citizen journalism & internet as social media

21
สื่อพลเมือง และอินเทอรเน็ตในฐานะ สื่อสังคม” & Commons สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ งาน Wordcamp, 19 ตุลาคม 2551 งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิCreative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงาน ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไม นําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น

Upload: sarinee-achavanuntakul

Post on 20-Aug-2015

1.514 views

Category:

Technology


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Citizen Journalism & Internet as Social Media

สื่อพลเมือง และอินเทอรเน็ตในฐานะ “สื่อสังคม” & Commons

สฤณี อาชวานนัทกุลFringer | คนชายขอบ

http://www.fringer.org/

งาน Wordcamp, 19 ตุลาคม 2551

งานนี้เผยแพรภายใตลิขสทิธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น

Page 2: Citizen Journalism & Internet as Social Media

เหตุผลที่คนแสวงหา “สื่อทางเลือก” มากขึน้• การแขงขนัที่รุนแรง นําไปสูการผูกขาดสือ่กระแสหลกัในมอืนกัธุรกจิไมกี่คน นําไปสูปญหาดานคุณภาพ+ผลประโยชนทบัซอน

• สือ่กระแสหลกัหลายรายก็ “เลือกขาง” อยางชัดเจน และเลอืกที่จะไมนาํเสนอ “ประเดน็ตองหาม” เชน สถาบันพระมหากษัตริย

• สือ่ทางเลอืกไมไดถูกกาํกับดวยผลประโยชนเชงิพาณิชย(แตควรจะอยูได!) คนอานจึง “เชือ่” มากกวาวาเปนอสิระ

• วิวัฒนาการใหมๆ ในโลกไซเบอร เชน กเูกิ้ล ทําใหคนสามารถคนเจอเนือ้หา/ขอมูลที่ตองการในโลกไซเบอรไดอยางรวดเร็วและสะดวก

Page 3: Citizen Journalism & Internet as Social Media

Media Convergence คนเขาถงึสื่อไดทุกที่ ทุกเวลา จากหลายชองทาง

Page 4: Citizen Journalism & Internet as Social Media

สื่อพลเมืองมีอะไรที่สื่อกระแสหลกัไมมี?

ประสบการณตรง

อิสรภาพในการนําเสนอ

Page 5: Citizen Journalism & Internet as Social Media

Hu Jia นักเคลือ่นไหวผูถกูรัฐบาลจนีกกับริเวณ

ที่มา: http://www.globalvoicesonline.org/2008/03/03/china-hack-into-freedom-city/

Page 6: Citizen Journalism & Internet as Social Media

ความเคลือ่นไหวของ Hu Jia มีผูติดตามมากมาย

ที่มา: http://hujiajinyan.wordpress.com/

Page 7: Citizen Journalism & Internet as Social Media

ไมตองเขียนใหเปน “ขาว” กใ็ชรูป “เลาเรื่อง” ได

ที่มา: http://www.oknation.net/blog/kanis/2008/05/19/entry-1

Page 8: Citizen Journalism & Internet as Social Media

ที่มา: http://www.fringer.org/?p=181

ใชรูป “เลาเรื่อง” ได (ตอ)

Page 9: Citizen Journalism & Internet as Social Media

ประโยชนของสื่อพลเมือง• ประโยชนของสือ่รากหญาสะสมผานกาลเวลา และขึน้อยูกับจงัหวะและสถานการณ ฉะนัน้อยาหมดกําลังใจถาบลอ็กหรอืเว็บไซตมีคนเขา “นอย”

• สือ่พลเมอืงไมตองสนใจขอครหาวามี “อคติ” หรือ “ไมเปนกลาง” มากนัก– โดยธรรมชาติ “ขาว” ซึ่งเปนสิ่งที่เกิดจากการเลือกประเดน็ เลือกใหน้ําหนัก ตลอดจนน้ําเสียงนัน้ “ไมเปนกลาง” อยูแลว

– สื่อที่ “ดี” จึงไมใชสื่อที ่“เปนกลาง” หากเปนสื่อทีน่าํเสนอขอเท็จจริงอยางไมบิดเบือน และไมปดบังจุดยืนของตัวเอง

– สื่อพลเมืองเปนเจาของประสบการณ

Page 10: Citizen Journalism & Internet as Social Media

• ไมตองพยายามทําตัวเปน “นกัขาวอาชพี” มากนัก– “ความนาเชื่อถอื” ของสื่อรากหญา ขึ้นอยูกับขอเท็จจริงที่นําเสนอ โดยเฉพาะในฐานะผูไดรับผลกระทบโดยตรง มากกวาความสละสลวยของภาษา

– เราเปนผูกําหนดเองวาอะไรควรเปน “ขาว”

• แตตองมปีระเด็นทีช่ัดเจน และทําใหคนอานเขาใจวาเชือ่มโยงกบัสงัคมอยางไร

• ในขณะเดียวกัน พยายามเนนการจัดทําและอพัโหลด “ขอมูลดิบ” เชน รูปถาย คลิปวีดีโอ ฯลฯ – เปนวตัถุดิบชัน้ดีสาํหรับสื่อรากหญา สื่อกระแสหลัก นกัเขียน และนกัวชิาการ

– ทําใหขอครหาวา “อคติ” หมดความหมาย และลดความเสี่ยงที่จะถูกฟอง เพราะไมมีใครเถียงขอเท็จจริงได

ประโยชนของสื่อพลเมือง (ตอ)

Page 11: Citizen Journalism & Internet as Social Media

จากสื่อพลเมือง สู Social Media

สไลดประกอบสวนใหญแปลจากสไลดของ David Bollier:http://www.slideshare.net/iCommonsiSummit08/social-

movements-on-the-commons-by-david-bollier-presentation

Page 12: Citizen Journalism & Internet as Social Media

Internet as “Social Media”

Page 13: Citizen Journalism & Internet as Social Media

Social media สราง “flash mobs” ได

Page 14: Citizen Journalism & Internet as Social Media

บลอ็กเกอรอเมริกันเปดโปงความผิดพลาดของ The New York Times ในการรายงานขาวสงครามอิรัก

Page 15: Citizen Journalism & Internet as Social Media

Photo by tsevis, via Flickr, CC BY-NC-SA license. http://www.flickr.com/photos/tsevis/2279253649/

ผูบริจาคเงินกวา 1.5 ลานคนผานอินเทอรเนต็คือหวัใจของแคมเปญชงิตําแหนงของ Barack Obama

Page 16: Citizen Journalism & Internet as Social Media

Hughelectronic, via Flickr, CC BY-NC-SA license. http://www.flickr.com/photos/hughelectronic/2261248169/

ขอมลูใน wiki สาธารณะที่บันทกึผลขางเคียงทีท่าํใหถึงตายของยา Zyprexa นําไปสูการฟองรองขึน้ศาล

Page 17: Citizen Journalism & Internet as Social Media

Norman Rockwell, Four Freedoms

เครือขายคอมพิวเตอร

+ free culture

= “ประวัติศาสตรหนาใหมทีพ่ลเมอืงสราง”

Page 18: Citizen Journalism & Internet as Social Media

คณุคาที่พลเมืองดจิิตัลใหคณุคา:• การเขาถึงโดยเสรี (Open access)

• เสรีภาพในการมีสวนรวม(Freedom

to participate)

• ความโปรงใส (Transparency)

• พรสวรรคและการคิดคนนวัตกรรม

(Talent & innovation)

• ความเทาเทยีมทางสังคม (Social

equity)

• การกระจายศูนยอาํนาจ

(Decentralized authority)

“เสรีภาพ คือการมีสวนรวมในอํานาจ”

- Cicero

Page 19: Citizen Journalism & Internet as Social Media

ภาคสาธารณะ (The Commons) ( of creativity & culture)

….and countless others.

Page 20: Citizen Journalism & Internet as Social Media

The Commons: วัฒนธรรมการเมืองใหม

1. “เรื่องราว” ใหมเพื่อทวงคืนสิ่งที่เคยเปนของเราในอดีต

2. ทักษะดานเทคนิคสามารถสรางพฤติกรรมที่เปนประชาธิปไตยได

3. ความนาเชื่อถือทางศีลธรรม, ความ “แท” ทางวัฒนธรรม

4. The commons ในฐานะภาคที่สามที่ “แขง” กับภาครัฐและภาคเอกชนได

Page 21: Citizen Journalism & Internet as Social Media

“You never change things by fighting the existing reality.

To change something, build a new model

that makes the existing model obsolete.”

--R. Buckminster Fuller