digital museum

146
พิพิธภัณฑดิจิทัล พิพิธภัณฑดิจิทัล (Digital Museum) (Digital Museum) ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษเชิงดิจิทัล หนวยปฏิบัติการวิจัยคลังอนุพันธความรู ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

Upload: rachabodin-suwannakanthi

Post on 12-Nov-2014

2.359 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

This is the presentation I gave to the Seminar in Information and Library Work at Suranaree University of Technology on October 8, 2009. It's explained that how we can use technology to improving quality of museum services in the digital age.

TRANSCRIPT

Page 1: Digital Museum

พิพิธภัณฑดิจิทัลพิพิธภัณฑดิจิทัล(Digital Museum)(Digital Museum)

ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ

โครงการวจิัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษเชิงดจิทิัล

หนวยปฏิบัติการวจิัยคลังอนุพันธความรู

ศูนยเทคโนโลยีอเิล็กทรอนกิสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

Page 2: Digital Museum

2

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร?

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• ปญหาของการประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับพิพิธภัณฑ

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในอนาคต

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

Page 3: Digital Museum

3

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร?

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• ปญหาของการประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับพิพิธภัณฑ

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในอนาคต

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

Page 4: Digital Museum

44

““พพิิธภณัฑพพิิธภณัฑ”” คืออะไรคืออะไร?? (1)(1)

พิพิธภัณฑ คือ หนวยงานทีไ่มหวังผลกําไร เปนสถาบนัทีถ่าวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวจิัย สื่อสาร และจัดแสดงนทิรรศการ ใหบริการแกสังคมเพื่อการพฒันา โดยมีความมุงหมายเพื่อการคนควา การศกึษา และความเพลิดเพลนิ โดยแสดงหลักฐานตางๆ ที่เกี่ยวกับมนุษยและสภาพแวดลอม สิ่งซึ่งสงวนรักษา และจัดแสดงนัน้ไมใชเปนเพียงวัตถุ แตไดรวมถึงสิ่งที่มีชีวิตดวยโดยรวมไปถึง สวนสัตว สวนพฤกษชาติ วนอทุยาน สถานที่สงวนสัตวน้าํ และสถานทีอ่ันจัดเปนเขตสงวนอืน่ๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหลงอนสุรณสถาน ศูนยวทิยาศาสตรและทองฟาจําลอง

ที่มา: ICOM (International Council of Museums)

Page 5: Digital Museum

55

““พพิิธภณัฑพพิิธภณัฑ”” คืออะไรคืออะไร?? (2)(2)

พิพิธภัณฑ, พิพิธภัณฑสถาน[พิพิดทะพัน, พันทะสะถาน] น.

สถานที่เก็บรวบรวมและแสดง สิ่งตาง ๆ ที่มีความสําคัญดาน

วฒันธรรมหรือดานวทิยาศาสตร โดยมีความมุงหมายเพื่อใหเปน

ประโยชนตอการศึกษา และกอ ใหเกิดความเพลิดเพลนิใจ.

ที่มา: พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

Page 6: Digital Museum

66

““พพิิธภณัฑดิจิทัลพพิิธภณัฑดิจิทัล”” คืออะไรคืออะไร??

พพิธิภัณฑดิจิทัล (Digital Museum) คือ การ

ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดเกบ็ การจัดการ

และการเผยแพร (จัดแสดง) หรือแลกเปลี่ยน ขอมูล

องคความรู (ทั้งแบบจับตองได และจับตองไมได) ของ

พิพิธภัณฑ

Page 7: Digital Museum

7

ใชเทคโนโลยีอะไรใชเทคโนโลยีอะไร??

การเขาถึงองคความรูออนไลน การเขาถึงองคความรูออฟไลน

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีการสื่อสารองคความรู + +

-Tangible- Intangible

Page 8: Digital Museum

8

ตัวอยางการใชเทคโนโลยีในงานพิพธิภณัฑตัวอยางการใชเทคโนโลยีในงานพิพธิภณัฑ

Online Exhibition

In-museum Application

Page 9: Digital Museum

9

ใชเทคโนโลยีเพื่ออะไรใชเทคโนโลยีเพื่ออะไร??

• เพื่อเพิม่ประสิทธิภาพในการเรียนรู หรือการเขาถึง

องคความรูของผูเขาชม

• เพื่อสรางใหเกิดสังคมความรูที่มกีารแลกเปลี่ยน

และเชื่อมโยงขอมูลระหวางเจาของขอมูลดวยกัน

หรือระหวางผูเขาชมกบัเจาของขอมูล หรือระหวาง

ผูเขาชมดวยกนั

• เพื่อการอนุรักษองคความรูแบบระยะยาว

Page 10: Digital Museum

10

ทําไมตองใชเทคโนโลยีทําไมตองใชเทคโนโลยี??

มีประสทิธิภาพในการจัดการกับขอมลูจํานวนมาก

มีประสทิธิภาพในการจัดเก็บขอมูลหลายรูปแบบ เชน

ตัวอักษร รูปภาพ เสยีง วดิีโอ ภาพเคลื่อนไหว

เพื่อใหเกิดการใชงานหรือเขาถึงขอมูลไดถูกตอง สะดวก

รวดเร็ว ตรงตามความตองการ

มีการเปลีย่นแปลงเทคโนโลยีอยางตอเนื่องนาํไปสูการ

อนุรักษระยะยาว (Long term preservation)

Page 11: Digital Museum

11

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร?

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• ปญหาของการประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับพิพิธภัณฑ

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในอนาคต

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

Page 12: Digital Museum

1212

ตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลBritishBritish MuseumMuseum

EnglandEnglandhttp://www.britishmuseum.org/

Page 13: Digital Museum

1313

Page 14: Digital Museum

1414

Page 15: Digital Museum

1515

Page 16: Digital Museum

1616

Page 17: Digital Museum

1717

Page 18: Digital Museum

1818

ตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลLouvre MuseumLouvre Museum

FranceFrancehttp://www.louvre.fr/

Page 19: Digital Museum

1919

Page 20: Digital Museum

2020

Page 21: Digital Museum

2121

Page 22: Digital Museum

2222

Page 23: Digital Museum

2323

Page 24: Digital Museum

2424

Page 25: Digital Museum

2525

Page 26: Digital Museum

2626

Page 27: Digital Museum

2727

Page 28: Digital Museum

2828

ตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลNational Palace MuseumNational Palace Museum

TaiwanTaiwan

Page 29: Digital Museum

2929

Page 30: Digital Museum

3030

http://www.npm.gov.tw/

Page 31: Digital Museum

3131

Page 32: Digital Museum

3232

Page 33: Digital Museum

3333

Page 34: Digital Museum

3434

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

Page 35: Digital Museum

3535

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

Page 36: Digital Museum

3636

In this CD-Rom, users can explore the virtual Great Garden. Within the Great Garden, users can viewanimated movies in the Theater.

Page 37: Digital Museum

3737

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

Page 38: Digital Museum

3838

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

Page 39: Digital Museum

3939

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

Page 40: Digital Museum

4040

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

Page 41: Digital Museum

4141

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

Page 42: Digital Museum

4242

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

Page 43: Digital Museum

4343

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

Page 44: Digital Museum

4444

Image Licensing-StarBucks Coffee

Notebooks Coffee cup

Wallet

Double-deck ceramic cup

2007,Jan 3 -14000 limited products

Page 45: Digital Museum

4545

Brand Licensing-Franz

Page 46: Digital Museum

4646

• E-Commerce

Internet Marketing-National Palace Museum Online Store

https://www.npmeshop.com/

Page 47: Digital Museum

4747

Page 48: Digital Museum

4848

Promoting the National Palace Museum

The Art Gallery of the NPM in the airport

Short film on buses, MRT and ATM

Page 49: Digital Museum

4949

Promoting the National Palace Museum

Page 50: Digital Museum

5050

ตัวอยางคลังภาพดิจิทัลตัวอยางคลังภาพดิจิทัลBritish LibraryBritish Library

http://www.imagesonline.bl.uk/

Page 51: Digital Museum

5151

Page 52: Digital Museum

5252

Page 53: Digital Museum

5353

Page 54: Digital Museum

5454

Page 55: Digital Museum

5555

ตัวอยางคลังเสียงตัวอยางคลังเสียงBritish LibraryBritish Library

http://www.bl.uk/

Page 56: Digital Museum

5656

Page 57: Digital Museum

5757

Page 58: Digital Museum

5858

Page 59: Digital Museum

5959

ตัวอยางคลังเอกสารโบราณตัวอยางคลังเอกสารโบราณSoutheast Asia Digital LibrarySoutheast Asia Digital Library

http://sea.lib.niu.edu/manuscript.html

Page 60: Digital Museum

6060

Page 61: Digital Museum

6161

Page 62: Digital Museum

6262

Page 63: Digital Museum

6363

Page 64: Digital Museum

6464

Page 65: Digital Museum

6565

ตัวอยางคลังจดหมายเหตุตัวอยางคลังจดหมายเหตุคลังจดหมายเหตุพุทธทาสคลังจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปญโญอินทปญโญ

http://www.bia.or.th/

Page 66: Digital Museum

6666

หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปญโญ ณ สวนวชริเบญจทัศหอจดหมายเหตุพุทธทาสหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปญโญอินทปญโญ ณณ สวนวชริเบญจทัศสวนวชริเบญจทัศ

Page 67: Digital Museum

6767

อยูไมไกลจากแหลงชุมชน

เขาถึงไดงายทั้งทางรถยนต รถประจําทาง

และรถไฟลอยฟา และรถไฟใตดิน

มีบรรยากาศสงบ รมรื่น

ควรแกการศึกษาธรรม

ไดรับความเอื้อเฟอจากกรุงเทพฯ

ในการใชพื้นที่

สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) กรุงเทพฯ

Page 68: Digital Museum

6868

เพื่อเปนแหลงรวบรวม ดแูล รักษา และอนุรักษผลงานการศึกษา คนควา และ

เผยแผพุทธธรรม ทีท่านพุทธทาสทาํไว ใหสามารถใชงานไดอยางยั่งยืน

เพื่อเปนแหลงรวบรวม ดแูล รักษา และอนุรักษผลงานการศึกษา คนควา และ

เผยแผพุทธธรรม ทีท่านพุทธทาสทาํไว ใหสามารถใชงานไดอยางยั่งยืน

เพื่อใหการบริการและสนับสนุน ในการศึกษา คนควา วิจัยพัฒนา เผยแผ

และแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานศาสนธรรม

เพื่อใหการบริการและสนับสนุน ในการศึกษา คนควา วิจัยพัฒนา เผยแผ

และแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานศาสนธรรม

เพื่อสืบสานปณิธาน ๓ ประการของทานพุทธทาส ในการเขาถึงหัวใจของ

ศาสนาของตน มีความเขาใจระหวางศาสนา และพนจากอํานาจวัตถุนิยม

เพื่อสืบสานปณิธาน ๓ ประการของทานพุทธทาส ในการเขาถึงหัวใจของ

ศาสนาของตน มีความเขาใจระหวางศาสนา และพนจากอํานาจวัตถุนิยม

๑๑

๒๒

๓๓

วัตถปุระสงคของโครงการวัตถปุระสงคของโครงการ

Page 69: Digital Museum

6969

ผลงานตนฉบับอยูในสภาพที่มีความเสีย่งตอการชํารุดเสียหาย

Page 70: Digital Museum

7070

ขอบเขตของขอมูลในหอจดหมายเหตุฯขอบเขตของขอมูลในหอจดหมายเหตุฯ

หนังสือ บันทึก ลายมือ

ตนฉบับ

๑๘,๕๖๕ รายการ

(๕๗๕,๐๐๐ หนา)

หนังสือ บันทึก ลายมือ

ตนฉบับ

๑๘,๕๖๕ รายการ

(๕๗๕,๐๐๐ หนา)

ภาพ

๔,๐๘๓ รายการ

(๕๑,๓๐๐ ชิ้น)

ภาพ

๔,๐๘๓ รายการ

(๕๑,๓๐๐ ชิ้น)

เสียงและโสตทศัน

๒๓๔ แผน

๑,๙๐๐ GB

เสียงและโสตทศัน

๒๓๔ แผน

๑,๙๐๐ GB

วัสดุอื่นๆวัสดุอื่นๆ

หอจดหมายเหตุ

พุทธทาส อินทปญโญ

แหลงรวบรวม และอนุรักษผลงานตนฉบับของทานพทุธทาส

Page 71: Digital Museum

7171www.bia.or.th

การจัดทําสําเนาดิจิตอล, ฐานขอมลูดิจิตอล และ

จัดเตรียมอปุกรณเกบ็สําเนาดิจิตอล และ บุคลากรใน

การดแูลรกัษาและควบคุม เกบ็รายละเอียดขอมูลตามมาตรฐานจดหมายเหตุ ISAD

ผลงานตนฉบับ

กรรมวิธีอนุรักษตนฉบับ

ตามหลักจดหมายเหตุสากล

จดัทําทะเบียนควบคุม

การจดัเกบ็ตนฉบับ การจดัเกบ็ในรูปแบบดจิติอล

การจัดเตรยีมสถานที่เกบ็ทีไ่ดรับการควบคมุอณุหภูมิ

และความชื้น

การจัดเกบ็รกัษาดวยอุปกรณมาตรฐานที่ใชในการ

จัดเก็บจดหมายเหตุโดยเฉพาะ

ควบคุมดูแลทุกขั้นตอนโดยผูเชีย่วชาญดานจดหมายเหตุและเทคโนโลยีสารสนเทศ

โดยจะเปนหอจดหมายเหตุดิจิตอลที่สมบูรณ

แนวทางในการดําเนินงานแนวทางในการดําเนินงาน

Page 72: Digital Museum

7272

ผลงานการศกึษา

คนควา และเผยแผ

พุทธธรรม

ที่ทานพุทธทาสทําไว

หอจดหมายเหตุ

พุทธทาส อินทปญโญ

ระบบอินเตอรเน็ต

สื่อสิ่งพิมพตางๆ

ผลงานตนฉบับ

ฐานขอมูลดิจิตอล

นิทรรศการ

ฐานขอมูลดิจิตอล

หนังสือ บทความ

(ภาษาไทย/ตางประเทศ)

กิจกรรมในการปฏิบัติ

ธรรมและเสวนา

รปูแบบการใหบรกิารรปูแบบการใหบรกิาร

Page 73: Digital Museum

7373

ตัวอยางงานที่สําเรจ็ในปตัวอยางงานที่สําเรจ็ในป พพ..ศศ.. ๒๕๕๑๒๕๕๑

สวนโมกขสวนโมกข๓๖๐๓๖๐ องศาองศา

Page 74: Digital Museum

7474

ตัวอยางงานที่สําเรจ็ในปตัวอยางงานที่สําเรจ็ในป พพ..ศศ.. ๒๕๕๑๒๕๕๑

สวนโมกขสวนโมกข ๓๖๐๓๖๐ องศาองศา

Page 75: Digital Museum

75

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร?

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• ปญหาของการประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับพิพิธภัณฑ

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในอนาคต

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

Page 76: Digital Museum

76

พิพธิภณัฑไทยในปจจบุนัพิพธิภณัฑไทยในปจจบุนั

• หลายๆ ที่ยังไมมกีารใชงานเทคโนโลยี

• หลายๆ ที่มีการใชงานเทคโนโลยี แต…

• เขาถึงเจาของขอมูลได แตเขาถึงองคความรู

ไมได หรือไมสามารถสบืคนองคความรูได

• สื่อสารทางเดียว ไมเขาใจผูเขาชม

• ไมมกีารแลกเปลี่ยนเชื่อมโยง ทั้งระหวาง

เจาของขอมูลดวยกัน และเจาของขอมูลกับผูใช

Page 77: Digital Museum

77

ตนเหตุของปญหาตนเหตุของปญหา

• เพราะหลายๆ ที่ เขาใจวา…

• เทคโนโลยี…ไกลตัว

• เทคโนโลยี…เปนเรื่องยาก

• เทคโนโลยี… ไมใชคําตอบ

• เทคโนโลยี…ตองแพง

• เทคโนโลยี…ตองดูไฮเทค

Page 78: Digital Museum

78

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร?

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• ปญหาของการประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับพิพิธภัณฑ

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในอนาคต

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

Page 79: Digital Museum

79

พพิธิภัณฑดิจิทัลในอนาคตจะเปนอยางไรพพิธิภัณฑดิจิทัลในอนาคตจะเปนอยางไร??

เปนสังคมของการแลกเปลี่ยน

เชื่อมโยง และเรียนรูรวมกันเปนสังคมของการแลกเปลี่ยน

เชื่อมโยง และเรียนรูรวมกัน

ใชสื่อที่ทันสมัยเปนเครื่องมือหลัก

ในการสือ่สารแลกเปลี่ยน

ใชสื่อที่ทันสมัยเปนเครื่องมือหลัก

ในการสือ่สารแลกเปลี่ยน

เขาถึงไดงายในหลายรูปแบบเขาถึงไดงายในหลายรูปแบบ

Page 80: Digital Museum

80

เทคโนโลยีสาํคัญสาํหรับการขับเคลื่อนพพิธิภัณฑเทคโนโลยีสาํคัญสาํหรับการขับเคลื่อนพพิธิภัณฑ

ดิจิทัลในอนาคตดิจิทัลในอนาคต

- New Media

- Virtual Reality and Human Computer

Interaction

- Internet-based Technology(Online Museum, Online Collection)

- Collaboration and Sharing(Social Network, RSS, Podcast, Mobile)

Page 81: Digital Museum

81

ตัวอยางการประยุกตใชเทคโนโลยีเครือขายสังคมตัวอยางการประยุกตใชเทคโนโลยีเครือขายสังคม

(Social Network) (Social Network) กับการบันทึกสวนบุคคลกับการบันทึกสวนบุคคลRachabodin Update

http://www.twitter.com/rachabodin

Rachabodin Update

http://www.twitter.com/rachabodin

Rachabodin’s Blog

http://www.rachabodin.com

Rachabodin’s Blog

http://www.rachabodin.com

Rachabodin’s Photo

http://www.flickr.com/rachabodin

Rachabodin’s Photo

http://www.flickr.com/rachabodin

Rachabodin’s Video

http://www.youtube.com/rachabodin

Rachabodin’s Video

http://www.youtube.com/rachabodin

Rachabodin’s Presentation Media

http://www.slideshare.net/rachabodin

Rachabodin’s Presentation Media

http://www.slideshare.net/rachabodin

Articles

Digital Images

Digital Video

PPT, PDF, Poster

Page 82: Digital Museum

8282

ตัวอยางพิพธิภณัฑตัวอยางพิพธิภณัฑBrooklyn MuseumBrooklyn Museum

http://www.twitter.com/BrooklynMuseum

Page 83: Digital Museum

83

Page 84: Digital Museum

84

Page 85: Digital Museum

85

Page 86: Digital Museum

86

Page 87: Digital Museum

87

Page 88: Digital Museum

88

Page 89: Digital Museum

89

Page 90: Digital Museum

9090

ตัวอยางพิพธิภณัฑตัวอยางพิพธิภณัฑThe WomenThe Women’’s Museums Museum

http://www.twitter.com/TheWomensMuseum

Page 91: Digital Museum

91

Page 92: Digital Museum

92

Page 93: Digital Museum

93

Page 94: Digital Museum

94

Page 95: Digital Museum

95

ตัวอยางการใชเทคโนโลยีเสมือนจริงในงานพิพิธภัณฑตัวอยางการใชเทคโนโลยีเสมือนจริงในงานพิพิธภัณฑ (1)(1)

พิพธิภณัฑเสมือน (Virtual Museum) บานม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช

ที่มา: สุธน วงศสุชาต, ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

Page 96: Digital Museum

96พิพธิภณัฑเสมือน (Virtual Museum) บานม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช

ที่มา: สุธน วงศสุชาต, ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

ตัวอยางการใชเทคโนโลยีเสมือนจริงในงานพิพิธภัณฑตัวอยางการใชเทคโนโลยีเสมือนจริงในงานพิพิธภัณฑ (2)(2)

Page 97: Digital Museum

97

ระบบนําชมเสมือน (Virtual Tour) พระที่นั่งวิมานเมฆ สํานักพระราชวัง

ที่มา: คุณวรพจน สงเจริญ, ผูอํานวยการฝายนิวมเีดีย, บริษัทสงเจริญมีเดียกรุป

ตัวอยางการใชเทคโนโลยีเสมือนจริงในงานพิพิธภัณฑตัวอยางการใชเทคโนโลยีเสมือนจริงในงานพิพิธภัณฑ (3)(3)

Page 98: Digital Museum

98

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร?

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• ปญหาของการประยุกตใชเทคโนโลยีสําหรับพิพิธภัณฑ

• พิพิธภัณฑดิจิทัลในอนาคต

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

Page 99: Digital Museum

99

1

แปลงขอมูล

DIGITIZATION

3

แสดงผลขอมูล

INFORMATION

VISUALIZATION

2

บริหารจัดการขอมูล

INFORMATION

MANAGEMENT

เราใชเทคโนโลยีในพิพิธภัณฑ/หองสมดุอยางไร?

Page 100: Digital Museum

100

แผนภาพแสดงกระบวนการในการใชเทคโนโลยีของพิพิธภัณฑและหองสมุด

Digitization

InformationManagement

Information Visualization

e-Learning

In Museum

Website

Page 101: Digital Museum

101

เทคโนโลยีสําหรบัการแปลงขอมูล

Digitization Technology

Page 102: Digital Museum

102102

การแปลงขอมูล (Digitization)

Analog ------------------------> Digital

scan

shoot

record

digital photo

digital video/audio

Page 103: Digital Museum

103

ชนิดของตนฉบับ วธิีการแปลงขอมูล ไฟลตนฉบับ ไฟลเผยแพร

รูปภาพ(กระดาษ)

สแกนถายภาพ

.tif300 dpi

.jpg72 dpi

รูปภาพ(ฟลม)

สแกน(film scanner)

.tif> 300 dpi

.jpg72 dpi

วดิโีอ บันทึก .aviไมบีบอัด

.wmv, .rm, .mov, .mp4, .mpg,

.m2p

เทปเสยีง บันทึก .wav .wma, .rm, .mov, .mp3, .mp4

การกําหนดรูปแบบมาตรฐานของขอมูลดิจิทัล

103

Page 104: Digital Museum

104104

การแปลงขอมูลกระดาษ

Page 105: Digital Museum

105105

การแปลงขอมูลวดิีโอ

Page 106: Digital Museum

106106

+ +

การถายภาพนิง่รายละเอียดสูง

Page 107: Digital Museum

107107

ภาพปกติ

ภาพปกติ VS ภาพรายละเอียดสูง

ภาพรายละเอียดสงู

Page 108: Digital Museum

108

Page 109: Digital Museum

109

High Dynamic Range PanoramaHigh Dynamic Range PanoramaNormal panorama

HDR panorama

Page 110: Digital Museum

110

High Dynamic Range Panoramic VRHigh Dynamic Range Panoramic VR

สวนโมกขสวนโมกข ๓๖๐๓๖๐ องศาองศา

Page 111: Digital Museum

111

การสรางภาพสามมติิดวยกลองถายภาพนิ่งดิจิทัล

Page 112: Digital Museum

112

การแปลงขอมูลดวยเครื่องสแกนภาพเลเซอรสามมติิ

Page 113: Digital Museum

113113

การแปลงขอมูลดวยเครื่องตรวจจับการเคลื่อนไหว

Faridah Noor Mohd Noor, INDIAN TRADITIONAL DANCE: A VIRTUAL PROTOTYPE

Page 114: Digital Museum

114114

เทคโนโลยีการถายภาพความละเอียดสงู(High Resolution Imaging)

Page 115: Digital Museum

115115

เทคโนโลยีการถายภาพความละเอียดสงู(High Resolution Imaging)

Page 116: Digital Museum

116116

(Gigapixel Imaging)

จํานวนภาพจํานวนภาพ :: 343343 ภาพภาพ

Focal length : 324 mmFocal length : 324 mm

Speed : 1/80Speed : 1/80

Aperture : F22Aperture : F22

ระยะเวลาถายภาพระยะเวลาถายภาพ :: 19 19 นาทีนาที

Page 117: Digital Museum

117117

(Gigapixel Imaging)

Page 118: Digital Museum

118

เทคโนโลยีสําหรบัการบริหารจดัการขอมูล

Information Management Technology

Page 119: Digital Museum

119119

เมื่อพูดถึงการบริหารจัดการขอมูล

• สวนใหญคิดถึงซอฟตแวรที่จะนํามาใช และปรับตัวเอง

ใหเขากับขอจํากัดของซอฟตแวรนั้นๆ มากกวาการหา

ซอฟตแวรทีเ่ขากันไดกับความตองการทางวิชาการ

• เกิดสภาวะหลายมาตรฐาน หรือไมมีมาตรฐานในการ

ใหคําอธิบายรายละเอยีดขอมูลในพิพิธภัณฑ ซึ่งจะมีผล

ตอการสกัดความรูที่ตอบสนองตอการใหบรกิารแก

กลุมเปาหมายที่หลากหลาย และการแลกเปลี่ยนขอมูล

ระหวางพิพิธภัณฑ

Page 120: Digital Museum

120120

คําอธิบายวัตถุคืออะไร?

• คําอธิบายวตัถุ (Metadata) คือ สารสนเทศที่มี

โครงสราง (Structured Information)

สําหรับอธิบายรายละเอียดตางๆ ของขอมูลหลัก

• เปนเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพในการเขาถงึขอมูล

สืบคนขอมูล รวมทั้งเปนเครื่องมือที่ใชในการบริหาร

จัดการขอมูลในคลังขอมูล

Page 121: Digital Museum

121121

Metadata ที่ติดมากับขอมูลหลกั

Page 122: Digital Museum

122122

Metadata ที่ผูใชเปนผูกําหนด

รหัสภาพ: 25500101153000

ชื่อภาพ: วัดชัยวัฒนาราม

สถานที่: อยุธยา

เจาของภาพ: ลัดดา สาระเดช

ประเภท: Landscape

Architecture

วันที่ถายภาพ: 10 มิ.ย. 2550

คําอธบิายภาพ: วัดชัยวัฒนารามตั้งอยูบนริม

ฝงแมน้ําฟากตะวันตกของเกาะเมือง พระ

เจาประสาททองทรงสรางขึ้น ในป พ.ศ.

2173

Page 123: Digital Museum

123123

คุณสมบัตขิอง Metadata

• ไมยึดติดกับชนิดของฮารดแวร และซอฟตแวร

• มีลักษณะโครงสรางที่เปนมาตรฐาน สามารถ

รองรับการใชงานที่หลากหลายได

• ยืดหยุนตอการเปลี่ยนแปลง

Page 124: Digital Museum

124124

ประเภทของ Metadata

• Descriptive Metadata

• Administrative Metadata

• Technical Metadata

• Rights Metadata

• Source Metadata

• Digital Provenance Metadata

• Preservation Metadata

Page 125: Digital Museum

125125

เมตะดาตาเพื่อการอธบิายคุณลักษณะ(Descriptive Metadata)

คือ Metadata ที่ทําหนาที่ในการอธิบายขอมูลหลัก

และหมวดหมูของขอมูล ใชเปนเครื่องมือสําหรับการ

เขาถึงขอมูล หรือใชเปนเครื่องมือสําหรับการสืบคน

ตามความสนใจของผูใช

Page 126: Digital Museum

126126

เมตะดาตาเพื่อการบรหิารจัดการ(Administrative Metadata)

คือ Metadata ที่มีขอมูลสําหรับใชในการบริหารจัดการ

• Technical Metadata: ขอมูลเชิงเทคนิคที่เกี่ยวของ

กับขอมูลดิจิทัลของขอมูลหลัก เชน รูปแบบไฟล,

การบบีอัดขอมูล เปนตน

• Rights Metadata: ขอมูลเกี่ยวกบัลขิสทิธิ์ในขอมูล

หลัก และสิทธิหรือขอบเขตของการใชงาน

• Source Metadata: ขอมูลเกี่ยวกับขอมูลตนฉบับ

ของขอมูลหลัก

Page 127: Digital Museum

127127

เมตะดาตาเพื่อการบรหิารจัดการ (ตอ)

• Digital Provenance Metadata: ขอมูลที่อธิบายถึงขอมูลดิจิทัลอื่นๆ ของขอมูลหลักเดียวกนั เชน• รายละเอียดของไฟลตนฉบับ• รายละเอียดของไฟลสําหรับเผยแพรขนาดใหญ

(สําหรับการพิมพ)• รายละเอียดของไฟลสําหรับเผยแพรขนาดเล็ก

(สําหรับดูบนเว็บ)• รายละเอียดของไฟล Thumbnail• รายละเอียดของวิธีการในการแปลงขอมูล

Page 128: Digital Museum

128128

เมตะดาตาเพื่อการอนุรักษ(Preservation Metadata)

Metadata ที่เก็บขอมูลที่จําเปนสําหรับการอนุรักษ

ขอมูลตนบับ และขอมูลดิจิทัล เชน ขอมูลเกี่ยวกับ

สภาพทางกายภาพของขอมูลตนฉบับ ขอมูลที่เกี่ยว

ของกับการสงวนรักษาไฟล เปนตน

Page 129: Digital Museum

129129

มาตรฐานเมตะดาตาควรเปนอยางไร?

• ชุดของรายการ (Fields) ที่ถูกกําหนด เขาใจ และ

ยอมรับในวงกวาง

• แตละพิพิธภัณฑสามารถใชงานทั้งหมดหรือ

บางสวนของมาตรฐานได ซึ่งถามกีารใชรายการใด

จะตองใชในขอกําหนดดังระบุไวในมาตรฐาน

• แตละพิพิธภัณฑสามารถเพิ่มระเบียนอื่นๆ นอกเหนือจากที่กําหนดไวในมาตรฐานได

Page 130: Digital Museum

130130

ตัวอยางการกําหนดมาตรฐานเมตะดาตา

Page 131: Digital Museum

131131

ลักษณะการประยุกตใชมาตรฐานเมตะดาตา

มาตรฐานกลาง- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

มาตรฐานกลาง- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ก.- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ก.- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ข.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ข.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ค.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- ประวัติการอนุรักษ *

พิพิธภณัฑ ค.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- ประวัติการอนุรักษ *

Page 132: Digital Museum

132132

ตัวอยาง Metadata

Page 133: Digital Museum

133133

ตัวอยาง Metadata

Data from Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

Page 134: Digital Museum

134134

Page 135: Digital Museum

135135

Page 136: Digital Museum

136136

ประโยชนของ Metadata

1. เปนกลไกสําคัญในการจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน และขอมูลที่อธิบายทีม่าของขอมูลหลัก รวมถึงขอมูลคําอธิบายเพิ่มเติมในประเด็นทีส่นใจตางๆ ขอมูลเชงิลึก และขอมูลแวดลอม

2. ชวยใหสามารถบริหารจัดการขอมูลจํานวนมากไดอยางทัว่ถึง และมีประสิทธิภาพ

3. ชวยใหสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกับคลังขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของและเผยแพรขอมูลสูสาธารณะไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. ชวยสนับสนุนใหเกิดการสรางระบบคลังขอมูล เพื่อเปนแหลงเรียนรูของประเทศ หรือเปนแหลงขอมูลเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ

Page 137: Digital Museum

137

เทคโนโลยีสําหรบัการแสดงผลขอมูล

Information Visualization Technology

Page 138: Digital Museum

คลังขอมูลดิจิทัลคลังขอมูลดิจิทัล

e-Card Service

Photo Gallery

Video/Audio Archive

e-Learning Digital Museum

การแสดงผลขอมูลและการเขาถึงขอมูล

138

Page 139: Digital Museum

139139

Page 140: Digital Museum

140140

Page 141: Digital Museum

141141

Page 142: Digital Museum

142142

Page 143: Digital Museum

143143

Page 144: Digital Museum

144144

Page 145: Digital Museum

145

อนุรักษอนุรักษ

ชวยในการอนุรักษขอมลูสําคัญ โดยลดการใชงานขอมูลตนฉบับที่ออนไหวตอการถูกทําลาย เสี่ยงตอการเสียหาย หรือสูญหายจากการเขาถึงไดโดยตรงจากผูใช

จัดการจัดการ

ชวยใหเจาของขอมูล มีเครื่องมือชวยในการบริหารจัดการขอมูลจํานวนมากอยางเปนระบบ ชวยในการแลกเปลี่ยนหรือเผยแพรขอมูลผานระบบคอมพิวเตอรและเครือขายอนิเทอรเน็ต

เรียนรูเรียนรู

เปนแหลงเรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต 7 วัน 24 ชั่วโมง สําหรับทุกคน โดยบรรจุองคความรูที่สําคัญทางประวตัิศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม และภมูิปญญาของบรรพบุรุษ

ประโยชนของการใชเทคโนโลยใีนงานพิพธิภัณฑประโยชนของการใชเทคโนโลยใีนงานพิพธิภัณฑ

Page 146: Digital Museum

ขอบคุณครับขอบคุณครับDownload this presentation : http://www.slideshare.net/rachabodin

Rachabodin Personal Website : http://www.rachabodin.com/