creative commons: toward free culture

21
สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ นําเสนอในการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที8 เรื่อง ผูคน ดนตรี ชีวิตวันที26 มีนาคม 2552 ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ครีเอทีฟคอมมอนส : สูวัฒนธรรมเสรีที่เคารพสิทธิผูสราง และสนองความตองการของผูเสพ งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิCreative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by- nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนีไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใต ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น

Upload: sarinee-achavanuntakul

Post on 29-Nov-2014

2.049 views

Category:

Entertainment & Humor


0 download

DESCRIPTION

เอกสารประกอบการนำเสนอบทความเรื่อง "ครีเอทีฟคอมมอนส์: สู่วัฒนธรรมเสรีที่เคารพสิทธิผู้สร้าง และสนองความต้องการของผู้เสพ" ในการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที่​ 8 “​ผู้​คน​-​ดนตรี​-​ชีวิต​” วันที่ 26 มีนาคม 2552 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

TRANSCRIPT

Page 1: Creative Commons: Toward Free Culture

สฤณี อาชวานันทกุล

Fringer | คนชายขอบ

http://www.fringer.org/

นําเสนอในการประชมุวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 8 เรื่อง “ผูคน ดนตร ีชีวิต”

วันที ่26 มีนาคม 2552 ณ ศูนยมานษุยวิทยาสิรินธร

ครีเอทีฟคอมมอนส: สูวัฒนธรรมเสรีที่เคารพสิทธิผูสราง

และสนองความตองการของผูเสพ

งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-

nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้

ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาํไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใต

ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น

Page 2: Creative Commons: Toward Free Culture

2

หัวขอนําเสนอ

กฎหมายลขิสทิธิ์ กบั “วัฒนธรรมเสร”ี ยุคดิจิตอล

สภาพอตุสาหกรรมเพลงไทยปจจุบัน และการปรบัตัว

ของอุตสาหกรรมตอการละเมิดลขิสทิธิ์

ครีเอทฟีคอมมอนส: “ทางสายกลาง” ระหวางผูเสพและ

ผูสราง

Page 3: Creative Commons: Toward Free Culture

กฎหมายลิขสิทธิ์ กับ “วัฒนธรรมเสรี” ยุคดิจิตอล

Page 4: Creative Commons: Toward Free Culture

4

มุมมองของ Lawrence Lessig

1. ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมใหมๆ ตัง้อยูบน

รากฐานของความคิดและนวัตกรรมในอดีตเสมอ

2. อดีตพยายามควบคุมความคิดสรางสรรคตลอดมา

3. “สงัคมเสร”ี พัฒนาอนาคตดวยการจํากดัขอบเขต

อํานาจของอดีต

4. สงัคมของเราเปนสังคมที่มีเสรภีาพนอยลงเรือ่ยๆ

Page 5: Creative Commons: Toward Free Culture

5

กฎหมายลิขสิทธิ์ปจจุบันลาสมัย ทําใหเทคโนโลยีดิจิตอลและอินเทอรเน็ตสามารถเปน “อุปสรรค” หรอื “กีดกัน” การสรางสรรค

อดีต ปจจุบัน

ในอดีต งานสรางสรรคสวนใหญไมอยูภายใตกฎหมาย แตในปจจุบัน งานสวนใหญอยูภายใต

กฎหมายลิขสิทธิ์ โดยเฉพาะหลังเกิดอินเทอรเน็ต (ซึ่งทํา ‘ก็อปป’ ของงานทุกชนิดโดยธรรมชาติ)

อายุของกฎหมายลิขสิทธิ์ยืดยาวขึ้นเรื่อยๆ เกินระยะเวลาเหมาะสมที่ผูสรางจะไดกําไรจากงานนั้น

ไปแลว ทําใหเปนอุปสรรคตอการสรางสรรคงานใหมๆ : ปจจุบันกฎหมายอเมริกาและยโุรป

คุมครอง 70 ปหลังวันตายของเจาของลิขสิทธิ์ หรือระยะเวลาทีส่ั้นกวาระหวางวนัตีพิมพ+95 ป

กับวันสรางงาน+120 ป ขอบเขตการคุมครองของกฎหมายไทยยังอยูที ่ตาย+50 ป

Page 6: Creative Commons: Toward Free Culture

6

สิทธขิองผูสราง vs. สิทธขิองผูเสพ – “สมดลุ” อยูตรงไหน?

ถาผูบริโภคจายเงนิซื้อซีดีเพลงมา แตไมสามารถแปลงไฟลเปน MP3 เพื่อฟงในคอมพิวเตอรและ

เครื่องเลน MP3 แบบพกพาไดเพราะคายเพลง “ล็อก” ไว โดยอางวาเพื่อปองกันการละเมิด

ลิขสิทธิ์ – แบบนี้ถือเปนการละเมิดสิทธิผูบริโภคหรือไม?

Page 7: Creative Commons: Toward Free Culture

สภาพอตุสาหกรรมเพลงไทยปจจุบัน และการปรบัตัวของ

อุตสาหกรรมตอการละเมิดลขิสิทธิ์

Page 8: Creative Commons: Toward Free Culture

8

สวนแบงอุตสาหกรรมเพลงและสภาพการแขงขนั

การแขงขันที่รุนแรง Life cycle ของเพลงสั้นมาก ผูเลนตางพยายามทําธุรกิจบันเทงิแบบครบวงจร ขยายอทิธิพลไปครอบงาํสื่อหรือซื้อสื่อ และขายเพลงผานชองทางใหมๆ (จดัอีเวนต, ริงโทน ฯลฯ)

ผูเลนรายเล็กและศิลปนอิสระมีโอกาสนอยลงทีจ่ะเผยแพรงานผานสื่อดัง้เดมิ

กฎหมายลขิสิทธิ์ที่ลาหลัง เปดโอกาสใหผูครองตลาด “อาง” ลิขสิทธิ์ในทางทีอ่าจกีดกันผูเลนรายเล็ก และสวนทางกับความตองการและวิถีชวีติทีเ่ปลี่ยนไป

อุตสาหกรรมเพลงไทยมีผูครองตลาด 2 ราย มีสวนแบงรวมกันประมาณ 66%

Page 9: Creative Commons: Toward Free Culture

9

เทคโนโลยีที่ “คุกคาม” อุตสาหกรรม แต “ปลดปลอย” ผูบริโภค

MP3 (+ ฟอรแมทอื่นๆ เชน OGG)

ซอฟทแวรที่แปลงเนื้อหาในแผนเสียงหรือซีดีเปน MP3

เทคโนโลยี peer-to-peer เชน Limewire, Bittorrent

ซอฟทแวรที่ชวยสรางงานเพลงระดับ “มืออาชีพ” ในราคาต่ําหรือฟรี (หลายชิ้นเปน open source)

จาก “ผูบริโภค” (consumer) เปน “ผูผลิต-บริโภค” (prosumers)

เพลงกลายเปน “สินคาโภคภัณฑ” (commodities)

คนสามารถ “แบงปน” งานตางๆ ในรูปดิจติอลระหวางกันไดอยางแพรหลาย สะดวก และรวดเร็ว

เมื่อการ “ละเมิดลิขสิทธิ์” เปนวิถีชีวิต แสดงวากฎหมายลาหลังแลวหรือไม?

Page 10: Creative Commons: Toward Free Culture

10

กลยทุธทีค่ายเพลงเลือกใชในการแก “ปญหา” ละเมิดลขิสิทธิ์

1. ลดราคาสินคา (cost leadership)

2. เพิ่มความถี่และปริมาณในการออกสินคาใหมๆ ใหมากขึ้น เพื่อเพิ่ม

ประโยชนจากการประหยัดจากขนาด

3. ขายรีมิกซ และแตกสาขาธุรกิจเพื่อหาแหลงรายไดใหมๆ

4. ใหลูกคาเปนศูนยกลาง (customer centric) เชน วิจัยความตองการ

5. เพิ่มคุณภาพของสินคา เพื่อยกระดับเปนสินคามีมูลคาเพิ่ม

(premium goods) เชน เพิ่มการลงทุนในการออกแบบปกซีดี,

คุณภาพของการแสดงสด

ผูครองตลาดยังเนนกลยุทธ 1, 2 และ 3 อยู แตกลยุทธ 4 และ 5 เปนกลยุทธที่ฃยั่งยืนกวา เพราะสอดคลองกับความตองการของผูเสพและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป

Page 11: Creative Commons: Toward Free Culture

11

ผูเลนตางๆ ในตลาด

ที่มา: blog.macroart.net/2008/01/digital-distribution-and-music-industry2.html

นักแตงเพลงศิลปนคายเพลงบริษัทจัดการสิทธิผูบริโภคยุคดิจิตอลเจาของเว็บไซตรานขายซีดีรานคาราโอเกะฯลฯ

หนาที่ของรัฐ/ผูเขียนกฎหมาย

คืออะไร – ปกปองผูครอง

ตลาด หรือกระตุนการแขงขนั

และสงเสริมวฒันธรรมเสรี?

Page 12: Creative Commons: Toward Free Culture

ครีเอทีฟคอมมอนส (CC): “ทางสายกลาง” ระหวาง

ผูเสพและผูสราง

Page 13: Creative Commons: Toward Free Culture

13

Page 14: Creative Commons: Toward Free Culture

14

Page 15: Creative Commons: Toward Free Culture

15

Page 16: Creative Commons: Toward Free Culture

16

Page 17: Creative Commons: Toward Free Culture

17

Page 18: Creative Commons: Toward Free Culture

18

Page 19: Creative Commons: Toward Free Culture

19

“แบงปน” ทําไม?

“เจตนาดี” – ใช CC เพราะ:

ใจดีอยากแบงปน

อยากสงเสริมการตอยอดองคความรูและศิลปะ

แตกอ็ยากใหคนเคารพสิทธิในฐานะผูสรางดวย

เจตนาเชิงพาณิชย – สราง “รายได” ดวยการใช CC:

เผยแพรผลงานใหคนรูจักอยางรวดเร็ว

ตอบสนองตอความตองการของแฟนๆ

สราง “ภาพลักษณ” ที่ดี

Page 20: Creative Commons: Toward Free Culture

20

“แบงปน” ทําไม?

Page 21: Creative Commons: Toward Free Culture

21

ประโยชนของครีเอทฟีคอมมอนส

1. เปน “ชุดเครื่องมือ” ที่ชวยสราง “สมดุล” ระหวางความตองการของ

ผูผลิต ความตองการของผูเสพและผูผลติ-บริโภค และความตองการ

ของสังคม

2. เปน “ทางเลือก” ที่อยูในกรอบของระบบลิขสิทธิ์ปจจุบัน

3. ตอบสนองเจตจํานงเชิงพาณิชยของผูสรางงาน โดยเฉพาะศิลปนราย

เล็กๆ ที่ตองการ “สรางตัว” ใหเปนที่รูจัก และเกรงวาคายเพลงที่

“ขาย” ลิขสิทธิ์ใหจะทําตัวในทางที่ไมเปนมิตรตอแฟนเฟลง

4. ตอบสนอง “เจตนาดี” ของคนธรรมดาที่อยากแบงปนงาน

5. สงเสริมวัฒนธรรมเสรี