cognitivism

19
ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธิปญญานิยม ( Cognitive Theories ) รายวิชา 201700 Foundation of Educational Technology

Upload: isaiah-thuesayom

Post on 29-Jun-2015

249 views

Category:

Education


3 download

DESCRIPTION

Cognitivism

TRANSCRIPT

Page 1: Cognitivism

ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพทุธิปญญานิยม

( Cognitive Theories )

รายวิชา 201700 Foundation of

Educational Technology

Page 2: Cognitivism

รายช่ือสมาชิก

นางกนกพิชญ อนุพันธ

รหัสประจําตัว 575050178-6

นักศึกษาปริญญาโท (โครงการพิเศษ) สาขาเทคโนโลยีการศึกษา

นายโฆษิต จํารัสลาภ

รหัสประจําตัว 575050179-4

นางสาวอิสยาห ถือสยม

รหัสประจําตัว 575050200-9

นายรณฤทธ์ิ ธรรมาธิกร

รหัสประจําตัว 575050188-3

Page 3: Cognitivism

ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธิปญญานิยม

การพัฒนาดานสติปญญาของเพียเจต

ทฤษฎีการเรียนรูโดย การคนพบของบรเูนอร

ทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความหมายของออซูเบล

ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ

การรูเก่ียวกับการคิด ของตนเอง

Page 4: Cognitivism

ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธิปญญานิยม เปนทฤษฎีที่ใหความสนใจในการบวนการภายใน (Mental.) ที่เรียกวา

ความรูความเขาใจ และการรูคิดของมนุษย

การเรียนรูจะอธิบายไดดีที่สุด หากเขาใจใน

กระบวนการภายใน

การรับรูเปนกระบวนการของการเรียบเรยีงประสบการณและขอมูลสารสนเทศและจัดใหเปนรูปราง โครงสรางที่มีความหมาย แลวจึงแสดง

อาการตอบสนอง

Page 5: Cognitivism

การเรียนรูตามแนวพุทธิปญญานิยม

การเปล่ียนแปลงความรูของผูเรียนทั้งดานปริมาณ และคุณภาพ

ผูเรียนจําส่ิงทีเรียนรูเพิ่มข้ึน

สามารถจัดรวบรวม และเรียบเรียงเปนหมวดหมู

ดวยโครงสรางทางปญญา

เก็บรักษาขอมูล และเรียกกลับมาใชไดตามตองการ

ถายโอนความรูและทักษะเดิมไปสูบริบทหรือปญหาใหม

Page 6: Cognitivism

กลุมพุทธิปญญานิยม

ค.ศ. 1960 นักทฤษฎีการเรียนรูเริ่มตระหนักวา การเรียนรูไดอยาง

สมบูรณน้ัน จะตองผานกระบวนการพิจารณา การไตรตรอง

และการคิด

ใหความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิดหรือกิจกรรมทางสติปญญา

การใหเหตุผลของผูเรียน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร

Page 7: Cognitivism

ความรูความเขาใจหรือกระบวนการคิด

( Cognitive Process ) ความเขาใจ ( Attending)

การรับรู ( Perception )

การจําได( Remembering )

การคิดอยางมีเหตุผล ( Reasoning )

จินตนาการหรือการวาดภาพในใจ( Imaging )

การคาดการณลวงหนาหรือการมีแผนการรองรับ(Anticipating)

การตัดสินใจ (Decision)

การแกปญหา (Problem Solving)

การจัดกลุมส่ิงตาง ๆ (Classifying)

การแปลความหมาย (Interpreting)

Page 8: Cognitivism

นักจิตวิทยาการเรียนรูตามแนวทฤษฎีพุทธิปญญานิยม เพียเจต ( Jean Piajet ) กับทฤษฎีพัฒนาการเชาวปญญา

(Theory of Cognitive Development)

ไดทําการสังเกตจากการตอบ คําถามของเด็กเล็กเด็ก พบวาเด็กเล็กจะ ซึ่งมักจะตอบผิด ซึ่งการคําตอบของเด็ก เล็กจะมีความแตกตางจากเด็กโต เน่ืองจากมีความคิดที่ตางกัน คุณภาพ ของคําตอบของเด็กที่ตางวัยกัน

และไดสังเกตพัฒนาการทาง เชาวปญญาของบุตรของเขา 3 คน

Page 9: Cognitivism

มนุษยมแีนวโนมพื้นฐานตั้งแตกําเนิด 2 ชนดิ

มนุษยทุกคนตั้งแตเกดิมาพรอมที่จะมี

ปฏสิัมพันธกับสิ่งแวดลอม Piajet

การจัดและรวบรวม การปรับตัว

การซมึซาบหรือดูดซมึ

( Assimilation) การปรับโครงสรางทางปญญา

( Accomodation)

Page 10: Cognitivism

ลําดับขั้นของการพัฒนาการเชาวปญญาของมนษุย โดย เพยีเจต

Page 11: Cognitivism

เจอรโรม บลูเนอร (Jerrome Bruner)

กับแนวคิดการเรียนรูโดยการคนพบ

ทฤษฎขีองบลูเนอร เนนในการพัฒนาเก่ียวกับ

ความสมารถในการรับรูและความเขาใจของผูเรยีนประกอบ

กับการจัดโครงสรางของเนือ้หาใหสอดคลองกัน

ในการจัดการศกึษาควรมกีารเช่ือมโยงระหวาง

ทฤษฎพัีฒนาการ ทฤษฎกีารเรยีนรู และทฤษฎกีารสอน

เพราะการจัดเนือ้หาและวธิสีอนตองสอดคลองกับ

ความสามารถในการคดิและการรับรูของปผูเรยีน และ

ครู จะตองสามารถชวยใหผูเรยีนเกิดความพรอมไดโดยไม

ตองรอเวลา

นักจิตวิทยาการเรียนรูตามแนวทฤษฎีพุทธิปญญานิยม

Page 12: Cognitivism

แนวคิดเก่ียวกับพัฒนาการทางปญญาของบลูเนอร

Page 13: Cognitivism

กับแนวคิดการเรียนรูโดยการคนพบของบลูเนอร

การเรยีนรูเกดิขึ้นเมื่อผูเรยีนไดมี

ปฏสิัมพันธกันสิ่งแวดลอม ซึ่งนําไปสูการ

คนพบและการแกปญหา เรยีกวา

การเรยีนรูโดยการคนพบ

(Discovery Approach)

การเรยีนรูแบบนี้จะชวยให เกดิการคนพบเนื่องจากผูเรยีนมี ความอยากรู อยากเห็น ซึ่งจะ เปนแรงผลักดันที่ทําให สํารวจ สิ่งแวดลอมและทําใหเกดิการ เรยีนรูโดยการคนพบ

Page 14: Cognitivism

ทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความหมายของออซูเบล Meaningful Learning เปนการเรยีนรูอยาง

มีความหมาย ผูเรยีนจะตองเชื่อมโยงสิ่งที่จะตอง

เรยีนรูใหมกับความรูเดิมทีมี่มากอน หรอืโครงสราง

ทางปญญาทีไ่ดเก็บไวในความทรงจํา และสามารถ

นําไปใชไดในอนาคต

แนวคดิเกี่ยวกับการจัดมโนคติลวงหนา

( Advance Organization) เปนเทคนคิทีช่วยให

ผูเรยีนไดเรยีนรูอยางมีความหมายจากการสอน

โดยการสรางความเชื่อมโยงระหวางความรูทีมี่

มากอน กับขอมูลใหม หรอืความคดิรวบยอด

ใหมเพ่ือชวยใหการเรยีนรูอยางมีความหมาย

โดยไมตองทองจํา

Page 15: Cognitivism

ประเภทของการเรียนรูอยางมีความหมายของ ออซูเบล

subordinate Learning

Derivative Subsumtion Correlative Subsumtion

Superordinate Leaning

Combinatorial Learning

Page 16: Cognitivism

แนวคิดกลุมทฤษฎีประมวลสารสนเทศ การไดมาซ่ึงความรูAcquire

สะสมความรู Store

การระลึกได

Recall

ทฤษฎีประมวลสารสนเทศInformation Processing

Page 17: Cognitivism

ความจํา

ระยะยาว

- ภาษา

- เหตุการณ

- การเคลื่อนไหว

- อารมณ

ความรูสึก

ขั้นตอนหลักการประมวลสารสนเทศของมนษุย

สิ่งแวดลอม

สิ่งเรา

เครื่องรับ หรือ

สิ่งที่ใชรับ

ขอมูล

(ตา หู สัมผัส

อ่ืน ๆ)

กระบวนการ

- การมองเห็น

- การฟง

- การสัมผัส

- อ่ืน ๆ

ความจํา

ระยะสั้น

(ความจําชวง

ระยะทํางาน)

เครื่องกอใหเกิด

พฤติกรรม การ

เคลื่อนไหว /การพูด

พฤติกรรม การเคลื่อนไหว /การพูด สิ่งแวดลอม

เก็บ

เรียกใช

Page 18: Cognitivism

ความรูเก่ียวกับการคิดของตนเอง

ความรูเกี่ยวกับการรูคิดของตนเอง

งานหรือภารกิจที่จะตองเรียนรู

ยุทธศาสตร ประสบการณจําเปนตอความรู เกี่ยวกับการรู

คิดของตน

Page 19: Cognitivism

หลักการที่สําคัญของทฤษฎีพุทธิปญญา และการนําไปใช

หลักการแนวคิดที่สําคัญ ที่นําไปใช

Schema Model

Sensory Register

Short-Term Memory

Long-Term Memory