเทพให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจจึงรับกิจการสวนสัตว์ของ

นายฮาโรลด์เมสันยังไว้ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

เมื่อวันที่16มิถุนายน2520ได้โอนเข้าสังกัดองค์การสวนสัตว์แห่ง

ประเทศไทยสำานักนายกรัฐมนตรีเปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ชีวิตสัตว์ป่าและเป็น

แหล่งพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนจังหวัดเชียงใหม่ต่อมาได้รับพื้นที่เพิ่มจาก

เดิม60ไร่เป็น130ไร่

พ.ศ.2526สวนสัตว์เชียงใหม่ได้รับความเห็นชอบจากกรมป่าไม้

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และคณะรัฐมนตรีให้ขยายพื้นที่บริเวณเชิงดอยสุ

เทพเพิ่มเติมอีกประมาณ500ไร่

16มิถุนายนพ.ศ.2557ปัจจุบันสวนสัตว์เชียงใหม่จะมีอายุครบ37ปี

บริบูรณ์เข้าสู่วัยกลางคนที่ผ่านประสบการณ์มามากมายและสวนสัตว์เชียงใหม่

ในวัยกลางคนนี้ยังเปิดดำาเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้

ธรรมชาตินานาสัตว์ใกล้บ้านและเป็นแหล่งเพาะขยายพันธุ์สัตว์ป่าหายากของ

ไทยและของโลกให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้พบเห็นสืบไป

นายฮาโรลด์เมสันยัง(Mr.HaroldMasonYoung)

นายกีและนางกิมฮ้อนิมมานเหมินทร์

เรียบเรียง สพญ.กรรณิการ์ จันทรังษี | หัวหน้างานอนุรักษ์

Page 9: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

4

ชุมนุมนักเขียน | นักเขียนฉบับนี้

9

ออกแบบวารสาร

นายภูดิศเนตาสิทธิ์|เจ้าหน้าที่สิทธิประโยชน์(สารสนเทศ-ไอที)

บรรณาธิการ

สพญ.กรรณิการ์จันทรังษี|หัวหน้างานอนุรักษ์

สรรหามาเล่า : แกะในบทบาทของศาสนาและตำานาน & แกะในนิทาน

สพญ.ขวัญเรือนดวงสอาด|หัวหน้างานสุขภาพสัตว์

Page 10: CHIANG MAI ZOO VARIETY MAGAZINE | JUNE 2014

4www.chiangmaizoo.com

MAGAZINE

ทำ บุญครบรอบ 37 ปี สวนสัตว์เชียงใหม่16 มิถุนายน 2557