document teaching

73
บทที่ 1 ประวัติและความสําคัญของการทะเบียนประวัติอาชญากร ประวัติความเปนมาของงานวิทยาการตํารวจ งานวิทยาการตํารวจ เริ่มมาตั้งแตป พ.ศ. 2475 โดยเริ่มจากในสมัยนั้นมีประชากร ประมาณ 14 ลานคน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 7 ไดมีพระบรมราชโองการใหจัดวาง โครงสรางตํารวจขึ้นใหมโดยเปลี่ยนชื่อ “กรมตํารวจภูธร” เปน “กรมตํารวจ” และใหเสนาบดี กระทรวงมหาดไทยจัดแบงแผนงานโดยยอยออกไปตามสมควรแกรูปการ ในปเดียวกันนั้น พระยา จาเสนาบดีศรีบริบาล รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย ไดจัดแบงแผนงานในกรมตํารวจสําหรับ สันติบาลโดยไดประกาศไว ดังนีตํารวจสันติบาล ใหรวบรวมกรมตํารวจภูธร ตํารวจกองพิเศษ กับตํารวจภูธรกลางเปนตํารวจสันติบาลมีหัวหนาเปนผูบังคับการ 1 นาย แบงเปน กองที่ 1 กองที2 กองที3 และกองตํารวจแผนกสรรพกร สําหรับ กองที3 เปน กองวิทยาการตํารวจ ซึ่งตองใช ผูมีความรูพิเศษ เชน การตรวจพิสูจนลายมือของผูตองหาหรือผูที่สมัครเขารับราชการวาเคย ตองโทษมาแลวหรือไม บันทึกประวัติของผูกระทําความผิด การตรวจของกลางตาง ๆ ออกรูปพรรณ ของหายและออกประกาศสืบจับผูรายซึ่งหลบหนีคดีอาญา จึงสรุปไดวา กองที่ 3 ของตํารวจสันติบาลในสมัยนั้น คือ จุดกําเนิดของ กองทะเบียนประวัติอาชญากรและกอง พิสูจนหลักฐาน ตอมา พ.ศ. 2476 ไดมีพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมตางๆ ในกระทรวงมหาดไทย กําหนดงานของกรมตํารวจขึ้นใหม ซึ่งสําหรับกองตํารวจสันติบาลไดกําหนดไว ดังนี- กองกํากับการ 1 สืบสวนปราบปรามโจรผูราย - กองกํากับการ 2 สืบสวนราชการพิเศษ - กองกํากับการ 3 เทคนิคตํารวจ ซึ่งแบงเปน 5 แผนก คือ 1. แผนกทะเบียนพิมพลายนิ้วมือ 2. แผนกบันทึกแผนประทุษกรรม 3. แผนกพิสูจนหลักฐาน 4. แผนกบัญชีโจรผูราย 5. แผนกเนรเทศ ในป พ.ศ. 2483 เพิ่มแผนกที6 ทะเบียนคนตางดาว และไปอยูในสังกัดอื่น เมื่อ พ.ศ. 2484 - กองกํากับการ 4 ทะเบียนตํารวจ

Upload: whisdom

Post on 07-Apr-2015

142 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: Document Teaching

บทท่ี 1 ประวัติและความสําคัญของการทะเบียนประวัติอาชญากร ประวัติความเปนมาของงานวิทยาการตํารวจ งานวิทยาการตํารวจ เริ่มมาต้ังแตป พ.ศ. 2475 โดยเริ่มจากในสมัยนั้นมีประชากรประมาณ 14 ลานคน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 7 ไดมีพระบรมราชโองการใหจัดวางโครงสรางตํารวจขึ้นใหมโดยเปลี่ยนชื่อ “กรมตํารวจภูธร” เปน “กรมตํารวจ” และใหเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยจัดแบงแผนงานโดยยอยออกไปตามสมควรแกรูปการ ในปเดียวกันนั้น พระยาจาเสนาบดีศรีบริบาล รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย ไดจัดแบงแผนงานในกรมตํารวจสําหรับสันติบาลโดยไดประกาศไว ดังนี้ ตํารวจสันติบาล ใหรวบรวมกรมตํารวจภูธร ตํารวจกองพิเศษกับตํารวจภูธรกลางเปนตํารวจสันติบาลมีหัวหนาเปนผูบังคับการ 1 นาย แบงเปน กองที่ 1 กองที่ 2 กองท่ี 3 และกองตํารวจแผนกสรรพกร สําหรับ กองท่ี 3 เปน กองวิทยาการตํารวจ ซึ่งตองใชผูมีความรูพิเศษ เชน การตรวจพิสูจนลายมือของผูตองหาหรือผูที่สมัครเขารับราชการวาเคยตองโทษมาแลวหรือไม บันทึกประวัติของผูกระทําความผิด การตรวจของกลางตาง ๆ ออกรูปพรรณข อ งห าย แ ล ะอ อ ก ป ร ะก าศ สืบ จั บ ผู ร า ย ซึ่ งห ล บ ห นี ค ดีอ าญา จึ ง ส รุป ได ว า กองท่ี 3 ของตํารวจสันติบาลในสมัยนั้น คือ จุดกําเนิดของ กองทะเบียนประวัติอาชญากรและกองพิสูจนหลักฐาน ตอมา พ.ศ. 2476 ไดมีพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมตาง ๆ ในกระทรวงมหาดไทย กําหนดงานของกรมตํารวจขึ้นใหม ซึ่งสําหรับกองตํารวจสันติบาลไดกําหนดไว ดังนี้

- กองกํากับการ 1 สืบสวนปราบปรามโจรผูราย - กองกํากับการ 2 สืบสวนราชการพิเศษ - กองกํากับการ 3 เทคนิคตํารวจ ซึ่งแบงเปน 5 แผนก คือ

1. แผนกทะเบียนพิมพลายนิ้วมือ 2. แผนกบันทึกแผนประทุษกรรม 3. แผนกพิสูจนหลักฐาน 4. แผนกบัญชีโจรผูราย 5. แผนกเนรเทศ

ในป พ.ศ. 2483 เพ่ิมแผนกที่ 6 ทะเบียนคนตางดาว และไปอยูในสังกัดอื่น เม่ือ พ.ศ. 2484

- กองกํากับการ 4 ทะเบียนตํารวจ

Page 2: Document Teaching

- 2 -

ในป พ.ศ. 2484 ไดมีการปรับปรุงและขยายงานของกรมตํารวจโดยจัดต้ัง “กองสอบสวนกลาง”พรอมทั้งแยกงานทางดานวิทยาการจากกองตํารวจสันติบาลมาขึ้นตรงตอกองตํารวจสอบสวนกลาง ในป พ.ศ. 2489 เปลี่ยนชื่อจากกองสอบสวนกลางเปน ”กองตํารวจสอบสวนกลาง” และในป พ.ศ. 2491 กิจการของกองตํารวจสอบสวนกลางไดเจริญกาวหนา จึงไดยกฐานะขึ้นเปน ”กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง” และในกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลางนั้นมีกองกํากับการหนึ่งเรียกวา “กองพิเศษ” และปเมื่อ พ.ศ. 2495 ไดจัดตั้งกองวิทยาการเพ่ิมขึ้นใหม ตอมา กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลางไดมีการปรับปรุงขยายหนวยงาน โดยเพ่ิมกองบังคับการใหมขึ้นอีก 4 กองบังคับการ พรอมทั้งไดมีการยุบ “กองพิเศษ” ไปรวมกับ “กองวิทยาการ” ที่ต้ังขึ้นใหม เพ่ือตองการใหการดําเนินงานทางดาน พิสูจนวัตถุพยาน ซึ่งเปนงานของกองพิสูจนหลักฐานและ การตรวจพิสูจนคนควาตัวบุคคล ซึ่งเปนงานของกองทะเบียนประวัติอาชญากรถือเปนรากฐานของ “กองพิสูจนหลักฐานและกองทะเบียนประวัติอาชญากร” กองวิทยาการ แบงออกเปน 3 กองกํากับการ คือ

กองกํากับการ 1 ประกอบดวย แผนกถายรูปสถานที่เกิดเหตุ แผนกเอกสารและวัตถุ แผนกหอทดลอง และแผนกพิพิธภัณฑทางคดี

กองกํากับการ 2 ประกอบดวยแผนกตรวจสอบพิมพลายนิ้วมือ แผนกตรวจเก็บลายพิมพนิ้วมอื แผนกบัญชีการตองโทษ และแผนกบันทึกแผนประทุษกรรม

กองกํากับการ 3 ประกอบดวยแผนกสถิติคดีอาชญากร แผนกสถานดูตัว แผนกสืบจับและของหายไดคืน

และตอมา กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง ไดมีการปรับปรุงหนวยงานใหมโดยยุบ “กองวิทยาการ” ออกจากสารบบทําเนียบราชการตํารวจโดยแยกงานของกองนี้เปน 2 กองคือ กองพิสูจนหลักฐานและกองทะเบียนประวัติอาชญากร โดยการแยกงานดานการพิสูจนวัตถุพยานและงานการตรวจพิสูจนคนควาในดานตัวบุคคลออกจากกันและไดมีการปรับปรุงหนวยงานทั้งสองใหกวางขวางยิ่งขึ้น ดังนั้น กองพิสูจนหลักฐานและกองทะเบียนประวัติอาชญากร จึงไดถือกําเนิดเปนหนวยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงตอกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง ตามพระราช-กฤษฎีกาแบงสวนราชการกรมตํารวจต้ังแตวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2503 เปนตนมา

นอกจากนี้ เมื่อป พ.ศ. 2500 สหรัฐอเมริกาไดใหความชวยเหลือประเทศไทย โดยมองเห็นถึงความสําคัญของงานทางดานวิทยาการตํารวจ กรมตํารวจจึงไดรับความชวยเหลือจากประเทศสหรัฐอเมริกาในสัญญาที่เรียกวา The Civil Police Administration Project ( C.P.A.) ในสมัย Mr. Tracey Park เปนผูอํานวยการ การชวยเหลือเนนทางดานวิทยาการตํารวจและไดมีการลงนามในสัญญากับประเทศสหรัฐอเมริกา ระหวาง พล.ต.ต.เผา ศรียานนท ซึ่งเปนอธิบดีกรมตํารวจในสมัยนั้นกับองคการบริหารวิเทศกิจสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย

Page 3: Document Teaching

- 3 -

(U.S.O.M.) เม่ือวันที่ 20 เมษายน 2500 และการปรับปรุงงานการบริหารตํารวจในสวนภูมิภาคก็เริ่มขึ้นต้ังแตบัดนั้นเปนตนมา จนกระทั่งป พ.ศ. 2513 U.S.O.M. ไดหยุดใหความชวยเหลือการปรับปรุงวิทยาการในสวนภูมิภาค จึงทําใหงานปรับปรุงวิทยาการในสวนภูมิภาคหยุดชะงักลงจนถึง พ.ศ. 2523 ในสมัยของ พล.ต.อ.มนตชัย พันธคงชื่น เปนอธิบดีกรมตํารวจ ไดไปตรวจราชการในสวนภูมิภาคไดพบวางานดานวิทยาการขาดประสิทธิภาพ จึงไดมีคําสั่งแตงต้ังคณะทํางานปรับปรุงงานดานวิทยาการ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของหนวยงานวิทยาการในสวนภูมิภาคใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และเนื่องจากลักษณะงานของวิทยาการอยูกันอยางกระจัดกระจาย วิทยาการตํารวจในสวนกลาง คือกองทะเบียนประวัติอาชญากรและกองพิสูจนหลักฐาน มีสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงกับกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง สวนวิทยาการตํารวจในสวนภูมิภาค มีสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงกับกองบัญชาการตํารวจภูธร อันเปนปญหาทั้งทางดานการสรรหาคนเขามาปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร การรักษาไวซึ่งบุคลากรที่จะปฏิบัติงาน เนื่องมาจากการขาดขวัญและกําลังใจความกาวหนาในชีวิตราชการตํ่าอันเปนปญหาเก่ียวกับระบบการบริหารงานบุคคลและองคการโดยตรง จึงไดมีการปรับปรุงโครงสรางโดยรวมเอาหนวยงานวิทยาการตํารวจในสวนกลางและสวนภูมิภาคไวดวยกันจัดต้ังเปน “สํานักงานวิทยาการตํารวจ” ตามพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการกรมตํารวจ กระทรวงมหาดไทย (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2535 โดยแบงสวนราชการออกเปน 7 กองบังคับการ ดังนี้

1. กองบังคับการอํานวยการ 2. กองพิสูจนหลักฐาน 3. กองทะเบียนประวัติอาชญากร 4. กองวิทยาการ ภาค 1 5. กองวิทยาการ ภาค 2 6. กองวิทยาการ ภาค 3 7. กองวิทยาการ ภาค 4

ตอมาไดมีพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการในสํานักงานตํารวจ พ.ศ. 2548 กําหนดใหกอง ทะเบียนประวัติอาชญากรเปนหนวยงานในสังกัดของสํานักเทคโนโลยีและการสื่อสาร (คูมือกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ. 2548, กองนิติการ สํานักกฎหมายและการสอบสวน สํานักงานตํารวจแหงชาติ : หนา 517) ความหมายของการทะเบียนประวัติอาชญากร คําวา “ทะเบียน” ตามพจนานุกรมฯ ใหความหมายไววาบัญชีจดลักษณะของคน สัตวและสิ่งของ ในสวนที่เก่ียวกับคน เชน ทะเบียนบาน หรือทะเบียนสํามะโนครัว ทะเบียนสมรสทะเบียนคนตางดาว ฯลฯ ในสวนของสัตว เชน ทะเบียนต๋ัวพิมพรูปพรรณสัตวพาหนะ ชาง มา

Page 4: Document Teaching

- 4 -

โค กระบือ ฯลฯ ในสวนที่ที่เกี่ยวกับสิ่งของ เชน ทะเบียนยานพาหนะ อาวุธ ทะเบียนที่ดิน ทะเบียนการคา ฯลฯ จะเห็นไดวา คําวา “ทะเบียน” มีที่ใชอยูทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ก็เพราะทะเบียนเปนหลักฐานสําคัญใชในการตรวจสอบ ยืนยัน อางอิง หรือพิสูจนความจริงกันได คําวา “ประวัติ” แปลวา เรื่องราว ขาวคราว ความเปนไป เชน ประวัติของสถานที่สําคัญตาง ๆ ก็กลาวถึงเรื่องราวขาวคราว หรือความเปนไปของสถานที่หรือบุคคลตาง ๆ เหลานี้ไวโดยละเอียดเพ่ือจะไดทราบเร่ืองราวขาวคราวหรือความเปนไปของสถานที่หรือบุคคลนั้น ๆ คําวา “อาชญากร” หรือ “อาชญากรรม” อาชญากร หมายถึง ตัวบุคคล อาชญากรรม หมายถึง การกระทํา ความหมายของคําวา อาชญากรรม แปลได 2 ทาง คือ ทางดานกฎหมายและทางดานสังคม อาชญากรรมตามความหมายทางดานกฎหมาย นักอาชญาวิทยาใหความหมายไววาการกระทําใด ๆ ก็ตามซึ่งกําหนดที่ใชอยูขณะนั้น บัญญัติไววาเปนความผิดและกําหนดโทษไวดวย เชน ประมวลกฎหมายอาญาตามมาตรา 334 บัญญัติไววา “ผูใดเอาทรัพยของผูอื่น หรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย ไปโดยทุจริต ผูนั้นกระทําความผิดฐานลักทรัพย ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 ปและปรับไมเกินหกพันบาท “ เปนตน จะเห็นวากฎหมายกําหนดไววา กระทําอยางไรเปนความผิดฐานใดและมีโทษสถานใด การกระทําอยางนั้นจึงเปนอาชญากรรมพูดงาย ๆ ก็คือการกระทําความผิดทางอาญานั่นเอง ดังนั้น ผูที่กระทําความผิดอาญาจึงเปนอาชญากร แตอยางไร ก็ตามนักอาชญาวิทยาไมถือวาการกระทําผิดเล็ก ๆ นอย ๆ เปนความผิดลหุโทษ หรือเด็กกระทําความผิดเปนอาชญากร อาชญากรรม ตามความหมายทางสังคม ถือเอา ความประพฤติเปนใหญ หมายถึงความประพฤติชั่วราย ทําใหผูอื่นไดความเดือดรอน ทุกขทรมาน ไดรับความเจ็บปวด ไดรับอันตราย ทั้งรางกายและจิตใจ ไมเคารพตอประโยชน หรือสิทธิของคนอื่น เบียดเบียนแยงชิงอันเปนภัยตอสังคม ก็ถือวาเปนอาชญากรตามความหมายทางสังคม การทะเบียนประวัติอาชญากร คือ การเก็บบันทึกเร่ืองราวรายละเอียดตาง ๆ ที่เกี่ยวกับบุคคลและสิ่งของในคดีอาญา บุคคล ในที่นี้ไดแกผูกระทําความผิดทางอาญา เชน ผูตองหา จําเลย นักโทษ คนพนโทษ รวมถึงบุคคลที่เปนภัยตอสังคม ผูรายหลบหนี คนหายพลัดหลง และคนตายไมทราบชื่อ รายละเอียดตาง ๆ ที่เก่ียวกับบุคคลไดแก แผนพิมพลายนิ้วมือ รูปถาย แผนประทุษกรรม ประวัติยอ ตําหนิ รูปพรรณ หมายจับ รายงานพฤติการณความเคลื่อนไหว ฯลฯ สิ่งของ ในที่นี้ ไดแก ทรัพยที่หายหรือถูกประทุษราย เชน ยานพาหนะ อาวุธปน ทรัพยสินอื่น ๆ รายละเอียดเก่ียวกับลักษณะ ตําหนิรูปพรรณ ชนิดวัตถุ หมายเลขทะเบียน ฯลฯ

Page 5: Document Teaching

- 5 -

ความสําคัญของงานการทะเบียนประวัติอาชญากร เปนที่ยอมรับกันวาปญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในปจจุบันนี้ มีความแตกตางไปจากปญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในอดีตมาก สืบเนื่องมาจากในปจจุบันนี้ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงวิถีทางดําเนินชีวิตของประชาชนในสังคมใหไดรับความสะดวกสบายและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แตในขณะเดียวกันอาชญากรรมกลับนําเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยดังกลาวมาใชในการกระทําความผิด ทําใหอาชญากรรมที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงทั้งรูปแบบและวิธีการตลอดจนมีความสลับซับซอนมากขึ้นโดยที่สภาวะดังกลาวเปนการยากตอการปองกันปราบปราม โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวของกับการสืบสวนสอบสวน ในอดีตพนักงานสอบสวนโดยทั่วไป มักจะใชวิธีการสอบสวนแบบพยายามบีบบังคับให ผูตองหารับสารภาพโดยวิธีตาง ๆ ทั้งที่ผูตองหาบางคนไมไดกระทําความผิด แตตองยอมรับสารภาพ เนื่องจากเกรงกลัวการลงทัณฑ พนักงานสอบสวนมักจะเนนการสอบสวนไปในการหาพยานบุคคลเปนสวนใหญและในทางกลับกันบางครั้งในกรณีที่ผูตองหากระทําความผิดจริง แตเม่ือพนักงานสอบสวนแบบเดิมไมมีการนําพยานหลักฐานดานเอกสารหรือวัตถุเขามาประกอบก็อาจจะมีผลทําใหผูตองหาไดรับการยกฟองหรือปลอยตัวในชั้นศาลอันเนื่องมาจาการขาดพยานหลักฐานเพียงพอที่ศาลจะเชื่อถือและยอมรับฟงไดเพราะฉะนั้นดวยเหตุผลดังกลาวขางตนถายังปรากฏวาการพัฒนางานในกระบวนการยุติธรรมเพ่ือปองกันปราบปรามและพิจารณาคดี ตลอดจนแกไขผูที่กระทําผิดกฎหมายไมสามารถจะทําไดอยางเกิดประสิทธิภาพ ก็จะมีผลใหไมสามารถควบคุมความรุนแรงและแนวโนมของอาชญากรรมที่เกิดขึ้นได ดังนั้นในปจจุบันเมื่อมีคดีอาญาตาง ๆ เกิดขึ้น จึงเปนหนาที่ของตํารวจในการที่ตองใชความพยายามในการสืบสวนติดตามจับกุมตัวผูกระทําความผิดมาทําการฟองรองใหศาลลงโทษใหจงได และการสืบสวนปราบปรามจะไดผลสําเร็จดีย่ิง นอกจากเจาหนาที่ผูทําการสืบสวนสอบสวนจะตองใชวิชาความรูทางดานวิชาการตํารวจแลว ยังจําเปนจะตองมีความรูเก่ียวกับ “วิทยาการตํารวจและประวัติความเปนมารวมถึงวิธีการของคนรายประเภทตาง ๆ“ อีกดวย ตํารวจทองที่จะตองรูจักบุคคลในพ้ืนที่ใหมากที่สุดสามารถแยกไดวาใครเปนคนดี และใครเปนคนราย ใครมีความชํานาญในการโจรกรรมอยางไรพวกไหนเปนพวกนักลวงกระเปา พวกไหนเปนพวกฉอโกง ตมตุน พวกแกงงัดแงะมีใครบาง ฯลฯ เหลานี้เปนตน ตํารวจจะตองรูจักและพยายามจดจําใหแมนดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน เม่ือบานเมืองเจริญขึ้นจํานวนประชากรก็มีเพ่ิมมากขึ้นการคมนาคมสะดวกรวดเร็ว จึงมีผลทําใหการกออาชญากรรมของคนรายพัฒนาตามไปดวย โดยมักจะไมอยูในขอบเขตเฉพาะภายในทองถ่ินเทานั้น แตมีการขยายการกออาชญากรรมออกไปตางทองถิ่นหรือตางทองที่ จนในบางครั้งถึงกับขยายออกไปตางประเทศก็มี และก็มีคดีเปนจํานวนไมนอยที่คนรายหลบหนีการจับกุมของเจาหนาที่ตํารวจไปได หรือ บางรายแมวาจะทราบตัวคนรายแตพยานหลักฐานในกระบวนการยุติธรรมไมเพียงพอ เจาหนาที่ตํารวจก็ไมสามารถนําตัวคนรายมาลงโทษได เมื่อเปนเชนนี้ จึงจําเปนอยางย่ิงที่เจาหนาที่ตํารวจ

Page 6: Document Teaching

- 6 -

จะตองมีวิทยาการอยางใดอยางหนึ่งนํามาใชใหเกิดประโยชนตอการสืบสวนสอบสวน ในอันที่จะชี้ระบุตัวคนราย เจาหนาที่ตํารวจจะตองปรับปรุงระบบการตรวจสอบประวัติผูกระทําความผิด เพ่ือใชประกอบการพิจารณาในการที่จะเพิ่มโทษ ลดโทษ หรือปองกันปรามปราม ตลอดจนแกไขปญหาใหถูกตองย่ิงขึ้น จึงเห็นไดวาการจดจําและรูจักคนรายเฉพาะภายในทองที่ของตนเทานั้น ยอมเปนการไมเพียงพอจําเปนอยางย่ิงเจาหนาที่ตํารวจจะตองมีความรูเก่ียวกับประวัติและเรื่องราวของผูรายในทองถิ่นอื่นๆ อีกดวย ซึ่งในขอเท็จจริงแลวก็เปนการสุดความสามารถของเจาหนาที่ตํารวจ อันเปนบุคคลธรรมดาในอันที่จะดําเนินการจดจําหรือรูจักคนรายทั้งหมด โดยใชความจําของตัวเองได จําเปนอยางย่ิงที่จะตองหาวิธีการดําเนินงานอยางเปนระบบซึ่งจะตองประกอบดวยเทคนิควิธีการตาง ๆ ในการที่จะเก็บขอมูล ไมวาจะเปนขอมูลประวัติบุคคล ขอมูลเกี่ยวกับแผนพิมพลายนิ้วมือ ขอมูลเก่ียวกับแผนประทุษกรรม หรือวิธีการกระทําความผิดของคนราย รูปถายผูตองหา หมายจับ ตําหนิรูปพรรณ ผูกระทําความผิด ประวัติยอของผูตองขังหรือแมแตตําหนิรูปพรรณ ทรัพยสิน ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหลานี้จะไดมาจากพนักงานสอบสวน หรือตํารวจทองที่ที่มีการกระทําความผิดเกิดขึ้นทุกครั้ง โดยในการเก็บขอมูล อาจจะเก็บในรูปบัตรสารบบ บัตรดัชนี หรือเก็บเปนแฟม เรียงตามคารหัส หรือเรียงตามลําดับอักษรหรือเรียงตามลําดับหมายเลขทะเบียนแลวแตกรณี ทั้งนี้ เ พ่ือจะสามารถนํามาใชประโยชนในการดําเนินงานดานการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมครั้งตอไป ๆ ไปไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งผลที่สุดการใชวิธีการดําเนินงานดังกลาว คือ “การรวบรวมขอมูลอยางมีระบบ” ก็คือการใชวิธีการดําเนินงานทางดานการทะเบียนประวัติอาชญากร ซึ่งเปนงานดานวิทยาการที่สําคัญแขนงหนึ่งในหลาย ๆ แขนง ของงานวิทยาการเปนหลักนั่นเอง ลักษณะการปฏิบัติงานทางดานการทะเบียนประวัติอาชญากรของ กองทะเบียนประวัติอาชญากร เนื่องจากวิชาการทะเบียนประวัติอาชญากรเปนวิทยาการแขนงสําคัญแขนงหนึ่งในหลาย ๆ แขนงของงานทางดานวิทยาการที่จะสามารถอํานวยประโยชนใหผลสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจทองที่ ตลอดจนหนวยที่เก่ียวของ ในการติดตามจับกุมตัวคนรายใหไดผลและมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ซึ่งตามปกติการปฏิบัติงานทางดานการทะเบียนประวัติอาชญากรนี้ มักจะดําเนินควบคูไปกับวิชาการทางดานพิมพหลายนิ้วมือ แตวิชาการทางดานการทะเบียนประวัติอาชญากรจะเนนที่กฎ ระเบียบ ขอบังคับตามตัวบทกฎหมายเปนหลักผิดกับวิชาพิมพลายนิ้วมือ ซึ่งจะเนนทางเทคนิควิทยาการเฉพาะดานซึ่งจะตองอาศัยผูเชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงานดวยความชํานาญเปนหลักแตทั้งสองวิชาดังกลาวก็จะสามารถดําเนินการควบคูกันไปไดอยางมีประสิทธิภาพเพราะในการชี้ระบุตัวบุคคลตองอาศัยงานดานพิมพลายนิ้วมือเปนเครื่องยืนยันเปนหลัก โดยอาศัยวิธีการดานการทะเบียนประวัติอาชญากรรมมาเปนแนวทางเอื้ออํานวยในการที่จะตรวจสอบหรือยืนยัน

Page 7: Document Teaching

- 7 -

ขอมูลนั้น ๆ ซึ่งจากลักษณะการปฏิบัติงานดานการทะเบียนประวัติอาชญากรดังกลาว สามารถที่จะสรุปลักษณะการปฏิบัติงานได ดังนี้ 1. มีลักษณะเปนการเก็บขอมูล คือเปนการเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานตาง ๆ ที่ไดรับจากพนักงานสอบสวนหรือตํารวจทองที่ โดยนํามาจัดเก็บเปนบัตรสารบบหรือเปนแฟมเรียงตามคารหัสหรือหมายเลขทะเบียน หรือเรียงตามลําดับอักษรและสําเนียงหรือตามหลักวิธีการตาง ๆ แลวแตกรณีซึ่งขอมูลตาง ๆ ไดแก เอกสารแผนพิมพลายนิ้วมือ เอกสารรายงานแผนประทุษกรรม รูปถายผูตองหา เอกสารหมายจับและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด ตําหนิรูปพรรณทรัพยสิน หรือแมแตประวัติยอของผูตองขัง บุคคลพนโทษ ผูไดรับการพระราชทานอภัยโทษ ฯลฯ เหลานี้เปนตน 2. มีลักษณะเปนการตรวจสอบและแจงผล เนื่องจากงานดานการทะเบียนประวัติอาชญากรมีลักษณะเปนการเก็บขอมูลดังกลาวขางตน ดังนั้นขอมูลที่เก็บไวจะมีการตรวจสอบจากหนวยงานที่เก่ียวของและมีการแจงผลกันอยูตลอดเวลา สําหรับวิธีการตรวจสอบขอมูลสวนใหญจะใชวิธีการตรวจสอบดวยระบบดัชนีและลายพิมพนิ้วมือระบบ เอฟ.บ.ีไอ. นอกจากนี้ในปจจุบันก็ไดมีการนําเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสเขามาใชในระบบการเก็บและตรวจสอบขอมูลเพื่อใหสะดวกและรวดเร็ว เชน เครื่องไมโครฟลมและเครื่องคอมพิวเตอร เปนตน 3. มีลักษณะเปนการออกประกาศตาง ๆ เชน ประกาศสืบจับ ประกาศรางวัลสินบนนําจับ ประกาศตําหนิรูปพรรณทรัพย ประกาศคนหายพลัดหลง และประกาศคนตายไมทราบชื่อ เปนตน

หนวยงานท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติงานดานการทะเบียนประวัติอาชญากรและพิมพลายน้ิวมือ

ในปจจุบันไดมีการกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติ

ตาม พระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ. 2547 กฎกระทรวง แบงสวนราชการเปนกองบังคับการ หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นในสํานักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ. 2547 และระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยการกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสํานักงานตํารวจแหงชาติ (กองนิติการ สํานักงานกฎหมายและสอบสวน สํานักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ. 2548) สงผลใหหนวยงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติที่เกี่ยวของและรับผิดชอบงานดานการทะเบียนประวัติอาชญากรมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม ดังนี้

Page 8: Document Teaching

- 8 -

สวนกลาง กองทะเบียนประวัติอาชญากร (ทว.) สังกัด สํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (สทส.) รับผิดชอบงานดานการทะเบียนประวัติอาชญากร (แตเดิมสังกัด สํานักงานวิทยาการตํารวจ) กองทะเบียนประวัติอาชญากร ประกอบดวย 1. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 มีหนาที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับการบันทึกตรวจสอบ จัดเก็บขอมูลประกาศสืบจับ แผนประทุษกรรม สมุดภาพคนราย ทรัพยหาย รถหาย คนตายพลัดหลง บุคคลพนโทษ เฉพาะในสวนกลางดวยระบบคอมพิวเตอรและงานรับ - สงขอมูลขาวสาร ทางขายวิทยุสื่อสารของกองทะเบียนประวัติอาชญากร รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งของผูบังคับบัญชา 2. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 2 มีหนาที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับการดําเนนิการดานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูตองหา และผลคดี ที่สงมาจากหนวยงานราชการในสวนกลาง และสวนภูมิภาค รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งของผูบังคับบัญชา 3. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 3 มีหนาที่และความรับผิดชอบในการดําเนินการเก่ียวกับลายพิมพนิ้วมือผูตองหา ผูถูกคุมประพฤติ นักโทษ ศพที่ตายผิดธรรมชาติ ผูขออนุญาต ผูสมัครงานที่สงมาจากหนวยงานราชการในสวนกลางและสวนภูมิภาค รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งของผูบังคับบัญชา 4. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 4 มีหนาที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับการจัดทําและรับรองรายการประวัติการกระทําความผิด จัดเก็บสารบบแผนพิมพลายนิ้วมือและแฟมประวัติการกระทําความผิด คัดแยกแผนพิมพนิ้วมือที่อยูในขายตองทําลายออกจากสารบบ รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งของผูบังคับบัญชา 5. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 5 มีหนาที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับการตรวจสอบและเปรียบเทียบลายพิมพนิ้วมือดวยระบบคอมพิวเตอร บริหารจัดการฐานขอมูล ลายพิมพนิ้วมือ ควบคุมดูแลการทํางานของระบบคอมพิวเตอร รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งของผูบังคับบัญชา 6. กลุมงานผูเชี่ยวชาญ มีหนาที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับการใหคําแนะนํา ปรึกษา ตอบขอหารือเก่ียวกับงานแตละดานที่มีความชํานาญเปนพิเศษ ศึกษา คนควา พัฒนางานการทะเบียนประวัติอาชญากรและลายพิมพนิ้วมือ การวิเคราะหออกแบบเก่ียวกับชุดคําสั่งระบบ รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งของผูบังคับบัญชา กลุมงานผูเชี่ยวชาญวิทยาการตํารวจประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญดานลายพิมพนิ้วมือ ผูเชี่ยวชาญดานการทะเบียนประวัติอาชญากรและผูเชี่ยวชาญระบบงานคอมพิวเตอร

Page 9: Document Teaching

- 9 -

7. งานอํานวยการ มีหนาที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานธุรการ งานกําลังพล งานคดีวินัย งานยุทธศาสตรและแผน งานงบประมาณ งานฝกอบรม งานการเงิน งานบัญชีและงานพัสดุ รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งของผูบังคับบัญชา 8. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) ดําเนินการเกี่ยวกับการวางแผนและการกําหนดโครงการเกี่ยวกับงานเทคโนโลยีและสารสนเทศ ของกองทะเบียนประวัติอาชญากร 2) ดําเนินการปรับปรุงพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานขอมูล ตาง ๆ ใหมีความทันสมัย 3) ดําเนินการจัดทําระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูล และผูที่จะเขามาใชหรือแกไขขอมูลอยางเปนระบบสามารถตรวจสอบได 4) งานอื่น ๆ ที่ผูบังคับบัญชามอบหมาย สวนภูมิภาค หนวยงานในสวนภูมิภาคที่ เกี่ยวของกับงานดานการทะเบียนประวัติอาชญากร คือ กองวิทยาการ 1 - 4 สังกัด สํานักงานนิติวิทยาศาสตรตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ประกอบดวย (สํานักงานนิติวิทยาศาสตรตํารวจ แตเดิมคือ สํานักงานวิทยาการตํารวจ) 1. วิทยาการเขต มีหนาที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับการตรวจสถานที่เกิดเหตุ การตรวจพิสูจนหลักฐานตาง ๆ ทั้งการตรวจพิสูจนทางวิทยาศาสตร ทางหลักการเปรียบเทียบ การถายรูป การตรวจพิสูจนเก่ียวกับอาวุธปน การทะเบียนประวัติอาชญากรและการตรวจพิสูจนตัวบุคคลดวยลายพิมพนิ้วมือ เพ่ือชวยเหลือพนักงานสอบสวนตามกระบวนการยุติธรรมและดําเนินการตรวจตามที่สํานักงานตํารวจแหงชาติสั่งการในเขตอํานาจความรับผิดชอบและเขตพื้นที่การปกครองของวิทยาการเขตแตละเขตและวิทยาการจังหวัด รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมาย 2. กลุมงานผูเชี่ยวชาญ ทําหนาที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับ 1) ดําเนินการศึกษาคนควาวิจัยและพัฒนาโครงการเก่ียวกับการตรวจพิสูจนหลักฐาน และงานทะเบียนประวัติเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของวิทยาการเขตและวิทยาการจังหวัด 2) ทําหนาที่ใหคําแนะนํา ปรึกษา ตอบขอหารือเก่ียวกับงานในการตรวจพิสูจนหลักฐานและงานทะเบียนแตละวิทยาเขตและวิทยาการจังหวัด 3) งานอื่น ๆ ที่ผูบังคับบัญชามอบหมาย 3. งานอํานวยการ มีหนาที่และรับผิดชอบเก่ียวกับงานธุรการ งานกําลังพล งานแผนงาน งานงบประมาณ งานการเงินและงานสงกําลังบํารุงของกองบังคับการ รวมทั้ง งานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งของผูบังคับบัญชา

Page 10: Document Teaching

- 10 -

4. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหนาที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับ 1) ดําเนินการสราง ควบคุม ดูแลรักษา พัฒนาและศึกษาวิเคราะหระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศและเสนอแนวความคิดในการพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบังคับการ 2) ดําเนินการสรางเว็ปไซตและพัฒนาระบบเพ่ือเผยแพรการดําเนินงานของแตละหนวยงานโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและเคร่ืองมืออื่น ๆ ควบคุมดูแลบํารุงรักษาระบบตลอดจนมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน แจงขอมูลขาวสารรวมถึงการใหคําแนะนําในการปฏิบัติของหนวยในสังกัด 5. วิทยาการเขตและวิทยาการจังหวัดที่อยูในความรับผิดชอบของกองวิทยาการ 1 - 4 มีดังนี้ กองวิทยาการ 1 ตั้งอยูท่ีกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย

วิทยาการ เขต 11(ปทุมธานี ) มีวิทยาการจั งหวัดในความรับผิดชอบ คือ สมุทรปราการ และนนทบุรี

วิทยาการเขต 12 (อยุธยา) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ลพบุรี สระบุรี อางทอง สิงหบุรีและชัยนาท

วิทยาการเขต 13 (ชลบุรี) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ระยอง จันทบุรีและตราด

วิทยาการเขต 14 (ปราจีนบุรี) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ นครนายก ฉะเชิงเทราและสระแกว

วิทยาการเขต 15 (นครปฐม) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ สุพรรณบุรี กาญจนบุรีและสมุทรสาคร

วิทยาการเขต 16 (เพชรบุรี) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ราชบุรีและสมุทรสงคราม

กลุมงานผูเชี่ยวชาญ กองวิทยาการ 2 ตั้งอยูท่ีจังหวัดนครราชสีมา ประกอบดวย

วิทยาการเขต 21 (นครราชสีมา) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ชัยภูมิ บุรีรัมยและสุรินทร

วิทยาการเขต 22 (อุบลราชธานี) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ยโสธรและศรีสะเกษ

วิทยาการเขต 23 (ขอนแกน) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ หนองบัวลําภู อุดรธานี หนองคาย เลยและมหาสารคาม

Page 11: Document Teaching

- 11 -

วิทยาการเขต 24 (สกลนคร) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ กาฬสินธุ นครพนม รอยเอ็ดและมุกดาหาร

กลุมงานผูเชี่ยวชาญ

กองวิทยาการ 3 ตั้งอยูท่ีจังหวัดลําปาง ประกอบดวย วิทยาการเขต 31 (ลําปาง) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ นาน พะเยา

และแพร วิทยาการเขต 32 (เชียงใหม) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ เชียงราย

ลําพูนและแมฮองสอน วิทยาการเขต 33 (พิษณุโลก) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ สุโขทัย

พิจิตร อุตรดิตถและเพชรบูรณ วิทยาการเขต 34 (นครสวรรค) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ อุทัยธานี

ตากและกําแพงเพชร กลุมงานผูเชี่ยวชาญ

กองวิทยาการ 4 ตั้งอยูท่ีจังหวัดสงขลา ประกอบดวย วิทยาการเขต 41 (สงขลา) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ สงขลาและ

สตูล วิทยาการเขต 42 (สุราษฎรธานี) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ชุมพร

และระนอง วิทยาการเขต 43 (นครศรีธรรมราช) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ตรัง

และพัทลุง วิทยาการเขต 44 (ภูเก็ต) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ กระบี่และพังงา วิทยาการเขต 45 (ยะลา) มีวิทยาการจังหวัดในความรับผิดชอบ คือ ปตตานีและ

นราธิวาส กลุมงานผูเชี่ยวชาญ

ทั้งนี้ถาจะกลาวถึง หนวยงานที่มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอนของการดําเนินงานทางดานการทะเบียนประวัติอาชญากรอยางครบถวนสมบูรณแลว “กองทะเบียนประวัติอาชญากร” ถือวาเปนแมบทหรือหนวยงานที่มีหลักการดําเนินงานทางดานนี้อยางสมบูรณในภารกิจของ กองทะเบียนประวัติอาชญากร

********************

Page 12: Document Teaching

- 12 -

บทที่ 2 แผนประทุษกรรม

ความหมายของแผนประทุษกรรม แผนประทุษกรรม (modus oparandi) หมายถึง แบบอยางการทุจริตหรือวิธีการกระทําผิด

ของคนราย ทั้งนี้มิไดหมายถึงแตเพียงวิธีการอยางหนึ่งอยางใดของคนรายที่กระทําไป เพ่ือทําลายสิ่งกีดกั้น หรือเพ่ือใหเขาไปถึงที่เก็บทรัพย เชน การเจาะ งัด ตัด ไข ปนปาย ลวง และสอย เทานั้น แตหมายถึงพฤติกรรมของคนรายทั้งหมด นับต้ังแตเริ่มดําเนินการ อาจมีการใชเครื่องมือหรืออาวุธหรือวิธีการใด ๆ ตลอดจนการใชพรรคพวกและยานพาหนะ หรืออุบายเลหกลตาง ๆ เพื่อชวยใหการทุจริตนั้นสําเร็จผล แผนประทุษกรรมของคนรายมีมากมายหลายรูปแบบ การที่จะเกิดรูปแบบใดนั้นยอมสุดแลวแตรูปคดี สภาพของสถานที่เกิดเหตุ ความรูความชํานาญ ความคิดเห็นของคนรายแตละคน ซึ่งมีการวิวัฒนาการไปตามยุคตามสมัยและตามความเจริญของบานเมือง เม่ือป พ.ศ. 2472 พล.ต.ท. พระยาวธิกรณประภาศ เปนอธิบดีกรมตํารวจ ไดมีการนําแผนประทุษกรรมมาใชครั้งแรกในเมืองไทย โดยมี พล.ต.ต. หลวงสนิท ตุลยารักษ เปนผูริเริ่มในมาใชในกิจการตํารวจไทย ซึ่งนับวาทานเปนปรมาจารยในวิชาแผนประทุษกรรม โดยนําแบบอยางมาจาก ทาน เซอรแอทเซอรเลย ซึ่งเปนผูคนคิดการจัดทําแผนประทุษกรรมขึ้น

ประโยชนของแผนประทุษกรรม

1. ในดานการสืบสวน มีประโยชนในการชวยชี้ชองทางหรือแนะแนวทางการสืบสวน หาตัวคนราย โดยการนําขอมูลรายละเอียดแผนประทุษกรรมของคนรายที่เกิดขึ้นมาวินิจฉัยเปรียบเทียบกับแผนประทุษกรรมของคนรายที่มีประวัติเก็บไว วาการกระทําอยางนั้นนาจะเปนการกระทําของคนรายกลุมใดคนใด เพ่ือชวยในการสืบสวนหาตัวคนรายใหอยูในวงแคบเขา 2. ในดานการสอบสวน ชวยรื้อฟนคดีเกา ๆ ที่ ยังจับตัวคนรายไมได หากตอมาภายหลังจับตัวคนรายไดในคดี ซึ่งมีแผนประทุษกรรมคลายคลึงกับคดีเกา ๆ นั้น ก็อาจสันนิษฐานไดวานาจะเปนการกระทําของคนรายคนเดียวกันนั้นเอง เพ่ือจะไดทําการสอบสวนหาหลักฐานอื่นมาประกอบยืนยันตัวคนรายและนําคดีเกา ๆ นั้นมาฟองรองใหศาลลงโทษตอไป 3. ในดานการปองกันและปราบปราม เพ่ือประโยชนในการศึกษารายละเอียดแผนประทุษกรรมของคนรายที่เกิดขึ้นในรูปแบบตาง ๆ และมีแนวโนมวาจะเกิดขึ้นอีกตอไปในอนาคต แลวนํามาใชเปนขอมูลในการพิจารณาวางแผนหาทางปองกันและปราบปรามอาชญากรรมตอไป เชน แผนประทุษกรรมของคนรายลักทรัพยโดยใชกลอุบายตาง ๆ คดีฉอโกงบัตรเครดิต และคดี ฉอโกงประชาชน เปนตน

Page 13: Document Teaching

- 13 -

การปฏิบัติเก่ียวกับการรายงานแผนประทุษกรรม ใหถือปฏิบัติตามระเบียบกรมตํารวจ วาดวยการปฏิบัติหนาที่และการประสานงานเก่ียวกับการตรวจสอบประวัติและการตรวจสอบแผนประทุษกรรมระหวางพนักงานสอบสวนกับหนวยงานวิทยาการตํารวจ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2534 ลง 26 มิถุนายน 2534

ระเบียบกรมตํารวจวาดวย การปฏิบัติหนาท่ีและการประสานงานเกี่ยวกับการตรวจสอบประวัติและการตรวจสอบแผนประทุษกรรมระหวางพนักงานสืบสวนสอบสวน

กับหนวยงานวิทยาการตํารวจ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2534 ---------------

ตามคําสั่งกรมตํารวจที่ 9/2498 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ 2489 ใหใชขอบังคับกระทรวงมหาดไทย ที่ 1/2498 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ 2498 ซึ่งไดวางระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะ 18 บทที่ 11 วาดวยการปฏิบัติหนาที่และการประสานงานเก่ียวกับการตรวจสอบประวัติระหวางพนักงานสืบสวนสอบสวนกับกองทะเบียนประวัติอาชญากรไวเปนแนวทางปฏิบัติแลว นั้น เนื่องจากระเบียบการปฏิบัติหนาที่และการประสานงานเก่ียวกับการตรวจสอบประวัติระหวางพนักงานสืบสวนสอบสวนกองทะเบียนประวัติอาชญากรของลักษณะ 18 บทที่ 11 ขอ 565, 566, 567, 568, 569, 570 ซึ่งกําหนดไวใหถือปฏิบัตินั้น ขณะนี้ไมเหมาะสมสอดคลองและตรงตามขอเท็จจริงในสภาพการณปจจุบัน สมควรไดมีการแกไขเพ่ิมเติมระเบียบและแบบ ผ.1 - ต. 521 ทายระเบียบในเรื่องดังกลาวเสียใหม อาศัยอํานาจตามความในขอ 3 แหงขอบังคับกระทรวงมหาดไทย ที่ 4/2499 ลงวันที่ 13 ตุลาคม 2499 ใหอํานาจอธิบดีกรมตํารวจยกเลิก แกไขเพิ่มเติมประมวลระเบียบการตํารวจทั้งในสวนที่เกี่ยวกับคดีและในสวนที่ไมเก่ียวกับคดีได จึงวางระเบียบไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ใหยกเลิกความในบทที่ 11 ขอ 565, 566, 567, 568, 569 และขอ 570 ของลักษณะ 18 แหงประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดีเสียทั้งหมด และใหใชความที่แนบทายระเบียบนี้ เปนบทที่ 11 ขอ 565, 566, 567, 568, 569 และขอ 570 แทน

ขอ 2 ใหยกเลิก แบบ ผ. 1 - ต. 521 ทายบทที่ 11 ของลักษณะ 18 แหงประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดีเสียทั้งหมด และใหใชแบบ ผ. 1 - 2534 และแบบ ผ. 2 - 2534 ที่แนบทายระเบียบนี้แทน ขอ 3 ใหใชระเบียบนี้ต้ังแตบัดนี้เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2534

ลงชื่อ พลตํารวจเอก สวัสด์ิ อมรวิวัฒน (สวัสดิ์ อมรวิวัฒน)

อธิบดีกรมตํารวจ

Page 14: Document Teaching

- 14 -

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะ 18 บทท่ี 11 ตามระเบียบกรมตํารวจ วาดวยการปฏิบัติหนาที่และการประสานงานเกี่ยวกับการตรวจสอบประวัติและการตรวจสอบแผนประทุษกรรมระหวางพนักงานสืบสวนสอบสวนกับหนวยงานวิทยาการตํารวจ

“ขอ 565 ใหพนักงานสอบสวน จัดสงแผนพิมพลายนิ้วมือผูตองหาซึ่งไดจัดทําขึ้น ตามระเบียบกรมตํารวจวาดวยการพิมพลายนิ้วมือฯ ไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือ หนวยวิทยาการตํารวจสวนภูมิภาค เพ่ือตรวจสอบประวัติสํานวนการสอบสวน และจัดเก็บไวเปนประวัติการกระทําความผิดของผูตองหา นั้น

ขอ 566 ความผิดในคดีตาง ๆ ที่เกิดขึ้นดังตอไปนี้ ก. ความผิดเก่ียวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน ข. ความผิดเก่ียวกับการปลอมและการแปลง ค. ความผิดเก่ียวกับเพศ ง. ความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกาย ที่มีลักษณะอุกฉกรรจหรืออันตรายสาหัส หรือเปนเรื่องที่สนใจของประชาชน เวนความผิดที่ไดกระทําโดยประมาท จ. ความผิดเก่ียวกับทรัพยเวนความผิดฐานทําใหเสียทรัพยและความผิดฐาน บุกรุก ฉ. ความผิดอื่นๆ ซึ่งเปนคดีสําคัญสะเทือนขวัญหรือเปนที่นาสนใจของประชาชน ใหพนักงานสอบสวนเจาของคดีบันทึกแผนประทุษกรรม ประวัติและตําหนิรูปพรรณของผูกระทําความผิดลงในแบบรายงานแผนประทุษกรรม (ผ.1-2534) และแบบรายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด (ผ.2-2534) ตามตัวอยางทายขอความในบทนี้สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือหนวยวิทยาการตํารวจสวนภูมิภาค เพ่ือรวบรวมขอมูลไวใหเปนระบบสําหรับตรวจสอบวามีพฤติการณคลายคลึงกับการกระทําผิดของผูใด ตลอดจนใชเปนประโยชนในการสืบสวนสอบสวนและปองกันปราบปรามอาชญากรรมตอไป และใหพนักงานสอบสวนเจาของคดีนั้น ๆ นําผลการตรวจสอบจากกองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือหนวยวิทยาการตํารวจ สวนภูมิภาคติดสํานวนการสอบสวน กอนที่จะสงสํานวนการสอบสวนไปใหพนักงานอัยการดําเนินคดี

ขอ 567 หนาที่ของพนักงานสอบสวนในการรายงานแผนประทุษกรรม ประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดมีดังนี ้ ก. คดีที่ไมปรากฏวาผูใดเปนผูกระทําความผิด ใหบันทึกขอมูลแผนประทุษกรรมของคนรายลงในแบบรายงานแผนประทุษกรรม (ผ.1-2534) สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร

Page 15: Document Teaching

- 15 -

หรือหนวยวิทยาการตํารวจสวนภูมิภาคภายในระยะเวลาไมเกิน 7 วัน นับจากวันที่รับคํารองทุกขหรือคํากลาวโทษ ข. คดีที่รูตัวผูกระทําความผิด แตเรียกหรือจับตัวยังไมไดนอกจากจัดทําบันทึกแผนประทุษกรรมแลว ใหบันทึกขอมูลประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดตามที่ไดสืบสวนสอบสวนมาในแบบรายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด (ผ.2 - 2534) สงไปพรอมกันดวย ค. คดีที่รูตัวผูกระทําความผิด และผูนั้นถูกควบคุมหรือปลอยชั่วคราว ใหจัดสงตัวผูตองหาพรอมดวยรายงานแผนประทุษกรรม รายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือหนวยวิทยาการตํารวจสวนภูมิภาคภายในระยะเวลาไมเกิน 7 วันนับจากวันที่จับกุมผูตองหาได เพ่ือตรวจสอบแผนประทุษกรรม ประวัติและตําหนิรูปพรรณ จัดพิมพลายพิมพหัวแมมือและฝามือทั้งซายและขวา และถายรูปผูตองหาไวทุกคน ถาเปนคดีซึ่งจะมีปญหาการรักษาความปลอดภัยในการควบคุมตัวผูตองหาระหวางการเดินทาง หรือเปนทองที่กันดารการคมนาคมไมสะดวกหางไกล ใหพนักงานสอบสวนจัดทํารายงานแผนประทุษกรรม รายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด จัดพิมพลายนิ้วหัวแมมือและฝามือทั้งซายและขวา พรอมทั้งถายรูปผูตองหา ดานขาง ดานตรงและดานเฉียงตามแบบของกองทะเบียนประวัติอาชญากร สงไปพรอมกับแบบรายงาน ฯ โดยไมตองจัดสงตัวผูตองหาไปดวย ง. คดีที่เกิดในเขตกรุงเทพมหานคร ใหจัดทํารายงานแผนประทุษกรรม รายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร จํานวน 2 ชุด จ. คดีที่เกิดในเขตสวนภูมิภาค ใหจัดทํารายงานแผนประทุษกรรม รายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด สงไปยังวิทยาการจังหวัด จํานวน 4 ชุด และสําหรับจังหวัดที่ไมมีวิทยาการจังหวัดต้ังอยู ใหจัดทําสงไปยังกองกํากับการวิทยาการ จํานวน 3 ชุด

ขอ 568 เม่ือกองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือหนวยวิทยาการตํารวจสวนภูมิภาคไดรับรายงานแผนประทุษกรรม รายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด และผูตองหาจากพนักงานสอบสวนแลว ใหดําเนินการดังนี้ ก. ถายรูปผูตองหาตามแบบ ดานขาง ดานตรง และดานเฉียง ข. ตรวจสอบขอมูลตําหนิรูปพรรณ จากรายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดเปรียบเทียบกับตัวผูตองหาที่พนักงานสอบสวนจัดสงมา หากพบความคลาดเคลื่อนหรือไมสมบูรณ ใหจัดการแกไขหรือบันทึกเพ่ิมเติมใหถูกตองสมบูรณ ค. จัดพิมพลายนิ้วหัวแมมือและฝามือทั้งซายและขวาของผูตองหา ในแบบรายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด

Page 16: Document Teaching

- 16 -

ง. ตรวจสอบแผนประทุษกรรมตามหลักวิชา บันทึกผลการตรวจสอบลงในทายของแบบรายงานแผนประทุษกรรม เพ่ือใหพนักงานสอบสวนรับคืนไปติดสํานวนการสอบสวนจํานวน 1 ชุด ภายในระยะเวลาไมเกิน 5 วันทําการนับจากวันที่ไดรับรายงานจากพนักงานสอบสวน และสําหรับกรณีที่ตรวจสอบพบประวัติแผนประทุษกรรม ใหแนบรายการที่ตรงกันหรือคลายกับคดีที่เกิดขึ้นไปพรอมกันดวย จ. จัดเก็บขอมูลแผนประทุษกรรม ประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดและรูปถายผูตองหาไวใหเปนระบบ เพ่ือเปนฐานขอมูลสําหรับการสืบสวนสอบสวนและปองกันปราบปรามอาชญากรรมตอไป ฉ. ใหกองกํากับการวิทยาการจัดสงรายงานแผนประทุษกรรม รายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด พรอมทั้งรูปถายผูตองหาใหกองทะเบียนประวัติอาชญากรจํานวน 1 ชุด ช. ใหวิทยาการจังหวัดสงรายงานแผนประทุษกรรม รายงานประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด พรอมทั้งรูปถายผูตองหา ใหกองกํากับการวิทยาการ จํานวน 1 ชุดและใหกองทะเบียนประวัติอาชญากร จํานวน 1 ชุด

ขอ 569 ใหพนักงานสืบสวนสอบสวนใชขอมูลแผนประทุษกรรม ประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดใหเปนประโยชนแกการสืบสวนสอบสวน ในการชี้ชองหรือชี้ตัวคนรายบางรายที่ยังจับกุมไมได และการขยายผลการดําเนินคดีกับคนรายที่จับกุมตัวไดแลว และใหพนักงานสืบสวนสอบสวนดําเนินการ ดังนี้ ก. เม่ือปรากฏวาคนรายไดนําสิ่งของที่ถูกประทุษรายนั้นไปจํานําไวยังโรงรับจํานําใหพนักงานสอบสวนตัดตนขั้วตั๋วจํานําสงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือกองกํากับการวิทยาการ หรือวิทยาการจังหวัด เพ่ือทําการตรวจสอบคนหาตัวผูนําสิ่งของนั้นไปจํานําไวตอไป ถากองกํากับการวิทยาการหรือวิทยาการจังหวัดไดตรวจสอบและแจงผลแลววาไมพบประวัติหรือ ไมทราบตัวใหพนักงานสอบสวนสงตนขั้วต๋ัวจํานําไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร เพ่ือทําการตรวจสอบทานอีกครั้งหนึ่ง ข. หากในกรณีใดปรากฏวา ผูเสียหายหรือพยานจําหนาหรือตําหนิรูปพรรณบางอยางของคนรายได ใหพนักงานสอบสวนเจาของคดีสงผูเสียหายหรือพยานนั้น ๆ ไปยัง กองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือกองกํากับการวิทยาการ หรือวิทยาการจังหวัดแลวแตกรณี พรอมดวยบันทึกเหตุการณหรือแผนการโดยยอของคนราย เพ่ือใหเจาหนาที่จัดการตรวจสอบคนหาตามหลักวิชาการและจัดใหผู เสียหายหรือพยานไดดูรูปถายคนรายที่ มีอยู หรือวาดคนราย ตามคําบอกเลาจากการจดจําลักษณะของผูเสียหายหรือพยาน เพ่ือเปนแนวทางหาตัวตอไป

Page 17: Document Teaching

- 17 -

ขอ 570 การออกตําหนิรูปพรรณบุคคลและทรัพย ซึ่งตองปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตํารวจเก่ียวกับคดี ลักษณะ 14 ขอ 399 ที่กําหนดใหสงตําหนิรูปพรรณบุคคลไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือหนวยวิทยาการตํารวจสวนภูมิภาคนั้น ใหงดสงเฉพาะตําหนิรูปพรรณบุคคลที่ไดสงตัวไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือหนวยวิทยาการตํารวจสวนภูมิภาคแลว สวนนอกนั้นคงใหปฏิบัติไปตามเดิม" (ระเบียบกรมตํารวจ วาดวยการปฏิบัติหนาที่และการประสานงานเก่ียวกับการตรวจสอบประวัติและการตรวจสอบแผนประทุษกรรมระหวางพนักงานสืบสวนสอบสวนกับหนวยงานวิทยาการตํารวจ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2534 ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2534)

********************

Page 18: Document Teaching

- 18 -

บทที่ 3 การดําเนินการเกี่ยวกับการออกประกาศสืบจับคนรายหลบหน ี

ความหมายของประกาศสืบจับ ประกาศสืบจับ คือ การนําเอาขอมูลรายละเอียดที่สําคัญของหมายจับ ตําหนิรูปพรรณผูกระทําผิดที่พนักงานสอบสวนเจาของคดีสงมายัง ทว., วิทยาการเขต หรือวิทยาการจังหวัดใหออกประกาศและแจกจายใหกับสถานีตํารวจนครบาล สถานีตํารวจภูธร รวมทั้งหนวยงานราชการ ที่เก่ียวของทั่วราชอาณาจักรทราบ เพ่ือชวยสืบจับ

ประกาศสืบจับจําแนกออกเปน 3 ชนิด คือ 1. ประกาศสืบจับทั่วไป 2. ประกาศสืบจับพิเศษ 3. ประกาศสืบจับมีสินบนนําจับ

ประโยชนของประกาศสืบจับ สนับสนุนขอมูลใหกับพนักงานสืบสวนสอบสวน และปราบปราม ดังนี ้

1. ในดานการสืบสวน 1.1 ในกรณีที่ มีคนรายหลบหนีการจับกุม เ ม่ือพนักงานสอบสวน

สงหมายจับ และตําหนิรูปพรรณใหออกประกาศสืบจับผูตองหา หรือจําเลยหลบหนี จะดําเนินการออกประกาศแจกจายใหหนวยงานราชการที่เก่ียวของทั่วราชอาณาจักรทราบเพ่ือชวยสืบจับ

1.2 เปนแหลงรวบรวมในการตรวจสอบประวัติ หมายจับ ผูตองหา หรือจําเลยหลบหนีทั่วราชอาณาจักร โดยตรวจสอบจากระบบฐานขอมูลผูกระทําผิดเพ่ืออํานวยความสะดวกสนับสนุนงานดานการสืบสวนที่รวดเร็ว 2. ในดานการสอบสวน

ชวยในการตรวจสอบประวัติหมายจับผูกระทําผิดหลบหนีจากบัตรดัชนีประกาศสืบจับ เพ่ือตองการทราบวาผูตองหา หรือผูตองสงสัยเปนผูกระทําความผิดอาญาและอยูในระหวางการหลบหนีการจับกุมหรือไม และสถานีตํารวจใดตองการตัว

3. ในดานการปองกันปราบปราม 3.1 ไดรวบรวมรายชื่อบุคคลที่มีหมายจับ ทั่วราชอาณาจักรเฉพาะคดี

อุกฉกรรจเปนเลมเพ่ือทราบคดีที่คางเกายังจับกุมตัวบุคคลนั้นไมไดและสะดวกตอการตรวจสอบ 3.2 ไดรวบรวมประกาศสืบจับทุกฉบับที่ไดแจกจายเปนเลมประจําปเพื่อ

ใชประโยชนในการตรวจสอบ

Page 19: Document Teaching

- 19 -

การติดตอหนวยงานดวยทะเบียนประวัติอาชญากรเพ่ือใหออกประกาศสืบจับบุคคล เม่ือมีการแจงความวา บุคคลใดกระทําความผิดแลวหลบหนีจับตัวไมได หรือผูตองหาหรือนักโทษ ซึ่งอยูในระหวางการควบคุมของเจาพนักงานไดหลบหนีไป ผูรับผิดชอบยังติดตามจับกุมตัวไมได เปนการสมควรที่จะใหตํารวจทั่วประเทศซึ่งรับผิดชอบ ในเขตทองที่ตาง ๆ ไดชวยสอดสองจับกุมตัวให ถาไดหลบหนีไปอยูในเขตของตน เปนการชวยระดมพลังตํารวจทั่วประเทศใหชวยคนหาติดตามตัว การปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะ 14 บทที่ 1 เร่ืองการออกตําหนิรูปพรรณผูกระทําผิดและคําสั่งที่ 61/2504 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2504 เรื่องการจัดทําบัญชีคนรายหลบหนีเพิ่มเติมเปนวรรค 3 ของขอ 399 บทที่ 1 ลักษณะ 14 โดยมีเอกสารในการขอใหออกประกาศสืบจับ ดังน้ี 1. ตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด ตามแบบฟอรม วท. 7 - ต. 321 2. หมายจับหรือสําเนา 3. รูปถาย (ถามี) กรณีที่ผูหลบหนีมีลายพิมพนิ้วมืออยูแลว ใหอางลายพิมพนิ้วมือ หรือสงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรดวย เพ่ือเปนการอายัดบุคคลเหลานี้ไวในสารบบการตรวจสอบพิมพลายนิ้วมือ จํานวนเอกสารท่ีจะดําเนินการ มีดังน้ี 1. ในกรุงเทพมหานคร ทําไว 2 ชุด สงกองทะเบียนประวัติอาชญากร 1 ชุด เก็บในสํานวนการสอบสวน 1 ชุด 2. สวนภูมิภาค ทํา 4 ชุด เก็บในสวนสํานวนการสอบสวน 1 ชุด สงตํารวจวิทยาการจังหวัด วิทยาการเขต และกองทะเบียนประวัติอาชญากร แหงละ 1 ชุด เวนจังหวัดที่ไมมีวิทยาการจังหวัด คงทําเพียง 3 ชุด

กรณีมีการใหสินบนหรือรางวัล พนักงานสอบสวนบันทึกถอยคําผูใหสินบนรางวัลใหชัดเจนวาจะใหเทาใด ใหเมื่อจับตัวไดหรือเมื่ออัยการสั่งฟอง หรือเม่ือผูพิพากษาลงโทษ เปนตน และจะจายใหเม่ือใด ที่ไหน อยางไร

Page 20: Document Teaching

- 20 -

กรณีไดตัวผูกระทําผิดมาหลังจากขอใหประกาศสืบจับ ตองแจงใหงดการสืบจับ โดยใชแบบฟอรม ค. 142 - ต.231 ไปยังหนวยทะเบียนประวัติอาชญากรทุกแหง เพ่ือใหทําประกาศงดสืบจับและรวบรวมทําเปนสถิติที่ถูกตอง

การสอดสองคนรายหลบหนีในทองที่ สํานักงานตํารวจแหงชาติมีความประสงคใหตํารวจทองที่ทุกสถานีตํารวจ ทําการสอดสองคนรายหลบหนีไปทองที่ของตน ไมวาจะเปนคนราย ที่หลบหนีจากในเขตทองที่ของตน หรือจากทองที่อื่นทั่วราชอาณาจักร ซึ่งทราบไดจากประกาศสืบจับของตํารวจจากวิทยาการจังหวัด หรือกองกํากับการวิทยาการเขต หรือกองทะเบียนประวัติอาชญากร เพ่ือใหสถานีตํารวจมีเครื่องมือ ในการตรวจสอบบุคคลที่ตองการตัว จึงไดวางระเบียบใหสถานีตํารวจไดจัดทําบัญชีคนรายหลบหนีขึ้น ตามแบบที่ทางราชการกําหนด คือ แบบ ค. 91 - ต.293 โดย เอาชื่อและรายการตาง ๆ ของบุคคลหลบหนีจากแบบ วท.7-ต.321 ของสถานีตํารวจนั้นและจากประกาศของตํารวจวิทยาการจังหวัด กองกํากับการวิทยาการเขตและกองทะเบียนประวัติอาชญากร ซึ่งเปนผูหลบหนีจากทองที่อื่น กรอกลงในบัญชี โดยคัดแยกชื่อตามอักษรตัวหนาของชื่อและใหหมายเหตุในกรณีที่มีการงดประกาศสืบจับแลว และรายใดเปนคนหลบหนี หรือคนรายในทองที่ ใหทําเครื่องหมายเปนพิเศษสะดุดตาเห็นไดงายเดนชัด

Page 21: Document Teaching

- 21 -

ประมวลกฎหมายการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะ 14 การออกตําหนิรูปพรรณบุคคลและทรัพย

บทท่ี 1 การออกตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิด

---------------------------

ขอ 395 เมื่อมีการกระทําความผิดอาญาเกิดขึ้น แตยังจับกุมตัวผูกระทําความผิดไมได และตองการแจงใหพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจในหนวยอื่นทราบดวย เพ่ือใหชวยกันสืบจับ โดยปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี เลม 1 ลักษณะ 5 บทที่ 2 ขอ 113 (2) ใหสถานีตํารวจ หรือหนวยงานเจาของคดีออกตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดตามแบบ วท.7 - ต.321 สงตรงไปยัง กองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือตํารวจวิทยาการสวนภูมิภาคโดยเร็ว การออกตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดนี้ ตองออกหมายจับสงควบตามไปดวย การกรอกตําหนิรูปพรรณผูกระทําความผิดใหกรอกขอความเกี่ยวกับผูกระทําความผิดโดยละเอียดเพียงพอที่ เจาพนักงานผูไดพบตัวผูกระทําผิดจะมั่นใจไดวาการจับกุมตัวผูนั้นไปสงตามประกาศสืบจับจะไมเปนการจับผิดตัว แมผูจับจะไมรูจักตัวผูกระทําผิดนั้นมากอน

ขอ 396 การขอใหออกประกาศสืบจับนี้ใหทําตําหนิรูปพรรณจํานวน 2 ฉบับ เก็บรวมเร่ืองไวในสํานวนสอบสวน 1 ฉบับ สวนอีก 1 ฉบับ สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือตํารวจวิทยาการสวนภูมิภาคแลวแตกรณี เพื่อออกประกาศสืบจับฯ และทําบัตรดัชนีสืบจับ

ขอ 397 ใหผูออกตําหนิรูปพรรณพยายามหารูปถายครั้งสุดทายของผูกระทําผิดที่ออกตําหนิรูปพรรณนี้ สงไปใหแกกองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือ ตํารวจวิทยาการสวนภูมิภาคแลวแตกรณี พรอมกับตําหนิรูปพรรณดวยทุกราย เพื่อประโยชนในการออกประกาศสืบจับ และใหปฏิบัติดังนี้ (1) ใหเขียนชื่อ นามสกุล ของผูกระทําผิดลงในดานหลังรูป แลวลงนามพนักงานสอบสวนผูรับรองพรอมดวย วัน เดือน ป ที่รับรอง (2) ถารูปถายนั้นเปนรูปหมู ใหพนักงานสอบสวนเขียนหมายเลขกํากับใหตรงกับรูปถายของผูกระทําผิด แลวเขียนหมายเหตุไวที่ดานหลังรูป รูปถายนี้ ถาพนักงานสอบสวนขอรับคืน ให กองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือ ตํารวจวิทยาการสวนภูมิภาค แลวแตกรณี สงรูปที่อัดใหมสําหรับลงในประกาศสืบจับคืนใหไป สวนรูปเดิมใหเก็บรวมเรื่องไวเปนหลักฐาน

Page 22: Document Teaching

- 22 -

ขอ 398 การออกตําหนิรูปพรรณและประกาศสืบจับผูกระทําผิดนี้ ถามีการใหสินบนหรือรางวัลดวย พนักงานสอบสวนบันทึกถอยคําผูใหสินบนรางวัลใหชัดเจนดวยวาจะใหเทาไร ใหเม่ือจับได หรือเมื่อพนักงานอัยการสงฟอง หรือ เม่ือศาลพิพากษาลงโทษแลว และจะจายเม่ือใด ที่ไหน ใหชัดเจน

ขอ 399 เม่ือออกตําหนิรูปพรรณสงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือตํารวจวิทยาการสวนภูมิภาค แลวแตกรณี เพ่ือใหออกประกาศสืบจับ แลวตอมาถาไดตัวผูกระทําความผิดนั้น โดยผูกระทําความผิดนั้น เขาหาเจาพนักงานเอง หรือถูกจับกุมได หรือโดยประการอื่นก็ตาม ใหสถานีตํารวจเจาของคดีแจงงดการสืบจับตาม แบบ ค.142 - ต.231 โดยเรียงรายตัวผูตองหาคนละ 1 ฉบับ พรอมแนบสําเนาหมายจับสงตรงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือตํารวจวิทยาการสวนภูมิภาค แลวแตกรณี การทําตําหนิรูปพรรณของผูตองหาที่ไดตัวแลว เพ่ือนําสงตามความในขอนี้ แมผูตองหานั้นมิไดเปนบุคคลที่ไดออกประกาศสืบจับก็ตาม พนักงานสอบสวนก็จะตองทําตําหนิรูปพรรณสงดวยอยางเดียวกัน ก. ใหกองกํากับการตํารวจภูธร สถานีตํารวจภูธรอําเภอ สถานีตํารวจภูธรก่ิงอําเภอ สถานีตํารวจนครบาล ก่ิงสถานีตํารวจนครบาล มีสมุดบัญชีคนรายหลบหนีตามแบบ ค.91-ต.239 ไวประจําทุกแหง ข. ในการจัดทํารายชื่อคนรายหลบหนีนี้ เพ่ือความสะดวกในการตรวจสอบ ใหใชกระดาษคอนขางแข็งขนาดกวางประมาณ 2 ซม. ติดไวที่ดานบนของแบบ ค.91 - ต.239 แตใหเหลื่อมกันมองเห็นไดตลอด สําหรับเขียนตัวอักษรเรียงตามลําดับหมายอักษรตามชื่อคนรายทํานองแบบดัชนี ถาชื่อคนรายมีหลายอักษร ใหถือตัวอักษรแรกของชื่อเปนหลัก ค. เม่ือเจาของคดีผูออกตําหนิรูปพรรณตามแบบ วท. 7 - ต.321 หรือเปนผูไดรับแบบ วท. นี้ จากสถานีตํารวจเมื่อได ก็ใหนําตําหนิรูปพรรณนั้นมาจด หรือคัดขอความลงในสมุด แบบ ค.91 - ต. 293 (บัญชีคนรายหลบหนี) ความใดที่ มีในแบบ วท.7 ต. - 321 แตไมมีในแบบ ค.91- ต.293 ก็ไมตองจดหรือคัดลงไป ง. สําหรับกองกํากับการตํารวจภูธร ในเมื่อผูวาราชการจังหวัดเปนผูออกหมายจับและมีแบบ วท.7 - ต.321 ติดมาดวย หรือเม่ือผูกํากับการตํารวจภูธรนั้น ๆ ออกหมายจับเอง ซึ่งตามปกติตองออกตําหนิรูปพรรณตามแบบ วท.7- ต.321 ดวย ก็ใหจัดทําบัญชีคนรายหลบหนีขึ้นไวโดยอนุโลมการปฏิบัติในขอ ค. เชนเดียวกัน จ. เม่ือกองกํากับการตํารวจภูธรที่ไดรับแบบ วท.7- ต. 321 จากจังหวัดหรือจากสถานีตํารวจอื่นใดก็ใหจัดการคัดขอความนั้น ๆ ลงในสมุดแบบ ค.91-ต.293 ตามวิธีการที่ไดกลาวมาแลว

Page 23: Document Teaching

- 23 -

ในขอ ข. ขอความใดที่มีในแบบ วท.7 - ต.321 แตไมมีในแบบ ค.91 - ต.293 ก็ไมตองคัดลงไปเชนเดียวกัน ฉ. ถาปรากฏรายชื่อคนรายในการประกาศสืบจับที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือกองกํากับการตํารวจวิทยาการเขต ไดออกประกาศไปตรงกับคนรายที่มีอยูในสมุดแบบ ค.91 ต.293 ของตํารวจหนวยใดตามที่กลาวในขอ ก. ใหเจาหนาที่ตํารวจหนวยนั้น หมายเหตุดวยหมึกแดงไวใตชื่อคนรายใหชัดเจนวาเปนผูที่ไดออกประกาศสืบจับแลว ในประกาศสืบจับประเภทใด เลมที่เทาใด ฉบับที่เทาใด ลงวันที่เทาใดไวดวยทุกราย ถาไดถอนประกาศสืบจับแลวก็ใหหมายเหตุไวดวยหมึกแดงใหชัดเจนวา ไดถอนประกาศในประกาศสืบจับประเภทใดเลมที่เทาใด ฉบับที่เทาใด ลงวันที่เทาใด ไวดวยเชนเดียวกัน ช. ใหเปนหนาที่ของกองกํากับการตํารวจวิทยาการเขต เปนผูจัดทําบัตรดัชนีคนรายหลบหนีภายในเขตของตนเก็บไวทุกรายตามระเบียบที่ปฏิบัติ และเม่ือไดรับประกาศสืบจับคนรายหลบหนีทุกประเภท จากกองทะเบียนประวัติอาชญากร ก็ใหจัดทําบัตรดัชนีเพ่ิมไวทุกรายเชนกัน ซ. ใหผูกํากับการตํารวจ สารวัตร ผูบังคับกอง หัวหนาสถานีตํารวจภูธร หัวหนา ก่ิงสถานีตํารวจนครบาล และหัวหนาก่ิงสถานีตํารวจภูธร ตรวจสอบสมุดนี้ใหเปนการถูกตองตรงกันอยูเสมอ

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี เลม 1 ลักษณะที่ 5 บทที่ 2

หมายจับ

ฯลฯ

ขอ 113 คดีที่อยูระหวางการสอบสวนของเจาพนักงานสอบสวนนั้น หากเขาเกณฑที่จะออกหมายจับผูตองหาได ใหพนักงานสอบสวนจัดใหมีการออกหมายจับ ประกอบไวในสํานวนการสอบสวนนั้น เพ่ือใหเจาพนักงานอื่นใดมีอํานาจทําการจับกุมตัวผูตองหานั้นโดยสมบูรณ เม่ือไดออกหมายจับตามความในวรรคกอนแลว การที่จะวินิจฉัยวา กรณีใดควรจะ สงสําเนาหมาย หรือควรออกประกาศสืบจับดวยหรือไมนั้น ใหถือปฏิบัติดังนี้ (1) ในคดีเล็กนอยหรือคดีมีอัตราโทษจําคุกไมเกิน 3 ป ใหออกหมายจับประกอบไวในสํานวน เม่ือทราบหรือสงสัยวาผูตองหานั้นหลบหนีไปอยูที่ใด จึงใหสําเนาหมายสงไปใหสถานีตํารวจเจาของทองที่ที่ทราบ หรือสงสัยนั้นจัดการจับกุมตัวสงใหตอไป ในกรณีเชนนี้ หากตอมาสงสํานวนสอบสวนใหพนักงานอัยการพิจารณา และพนักงานอัยการมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองผูตองหา ใหจัดการใหมีการถอนหมายคืน

Page 24: Document Teaching

- 24 -

(2) ในคดีที่มีอัตราโทษจําคุกเกิน 3 ป หรือคดีที่มีเหตุผลพิเศษที่จะตองโฆษณาสั่งจับเม่ือเจาพนักงานสอบสวนจัดใหมีการออกหมายจับประกอบไวในสํานวนแลว ใหนําสํานวนนั้นเสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงผูบังคับการตํารวจ เจาของทองที่พิจารณาวาจะสมควรโฆษณาสั่งจับหรือไมหากผูบังคับการตํารวจเจาของทองที่เห็นสมควรโฆษณาสั่งจับ จึงใหสําเนาหมายจับนั้นไปใหแผนกสืบจับดําเนินการโฆษณาสั่งสืบจับตอไป ในกรณีที่โฆษณาสั่งจับผูตองหาไปแลว กอนสงสําเนาใหพนักงานอัยการพิจารณาหากตอมาพนักงานอัยการมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองผูตองหา ใหหัวหนาพนักงานสอบสวนทองที่ แจงใหหัวหนาแผนกสืบจับทราบโดยตรง เพ่ือใหโฆษณาถอนการสืบจับ

********************

Page 25: Document Teaching

- 25 -

บทที่ 4 การขอใหประกาศสืบหาทรัพย

เม่ือมีทรัพยที่ตกหาย หรือถูกประทุษรายยังติดตามคืนมาไมได ใหดําเนินการขอใหประเภทสืบหาทรัพยหายหรือทรัพยที่ถูกประทุษราย โดยใหปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตํารวจเก่ียวกับคดี ลักษณะ 14 บทที่ 2 เร่ือง การออกตําหนิรูปพรรณทรัพยหายไดคืน ดังนี้

การติดตอกับหนวยทะเบียนประวัติอาชญากร กรอกขอความลงในแบบ ขอใหประกาศสืบหาทรัพยที่ถูกประทุษราย และทรัพยหายไมเก่ียวกับคดี ซึ่งมี 2 แบบ ดังนี้ คือ 1. รถยนต หรือจักรยานยนต แบบ วท. 27- ต.703 2. ทรัพยประเภทอื่น ๆ แบบ วท. 8 – ต.322

การสงเอกสารที่จะตองดําเนินการ มีดังน้ี 1. ในกรุงเทพมหานคร สงตรงที่ ทว. ภายใน 24 ชั่วโมง 2. ในสวนภูมิภาค ทํา 3 ชุด สง ทว. 1 ชุด วิทยาการเขต 1 ชุด วท.จว. 1 ชุด

จังหวัดไมมี วท.จว. ใหทํา 2 ชุด

การปฏิบัติในบางกรณี 1. ทรัพยที่หาย ถาเปนทรัพยที่ตองจดทะเบียนไวกับเจาหนาที่ ใหคัดสําเนาทะเบียนของทรัพยนั้น สงพรอมกับตําหนิรูปพรรณทรัพย 2. โดยเฉพาะสําหรับอาวุธปน ใหพนักงานสอบสวนจัดการสงทะเบียนอาวุธปน ไปยังนายทะเบียนอีกสวนหนึ่งดวย

กรณีท่ีไดทรัพยทั้งหมดหรือบางสวนคืน ตองขอใหถอนประกาศสืบทรัพยที่ไดคืนนั้น ดวยการบันทึกตําหนิรูปพรรณทรัพยที่ไดคืนลงในแบบฟอรมตามชนิดหรือประเภทของทรัพย สงไปยังหนวยงานทะเบียนประวัติอาชญากร ทุกแหงที่สงเรื่องขอใหประกาศสืบหาไปให ภายใน 24 ชั่วโมง พรอมกับแจงเหตุที่ไดทรัพยคืน

ความหมายของประกาศตําหนิรูปพรรณ ประกาศตําหนิรูปพรรณ คือ การนําเอาขอมูลรายละเอียดที่สําคัญของแบบรูปพรรณรถยนต หรือรถจักรยานยนตที่ถูกโจรกรรม และแบบรายการรูปพรรณทรัพยหายที่พนักงานสอบสวนเจาของคดีสงมายังกองทะเบียนประวัติอาชญากรใหออกประกาศสืบหาและแจกจายใหกับสถานี

Page 26: Document Teaching

- 26 -

ตํารวจนครบาล สถานีตํารวจภูธร หนวยงานราชการทั่วราชอาณาจักรทราบ เพื่อชวยสืบหา ประกาศตําหนิรูปพรรณแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1. ประกาศรูปพรรณทรัพยที่ถูกประทุษราย 2. ประกาศรูปพรรณรถยนต หรือรถจักรยานยนตที่ถูกโจรกรรม

ประโยชนของประกาศตําหนิรูปพรรณ ชวยสนับสนุนขอมูลใหกับพนักงานสืบสวนสอบสวน และปราบปราม ดังนี้

1. ในดานการสืบสวน 1.1 ประกาศรูปพรรณทรัพยที่ถู กประทุษร ายและประกาศรถยนต หรือ

รถจักรยานยนตที่ถูกโจรกรรม จะแจกจายใหกับสถานีตํารวจและหนวยงานราชการที่เก่ียวของทั่วราชอาณาจักร ไดทราบเพ่ือชวยสืบจับ

1.2 กรณีพบรถของกลางไมทราบวาผูใดเปนเจาของ หรือแจงความไวที่สถานีตํารวจใด ต้ังแตเม่ือใด จะชวยกันหาขอมูลนี้ไดจากเครื่องคอมพิวเตอร

1.3 กรณีพบทรัพยของกลางไมทราบวาผูใดเปนเจาของ หรือแจงความไวที่สถานีตํารวจใด ต้ังแตเม่ือใด จะชวยคนหาขอมูลนี้ไดจากเครื่องคอมพิวเตอร

1.4 ทรัพยที่คนรายนําไปจํานํา ทางโรงรับจํานําก็สามารถตรวจสอบตามประกาศเม่ือตรวจพบตรงกับทรัพยที่หาย

2. ในดานการสอบสวน 2.1 ตรวจสอบทรัพย หรือยานพาหนะที่ผูตองหาใชกระทําความผิดเพ่ือตรวจสอบ

วาเปนทรัพยรถยนต หรือรถจักรยานยนตที่แจงหายไวหรือไม และผูใดเปนเจาของ 3. ในดานการปองกันและปราบปราม

3.1 สนับสนุนเจาหนาที่ฝายปราบปรามอาชญากรรมในการใหขอมูลเกี่ยวกับรถยนต รถจักรยานยนต เพ่ือเปนการปองกันและปราบปรามแกงลักทรัพย

ระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดีลักษณะ 14 บทที่ 2 การออกตําหนิรูปพรรณทรัพยหายและไดคืน

------------------------

ขอ 400 เม่ือมีทรัพยถูกประทุษราย จําตําหนิรูปพรรณทรัพยนั้นได และตองการแจงใหพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจในหนวยอื่นทราบ เพ่ือขอใหชวยสืบจับ ใหสถานีตํารวจหรือหนวยงานที่ไดรับแจง ออกตําหนิรูปพรรณทรัพยนั้น ดังตอไปนี้

Page 27: Document Teaching

- 27 -

(1) รถยนตหรือรถจักรยานยนต ออกรูปพรรณ แบบ วท.9 - ต.323 (ดูหมายเหตุทายระเบียบ ฯ) (2) รถจักรยาน 2 ลอ หรือ 3 ลอ ออกรูปพรรณแบบ วท.10 - ต.324 (ดูหมายเหตุทายระเบียบฯ) (3) ทรัพยอื่น ๆ ออกรูปพรรณแบบ วท.8 - ต. 322 แตในกรณีที่ทรัพยนั้นหายไป โดยแนใจวามิใชเนื่องจากกระทําความผิดอาญา เชน ลืมทิ้งไว หรือตกหลนหายระหวางเดินทางเปนตน ใหสถานีตํารวจ หรือหนวยงานที่ไดรับแจงรายงานดวยแบบรูปพรรณของหายและไดคืน แบบ วท.11 - ต. 325 (ดูหมายเหตุทายระเบียบ ฯ) การออกตําหนิรูปพรรณในขอนี้ ใหสงออกจากสถานีตํารวจ หรือหนวยงานเจาของคดีภายในเวลา 24 ช่ัวโมง นับตั้งแตเวลาที่ไดรับแจง หรือไดทราบการประทุษรายหรือหาย สุดแตจะไดรับทราบอยางใดกอน ขอ 401 การจดตําหนิรูปพรรณหายทุกชนิด ใหจดใหละเอียดพอที่จะใหบุคคลอื่น ซึ่งมิใชเจาของวินิจฉัยไดวาเปนทรัพยที่หายไปใชหรือไม ในเม่ือไดไปพบทรัพยนั้น และในกรณีที่ทรัพยหายเปนทรัพยที่ตองจดทะเบียน เชน รถจักรยาน รถยนต ปน และเครื่องรับวิทยุ เปนตน ใหคัดสําเนาทะเบียนทรัพยนั้น ๆ แนบไปพรอมกับตําหนิรูปพรรณ และเฉพาะอาวุธปนนั้น พนักงานสอบสวนที่รับใบทะเบียนปนที่แจงหายนี้แลว จัดสงไปยังนายทะเบียนอาวุธปนอีกชั้นหนึ่งดวย ถาเห็นวาเทาที่จดรูปพรรณไว ยังไมชัดเจนพอ ก็ตองสอบถามตําหนิสําคัญของสิ่งของสิ่งนั้นใหชัดเจนยิ่งขึ้น ในกรณีจะเขียนรูปภาพสิ่งของหายประกอบไวดวยก็ได การจดน้ําหนักเงิน ทอง นาค หรือโลหะอยางอื่น ใหจดเปนมาตราเมตริกน้ําหนัก 1 บาท เทากับ 15 กรัม น้ําหนักของเพชรใหจดเปนกะรัต ขอ 402 เพ่ือประโยชนในการจดตําหนิรูปพรรณของหาย จึงขอนําลักษณะการจดตําหนิรูปพรรณมาชี้แจงไวเพ่ือเปนแนวทางโดยสังเขป ดังตอไปนี้ (1) แหวน ควรใหทราบวาเรือนแหวนทําเปนเรือนชนิดใด ทําดวยโลหะอะไร รูปพรรณแหวนกลม รี อยางไร ประดับดวยเพชรลูกหรือเพชรซีก น้ําเพชรสีอะไร เพชรมีลักษณะกลม หรือยาวรี มีรอยแตกราว หรือไม เม็ดเดียวหรือหลายเม็ด ๆ ละก่ีกะรัต ถาประดับดวยพลอยตองรูวาเปนพลอยชนิดไร เชน ทับทิม ตองรูวาเปนทับทิมชนิดไหน รูปรางอยางไรเปนรูปหลังเบี้ยหรือเจียรนัย น้ําสีอะไรออนแกอยางไร แตกราวตรงไหน หรือไมเปนทับทิมแท หรือทับทิมชนิดที่เรียกวา พลอยหุง น้ําหนักเพชรคะเนเทาใด (2) สรอย ตองใหปรากฏวาเปนสรอยขอมือหรือสรอยคอ หรือสรอยสําหรับใชการอยางไร มีรูปพรรณสัณฐานเรียกกันวาอยางไร หรือคลายกับรูปสิ่งของอยางไร ทําดวย ทอง นาค เงิน หรือสิ่งของอะไรน้ําหนักเทาไร และมีสรอยมีอักษรภาษาใด อยูตรงไหน เปนยี่หอชางทอง

Page 28: Document Teaching

- 28 -

หรือเปนอักษรที่เจาของขีดเขียนไวประการใด ถามีรอยขาด หรือ ตอตองรูวามีอยูตรงไหน ถามีเพชรหรือพลอยยังตองเขียนใหชัดเจน (3) นาฬิกาตองปรากฏวาเรือนทําดวยอะไร หรือเรือนมีลวดลายหรือเกลี้ยง ลงยาหรือฝงเพชรที่ใดบาง เคร่ืองชนิดใด เรือนเล็กโตขนาดไหน ถาเรือนทองเปนทองหนักกี่กะรัต ย่ีหออะไร หมายเลขประจําเรือนนาฬิกาเทาไร อยูตรงไหนมีรอยบุบ หรือรอยขีดเขียนตรงไหน เปนชนิดฝาปดหรือเปด ถาเปนชนิดฝาปดกระจกเปนวงเล็กบอกชั่วโมงขางนอก และขางในฝาประการใด แมมีสรอย และล็อกเกตตองแจงลักษณะใหทราบโดยละเอียด (4) ตางหู ตองใหปรากฏวา เรียกชื่ออยางใด หรือคลายอะไร ทําดวย ทอง นาค เงิน หรืออะไร ถามีเพชร พลอย ฝง ตองใหไดความละเอียดดวย (5) อาวุธปน ตองใหทราบเครื่องหมาย และตําหนิสําคัญตามใบอนุญาตชนิดปน เปนปนชนิดใดใชกระสุนกี่นัด ปนสั้นหรือยาว ขนาดเทาใด เลขทะเบียนที่จด จดตรงไหน เทาใด ดามปนเปนอยางไร (6) สัตวพาหนะ ตองทราบวา 1. ชนิดของสัตว เชน ชาง มา โค กระบือ 2. ตาบอดหรือดีเหลขางใด 3. เขารวมหรือกางหรือต้ัง 4. หูดีหรือฉีกมากนอยอยางใด 5. หางดีหรือกุด สั้นยาว เทาใด 6. สีเผือกดํา หรือแดง 7. สูงประมาณก่ีฟุต กี่นิ้ว 8. ขวัญมีอยูกี่แหง ที่ใดบาง 9. ลักษณะพิเศษอื่น ๆ (7) เรือ ตองใหทราบวา เปนเรือชนิดใด กวาง ยาวเทาใด บรรทุกของหรือคนเทาใด ตําหนิสําคัญ เชน รอยแตก เรือชื่อวาอยางไร สีอะไร ถามีโซรอยใหบอกลักษณะของโซมา ดวยวา โซขนาดใดยาวเทาไร เลขหมายทะเบียนเรือเทาใด การจดเลขหมายทะเบียนเรือ เขียนตัวอักษรกํากับไวดวย (8) เครื่องนุงหม เครื่องแตงกาย และเครื่องใชตาง ๆ ตองใหทราบวาชนิดอะไรมีลักษณะเปนอยางไร ทําดวยอะไร สีหรือลายเปนอยางไร แบบไหน คลายกับอะไรมีตําหนิสําคัญอยูตรงไหนบาง ถามีเครื่องหมายเปนตัวอักษร หรือจํานวนเลขวาอยางไร เขียนกํากับไวตรงไหน ถามีย่ีหอมีมาแตเดิม หรือเจาของเขียนขึ้นเอง ถามีรอยขาด แตก ราวหรือบิ่น ตองรูขนาดแตกราว หรือบิ่นนั้นกวางยาวเทาใด มีสัณฐานอยางใดดวย ถาสิ่งของใดมียี่หอ เครื่องหมายเปนอักษรภาษาอื่นนอกจากภาษาไทย ใหจดย่ีหอเครื่องหมายที่เปนภาษาตางประเทศนั้น ลงในบัญชีของหายเปนอักษรของภาษานั้น แลวหมายเหตุเปนภาษาไทยดวยวาอานวาอะไร ถาเปนอักษรจีนใหจดคําอานเปนสําเนียงแตจิ๋ว ขอ 403 ในทองที่ใดมีโรงรับจํานําต้ังอยู ใหพิจารณาวาเมื่อพบสิ่งของที่หายอาจจะใหเห็นวาตรง หรือละมายคลายคลึงกับของนั้นแลว ใหพนักงานสอบสวนรีบคัดตําหนิรูปพรรณนั้น ลงในบัญชีพรรณของหายสําหรับสงโรงรับจํานําสงไปยังโรงรับจํานําในทองที่ และใหโทรศัพทบอก

Page 29: Document Teaching

- 29 -

รูปพรรณ ไปยังสถานีตํารวจใกลเคียงที่มีโรงรับจําตั้งอยูขอใหจดรูพรรณนั้น ๆ ไวในบัญชีรูปพรรณของหายสงโรงรับจํานําเพ่ือสงไปยังโรงรับจํานําในทองที่ของเขาดวย ทั้งนี้เพ่ือใหโรงรับจํานําที่รับรูปพรรณไดคัดสําเนาไวตรวจสอบในเวลาที่รับจํานําของ เสียชั้นหนึ่งกอนโดยใหโรงรับจํานําประทับตรายี่หอไวเปนหลักฐานพรอมดวย วัน เดือน ป และเวลาที่โรงรับจํานําไดทราบแลวดวย ขอ 404 เม่ือทรัพยที่สงตําหนิรูปพรรณออกไปจากสถานีตํารวจ หรือหนวยงานเจาของคดีไดกลับคืนมาทั้งหมด หรือเพียงบางสวนไมวาดวยประการใด ๆ ใหใชแบบรูปพรรณชนิดเดียวกันกับที่สงไปในครั้งกอนนั้น กรอกรายการรูปพรรณที่ไดคืนสงใหแกกองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือตํารวจวิทยาการสวนภูมิภาค แลวแตกรณีภายใน 24 ชั่วโมง นับแตเวลาที่ไดทราบวาทรัพยนั้น ไดคืน เพ่ือประโยชนในการตรวจสอบกับบัตรที่ทําไวและเพื่อถอนการประกาศสืบจับ ---------------------------------------------------------- หมายเหต ุ แบบ วท.9 - ต.323 ในขอ 400 (1) ตอมาไดแกไขเปน วท.27 - ต.703 แบบ วท.10-ต324 ในขอ 400 (2) และ แบบ วท.11-ต.325 แกไขเปน แบบ วท.8-ต322.

********************

Page 30: Document Teaching

- 30 -

บทที่ 5 การจัดทําสมุดภาพคนราย

วัตถุประสงคในการจัดทําสมุดภาพคนราย

1. เพ่ือใหผูเสียหายหรือพยานซึ่งจําหนาคนรายไดดูเพ่ือสืบสวนจับกุมตัวตอไป 2. เพ่ือใหเจาหนาที่ตํารวจทุกหนวยและทุกสถานีตํารวจทั้งในนครบาลและภูธรทุกแหง

ซึ่งทําหนาที่ในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมใชเปนแนวทางในการสืบสวนติดตาม พฤติการณความเคลื่อนไหวของคนราย เมื่อพนโทษแลวและไปกระทําผิดอีก

3. เพ่ือใหจุดตรวจหรือดานตรวจหรือสายตรวจใชตรวจสอบในกรณีที่สงสัยวาผูขับรถหรือผูโดยสารที่มากับรถคันใด มีพฤติการณอันควรสงสัยวาจะเปนคนรายกระทําผิดและหลบหนีมา เชนพบผูตองสงสัยลักรถยนตขณะขับรถผานดานตรวจมีรองรอยการงัดและหรือใชกุญแจผี มีพฤติการณนาสงสัยวารถคันดังกลาวจะถูกโจรกรรมมา เจาหนาที่ดานตรวจก็สามารถตรวจสอบ ผูตองสงสัยกับสมุดภาพคนรายคดีประทุษรายตอทรัพย (รถยนต) ได แหลงที่มาของภาพคนรายและขอมูลโดยยอในสมุดภาพคนราย

1. ไดมาจากสถานีตํารวจภูธรทั่วประเทศ ซึ่งจับกุมผูตองหาไดและถายภาพสงมาพรอมกับประวัติคนรายมาเก็บไวที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร

2. ไดมาจากกองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงานวิทยาการตํารวจ ซึ่งไดเก็บรวบรวมภาพถายและประวัติรายจากการที่สถานีตํารวจนครบาลตาง ๆ สถานีตํารวจทาเรือ, สถานีตํารวจรถไฟ, กองปราบปราม, สํานักงานตรวจคนเขาเมือง สงตัวผูตองหามาถายภาพและทําประวัติที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร วิธีการใชสมุดภาพคนราย

1. ใหผูเสียหายหรือพยานที่จําหนาคนรายไดหรือเจาหนาที่ตํารวจบางคนเคยรูจักตัว ดูสมุดภาพคนรายแตละประเภท ตามประเภทความผิดที่เกิดขึ้น

2. ถาดูและพบวาเปนผูใด ก็จะทราบรายละเอียดตาง ๆ จากประวัติยอในสมุดภาพเลมนี้คือ

2.1 จะทราบวาคนรายถูกจับกุมที่ทองที่ใด หมายเลขภาพถายคนราย เชน สภ.อ.เมืองสระบุรี ที่ 45/35 ก็แสดงวาคนรายผูนี้ ถูกจับดําเนินคดีที่ สภ.อ.เมือง สระบุรี เปนคนที่ 45 ในป พ.ศ. 2535

Page 31: Document Teaching

- 31 -

ถาเปนหมายเลขภาพถาย วท. ตรัง ก็แสดงวาถูกจับดําเนินคดีที่ จว.ตรัง โดย วท. จว.ตรัง ถายภาพทําประวัต ิหรือ ถาเปนหมายเลข ทว. ตร. 1248/34 ก็แสดงวาผูตองหาถูกจับในเขตนครบาล ตํารวจน้ํา ตํารวจรถไฟ ตํารวจกองปราบปราม หรือตํารวจตรวจคนเขาเมืองเปนผูจับดําเนินคดี สงตัวมาถายภาพทําประวัติที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร 2.2 จะทราบ ชื่อ-นามสกุล , นามแฝง , อายุ (ในป พ.ศ. ที่ถายรูปทําประวัติ) 2.3 จะทราบตําหนิรูปพรรณคนราย แผลเปน ลายสัก และสวนสูง 2.4 จะทราบภูมิลําเนาของคนราย 2.5 จะทราบกลุมแก็งคหรือผูรวมกระทําผิดของคนราย 2.6 จะทราบอาวุธที่ใชในการกระทําความผิด 2.7 จะทราบพฤติการณโดยยอวาคนรายกระทําความผิดอยางไร

3. ขอมูลในขอ 2 เปนขอมูลเบื้องตน แตถาตองการขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับผูตองหาหรือคนรายคนหนึ่งคนใดที่ปรากฏในสมุดภาพ ก็สามารถติดตอไปที่ สภ.อ. ที่จับดําเนินคดีหรือที่ กองทะเบียนประวัติอาชญากรตามขอ 1 โดยทางโทรศัพท หรือ

4. หรือถาหากตองการแผนลายพิมพนิ้วมือ 10 นิ้ว และลายพิมพฝามือ ซึ่งอยูในแบบตําหนริูปพรรณกระทํา (ผ.2) เพ่ือใชตรวจเปรียบเทียบกับลายนิ้วมือแฝงที่เก็บไดจากสถานที่เกิดเหตุหรือเก็บไดจากรถคันที่เกิดเหตุ ก็สามารถติดตอขอสําเนาภาพถายลายพิมพนิ้วมือ , ฝามือ จากสถานีตํารวจหรือกองทะเบียนประวัติอาชญากร ตามที่ระบุไวในขอ 1 ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1

1. รวบรวมภาพถายคนรายหรือผูตองหาซึ่งกระทําความผิดในคดีตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในเขตทองที่ตํารวจนครบาล ตํารวจสอบสวนกลางหรือในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งแยกความผิดไดดังนี้

- ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและแปลง เชน ความผิดเก่ียวกับเงินตรา ทําหรือใชเงินปลอม ธนบัตรปลอม ใบสั่งจายปลอมหรือต๋ัวเงินปลอม ฯลฯ

- ความผิดเกี่ยวกับทรัพย เวนความผิดฐานทําใหเสียทรัพยและความผิดฐานบุกรุก - ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและรางกาย ที่มีลักษณะอุกฉกรรจหรืออันตรายสาหัสหรือ

เปนเรื่องนาสนใจของประชาชน - ความผิดที่เกี่ยวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชนและทรัพยสิน เชน

ความผิดฐานวางเพลิง - ความผิดเกี่ยวกับเพศ - ความผิดอื่น ๆ ที่ เห็นวาควรจัดทําการถายรูปและเก็บภาพไวทําประวัติเ พ่ือ

การศึกษาคนควาวิธีการปราบปรามและปองกัน

Page 32: Document Teaching

- 32 -

2. รวบรวมภาพถายของนักโทษและคนรายทุกประเภทตลอดจนนักโทษประหารชีวิต ผูรับการฝกอบรมจากสถานฝกอาชีพ นักโทษเนรเทศ

3. จัดภาพไว โดยแยกเก็บในสารบบตามวิธีการประเภทความผิด อายุ และเพศ (ชาย - หญิง) ทั้งนี้เพ่ือเปนศูนยกลางในการรวบรวมภาพถายคนรายทั่วราชอาณาจักรและเปนประโยชนแกการสืบสวนหาตัวคนราย ในกรณีที่พยานหรือผูเสียหายไดดูภาพถายในคดีที่พยานหรือผูเสียหายจําหนาไดเพ่ือเปนแนวทางในดานการคนหาติดตามตัวคนรายตอไป การสเกตซภาพคนรายตามคําบอกเลา วิธีดําเนินการจัดทําสมุดภาพคนราย

ตํารวจทองที่จะสงตัวผูตองหาคดีตาง ๆ ดังกลาวแลว พรอมดวยแบบพิมพที่เรียกวา ผ.1จํานวน 3 ฉบับ มายังฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 เจาหนาที่จะทําการจดรายละเอียดตาง ๆ ของผูตองหานั้นจากแบบ ผ.1 ชื่อ ขอหา อายุ สถานีตํารวจเจาของคดี ลงในสมุดควบคุม พรอมทั้งใหหมายเลขประจําตัวของผูตองหานั้น ๆ ลงไปในสมุดควบคุม และแบบ ผ.1 หมายเลขในสมุดกับหมายเลขในแบบ ผ.1 จะตองตรงกัน ที่ตองจดรายละเอียดลงในสมุดควบคุม ก็เพื่อประโยชนในการคนหาประวัติของผูตองหานั้นในเบื้องตนเม่ือตองการจะทราบ เจาหนาที่จะถายภาพผูตองหาดานตรง และดานขาง ทั้งซาย และขวา ดานตรงจะใสหมายเลขประจําตัวพรอม ป พ.ศ. ที่ถายไวที่หนาอกของผูตองหานั้น หมายเลขประจําตัวนี้จะตรงกับหมายเลขในสมุดควบคุม และใน ผ.1 จุดประสงคในการถายรูปผูตองหา เพ่ือที่จะนําภาพถายไปจัดทําสมุดภาพคนรายใหเจาทุกขหรือพยานดู การถายภาพคนราย ขอสําคัญในการถายนั้นจะตองคํานึงถึง 1. ความชัดเจนที่เปนไปตามธรรมชาติ 2. กรณีที่คนผมยาว จะตองหวีใหเรียบรอย ไมใหผมมาบังสวนใดสวนหนึ่งของอวัยวะที่ใบหนา หู นัยนตา หนาผาก 3. หนาจะกมหรือเงยไมได 4. ตองไมสวมหมวก ไมใสแวนตา 5. ขณะที่ถายตองไมหลับตา กรณีที่ผูตองหามีตําหนิพิเศษ ลายสัก แผลเปน ปาน ไฝ ฯลฯ ควรจะถายไว ใหรูวาตําหนินั้นอยูสวนไหน

Page 33: Document Teaching

- 33 -

หลักเกณฑการถายภาพ 1. ถายภาพหนาตรงคร่ึงตัว จํานวน 1 ภาพ 2. ถายภาพดานขางคร่ึงตัว จํานวน 2 ภาพ (45 องศา และ 90 องศา) 3. การจัดแสงในการถายใหจัดแสงใหเห็นความเดนชัดของใบหนา 4. ภาพถายไมสวมหมวกหรือแวนตา 5. ใชหมายเลขกํากับสวนลางของภาพ

การจัดทําสมุดภาพคนราย 1. แยกประเภทความผิด 2. แยกประเภท ชาย - หญิง 3. แยกอายุ

1. แยกประเภทความผิด 1.1 ความผิดเก่ียวกับทรัพย

ก. ลักทรัพย - ลวงกระเปา - ลักรถยนต - ลักจักรยานยนต - ลักทรัพยโดยใชอุบาย ข. ว่ิงราวทรัพย ค. ชิงทรัพย ง. ปลนทรัพย จ. ยักยอกทรัพย ฉ. ฉอโกงทรัพย ช. กรรโชกทรัพย 1.2 ความผิดเก่ียวกับเพศ ก. ลอลวง พรากผูเยาว ข. อนาจาร ขมขืนกระทําชําเรา ค. โสเภณี 1.3 ความผิดเก่ียวกับการปลอมและการแปลง 1.4 ความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกาย 1.5 ความผิดเก่ียวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน 1.6 ความผิดอื่น ๆ

Page 34: Document Teaching

- 34 -

ก. ซองโจร ข. เปนภัยตอสังคม ค. สลากกินรวบ ง. คดีเช็ค

จ. เนรเทศ

2. แยกประเภท ชาย - หญิง วิธีจัดเก็บเชนเดียวกับ ขอ 1.1 1. อายุต้ังแต 10-19 ป 2. อายุต้ังแต 20-29 ป 3. อายุ 30 ปขึ้นไป

การดูภาพถายคนราย คดีที่เจาทุกขหรือพยาน จําหนาคนรายไมได คนรายยังหลบหนีจับกุมตัวไมได พนักงานสอบสวนเจาทุกขหรือพยาน ไปดูภาพถายคนรายที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงานวิทยาการตํารวจ (คําสั่ง ตร. ที่ 33/6505 ขอ 569 ข) เม่ือพนักงานสอบสวนนําเจาทุกขหรือพยาน ไปดูภาพคนราย โดยมีหนังสือนําสงตัวเจาทุกขเพ่ือขอดูภาพถายจากสมุดภาพคนราย เจาหนาที่งานฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 จะทําการบันทึกลักษณะรูปพรรณ และวิธีการพอสังเขป (ตามแบบบันทึกการดูภาพถาย) เพ่ือประโยชนในการดําเนินการจัดใหดูสมุดภาพคนราย การดูภาพคนรายจากสมุดภาพคนรายนี้ จัดใหเจาทุกขหรือพยาน ดูตามประเภทความผิดของคนรายในคดีนั้น ๆ

********************

Page 35: Document Teaching

- 35 -

บทที่ 6 การรวบรวมขอมูลคนรายและบุคคลบางประเภทในระดับสถานีตํารวจ

เมื่อผูกระทําความผิดไดรับโทษจําคุก และไดรับการพักการลงโทษหรือพนอาญาออกไปจากเรือนจําและทัณฑสถานแลว จําเปนอยางยิ่งที่ตํารวจทองที่ที่บุคคลพนโทษจะมีภูมิลําเนาอยู จะตองคอยสังเกตพฤติการณและการเคลื่อนไหวของผูนั้นหลังจากไดรับขาวสารและขอมูลจาก กองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือวิทยาการสวนภูมิภาค คือ วิทยาการเขตและวิทยาการจังหวัดซึ่งบุคคลพนโทษที่จะตองควบคุมสอดสองพฤติการณและการเคลื่อนไหวในหนาที่ของตํารวจนั้นมีอยู 3 ประเภท คือ 1. บุคคลพักการลงโทษ หมายถึง ผูตองขังในเรืองจําที่ไดรับโทษไปแลวแตเพียงบางสวนแตในขณะที่ถูกคุมขังอยูนั้น ทางกรมราชทัณฑเห็นวาผูนั้นเปนผูที่มีความประพฤติดี อยูในระเบียบวินัยของทางราชการ มีกิริยาวาจาเรียบรอยดี จึงสั่งใหพักการลงโทษตามกําหนดเวลาที่ทางกรมราชทัณฑกําหนดให หรือจนกวาจะไดรับการปลดปลอยใหพนโทษไปอยางจริงจัง 2. บุคคลพนโทษ หมายถึง บุคคลที่ถูกศาลพิพากษาลงโทษใหจําคุก ปรับสถานเดียวหรือเพียงแตการรอการลงอาญา หรือพิพากษาใหสงตัวเขาฝกการอบรมในถานสงเคราะหของ กรมราชทัณฑและเม่ือไดรับโทษนั้นครบกําหนดตามคําพิพากษาแลวใหถือวาเปนบุคคลพนโทษ 3. บุคคลท่ีเปนผูรายทองถิ่น หมายถึง บุคคลที่เคยตองโทษและพนระยะการสอดสองพฤติการณไปแลว แตยังปรากฏวาประพฤติตนเปนผูรายอาชีพ หรือมีพฤติการณที่สอแสดงวาเปนผูรายอยูหรืออาจฟงไดวากระทําความผิดอยูเสมอสุดแลวแตโอกาสจะอํานวยใหเมื่อใด ใหถือวาเปน ผูรายทองถ่ิน โดยบทบัญญัติของพระราชบัญญัติ พ.ศ.2479 ไดกําหนดวิธีการใหประโยชนแกผูตองขัง ที่จะไดรับการปลอยตัวกลับไปอยูกับครอบครัวกอนครบกําหนดโทษโดยวิธีการคุมประพฤติในชุมชนรวม 3 วิธีคือ 1. พักการลงโทษ มีวัต ถุประสงค เ พ่ือปลดปลอยนักโทษที่ มีความประพฤติดี มีความอุตสาหะความกาวหนาในการศึกษาและทํางานเกิดผลดี หรือทําความชอบแกราชการพิเศษ ออกไปอยูภายนอกเรือนจํากอนครบกําหนดโทษตามคําพิพากษา

เงื่อนไข สําหรับผูพักการลงโทษตองปฏิบัต ิ - กําหนดใหไปรายงานตัวตอเจาหนาที่เปนประจํา - ใหอยูในทองที่อันจํากัด จะออกนอกเขตทองที่ตองไดรับอนุญาตกอน

Page 36: Document Teaching

- 36 -

- หามมิใหเสพ สุรา ยาเมา - หามไมใหพกพาอาวุธปน - หามคบคาสมาคมกับนักเลงอันธพาล หรือบุคคลพักการลงโทษดวยกัน ถาผูใดรับพักการลงโทษประพฤติตัวดีอยูในกรอบแหงการพักการลงโทษโดยตลอด เม่ือครบกําหนดตามคําพิพากษาแลวก็จะไดรับการปลอยตัวเปนบุคคลพนโทษ แตถาระหวางพักการลงโทษผูใดประพฤติผิดเงื่อนไขการพักการลงโทษที่กําหนดไว หรือกระทําความผิดอาญาขึ้นมาใหมก็จะถูกคุมขังยังเรือนจําเพ่ือรับโทษที่เหลืออยูตอไปและถูกเพิกถอนการพักการลงโทษ อนึ่ง การพักการลงโทษเปนเพียงประโยชนที่ตอบแทนความประพฤติของผูตองขัง จึงไมใชสิทธิ์ที่ผูตองขังแมวามีคุณสมบัติหลักเกณฑขางตนจะไดรับทุกคน อยางเชนในกรณีที่ผูตองขังไมมีผูอุปการะในระหวางคุมประพฤติ ก็อาจไมไดรับการพิจารณาใหปลอยตัวได 2. บุคคลพนโทษ คือ บุคคลที่ถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุก ปรับสถานเดียวหรือเพียงแตรอการลงอาญาหรือพิพากษาใหสง ตัวเขาสถานฝกอบรมในถานสงเคราะหของ กรมราชทัณฑ เมื่อไดรับโทษนั้นครบกําหนดตามคําพิพากษาแลวใหถือวาเปนบุคคลพนโทษ ตํารวจทองท่ี กับบุคคลพนโทษ สําหรับการควบคุมพฤติการณและการสอดสองความเคลื่อนไหวของบุคคลพนโทษนั้น เม่ือหนวยงาน ทว. สงบัตรประวัติอาชญากร (ทว. 15- ต. 329) ไปใหตํารวจทองที่ ที่ สน./สภ. แลวทาง สน/สภ.ปฏิบัติดังนี้ - สั่งเจาหนาที่ตํารวจคอยสังเกตการณและความเคลื่อนไหวตาง ๆ ของบุคคลพนโทษรายงานพฤติการณ ความเคลื่อนไหวตาง ๆ ของบุคคลพนโทษนั้นดวยแบบ วท. 16-ต.330 สงไปใหหนวยที่เก่ียวของทราบ สําหรับ สน. ใหสงแบบรายงานพฤติการณและความเคลื่อนไหวนี้ตรงไปยังฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 สวน สภ. ใหสงไปยัง วท. จว., วท. เขต และใหสง กองทะเบียนประวัติอาชญากรดวย - การรายงานใหรายงานทุกเดือน โดยสงไปรายงานนี้ออกจาก สน./สภ. ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือนจนกวาจะครบ 12 เดือน หลังจากที่ไดพนโทษไป แตถามีเหตุการณเปนพิเศษที่จะตองรายงานใหทราบ จะตองรายงานใหทราบเปนการดวนโดยไมตองรอใหครบกําหนดวันรายงานประจําเดือน - เม่ือบุคคลพนโทษหรือบุคคลผูพักการลงโทษคนใด ยายภูมิลําเนาออกไปจากทองที่ให สน. สภ. เดิมสงบัตรประวัติอาชญากรของบุคคลพนโทษไปให สน/สภ. แหงใหมเพื่อดําเนินการสืบพฤติการณและความเคลื่อนไหวของบุคคลนั้นตอไปแลวรายงานการยายภูมิลําเนาของบุคคลพนโทษไปใหหนวยงานที่เก่ียวของ - ถาบุคคลพนโทษนั้นกระทําความผิดอีกถึงกับถูกจับกุมคุมขัง ถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุกใหสงบัตรประวัตินั้นคืนหนวยที่เก่ียวของ พรอมทั้งรายงานดวยวาถูกจับในขอหาอะไร

Page 37: Document Teaching

- 37 -

ถูกศาลพิพากษาวาอยางไร ถาถูกศาลพิพากษาวาใหปลอยตัวไปโดยยกฟองไมตองสงบัตรประวัติคืนใหรายงานพฤติการณและความเคลื่อนไหวตอไป - การสอดสองและรายงานพฤติการณความเคลื่อนไหวของบุคคลพนโทษ ใหกระทําและรายงานเพียง 12 เดือน นับต้ังแตวันที่บุคคลนั้นพนโทษไดถูกปลอยตัวออกมาจากเรือนจํา - เม่ือพน 12 เดือนแลว ใหเก็บบัตรประวัติอาชญากรนั้นไวที่ สน./สภ. เพื่อจะไดสอดสองดูแลพฤติการณตอไปแตไมตองรายงานอีก 3. ผูรายทองถิ่น คือ บุคคลที่ตองโทษและพนระยะเวลาสอดสองพฤติการณไปแลว แตยังประพฤติตนเปนผูรายอาชีพ หรือมีพฤติการณที่สอแสดงวาเปนผูรายอยู หรืออาจฟงไดวากระทําความผิดอยูเสมอ สุดแตโอกาสจะอํานวยเม่ือใด ใหถือวาเปนผูรายทองถิ่น การควบคุมผูรายทองถิ่นนั้น ตํารวจทองที่จะตองคอยสอดสองพฤติการณและความเคลื่อนไหวตลอดเวลา เพราะบุคคลประเภทนี้เราถือวาเปนอาชญากรอยางแทจริง ซึ่งจําเปนอยางย่ิงที่ทางสถานีตํารวจตองรวบรวมประวัติตลอดจนพฤติการณและความเคลื่อนไหวตางๆ ของบุคคลเหลานี้ไวทั้งหมดสมตามความหมายที่วา "ประวัติอาชญากร" และเพื่อที่จะใชเปนเครื่องมือประกอบการพิจารณาปองกันอาชญากรรมซึ่งอาจเกิดขึ้นได จากการกระทําของบุคคลเหลานี้ ถาการควบคุมหรือการสอดสองพฤติการณบุคคลเหลานี้อยางใกลชิดและเปนไปอยางไดผลก็จะเปนผลดีอยางย่ิงในการปองกันอาชญากรรมซึ่งเม่ือทางสถานีตํารวจทองที่ไดทําการสอดสองพฤติการณอยางใกลชิดแลวอาจทําใหบุคคลเหลานี้ไมกลาที่จะประกอบอาชญากรรม หรืออาจเลิกประพฤติมิจฉาชีพกลับตัวเปนพลเมืองดีตอไป และมีอาชีพในทางที่ชอบดวยกฎหมายเปนหลักแหลงมั่นคง ประโยชนที่จะไดรับจากการเก็บขอมูลคนรายและคนบางประเภท

เพ่ือเปนการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมใหไดผลอยางแทจริง และชวยในการสืบสวน หาผูกระทําผิดมาลงโทษอยางรวดเร็ว จึงมีความจําเปนอยางย่ิงที่จะตองมีการสอดสองพฤติการณการเคลื่อนไหวของบุคคลพนโทษ

ภารกิจและหนาที่ของฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 1. สนับสนุนพนักงานสืบสวน สอบสวน โดยใหขอมูลขาวสารของบุคคลพนโทษ 2. จัดเก็บประวัติไวเปนสารบบ เพ่ือสนับสนุนขอมูลอยางรวดเร็ว 3. ประสานงานกับกรมราชทัณฑ เรือนจํา ทัณฑสถานเพ่ือใหไดมาซึ่งประวัติของ

บุคคลพนโทษ บุคคลพักการลงโทษ บุคคลที่ไดรับอภัยโทษและบุคคลที่ไดรับวันลดโทษจําคุก 4. จัดสงประวัติไปให สน./สภ. ที่บุคคลนั้นมีภูมิลําเนาอยู

Page 38: Document Teaching

- 38 -

หลักการปฏิบัตกัิบบุคคลที่เปนผูรายทองถ่ินของเจาหนาที่ตํารวจ 1. สอดสองดูและพฤติการณ และการเคลื่อนไหวเปนพิเศษอยางใกลชิด 2. ขึ้นทะเบียนเปนผูรายทองถ่ิน โดยแยกเก็บบัตรประวัติอาชญากร 3. แจงการขึ้นทะเบียนบุคคลเปนผูรายทองถ่ินไปยังสวนราชการที่เก่ียวของ 4. เม่ือผูรายทองถิ่นยายภูมิลําเนา ใหสงบัตรประวัติไปยัง สน./สภ. แหงใหมแลวรายงานหนวยที่เก่ียวของทราบ 5. เม่ือผูรายทองถิ่นกระทําความผิด ถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุก ใหสงบัตรประวัติคืนหนวยงานที่เก่ียวของ 6. เม่ือผูรายทองถิ่นกลับตนเปนพลเมืองดี หรือถึงแกกรรมใหรายงานหนวยที่เก่ียวของ เพ่ือถอนทะเบียนผูรายทองถิ่น หลักปฏิบัติของวิทยาการจังหวัดที่เก่ียวของกับบุคคลพนโทษ หมวดควบคุมบุคคลพนโทษ มีหนาที่ ดําเนินการควบคุมพนโทษ คนอันธพาลและผูรายทองถ่ิน เพื่อผลแหงการปองกันอาชญากรรมในจังหวัดนั้น ๆ - ใหวิทยาการติดตอเรือนจําภายในจังหวัดนั้น ๆ เพ่ือใหไดมาซึ่งรูปพรรณและประวัติยอของผูตองขังที่พนโทษหรือพักการลงโทษ (วท.14 - ต.328) กอนที่ผูนั้นจะถูกปลดปลอยหรือ พนโทษ 30 วัน แลวจัดการคัดขอความตางๆ ลงในบัตรประวัติอาชญากร (วท. 15-ต.329) ทุกชองทุกรายการและปดภาพถายคนพนโทษนั้นลงในชองที่กําหนดไวกับใหลงทะเบียนในสมุดพนโทษไวเปนหลักฐาน - การทําบัตรประวัติคนพนโทษ (วท.15-ต.329) ใหทํา 4 ฉบับ เก็บในแฟมประวัติ 1 ฉบับ สงวิทยาการเขต และ ทว. อยางละ 1 ฉบับ และสงใหสถานีตํารวจที่คนพนโทษจะไปมีภูมิลําเนาอยู 1 ฉบับ - รวบรวมใบรายงานผลการสอดสองพฤติการณของคนพนโทษตามแบบ วท. 16 - ต. 330 ที่สถานีตํารวจสงมา โดยเก็บแยกแตละบุคคลไวเพ่ือเปนหลักฐานตอไป - ดําเนินการทําบัตรควบคุมบุคคลทุกประเภทตามที่กลาวมาใหทําบัตรดัชนีชื่อกลางขึ้นไวทุกคนเพ่ือตรวจสอบ

********************

Page 39: Document Teaching

- 39 -

บทท่ี 7 การดําเนินการเกี่ยวกับคนหายพลดัหลง คนตายไมทราบช่ือ

และทรัพยที่ไมเก่ียวกับคด ี คนหายพลัดหลง คนหายพลัดหลง หมายถึง บุคคลที่หายไปจากบาน หรือภูมิลําเนาเดิมของตน อันอาจทราบสาเหตุของคนหายนั้นไดในโอกาสตอมา อาจหายไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง เมื่อคนหายกลับมาจึงไดทราบสาเหตุ แตคนหายบางรายอาจหายไปโดยไมทราบสาเหตุ สาบสูญไป หรือบางรายปรากฏวาถึงแกชีวิต เปนตน เร่ืองของคนหายนี้นับวาเปนผลสะทอนใหมองเห็นสภาพของสังคมในขณะนั้น เปนเรื่องยากที่เจาหนาที่ตํารวจจะตามไปแกไขปญหาสวนตัวของคนหายแตละคนได เพราะตํารวจทํางานที่ปลายเหตุ ตํารวจเปนเพียงผูทําหนาที่สืบหาติดตามเทานั้น การปองกันมิไดเกิดหรือ แนะแนวก็ไมเปนผลโดยตรง เพราะปญหาที่เกิด เกิดขึ้นโดยมิไดลวงรูลวงหนา หรือคาดการณไวกอนได สาเหตุของคนหาย

1. เกี่ยวกับปญหาทางสังคม 1.1 การลอลวง หรือหลอกลวง เชน 1.1.1 ชักชวนไปเที่ยวตางจังหวัด ทัศนาจร ผูลอลวง มักจะออกอุบายชักชวนไปบานญาติบานเพ่ือน หากเปนบุคคลประเภทวัยรุนชายหนุมกับหญิงสาวอาจจะถูก ชักนําไปในทางเสื่อมเสีย ครั้นเม่ือเกิดการเสียหายขึ้นก็จะไมยอมกกลับบาน บางรายไดตกเปนเหย่ือ อาชญากรรมซึ่งเคยมีปรากฏอยูเสมอ 1.1.2 ชักชวนไปหางานทํา วิธีนี้ใชกันแพรหลาย เพราะคนวางงานก็อยากจะมีงานทําในที่สุดก็ถูกชักนําไปขายเปนโสเภณี เปนหมอนวด ฯลฯ อันกอใหเกิดปญหาอาชญากรรมตามมา นับวาผิดทั้งกฎหมายและศีลธรรม 1.1.3 ลักพาไปเรียกคาไถ ผูลอลวง หรือคนรายอาจใชวิธีตาง ๆ เชน วางยาสลบใหกินยานอนหลับ ใชกําลังประทุษราย ใชอาวุธตามแตโอกาส คนรายจะนําตัวไปกักกันไวแลวหาวิธีการเรียกคาไถ หาวิธีตอรอง สวนใหญจะเรียกรองตองการเงินเปนเครื่องแลกเปลี่ยน บางรายก็นําไปเพื่อการอนาจารเปนตน 1.2 พลัดหลง หลงทาง เชน การเดินทางไปตางจังหวัด หรือเดินทางจากตางจังหวัดเขากรุงเทพ การไปเที่ยวงานมหากรรมตาง ๆ อาจทําใหเกิดพลัดหลงหลงทางขึ้นได ซึ่งเปนเรื่องธรรมดา

Page 40: Document Teaching

- 40 -

1.3 ไดรับอันตราย เชน คนหายออกจากบานไปไดรับอันตรายเกิดอุบัติเหตุ รถชน ถูกสัตวทําราย ถูกชิงทรัพย ฯลฯ 1.4 ตองคดี เชน ในขณะที่หายไปนั้นปรากฏวาถูกจับ กุมติดยาเสพติด เลนการพนัน ประกอบอาชญากรรมทางเจาหนาที่ไดควบคุมตัวไว 1.5 สติฟนเฟอน หรือวิกลจริต คนหายประเภทนี้จะหนีออกจากบานไปโดย ไรจุดหมาย บางรายไปไดรับอันตราย เชน ตกน้ําตาย ฆาตัวตาย ฯลฯ 1.6 คนหายมีความสมัครใจ เชน คนหายที่เปนหญิงหนีตามผูชายไปในทํานอง ชูสาว ไปมีครอบครัวไปประกอบอาชีพสวนตัว เปนตน 1.7 สาเหตุอื่น ๆ

- ระดับการศึกษา คนหายสวนใหญมีการศึกษาคอนขางต่ําจบ ป. 4 หรือ อานออกเขียนไดมีสติปญญานอย เขลาออนตอโลกเชื่อคนงายจึงเปนสาเหตุทําใหถูกหลอกลวง

- สิ่งแวดลอมยั่วยวน เชน การโฆษณายั่วยุกระตุนทางกามารมณ ไดแก หนังโป การแสดงโชวลามก อนาจาร มีสถานเริงรมย อาบ อบ นวด บาร ไนตคลับ อันจะกอใหเกิดปญหาเรื่องเพศสัมพันธและปญหาอาชญากรรม

- ความทะเยอทะยาน ไดแก ความฟุงเฟอ ความฟุมเฟอย ชอบหรูหรา ชอบแตงตัว ชอบเลียนแบบ ฯลฯ

- เบื่อหนายอาชีพเดิม เชน การทํานา ทําสวน ทําไร ช้ําซากจําเจ จึงคิดเปลี่ยนอาชีพใหม

- การคบเพ่ือน เพ่ือนที่ไมดีอาจชักนําไปในทางเสื่อมเสีย เชน คบคาสมาคมกับเพ่ือนที่เคยเปนหมอนวด เปนโสเภณี ยอมจะชักนําใหเพ่ือนเสื่อมเสียตามไปดวย

- ขาดการอบรมสั่งสอนจากบิดามารดา หรือผูปกครองสาเหตุเชนนี้จะทําใหครอบครัวขาดระเบียบวินัยทําใหครอบครัวแตกแยก แตกความสามัคคีอันเปนเหตุทําใหสมาชิกในครอบครัวขาดความอบอุน ขาดที่พ่ึงทางใจ

2. สาเหตุเกี่ยวกับปญหาทางดานเศรษฐกิจ ในที่นี้หมายถึงเศรษฐกิจภายในครอบครัวการครองชีพการดํารงชีวิตหากครอบครัว

ใดประสบกับปญหาบานแตกสาแหรกขาดปญหาการหยาราง บิดามารดาทะเลาะวิวาทกันเปนประจําเพราะการเงินไมพอจับจายใชสอย ยอมเปนสาเหตุทําใหครอบครัวไมมีความสุข ไดรับความกดดันเกิดความคับแคน อาจเปนสาเหตุทําใหบุคคลในครอบครัวถือโอกาสหนีออกจากบานไป จึงเกิดคนหายขึ้นซึ่งสืบเนื่องมาจากปญหาเศรษฐกิจดังกลาว

3. สาเหตุเกี่ยวกับปญหาทางดานการเมือง ในที่นี้หมายถึงคนหายพลัดหลงไปเปนคอมมิวนิสต โดยคนรายหรือผูลอลวงให

กลอุบายกลวิธีตาง ๆ เชน ลักขโมยเด็กตามโรงพยาบาล, โรงเรียน หรือทําทีขอเด็กไปเลี้ยงเปน

Page 41: Document Teaching

- 41 -

บุตรบุญธรรม หรือทําทีขอซื้อจากบิดามารดาที่ยากจน แลวนําเด็กไปเลี้ยงไว กักกันตัวไวคนรายจะใชวิธีอบรมสอนลัทธิคอมมิวนิสตใหเปนคอมมิวนิสต หรือเปนผูกอการราย คนหายพลัดหลงเปนคอมมิวนิสตจึงเปนปญหาสําคัญเปนภัยรายแรงระดับชาติ บอนทําลายความม่ันคงของรัฐ มีแนวโนมที่จะลมลางระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่มีสถาบันพระมหากษัตรียเปนประมุข เพ่ือจะนําลัทธิคอมมิวนิสตมาใชแทน

แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับคนหายพลัดหลง 1. เม่ือมีผูมาแจงความเก่ียวกับคนหายพลัดหลง ใหผูหนาที่รับแจงรีบดําเนินการจับแจงลงรายงานประจําวัน จดตําหนิรูปพรรณกรอกขอความลงในรายงานแบบแจงรูปพรรณคนหาย (แบบ วท.12/1 ต.326) พรอมกับซักถามสาเหตุการหายใหไดความละเอียดชัดเจนแลวดําเนินการตามขั้นตอนตอไป โดยถาหนวยงานที่รับแจงอยูในเขตนครบาล เม่ือรับแจงแลวใหรีบแจงเหตุไปยังกองกํากับการศูนยรวมขาว กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ (เดิมเปนกองกํากับการรถวิทยุและศูนยรวมขาว) และกองกํากับการสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน กองบัญชาการตํารวจนครบาล เพ่ือติดตามหาตัวโดยไมชักชา แลวใหออกรายงานตําหนิรูปพรรณคนหายจํานวน 2 ฉบับ เก็บรวมเรื่องเขาเลมไวที่หนวยรับแจง 1 ฉบับ และสงกองทะเบียนประวัติอาชญากร 1 ฉบับ หากหนวยงานที่แจงอยูในเขตภูธร ใหออกรายงานตําหนิรูปพรรณคนหาย จํานวน 4 ฉบับ เก็บรวมเร่ืองไว ณ ที่แจง ฉบับสง วท.จว. 1 ฉบับ วิทยาการเขต 1 ฉบับ และสงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร 1 ฉบับ 2. ใหพนักงานสอบสวน หรือเจาหนาที่ผูรับแจง รีบสงรายงานตําหนิรูปพรรณคนหายพรอมดวยรูปถาย (ถามี) ไปยังกองทะเบียนประวิติอาชญากรเพ่ือประกาศสืบหา 3. หากสงสัยวาคนหายถูกลอลวงลักพาไปในทางทุจริตใหรีบติดตอกับตํารวจทองที่ ตํารวจทางหลวง ตํารวจรถไฟ ตํารวจน้ํา เพื่อสกัดก้ันตามดานหรือจุดหมายปลายทางที่ยานพาหนะจะพาคนหายผานไปโดยเร็ว 4. ถาคนหายเก่ียวกับการเมือง รายงานดวนถึงสํานักงานตํารวจแหงชาติจํานวน 2 ชุด เพ่ือพิจารณาใหตํารวจสันติบาลสืบสวนติดตามเปนกรณีพิเศษ 5. หากสงสัยวาคนหายจะถูกทํารายถึงตาย ใหพนักงานสอบสวนสงตัวผูแจงไปดู รูปถายหรือ ตําหนิรูปพรรณคนตายไมทราบชื่อในสวนกลางใหดูที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร สวนภูมิภาคดูไดที่วิทยาการจังหวัดหรือวิทยาการเขต 6. ใหหัวหนาสถานีตํารวจมอบหมายใหตํารวจคนใดคนหนึ่งรับผิดชอบในการสืบสวนติดตามหาตัวคนหาย โดยใหไปรูจักกับบานผูแจง หรือบานผูปกครองคนหายและเย่ียมเยียนเปนระยะทุก ๆ 7 วัน 15 วัน 1 เดือน 2 เดือน และ 3 เดือน

Page 42: Document Teaching

- 42 -

7. เม่ือครบกําหนด 3 เดือน แลวยังไมไดตัวคนหายคืนใหสารวัตรใหญ หรือหัวหนาสถานีรายงานผลการสืบสวนติดตามแบบการสืบสวนติดตามคนหาย (แบบ วท. 12/2 ต.326) โดยแจงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร และถาเปนสวนภูมิภาคใหสงแบบการสืบสวนติดตามคนหายเพ่ิมเติมไปยังวิทยาการจังหวัดและวิทยาการเขต อีกดวย 8. ระหวางที่สถานีตาง ๆ รับแจงคนหายไวนั้น ใหกําชับผูแจงดวยวา หากไดตัวคนหายคืนเม่ือใดใหรีบแจงถอนคืนโดยเร็ว และเม่ือไดรับแจงถอนคืนแลว ใหสถานีที่รับแจงทําการรับแจงถอนคืนไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร วิทยาการจังหวัดหรือวิทยาการเขต เพ่ือถอนประกาศสืบหาและระงับการสืบหา ในสวนของกองทะเบียนประวัติอาชญากร

1. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 เปนหนวยงานรับผิดชอบ โดยจะรับแบบแจงรูปพรรณคนหาย วท. 12/2 - ต. 326 แบบแจงผลการไดตัวคนหาย วท. 12/2 - ต. 326 และแบบสืบสวนติดตามคนหาย วท. 12/2 - ต.326 2. ดําเนินการตรวจสอบความถูกตองของแบบรายงานตาง ๆ 3. จัดพิมพประกาศสืบหาคนหาย ถอนประกาศสืบหาคนหายแลวสงใหหนวยงานที่เก่ียวของ 4. จัดทําบัตรดัชนีคนหาย แยกเปน 3 กลุมอายุ ก. กลุมอายุ 1-14 ป ข. กลุมอายุ 15-19 ป ค. กลุมอายุ 20 ปขึ้นไป 5. หลังจากออกประกาศสืบหาคนหายไปแลว เปนระยะเวลา 3 เดือน ยังไมไดรับแจงผลการไดตัวคนหายคืนหรือไม จะดําเนินการดังนี้ 5.1 ทําบัญชีรายชื่อคนหายเพ่ือตรวจสอบกับสถานีตํารวจที่รับแจง พรอมทั้งเตือนใหพนักงานสอยสวนรายงานแบบการสืบสวนติดตามคนหาย วท. 12/3 - ต. 326 5.2 ทําหนังสือถึงผูปกครองหรือผูแจง โดยสอบถามถึงการไดตัวคนหายคืนหรือไม หากพบตัวแลวใหรีบไปแจงถอนกับสถานีตํารวจที่แจงหายไว แบบแจงรูปพรรณเกี่ยวกับคนหายพลัดหลง แบบแจงรูปพรรณคนหายพลัดหลง แบงออกเปน 3 ชนิด คือ 1. แบบแจงรูปพรรณคนหาย (วท.12/1 - ต.326) พนักงานสอบสวน หรือเจาหนาที่ผูรับแจงใชสําหรับการอกขอความลงในแบบทองที่ตํารวจนครบาลใชแบบรายงานนี้ จํานวน 2

Page 43: Document Teaching

- 43 -

ฉบับ ทองที่ตํารวจภูธรใชจํานวน 4 ฉบับ รายละเอียดในแบบฟอรมระบุชื่อสถานีตํารวจ ชื่อผูแจง ชื่อคนหาย ภูมิลําเนาคนหาย ตําหนิรูปพรรณตาง ๆ 2. แบบแจงผลการไดตัวคนหายคืน (วท.12/2 - ต. 326) กําหนดขึ้นใชสําหรับพนักงานสอบสวน หรือเจาหนาที่ใชกรอกขอความตาง ๆ หลังจากไดตัวคนหายคืนแลว ลักษณะแบบฟอรมระบุรายละเอียด เชน ชื่อสถานีตํารวจ ชื่อคนหายไดคืน เหตุที่ไดตัวคนหายคืน สถานที่พบตัว ฯลฯ 3. แบบแจงการสืบสวนติดตามคนหาย (วท. 12/3 - ต. 326) ใชสําหรับพนักงานสอบสวนหรือเจาหนาที่กรอกขอความลงในแบบฟอรม ซึ่งระบุลักษณะการสืบสวนติดตามคนหายไว เชน สถานีที่รับแจงผูรับผิดชอบในการสืบสวนติดตาม รายการเย่ียมเยียนผูปกครองคนหาย รายละเอียดการสืบสวนติดตามครั้งที่…..เปนตน

การดําเนินการเกี่ยวกับคนตายไมทราบช่ือ

คนตายไมทราบช่ือ คนตายไมทราบชื่อ หมายถึง บุคคลซึ่งตายโดยไมทราบวาเปนใครไมทราบชื่อ และถิ่นที่อยูเพราะผูตายไมทิ้งรองรอยและหลักฐานตาง ๆ ไวใหทราบ เชน ไมมีบัตรประจําตัว หรือไมมีผูใดรูจัก ซึ่งคนตายในประเภทนี้จะมีสาเหตุการตายทั้งจากการกระทําผิดทางคดีอาญา และจากการตายโดยผิดธรรามชาติ และเมื่อพนักงานสอบสวน หรือเจาหนาที่ประสบเหตุการณ หรือมีผูแจงใหทราบ เจาหนาที่จะตองรีบดําเนินการทําการชันสูตรพลิกศพ และทําการสืบสวนสอบสวนเพ่ือตองการทราบวาผูตายเปนใครตอไป

แนวทางปฏิบัติตามระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะ 10 บทที่ 2

การชันสูตรพลิกศพที่ไมทราบวาผูตายเปนใครหรือตายในที่สาธารณะ ----------------------------------------

ขอ 1. ในการชันสูตรพลิกศพท่ีไมทราบวาผูตายเปนใคร ใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติ ดังน้ี

1.1 ในกรุงเทพมหานคร ใหแจงกองกํากับการ 1 กองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานวิทยาการตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ใหเจาหนาที่กองพิสูจนหลักฐานรวมกับพนักงานสอบสวนไปทําการตรวจสถานที่เกิดเหตุถายภาพ ตรวจรองรอย พิมพลายนิ้วมือ และจดตําหนิรูปพรรณศพตามแบบรายงานพบศพไมทราบชื่อทายบทนี้ ทั้งนี้ใหกระทําในขณะรวมหรือหลังจากที่พนักงานสอบสวน กับแพทยชันสูตรพลิกศพแลว ถาพนักงานสอบสวนและเจาหนาที่กองพิสูจนหลักฐานเห็นวาการ

Page 44: Document Teaching

- 44 -

ดําเนินการดังกลาว ไมควรกระทําในที่พบศพโดยมีเหตุอันสมควรจะสงศพไปยังสถาบันนิติเวชวิทยา สํานักงานแพทยใหญ สํานักงานตํารวจแหงชาติ โรงพยาบาลของรัฐในกรุงเทพมหานคร ที่มีแพทยทางนิติเวชศาสตรซึ่งไดรับวุฒิบัตรหรือไดรับหนังสืออนุมัติจากแพทยสภาที่ปฏิบัติหนาที่อยูเพ่ือดําเนินการดังกลาวและทําการชันสูตรพลิกศพก็ได

1.2 ในจังหวัดอื่นนอกเขตกรุงเทพมหานคร ใหแจงตํารวจวิทยาการจังหวัดหรือกองกํากับการวิทยาการเขตที่รับผิดชอบแลวแตกรณี

ขอ 2 ใหพนักงานสอบสวนจัดทําบันทึกเกี่ยวกับทรัพยสินทุกชนิดของผูตายที่อยูกับศพ และเก็บรักษาไวโดยอนุโลม ตามระเบียบการเก็บรักษาของกลาง เพ่ือมอบแกทายาทหรือญาติของผูตาย ถายังไมทราบวาผูตายเปนใคร ใหสงตําหนิรูปพรรณทรัพยสิ่งของบางอยางที่เห็นวาเปนประโยชนแกการสืบสวนไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงานวิทยาการตํารวจ สํานักงาน ตํารวจแหงชาติ ตํารวจวิทยาการจังหวัดหรือกองกํากับการวิทยาการเขตที่รับผิดชอบแลวแตกรณี เพ่ือประกาศสืบหาทายาทหรือญาติตอไป

ขอ 3 ใหพนักงานสอบสวนทําการสืบสวนเพ่ือทราบวาผูตายเปนใคร และใหรีบจัดการสง รายงานตําหนิรูปพรรณศพไมทราบชื่อ พรอมดวยภาพถายและพิมพลายนิ้วมือของผูตายไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงานวิทยาการตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ตํารวจวิทยาการจังหวัดหรือกองกํากับการวิทยาการเขตที่รับผิดชอบแลวแตกรณี เพ่ือประกาศโฆษณาทางสื่อมวลชนโดยเร็ว

ขอ 4 เม่ือพนักงานสอบสวนทราบวาผูตายเปนใครแลว ใหแจงกองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักวิทยาการตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ตํารวจวิทยาการจังหวัดหรือกองกํากับการวิทยาการเขตที่รับผิดชอบแลวแตกรณี รวมทั้งโรงพยาบาลหรือสถานที่ที่ รับศพไวไดทราบ ถาหนวยงานดังกลาวทราบวาผูตายเปนใคร ก็ใหแจงพนักงานสอบสวนทราบดวยเชนเดียวกัน

ขอ 5 กรณีพบศพในที่สาธารณะ หลังจากไดจัดการชันสูตรพลิกศพ ใหพนักงานสอบสวนดําเนินการดังนี้

5.1 ถามีญาติหรือผูแสดงความประสงคจะนําศพนั้นไปจัดการตามประเพณี หากเห็น เปนการสมควรก็ใหจัดการได

5.2 ถาไมมีญาติหรือผูประสงคจะนําศพไปจัดการ ใหแจงเทศบาลทองถ่ินสมาคมหรือมูลนิธิเพ่ือการนี้รับไปจัดการ

5.3 ถาไมมีผูใดจัดการ ใหแสวงหาผูใจบุญชวยเหลือในการจัดการศพนั้นตามสมควร ขอ 6 ในการสงศพ เศษหรือสวนของศพไปยังสถาบันนิติเวชวิทยา สํานักงานแพทยใหญ

สํานักงานตํารวจแหงชาติ หรือโรงพยาบาลตามความในลักษณะนี้ สําหรับกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ไดแก จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม สมุทรปราการ และสมุทรสาคร ใหพนักงานสอบสวนผูทําการชันสูตรพลิกศพเปนผูแจงและมอบศพ เศษหรือสวนของศพใหกับเจาหนาที่ประจํา

Page 45: Document Teaching

- 45 -

กองกํากับการฝายพิเศษ สถาบันนิติเวชวิทยา สํานักงานแพทยใหญ สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนผูนําสง

สวนจังหวัดอื่นนอกจากที่ ระบุไว ในวรรคหนึ่ง ใหพนักงานสอบสวนผู รับผิดชอบ เปนผูจัดการนําสง

------------------------------------------

( ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวย การชันสูตรพลิกศพ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543 ลงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2543 )

Page 46: Document Teaching

- 46 -

สํานักงานตํารวจแหงชาต ิแบบรายงานศพไมทราบชื่อ

1. ป.จ.ว………………เวลา………………น. วันที…่……….เดือน………………พ.ศ………….. 2. สถานีตํารวจ……………..……………….ชื่อยอสถานีตํารวจ……………………………………

กองกํากับการ………………….กองบังคับการ…………..……กองบัญชาการตํารวจนครบาล/ตํารวจภูธรภาค…………………………….

3. วันเดือนปที่สงรายงาน………………………..วันเดือนปที่พบศพ……………………………… 4. ชื่อของผูตาย (ถารู)………………………………………………………………………………. 5. เพศ………………………….อายุ (โดยประมาณ)………………ป 6. สูง……………..ฟต…………นิ้ว หรือ…………….เมตร รูปราง……………………………….. 7. ผิว……………………..หนา…………………………..ผม…………………………………….. 8. หนวดเครา………………………….ค้ิว…………………….ตา………………………………... 9. ศีรษะ……………………………..หนาผาก………………………..จมูก……………………… 10. ปาก…………………..คอ…………………………….คาง…………………………………….. 11. ฟน………………………….หู……………………………….มือ………………………………. 12. แผลเปนหรือตําหนิที่ติดตัว………………………………………………………………………. 13. ลายสัก…………………………………………………………………………………………… 14. การแตงกาย……………………………………………………………………………………… 15. ลักษณะพิเศษที่แปลกประหลาด………………………………………………………………… 16. อาชีพ (ซึ่งคาดคะเนไดโดยสังเกตรูปพรรณสัณฐานและมือผูตาย)……………………………… 17. มูลเหตุที่พบศพ………………………………………………………………………………….. 18. ไดจัดการแกศพนั้นอยางไร………………………………………………………………………. 19. แสดงเหตุที่ตายเทาที่ทราบ……………………………………………………………………….

ลงชื่อ…………….…..…..……………พนักงานสอบสวน (………………………………..)

ลงชือ่……………...……..……………หัวหนาพนักงานสอบสวน (………………………………..)

ลงชื่อ…………..………………………ผูเขียน (………………………………..)

Page 47: Document Teaching

- 47 -

ในสวนของกองทะเบียนประวัติอาชญากร 1. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 เปนหนวยงานรับผิดชอบ โดยจะรับแบบรายงานพบศพไมทราบชื่อ วท. 13-ต. 327 รปูถาย แผนพิมพลายนิ้วมือศพ จากนั้นจะตรวจสอบกับตําหนิรูปพรรณ คนหาย เพื่อตองการทราบวาผูตายเปนใคร 2. สงแผนพิมพลายนิ้วมือศพไปตรวจสอบที่ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 3 และหากทราบวาผูตายเปนใคร ใหแจงผลการตรวจสอบไปยังพนักงานสอบสวน สําหรับกรณีไมพบประวัติ และไมทราบวาผูตายเปนใครจะดําเนินการออกประกาศสืบหาญาติคนตาย 3. การประกาศสืบหาญาติคนตาย จะออกประกาศตอทายประกาศสืบหาคนหายในฉบับเดียวกันโดยพิมพตําหนิรูปพรรณศพจากแบบรายงานพบศพไมทราบชื่อ วท.13-ต.327 และจัดหาภาพคนตายที่มองเห็นชัดเจน เปนภาพไมอุจาดตา 4. จัดทําบัตรดัชนีคนตาย เฉพาะรายที่ทราบชื่อ โดยใชบัตรแบบเดียวกันกับบัตรดัชนี คนหาย เพ่ือประโยชนในการตรวจสอบกับฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 5. เม่ือพบญาติผูตายหรือทราบวาผูตายเปนใคร ใหรีบดําเนินการถอนประกาศ 6. จัดทําสมุดภาพคนตายไวเพ่ือตรวจสอบ สําหรับวิทยาการเขต หรือ วท. จว. ใหถือปฏิบัติในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบเชนเดียวกับ ทว.

การดําเนินการเก่ียวกับทรัพยหายไมเก่ียวกับคดี

ทรัพยหายที่ไมเกี่ยวกับคด ี ทรัพยหายที่ไมเก่ียวกับคดี หมายถึง ทรัพยที่เก็บตกไดจากการตกหลน หรือหลงลืมไวใน ที่สาธารณะ เชน ตามถนนหนทาง ในรถ ในเรือ ฯลฯ ซึ่งทรัพยนี้จะไมอยูในขอบขายของการไดมา โดยเกี่ยวกับการกระทําผิดกฎหมาย เชน จากการลักขโมย ชิงทรัพยหรือในบางกรณีที่คนราย อาจไดมาโดยการกระทําผิดกฎหมาย แลวแสรงทําเปนของตกหลน และนําไปแจงตอฝายเจาหนาที่วาตนเปนผูเก็บสิ่งของนั้นได ซึ่งในกรณีหากสืบทราบภายหลังวาเปนทรัพยที่ไดมาผิดกฎหมาย ทรัพยจะตกอยูในสภาพทรัพยที่เก่ียวกับคดีและจะตองใหเจาหนาที่เก็บรักษาในฐานะของกลางคดีอาญาไวมีกําหนด 5 ป หรือรอจนกวาคดีจะถึงที่สุดคือฟองศาลแลวคดีถึงที่สุด ก็ใหดําเนินการตามคําพิพากษา สวนทรัพยรายใดที่ไมเก่ียวกับคดี ใหเก็บรักษาของกลางนั้นไวมีกําหนด 1 ป นับจากวันเก็บตกได และหลังจากประกาศสืบหาเจาของทรัพยมาครบกําหนด 1 ปแลว ไมมีผูใดแสดงตนเปนเจาของ ทรัพยนั้นก็จะตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูเก็บได ตามมาตรา 1325 วรรคแรก แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย อันวาดวยเรื่องเก่ียวกับทรัพยสินเก็บตกได ฉะนั้นพนักงานสอบสวนจะตองระมัดระวังเรื่องของกลางวารายใดเกี่ยวกับคดี รายใดไมเก่ียวกับคดี โดยจะตองพิจารณาใหรอบคอบและใหทําบันทึกปากคําของผูเก็บตกไดใหแนชัดไวเปนหลักฐานดวยทุกคร้ัง

Page 48: Document Teaching

- 48 -

แนวทางการปฏิบัติตามระเบียบการตํารวจเก่ียวกับคดี ลักษณะ 15 บทท่ี 4 ของตกท่ีมีผูเก็บได

ในสวนของสถานีตํารวจ 1. เม่ือมีผูเก็บทรัพยสินหายได และมอบใหสถานีตํารวจ ใหลงรายการในสมุดยึดทรัพย

ของกลางโดยปรากฏชื่อ ที่อยูของผูเก็บทรัพยสินหายได ตลอดจนลักษณะตําหนิรูปพรรณทรัพยสิน และสถานที่เก็บได บันทึกถอยคําผูเก็บเพ่ือขอทราบถึงการไดของนั้นมา แลวสําเนาเอกสารดังกลาวพรอมกับทรัพยที่เก็บไดสงให ทว. ภายในกําหนด 3 วัน เพื่อออกประกาศสืบหาเจาของทรัพยหรือผูมีสิทธ์ิไดรับตอไป ถาเจาพนักงานอื่นไดรับทรัพยสินนั้น ซึ่งผูเก็บไดมามอบไวใหก็ใหปฏิบัติตามระเบียบนี้ โดยอนุโลม และใหแจงหรือนําสงตํารวจทองที่ซึ่งเก็บทรัพยที่ตกหายไดทราบ แลวแตกรณี

2. ใหสอบสวนผูเก็บทรัพยหายใหชัดเจนวา จะตองการรับรางวัลหรือไม กรณีที่เจาของหรือผูมีสิทธิ์มารับของคืน และหากครบกําหนด 1 ป นับแตวันที่เก็บได ไมปรากฏวามีเจาของหรือผูมีสิทธิ์มารับของคืน ผูเก็บจะขอรับของนั้นเปนกรรมสิทธ์ิหรือจะยกเปนสิทธ์ิแกทางราชการ และใหบันทึกความประสงคนั้นไว พรอมทั้งแนะนําผูเก็บวาหากยายที่อยูในระหวาง 1 ป นับแตวันที่เก็บได ใหมาแจงยังสถานีตํารวจที่เก็บไดหรือพนักงานเจาหนาที่รับแจงนั้นไวเดิม ถาไมสามารถจะทําได ก็ใหแจง ณ สถานีตํารวจที่สามารถจะแจงได เพ่ือจะไดติดตอให ทว. ทราบ ทั้งนี้เพ่ือประโยชนของผูเก็บทรัพยหายได ในการที่จะรับเงินรางวัลหรือขอรับทรัพยที่เก็บไดนั้นเปนกรรมสิทธิ์ของตน

3. ทรัพยสินที่ตองสงไปเก็บยัง ทว. ถา เปนทรัพยสินใหญโตหรือ มีน้ําหนักมาก ไมสะดวกตอการขนสงและการเคลื่อนยาย หรือสิ้นเปลืองเงินคาขนสงเกินสมควร เชน เครื่องยนต เรือ แพ ซุง ปศุสัตวหรือสัตวพาหนะ เปนตน ใหสถานีตํารวจนั้นเก็บรักษาไวเอง

4. ถามีผูมาแจงวาทําทรัพยสินตกหาย โดยเปนการหลงลืมทิ้งไว หรือทําตกหลน ใหสถานีตํารวจสอบสวนชื่อสกุล ที่อยู ตลอดจนสถานที่ที่ทําใหทรัพยสินหาย และตําหนิรูปพรรณโดยละเอียดแลวจัดทําหนังสือใหผูแจงนําไปยัง ทว. ตรวจสอบหลักฐานแลวเชื่อวาเปนเจาของที่แทจริง ก็พิจารณาอนุญาตใหรับคืนไปได และหมายเหตุไวในบัญชีใหผูนั้นลงชื่อรับสิ่งของไวเปนหลักฐาน แลวแจงใหสถานีตํารวจที่สงทรัพยหายนั้นจัดการจําหนายบัญชีทรัพยของกลางนั้นดวย ถาทรัพยนั้นยังมิไดสง ทว. และเก็บรักษาอยูที่สถานีตํารวจ เมื่อมีเจาของมาขอรับคืนก็ใหหัวหนาสถานีตํารวจตรวจสอบหลักฐานและพิจารณาอนุญาตใหรับคืนไดแลวหมายเหตุในบัญชี โดยใหผูนั้นลงชื่อรับสิ่งของไวเปนหลักฐาน และแจงให ทว. ทราบ

5. ทรัพยหายที่มีผูเ ก็บไดั แลวไมนําสงเจาพนักงานภายในกําหนด เมื่อทรัพยนั้นเก่ียวของกับคดีอาญา ใหสถานีตํารวจดําเนินการเรื่องนั้นเก็บรักษาทรัพยนั้นไวจนถึงที่สุด โดยให

Page 49: Document Teaching

- 49 -

ปฏิบัติตามขอ 1 ดวยและเมื่อคดีถึงที่สุด ใหดําเนินการตามคําพิพากษา ถายังไมมีผูใดขอรับคืนไป ใหนําสง ทว. ตาม ขอ 1

6. ทรัพยหายมีผูเก็บได และสงมา ทว. แลว ภายหลังปรากฏวาทรัพยนั้นเปนของกลางในคดีอาญาในสถานีตํารวจที่ดําเนินคดีขอรับไปเก็บรักษาไว ตามระเบียบเก่ียวกับของกลางในคดีอาญา

7. เม่ือครบกําหนด 1 ป หากเจาของหรือผูมีสิทธ์ิหรือผูเก็บไดไมมาขอรับคืน ให ทว. เปนเจาหนาที่จัดการขายทอดตลาด แลวนําเงินสง กง. เพ่ือผลประโยชนของทางราชการตอไป

หาก ทว. หรือหนวยราชการที่ไดรับทรัพยหายซึ่งมีผูเก็บไดเห็นวาทรัพยนั้นจะเปนประโยชนแกสวนราชการ หรือเพ่ือเปนประโยชนทางอื่นแลว ใหเสนอขออนุมัติ ตร.สั่งการเปนเฉพาะรายไป ในสวนของกองทะเบียนประวัติอาชญากร

1. ฝายทะเบียนประวัติอาชญากรเปนหนวยงานรับผิดชอบ โดยจะตรวจสอบทรัพยหายที่ไมเ ก่ียวกับคดีซึ่งสถานีตํารวจสงมาวาเปนของเก็บตกหรือไม เพื่อจะไดออกประกาศสืบหา เจาของทรัพย

2. จดตําหนิรูปพรรณทรัพย ลงในสมุดยึดทรัพยโดยละเอียด 3. นําทรัพยนั้นไปตรวจสอบกับขอมูลของฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 เพ่ือตองการ

ทราบวาเคยมีผูใดแจงหายไวหรือไม หากพบวามีผูแจงหายไวซึ่งเกี่ยวกับคดี ใหแจงสถานีตํารวจที่รับเร่ืองไวมารับกลับไปดําเนินการ

4. สอบถามผูเก็บทรัพยหายวา เมื่อครบกําหนด 1 ป ไมมีเจาของมาขอรับคืน จะขอรับของนั้นเปนกรรมสิทธิ์ หรือยกใหเปนกรรมสิทธ์ิของทางราชการ พรอมทั้งแนะนําวา หากยายที่อยูภายในระยะเวลา 1 ป ใหแจงที่อยูใหทราบดวย

5. หากมีผูมาอางกรรมสิทธ์ิของรับทรัพยหายคืน ใหตรวจสอบหลักฐานการเปนเจาของ แลวดําเนินการตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 4 ทรัพยสิน ลักษณะ 2 กรรมสิทธิ์ หมวด 1 การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ มาตรา 1324 โดยเรียกเก็บเงินจากเจาของกรรมสิทธิ์ เปนคาธรรมเนียมรักษาทรัพยในอัตรารอยละ 2 ครึ่ง ของราคาทรัพยสิน แตไมเกิน 100 บาท และเงินรางวัล เพ่ือมอบใหแกผูเก็บในอัตรารอยละ 10 ของราคาทรัพยสินภายใน 1,000 บาท ถาราคาทรัพยสินนั้นสูงกวา 1,000 บาท ขึ้นไป ใหคิดอีกรอยละ 5 ในราคาที่เพ่ิมขึ้นนั้น

6. ออกใบเสร็จรับเงินคารักษาทรัพยและใบรับรองของเงินรางวัลไวเปนหลักฐาน โดยจํานวนเงินคารักษาทรัพยใหสง กง.

Page 50: Document Teaching

- 50 -

7. ภายหลังจากออกประกาศสืบหา เจาของทรัพยครบ 1 ป ไมมีผูใดมาอางกรรมสิทธิ์ ใหงานฝายทะเบียนประวัติอาชญากร 1 จัดการขายทอดตลาด แลวนําเงินสง กง. เพื่อผลประโยชนของทางราชการตอไป ในสวนภูมิภาค สถานีตํารวจภูธรใหปฏิบัติโดยอนุโลมเชนเดียวกับสถานีตํารวจนครบาล หนาที่ใดซึ่งกําหนดใหเปนหนาที่ของ ทว. ใหวิทยาการเขต เปนผูดําเนินการ แลวติดตอประสานงานกับ ทว.ดวย

********************

Page 51: Document Teaching

- 51 -

บทท่ี 8

ประวัติความเปนมาของลายพิมพน้ิวมือ

ประวัติความเปนมา ลายนิ้วมือของมนุษย เปนสิ่งที่ธรรมชาติสรางสรรคใหแตละบุคคลมีลายเสนบังเกิดเปนลวดลายในลักษณะตาง ๆ เกิดขึ้นบนขอนิ้วขอแรกของมนุษย เปนลักษณะประจําตัวของแตละบุคคลนับต้ังแตเริ่มปฏิสนธิในครรภของมารดาเมื่อมีอวัยวะตาง ๆ ครบถวนแลว ซึ่งลักษณะตาง ๆ ของลายเสนดังกลาวนี้จะไมมีการเปลี่ยนแปลงเลือนหายไปจากแตละบุคคลเลย แมวาผูนั้นจะไดคลอดออกมาเปนทารกและเจริญเติบโตไปตามวัย จนสิ้นสุดลงเม่ือตายก็ตาม หากรางกายยังไมเนาเปอย ลวดลายลักษณะตางๆ ของลายเสนในลายนิ้วมือก็ยังคงปรากฏเปนรูปรางอยูใหเห็น นับวาเปนสิ่งที่ธรรมชาติไดสรางสรรคใหแกมนุษยเราอยางแปลกประหลาดมหัศจรรยอยางยิ่ง และเปนสิ่งที่แปลกประหลาดอยางย่ิงที่ลายนิ้วมือของมนุษยเรานั้น ไมเคยปรากฏวาซ้ํากันหรือเหมือนกันเลยในแตละบุคคล แมกระทั่งฝาแฝดที่เกิดมาในเวลาไลเลี่ยกันเลย ถึงจะมีรูปรางใบหนาทาทางเหมือนกันก็ตาม แตลวดลายลักษณะตาง ๆ ของลายเสนในลายนิ้วมือจะไมเหมือนกันเลย ดวยเหตุนี้จึงไดมีทานผูทรงคุณวุฒิทําการศึกษาคนควาเรื่องลายนิ้วมือของมนุษยและไดนํามาใชในการพิสูจนยืนยันตัวบุคคล จนไดรับความเชื่อถือกันตอ ๆ มาจนถึงปจจุบัน เพราะไดประจักษขอเท็จจริงแลววา เปนการพิสูจนยืนยันตัวบุคคลไดอยางดีเยี่ยมกวาสิ่งอื่นใด ลายพิมพนิ้วมือของมนุษยเปนเครื่องพิสูจนตัวบุคคลไดอยางแนนอนไมมีการผิดพลาดหรือเปนที่สงสัยแตประการใด หากไดมีการพิมพลายนิ้วมือที่ถูกตองตามหลักวิชาการ ทั้งนี้เนื่องจากลายนิ้วมือของมนุษยทั้งโลก ไมมีโอกาสจะซ้ํากันได แตรูปลักษณะอาจจะเหมือนกันได เชน เปนมัดหวาย, กนหอย, โคง เปนตน แตโอกาสจะซ้ํากันทุกจุด มีเสนแตกเสนแยกเสนเกาะหรือเสนทะเลสาบ ฯลฯ เหมือนกันทุกเสนไมมีทางจะเปนไปได เพราะลายนิ้วมือของมนุษยไมใชจะสืบทอดทางกรรมพันธุกันได ในตางประเทศไดศึกษาคนควาลายพิมพนิ้วมือของมนุษยมาเปนเวลาชานาน ไดคิดคนต้ังแตสมัยกอนประวัติศาสตร ในทางประวัติของเรื่องลายพิมพนิ้วมือในสมัยโบราณนั้นปรากฏวาจะพบลายฝามือคน ชาวสเปน หรือภาพเขียนในถํ้าของประเทศฝรั่งเศส หรือภาพเครื่องหมายของคนอินเดียในสหรัฐอเมริกา หรือแมแตศิลปะพื้นเมืองของออสเตรเลีย เปนตน ตอมามีชาวบาบิโลนไดกดลายนิ้วมือตามกอนดินเหนียวเพ่ือปองกันการปลอมแปลงซึ่งทํากันมากอนหนาคริสตกาลเสียอีก ในภาคพ้ืนเอเชียก็จะพบในวรรณคดีของจีน ญ่ีปุน ใชเปนตราประทับมีการกดนิ้วมือประกอบกับลายเซ็น หรือตราในสมัยราชวงศถัง แมแตการหยารางในกฎหมายของยังหวิน (The Law of Yung Hwin) ก็ไดบัญญัติใหผูเขียนหนังสือไมไดกดลายนิ้วมือแทน จะเห็นไดจากหลักฐานคําวา “ตีโม” ซึ่งแปลวา การประทับลายหัวแมมือซึ่งยังมีหลักฐานการพิมพลายนิ้วมือดวยดินเหนียว

Page 52: Document Teaching

- 52 -

เหลือเก็บอยูเปนหลักฐานในพิพิธภัณฑกรุงวอชิงตันจนถึงปจจุบัน เมื่อป พ.ศ. 2501 เซอร วิลเลี่ยม เจมส เฮอรเชล (Sir William James Herchel) ชาวอังกฤษ ซึ่งไดรับการแตงตั้งเปนผูสําเร็จราชการแควนเบงคอลในประเทศอินเดีย ไดประสบปญหาที่ยุงยากเกี่ยวกับการทุจริตในเร่ืองการปลอมแปลง ตัวบุคคลและเอกสารขึ้นอยางมากมาย จึงไดเปนผูคิดคนและนําเอาลายนิ้วมือของมนุษยมาใช เปนคนแรกในประวัติศาสตรของวิชาระบบพิมพลายนิ้วมือ และเมื่อป พ.ศ.2443 เซอร เอ็ดเวอรด ริชารด เฮนรี่ (Sir Edward Richard Henry) ชาวอังกฤษดํารงตําแหนงผูบัญชาการตํารวจกรุงลอนดอน ผูสรางตําราวิชาระบบพิมพลายนิ้วมือคนแรกในประวัติศาสตรเปนผูเขียนหนังสือ “การแยกประเภทและประโยชนของลายพิมพนิ้วมือ” (Classification And Uses of Fingerprint) ระบบลายพิมพนิ้วมือ แตละภูมิภาคมีใชแตกตางกันไป แตที่แพรหลายมากที่สุดในโลกมีอยูดวยกัน 2 ระบบ คือ “ระบบเฮนร่ี” (Henry) กับ “ระบบวูเซติช” (Vucetich) สําหรับประเทศไทย เม่ือป พ.ศ. 2443 กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ขณะดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ดําริที่จะตรากฎหมายลักษณะอาญาขึ้นใหมเพ่ือที่จะใชแทนกฎหมายลักษณะอาญาหลวงเดิม ซึ่งเดิมมิไดตราบทบัญญัติใหมีการเพ่ิมโทษผูกระทําผิดหลายคร้ังไม เข็ดหลาบไว เห็นวาสมควรที่จะไดมีการเพิ่มโทษผูกระทําผิดไมเข็ดหลาบขึ้นไว เพ่ือจะไดให เกิดความหลาบจําแกผูกระทําผิด เห็นวาไมมีตําหนิรูปพรรณใดในรางกายของมนุษยที่จะเปนหลักฐานประกอบการจดจําตัวบุคคลไดแนนอนถาวรดีเทากับลายนิ้วมือมนุษยและทั้งยังไมสามารถที่จะหาหลักฐานอยางอื่นใดมาแสดงหรือพิสูจนใหศาลเห็นไดวาผูใดบางที่เคยกระทําความผิด มากอน ซึ่งไมมีอะไรที่จะพิสูจนยืนยันตัวบุคคลไดดีเหมือนลายนิ้วมือ จึงไดจัดตั้งกองลายพิมพนิ้วมือขึ้นเปนคร้ังแรกในกองลหุโทษเม่ือป พ.ศ. 2444 โดยใหเจากรมกองลหุโทษในสมัยนั้นจัดการทดลองพิมพลายนิ้วมือและทานไดเปนผูดําเนินการแนะนําอบรมสั่งสอนวิชาระบบลายพิมพนิ้วมือนี้แกเจาหนาที่ในกองลหุโทษและไดจัดใหมีการพิมพลายนิ้วมือนักโทษที่จะพนโทษเก็บไวเปนประวัติ เพ่ือใชในการพิสูจนยืนยันตัวบุคคลและใชเปนหลักฐานในการเพ่ิมโทษผูกระทําความผิดหลายคร้ังไมเข็ดหลาบดวย ตอมาไดมีการตกลงกันระหวางกระทรวงยุติธรรมกับกระทรวงนครบาลในสมัยนั้นโดยใหสถานีตํารวจกรมตํารวจนครบาลจัดการพิมพลายนิ้วมือผูตองหาในคดีอาญาเฉพาะที่เปนคดีอุกฉกรรจ สงไปใหกองพิมพลายนิ้วมือทําการตรวจสอบประวัติกอนที่จะฟองผูตองหา จนกิจการของลายนิ้วมือไดเจริญรุงเรืองตลอดมา ในสวนของกองทะเบียนประวัติอาชญากร เมื่อป พ.ศ. 2537 กองทะเบียนประวัติอาชญากรไดบันทึกขอมูลลายพิมพนิ้วมือจากแผนพิมพลายนิ้วมือ ซึ่งปจจุบันมีประมาณ 5 ลานคน แยกจัดเก็บไวในระบบคอมพิวเตอร 2 ระบบ โดยนําสวนที่เปนภาพลายพิมพนิ้วมือ (IMAGE) บันทึกจัดเก็บลงในฐานขอมูลศูนยตรวจสอบลายพิมพนิ้วมืออัตโนมัติ (AFIS) นําสวนที่เปนประวัติตัวอักษร (TEXT) โดยบันทึกประวัติและตําหนิรูปพรรณหลังบัตรแผนพิมพลายนิ้วมือลงในฐานขอมูลประวัติอาชญากร (CDOS) และหากผลการตรวจสอบพบประวัติเดิมในฐานฯ จากการเชื่อมโยง

Page 53: Document Teaching

- 53 -

ระบบ AFIS และ CDOS จะปรากฏเปนขอมูลบัญชีรายการประวัติบุคคล (ACDOS) ซึ่งไดใชปฏิบัติงานมาต้ังแต 1 กรกฎาคม 2539 และตรวจสอบลายนิ้วมือแฝงต้ังแตเดือนกุมภาพันธ 2541 โดยกองพิสูจนหลักฐานเปนผูรับเรื่องจากพนักงานสอบสวน และหากตรวจในฐานขอมูลแลวไมพบจะสงใหกองทะเบียนประวัติอาชญากรตรวจสอบและรับคืนเพ่ือแจงผลตอไป สวนทางวิทยาการเขตและวิทยาการจังหวัดยังคงใชระบบการตรวจสอบดวยบุคคลไปกอนจนกวาโครงการขยายเครือขายการตรวจสอบลายพิมพนิ้วมืออัตโนมัติสูสวนภูมิภาคจะดําเนินการแลวเสร็จ

ลายนิ้วมือมนุษย ผิวหนังของมนุษยเราจะเห็นเปนรูปลักษณะตาง ๆ กันลวดลายตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ก็เพราะวาผิวหนังของนิ้วมือมนุษยมีเสนอยู 2 ชนิดปนกันอยูคือ “เสนนูน” และ “เสนรอง” เสนนูน คือ การเกิดของรอยนูนซึ่งสูงขึ้นมาพนจากผิวหนังสวนนอกของนิ้วมือ นิ้วเทา ฝามือ และฝาเทา เสนรอง คือ รอยลึกซึ่งอยูตํ่าลงไปกวาระดับของเสนนูน เม่ือเรากดนิ้วมือลงบนแทนหมึกดําและนําลงไปกดบนกระดาษขาวจะปรากฏเปนลวดลายตาง ๆ โดยมีเสนดําและขาวสลับกันไป เสนสีดําก็คือเสนนูน และเสนสีขาวก็คือ เสนรอง ในการตรวจพิสูจนเปรียบเทียบลายพิมพนิ้วมือจะใชเสนสีดําหรือเสนนูน เนื่องจากเสนนูนมี คุณสมบัติดังตอไปนี้ คือ 1. เสนนูน (Ridge) จะเริ่มมีขึ้นในอวัยวะต้ังแตบุคคลนั้นมีแขนขา ในทองมารดา และจะคงรูปเรื่อยมาจนกวาจะตาย 2. ถาเสนนูนถูกทําลาย ลอกออกดวยตนเอง จะงอกขึ้นใหมเหมือนเดิม 3. การจัดตัวของเสนนูน แมจะมีลวดลายคลายกัน แตจะไมเหมือนกันเลย ฉะนั้น ในการตรวจสอบเปรียบเทียบลายพิมพนิ้วมือจึงใชเสนสีดําหรือเสนนูนเปนหลัก และการพิมพลายนิ้วมือที่จะใหเกิดคุณคาที่ผูชํานาญในการนี้จะสามารถตรวจพิสูจนใหไดจึงมีความสําคัญอยูตรงที่ตองใหลายพิมพนิ้วมือ (เสนดํา) ปรากฏชัดเจนทุกสวนของหนานิ้วไมพราหรือเลอะเลือน ใหผูชํานาญในการตรวจลายพิมพนิ้วมือ สามารถ “นับ” จํานวนเสนในลายพิมพนิ้วมือระหวาง “จุดสันดอน” (DELTA) กับ “จุดใจกลาง” (CORE) ของลายนิ้วมือชนิดมัดหวาย (LOOP) ไดโดยถูกตองไมผิดพลาด หรือถาเปนลายนิ้วมือชนิดกนหอย (WHORL) ก็ใหสามารถ “สาว” ลายเสนจากจุดสันดอนทางซายมือไปสูจุดสันดอนทางขวามือไดโดยถูกตองแมนยํา ลายพิมพนิ้วมือที่พิมพไดอยางนี้จึงจะเรียกวา “ใชในการตรวจได” วิธีการนับเสนก็ดี วิธีการสาวเสนก็ดี เปนความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองกระทําเพ่ือการตรวจพิสูจน หรือเพ่ือจัด หรือเพื่อคนหาเปรียบเทียบกับสารบบลายพิมพนิ้วมือที่เก็บไวเปนประวัติอยู ถาการพิมพนั้น ๆ ไมติดจุดใจกลางหรือจุดสันดอนขวา ซาย หรือพิมพมาเลอะเลือนไมชัดเจน

Page 54: Document Teaching

- 54 -

แมแตเพียงอยางใดอยางหนึ่ง ผูตรวจก็ไมสามารถปฏิบัติการใหไดผลเทาที่ควรได ลายพิมพนิ้วมืออยางนี้เรียกวา “ใชในการตรวจไมได” ความสําคัญของลายน้ิวมือ

1. มีลักษณะคงทน ลายนิ้วมือมีลักษณะคงทนไมเปลี่ยนแปลง นับตั้งแตมนุษยเราเกิดจากครรภมารดาจนกระทั่งถึงแกและตายไป ลักษณะลายเสนในลายนิ้วมือของมนุษยนี้จะไมมีการเปลี่ยนแปลง จะมีบางก็เพียงแตขยายใหชัดเจนย่ิงขึ้นตามลําดับวัยและความเจริญเติบโตของรางกายเทานั้น เชน เม่ือเปนเด็ก ๆ อายุยังนอยลายเสนของนิ้วมือก็จะเล็ก แตเม่ือเติบโตขึ้นหรืออายุมากขึ้น ลายเสนของนิ้วมือก็จะขยายใหญขึ้นในรูปและสภาพเดิม ถึงแมจะตายลงแลวถาหากนิ้วมือยังไมเนาเปอย เชน ซากศพของพวก “อียิบเซียน” ที่เรียกกันวา “มัมม่ี” (Mummies) หรือลายนิ้วมือของลิงที่ถูกฉีดยารักษาซากศพของมันไวเปนรูปแหง ลายนิ้วมือที่ปรากฏอยูจะไมมีการเปลี่ยนแปลงเลย นอกจากนั้นในขณะที่นิ้วมือของมนุษยเกิดการไมปกติขึ้น เชน เปนโรคหนังลอก โรคหนังพับ เปนหูดหรือปรวด หรือจับตองของแข็ง ของหยาบ เปยกน้ําอยูเปนนิจ หรือฝนกับของหยาบ หรือใชน้ํากรดออน ๆ กัด ลายนิ้วมือเหลานี้ก็จะลบเลือนไปเพียงชั่วขณะหนึ่ง เมื่อนิ้วมือนั้นหายเปนปกติแลวลายเสนก็จะเกิดขึ้นใหม โดยไมมีการเปลี่ยนแปลง ยิ่งกวานั้นบางรายที่นิ้วมือถูกของมีคมบาดจนเกิดเปนแผลเปนขึ้น รอยแผลเปนเหลานี้อยางมากก็เพียงทําลายเสนของนิ้วมือไดเปนบางสวนเทานั้น สวนที่เหลืออยูนั้นก็หามีการเปลี่ยนแปลงประการใดไม ดวยเหตุนี้ลักษณะลายเสนของ นิ้วมือมนุษยเราจึงนับวาเปนเคร่ืองหมายแหงการจดจําไดมั่นคงถาวร และสามารถพิสูจนตัวบุคคลไดอยางดีเลิศ จนไมมีอวัยวะหรือสิ่งวิกลอยางอื่นใดในรางกายของมนุษยจะเปนเครื่องสังเกตเปรียบเทียบได ดี เทารอย บาดแผล รอยสัก ไฝ ปาน สีผิ ว ผม ฟน นัยนตา สิ่ งเหลานี้ ยอมศัลยกรรมตกแตงแกไข หรือเจริญขึ้น เสื่อมลงไดตามวัยแหงอายุขัยของบุคคล ตลอดจน รูปถายเพราะรูปถายนั้นในระยะเวลานานปเขายอมมีลักษณะผิดแผกไป เชน อวนขึ้น ผอมลง หรือทรุดโทรมไปอันอาจมีเกิดขึ้นไดตามธรรมชาติของมนุษย ยิ่งกวานั้นถาการตั้งกลองและการถายแตกตางกันแลวก็ยังทําใหเกิดความผิดเพ้ียนไดมากขึ้นตามลําดับ

2. ไมอาจเปลี่ยนแปลงได ลายนิ้วมือไมอาจทําการเปลี่ยนแปลงไดยังไมมีวิธีการที่จะเปลี่ยนแปลงลักษณะลายเสน

ของนิ้วมือใหเปนอยางอื่นได ไมวาลายนิ้วมือจะชํารุดลงไปดวยประการใด ๆ ลายเสนของนิ้วมือที่เกิดใหมก็จะเกิดขึ้นในรูปและสภาพเดิมเสมอ เวนแตจะไดทําลายใหลึกลงไปจนถึงตอมเหงื่อโดยการเฉือนเนื้อใตผิวหนังออกเสียทั้งหมด ลายเสนของนิ้วมือจึงจะถูกทําลายไปไดโดยสิ้นเชิง ซึ่งก็จะหามนุษยที่กลากระทําเชนนี้จริงๆ ไดยากหรือแทบหาไมไดเลย

Page 55: Document Teaching

- 55 -

3. มีเอกลักษณของตนเอง ลายนิ้วมือของบุคคลสองคนเหมือนกันหรือซ้ํากันยังไมมี นับต้ังแต “เซอร ฟรานซิส

แกนตัน” (Sir. Francis Galton) ไดทําการแยกแยะลายนิ้วมือของมนุษยออกเปนชนิด ๆ และกําหนดลักษณะพิเศษของลายเสนในลายนิ้วมือที่มีอยูโดยทั่วไปขึ้นแลวเรื่อย ๆ มา จนถึงสมัยต้ัง “สก็อตแลนยารด” (Scotland Yard) ขึ้นในประเทศอังกฤษ ตั้งหนวยงาน เอฟ.บ.ีไอ.(F.B.I.) ขึ้นในสหรัฐอเมริกา และต้ัง “กองพิมพลายนิ้วมือ” และ “กองทะเบียนประวัติอาชญากร” ขึ้นในประเทศไทย ซึ่งสถาบันตาง ๆ ทั่วโลกตางก็ไดผานการตรวจสอบและพิสูจนลายนิ้วมือของมนุษยมามากมาย ก็ยังไมเคยปรากฏวามีสถาบันใดพบลายนิ้วมือของบุคคลสองคนหรือคนเดียวกัน แตคนละนิ้วที่เหมือนกันหรือซ้ํากันเกิดขึ้น ประโยชนของลายพิมพนิ้วมือ 1. บุคคล ใชประโยชนเกี่ยวกับ ลายนิ้วมือ ไดดังนี้

1.1 เพื่อใชคุมครองปองกันตัวเองใหพนจากการถูกกลาวหาโดยกลั่นแกลง 1.2 ลายนิ้วมือของตัวเรา จะยืนยันใหเปนตัวของเราเองอยูเสมอ 1.3 เมื่ออานหนังสือไมออก หรือเขียนหนังสือไมเปน ก็ใชลายพิมพนิ้วมือของเรา

พิมพลงในเอกสาร หรือสัญญา เพื่อเปนการปองกันการปลอมแปลงที่จะเกิดขึ้น 1.4 ลายนิ้วมือของเราจะชวยยืนยันลายพิมพนิ้วมือที่ปรากฏในเอกสาร หรือวัตถุ

หรือสัญญาใหไดทราบวาเปนรอยนิ้วมือของเราจริงหรือไม เม่ือมีกรณีพิพาทเกิดขึ้น 2. สํานักงานตํารวจแหงชาติ ใชประโยชนเก่ียวกับลายนิ้วมือไดดังนี้

2.1 ลายนิ้วมือจะชวยใหทราบวาคนรายเปนใคร เม่ือมีการโจรกรรมทรัพยสินเกิดขึ้น 2.2 ใชสําหรับตรวจประวัติในการตองโทษ และความประพฤติของบุคคล 2.3 ใชตรวจศพของผูตายไมทราบชื่อ เพ่ือใหทราบวาเปนใคร อยูที่ไหน มีเครือญาติ

เปนอยางไร และมีประวัติอยางใดหรือไม 2.4 ใชพิสูจนลายพิมพนิ้วมือที่พิมพลงในตนขั้วต๋ัวจํานํา เพ่ือตรวจสอบในเมื่อ

ปรากฏวาสิ่งของที่ถูกนําเอาไปจํานําไวเปนสิ่งของที่ถูกคนรายลักเอาไป ซึ่งอาจจะเปนแนวทางสืบสวนตอไปไดวาใครเปนผูนําเอาสิ่งของนั้นไปจํานําไว

2.5 ใชตรวจสอบกับลายนิ้วมือที่ไดในสถานที่เกิดเหตุ เพ่ือใหทราบวาเปนของผูใด 2.6 ใชตรวจสอบเพ่ือใหไดทราบถึงบุคคลที่ถูกอายัดตัวไวหรือหลบหนีคดีตาง ๆ วา

มาจากที่ใด หรือเปนนักโทษที่หลบหนีมาจากที่ควบคุมหรือไม

Page 56: Document Teaching

- 56 -

3. สํานักงานตรวจคนเขาเมือง ใชประโยชนเก่ียวกับลายพิมพนิ้วมือไดดังนี้ 3.1 ใชเพ่ือควบคุมคนตางดาวที่เขามาอยูภายในราชอาณาจักร 3.2 ใชเพ่ือปองกันคนตางดาวที่ไมพึงปรารถนาหรือที่เคยถูกเนรเทศออกไปนอก

ราชอาณาจักรแลวกลับเขามาไดอีก 4. เรือนจํา หรือสถานที่ควบคุมตาง ๆ ใชประโยชนเก่ียวกับลายพิมพนิ้วมือไดดังนี้ 4.1 ใชทําประวัติของนักโทษ หรือผูที่ถูกควบคุมเพ่ือใหเก็บไวเปนหลักฐาน

1.2 ใชควบคุมตัวนักโทษหรือผูที่ถูกควบคุมที่จะรับตัวเขาใหม หรือที่จะนําตัวออกไปนอกสถานที่ทุก ๆ กรณี หรือที่จะปลอยตัวไป เพ่ือปองกันมิใหมีการผิดตัว หรือสับเปลี่ยนตัวกันได

1.3 ใชในการที่จะประหารชีวิตนักโทษตามคําพิพากษาของศาล วาจะเปนบุคคลคนเดียวหรือไม

5. บริษัทหางราน การธนาคาร การประกันชีวิต ฯลฯ ใชประโยชนเก่ียวกับลายพิมพนิ้วมือไดดังนี ้

5.1 ใชเพ่ือปองกันการปลอมแปลงในการจายเงินหรือการขอรับเงินประกัน 5.2 ใชเพ่ือปองกันมิใหจางบุคคลที่ไมตองการใหเขามาทํางานไดอีก

5.3 ใชเพ่ือปองกันมิใหปลอมแปลงตัวคนมารับเงินคาจางแรงงานแทนกัน 5.4 ใชเพ่ือตรวจพิสูจนเม่ือมีเหตุเกิดขึ้นภายในกิจการของตน ที่จะตองคนควาหาตัวผูกระทําผิด

6. กองทัพบก เรือ อากาศ ใชประโยชนเก่ียวกับลายพิมพนิ้วมือไดดังนี้ 6.1 ใชเพ่ือปองกันมิใหรับบคุคลที่ไมสมควรเปนทหารเขาไวในกองทัพ 6.2 ใชเพ่ือทราบถึงทหารที่ขาดหนีราชการหรือไปกระทําความผิดอื่น ๆ 6.3 ใชเพ่ือที่จะไดทราบชื่อของทหารที่ตายหรือสูญหายไปในสนามรบ ฯลฯ อีกประการหนึ่ง ในบางโอกาสผูที่บริสุทธิ์อาจถูกเจาหนาที่ทําการจับกุมฐานสงสัย

วาเปนคนรายที่ทางราชการออกประกาศจับไว เพราะสาเหตุเนื่องจากมีรูปรางลักษณะคลายกันหรือมีตําหนิรูปพรรณคลายคลึงกัน ผูถูกจับกุมอาจขอใหทําการพิสูจนลายนิ้วมือของตนไดทันที ถาจะรอการสอบสวนจากเจาหนาที่แลวยอมเสียเวลาและเปนการเดือดรอนแกผูถูกจับกุม จึงควรถือเปนหลักปฏิบัติดังนี้

1. เม่ือจับตัวผูถูกกลาวหาวากระทําผิดได ตองจัดการพิมพลายนิ้วมือและกรอกขอความตาง ๆ ที่ปรากฏอยูในแบบพิมพใหครบถวนในโอกาสแรกที่จะทําไดทันที กอนที่จะสงตัวเขาทําการควบคุมไวในที่ควบคุม โดยไมตองคํานึงถึงวาการถูกกลาวหาวากระทําความผิดนั้นคดีจะมีมูลหรือไมประการใด

Page 57: Document Teaching

- 57 -

2. รีบสงไปขอใหตรวจสอบ เพ่ือขอทราบประวัติของบุคคลผูนั้นโดยดวน 3. หากผูถูกกลาวหาวากระทําผิดเกิดหลบหนีที่ควบคุมไป ก็จะไดเอาลายนิ้วมือ

ของผูถูกกลาวหาวากระทําผิดนั้นอายัดไปยัง ทว., วิทยาการเขต หรือวิทยาการจังหวัดแลวแตกรณี ถาผู ถูกกลาวหาว ากระทําผิดซึ่ งหลบหนี ไปนั้น ไปกระทําความผิดขึ้นอีกไม วา ณ ที่ ใด ทั่วราชอาณาจักรก็จะทราบไดทันที ย่ิงกวานั้นหากคดีที่ถูกกลาวหาจําเปนที่จะตองออกประกาศ สืบจับ ก็จะไดตําหนิรูปพรรณและประวัติยอหลังแบบพิมพลายนิ้วมือที่บันทึกไวออกหมายจับได

4. ผลของการตรวจสอบที่ไดรับมา จําเปนและมีประโยชนประกอบการพิจารณาใหดําเนินการตอ ๆ ไปได โดยมีเหตุผลอันสมควร เชน

4.1 เมื่อไดทราบประวัติความเปนมาแตเดิม ๆ ของผูถูกกลาวหากระทําผิดนั้น ๆ ก็จะเปนแนวทางใหเกิดความสะดวกในการสืบสวนสอบสวนคนควาหาขอเท็จจริงได ทั้งผูถูกกลาวหาวากระทําผิดก็ไมอาจบิดเบือนชื่อ นามสกุล และอื่น ๆ ใหผิดไปจากความจริงได เพราะ ผูสืบสวนสอบสวนมีหลักฐานประวัติเดิมๆ อยูในมือแลว

4.2 ประวัติที่ไดมาจะเปนแนวทางใหพิจารณาไดวาควรใหประกันตัว หรือปลอยชั่วคราวแกผูถูกหาวากระทําผิดนั้นหรือไมเพียงใด ถาจําเปนจะตองใหประกันหรือปลอย ชั่วคราวก็จะมีหลักพิจารณาไดวา ควรตีราคาหลักประกันมากนอยเพียงใดเพื่อปองกันมิใหหลบหนีเม่ือไดรับการใหประกันหรือปลอยชั่วคราวไปแลว

4.3 เมื่อครบกําหนดการใหประกันหรือปลอยชั่วคราว หรือเมื่อตัวกลับมาตามที่เรียกหากเกิดสงสัยวาผูที่กลับมานั้นจะไมใชตัวผูที่ถูกกลาวหาที่แทจริง ก็สามารถตรวจพิสูจนไดโดยพิมพลายนิ้วมือของผูนั้นขึ้นใหม แลวเปรียบเทียบกับลายนิ้วมือที่พิมพไวเดิมก็จะทราบวาใชตัวผูถูกกลาวหาวากระทําผิดที่ใหประกันหรือปลอยชั่วคราวไปจริงหรือไม ดังนี้เปนตน นอกจากนั้นยังเปนประโยชนอยางอื่น ๆ แกพนักงานฝายปกครองและตํารวจอีกมากมาย

********************

Page 58: Document Teaching

- 58 -

บทท่ี 9 การปฏิบัติเก่ียวกับการพิมพลายนิ้วมือสงตรวจสอบประวัติ

ถือปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตํารวจไมเก่ียวกับคดี ลักษณะที่ 32 บทที่ 1 บทที่ 2 และบทที่ 3 สรุปไดวา การพิมพมือเพ่ือสงไปตรวจสอบประวัติ ใหปฏิบัติดังนี้

ผูตองหา ในกรุงเทพมหานครใหพิมพจํานวน 4 ฉบับ สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร 3 ฉบับ ติดสํานวนการสอบสวนไว 1 ฉบับ ในจังหวัดอื่น ๆ ที่ไมมีวิทยาการจังหวัด ใหพิมพ 5 ฉบับ เพ่ือสงไปยังกองกํากับการวิทยาการเขต 1 ฉบับ สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร 3 ฉบับ ติดสํานวนการสอบสวนไว 1 ฉบับ ในจังหวัดอื่น ๆ ที่มีวิทยาการจังหวัด ใหพิมพ 5 ฉบับ เพ่ือสงไปยังวิทยาการจังหวัด 1 ฉบับ สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร 3 ฉบับ ติดสํานวนการสอบสวนไว 1 ฉบับ

ผูขออนุญาตสมัครงาน ผูขออนุญาตสมัครงาน (ใชแบบพิมพ พลม. 24 – ต. 538) การขออนุญาตทําการใด หากมีกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการกําหนดคุณสมบัติใหตรวจสอบพิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาต หรือเม่ือหนวยราชการเทศบาล สุขาภิบาล หรือองคการของรัฐบาลทุกแหงที่จะบรรจุบุคคลเขารับราชการหรือเขาทํางาน มีหนังสือสงตัวผูนั้นไปพิมพลายนิ้วมือที่สถานีตํารวจทองที่ ที่ผูนั้นมีภูมิลําเนาอยูเพ่ือขอตรวจสอบประวัติการตองหาคดีอาญา ใหพิมพตามจํานวนตอไปนี้ ในกรุงเทพมหานคร ใหพิมพคนละ 1 ฉบับ สงไปตรวจสอบยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหพิมพคนละ 2 ฉบับ สงไปตรวจสอบยัง กองทะเบียนประวัติอาชญากร 1 ฉบับ และกองกํากับการวิทยาการเขตหรือวิทยาการจังหวัดแลวแตกรณี 1 ฉบับ

Page 59: Document Teaching

- 59 -

ลักษณะที่ 32 การพิมพลายนิ้วมือ _______________

บทท่ี 1 ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการพิมพลายน้ิวมือ ผูตองหา จําเลย ผูตองขัง ผูตองกักขัง ผูถูกกักกัน ผูรับการอบรม และศพ

____________________ ขอ 1 หนาที่ของพนักงานสอบสวน

1.1 จัดใหมีการพิมพลายนิ้วมือ ดังนี้ 1.1.1 ผูตองหาที่กระทําผิดอาญาทุกประเภท เวนแตคดีลหุโทษหรือคดี

ที่มีอัตราโทษไมสูงกวาลหุโทษ และความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก ซึ่งไดเปรียบเทียบปรับแลว

1.1.2 ศพที่ไมทราบชื่อและศพที่ทราบชื่อซึ่งตายผิดธรรมชาติ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน

1.2 การพิมพลายนิ้วมือ ตาม 1.1 ใหพิมพในโอกาสแรกที่ทําไดและใหใช แบบพิมพลายนิ้วมือ พลม.25 – ต. 539

1.3 การกรอกขอความลงบนแผนพิมพลายนิ้วมือใหปฏิบัติดังนี้ 1.3.1 กรอกขอความตาง ๆ ลงในชองวางที่กําหนดไวใหครบถวนและ

ถูกตองโดยใชพิมพดีดหรือเขียนดวยหมึกทั้งดานหนาและดานหลังแผนพิมพลายนิ้วมือใหชัดเจน อานงายแลวลงชื่อผูพิมพ ผูถูกพิมพ และพนักงานสอบสวน ไวเปนหลักฐาน

1.3.2 กรณีผูตองหาเปนบุคคลสัญชาติไทยใหกรอกชื่อ ชื่อสกุลและ เลขประจําตัวประชาชน ใหตรงกับที่ปรากฏในบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาทะเบียนบานหรือเอกสารอื่นใดที่ทางราชการออกให

1.3.3 กรณีผูตองหาเปนคนตางดาวใหบันทึกเลขที่และสถานที่ออกใบสําคัญของผูนั้น เชน ใบสําคัญประจําตัวคนตางดาว หรือหนังสือเดินทาง ฯลฯ

1.3.4 สําหรับคดีที่อยูในอํานาจศาลแขวงใหบันทึกคําวา “ศาลแขวง” แตถาผูตองหารับสารภาพใหบันทึกคําวา “รับสารภาพศาลแขวง” ไวที่มุมบนซายดานหนาของแผนพิมพลายนิ้วมือ

1.4 การพิมพลายนิ้วมือผูตองหาหรือศพใหปฏิบัติ ดังนี้ 1.4.1 ใชหมึกดํา ซึ่งเปนหมึกสําหรับพิมพลายนิ้วมือโดยเฉพาะ

Page 60: Document Teaching

- 60 -

1.4.2 พิมพลายนิ้วมือใหปรากฏลายเสนชัดเจนสมบูรณโดยใหเปนลายเสนของขอปลายแตละนิ้วจากขอบเล็บดานหนึ่งถึงขอบเล็บอีกดานหนึ่ง หากในกรณีที่นิ้วพิการหงิกงอ หรือนิ้วดวน ใหบันทึกไวในชองของแบบพิมพตามตําแหนงของนิ้วนั้น ๆ ดวย

1.5 การพิมพลายนิ้วมือผูตองหาแตละคน หรือศพแตละศพ ใหพิมพตามจํานวนตอไปนี้

1.5.1 ในกรุงเทพมหานคร ใหพิมพจํานวน 4 ฉบับ แลวสงไปตรวจสอบยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร 3 ฉบับ ติดสํานวนการสอบสวนไว 1 ฉบับ

1.5.2 ในจังหวัดที่ไมมีวิทยาการจังหวัดใหพิมพจํานวน 5 ฉบับ เพ่ือสงไปตรวจสอบยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร 3 ฉบับ และกองกํากับการวิทยาเขต 1 ฉบับ ติดสํานวนการสอบสวนไว 1 ฉบับ

1.5.3 ในจังหวัดที่มีวิทยาการจังหวัดใหพิมพจํานวน 5 ฉบับ เพื่อสงไปตรวจสอบยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร 3 ฉบับ และวิทยาการจังหวัด 1 ฉบับ ติดสํานวน การสอบสวนไว 1 ฉบับ

1.6 การสงแผนพิมพลายนิ้วมือไปใหตรวจสอบใหปฏิบัติดังนี้ 1.6.1 กอนจะสงแผนพิมพลายนิ้วมือไปใหตรวจสอบ ใหพนักงาน

สอบสวนเจาของคดีตรวจสอบความถูกตองของแผนพิมพลายนิ้วมือ ตามขอ 1.2, 1.3, 1.4, และ 1.5 เสียกอนหากเห็นวายังมีขอบกพรองใหแกไขใหเรียบรอย กอนลงลายมือชื่อกํากับทายชื่อผูบันทึกไวเปนหลักฐานทุกแผน

1.6.2 ใหสงแผนพิมพลายนิ้ว มือไปตรวจสอบในวันที่พิมพ มือหรือวันรุงขึ้น โดยใหแยกรายคดี หามสงรวมกับแผนพิมพลายนิ้วมือของผูขออนุญาต ผูสมัครเขารับราชการหรือทํางาน

สําหรับจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหระบุไวในหนังสือนําสงดวยวาไดแยกสงแผนพิมพลายนิ้วมือไปตรวจสอบยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร และกองกํากับการวิทยาการเขต หรือวิทยาการจังหวัดแตละแหงตามหนังสือที่เทาใด ลงวัน เดือน ปใด

1.6.3 ใหส งแผนพิมพลายนิ้ ว มือไปตรวจสอบโดยทางไปรษณียลงทะเบียนเวนแตถาเห็นวาจะใหเจาหนาที่ถือไปสงจะเปนการสะดวกและรวดเร็วกวาก็ใหทําได

1.7 เม่ือไดรับผลการตรวจสอบลายพิมพนิ้วมือแลว ใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติดังนี้

1.7.1 กอนที่จะนําแผนพิมพลายนิ้วมือแตละรายที่ผานการตรวจสอบแลวเขาติดสํานวนการสอบสวน ใหตรวจดูวามีหมายเลขสารบบลายพิมพนิ้วมือ และขอความรับรองผลการตรวจสอบหรือไม ในกรณีที่พบประวัติมีหมายเลขบัญชีประวัติ (บ.ช.ป.) และรายการ

Page 61: Document Teaching

- 61 -

ประวัติ หรือสําเนาแผนพิมพลายนิ้วมือเดิมแนบประกอบมาดวยหรือไม หากไมมีใหทักทวงไปยังหนวยงานที่แจงผลการตรวจสอบนั้นใหจัดการใหเรียบรอย

1.7.2 ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหพนักงานสอบสวนรวบรวมผลการตรวจสอบลายพิมพนิ้วมือจากกองทะเบียนประวัติอาชญากร กองกํากับการวิทยาการเขต หรือ วิทยาการจังหวัดแลวแตกรณีมาประกอบการพิจารณาเสียกอน โดยใหถือผลการตรวจสอบที่พบประวัติเปนหลัก จึงจะถือวาเปนผลการตรวจสอบที่สมบูรณ

1.8 เม่ือคดีถึงที่สุด ใหหัวหนาสถานีตํารวจหรือสารวัตรหัวหนาหนวยงานแจงผลคดีถึงที่สุดโดยใหปรากฏเลขคดี ชื่อผูตองหา หมายเลขสารบบลายพิมพนิ้วมือ ขอหา วันเดือนปที่จับกุมอยูดวย ตามแบบรายงานผลการดําเนินคดีถึงที่สุดทายระเบียบนี้ สงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร และกองกํากับการวิทยาการเขต หรือวิทยาการจังหวัด ที่ไดสงไปตรวจสอบประวัติตาม 1.5 แลวแตกรณี โดยใหสงแบบรายงานดังกลาวออกจากสถานีตํารวจหรือหนวยงานภายในไมเกินวันที่ 5 ของทุกเดือน

1.9 การสอบถามหรือการรายงานความเคลื่อนไหวของบุคคลที่เคยสงแผนพิมพลายนิ้วมือตรวจสอบแลวใหแจงหมายเลขสารบบลายพิมพนิ้วมือ และหมายเลขบัญชีประวัติ (หากมี) ไปดวยทุกครั้ง

ขอ 2 หนาท่ีกองทะเบียนประวัติอาชญากร

2.1 เม่ือไดรับแผนพิมพลายนิ้วมือผูตองหา หรือศพจากพนักงานสอบสวนใหปฏิบัติดังนี้

2.1.1 คัดเลือกแผนพิมพลายนิ้วมือผูตองหา ที่พนักงานสอบสวนบันทึกคําวา “ศาลแขวง” ออกจากแผนพิมพลายนิ้วมือประเภทอื่น ๆ แลวรีบตรวจสอบแจงผลไปโดยเร็วที่สุด

สําหรับแผนพิมพลายนิ้วมือที่บันทึกคําวา “รับสารภาพศาลแขวง” เม่ือลวงเลยการฟองคดีตามกฎหมาย ใหจัดเก็บไวเปนประวัติโดยไมตองแจงผลการตรวจสอบ

2.1.2 สําหรับแผนพิมพลายนิ้วมือผูตองหาประเภทอื่น ๆ และศพ ใหรีบตรวจสอบและแจงผลไป

2.1.3 การแจงผลการตรวจสอบลายพิมพนิ้วมือผูตองหาหรือศพ ใหใชแบบหนังสือนําสงหมายเลข 2 หรือ 3 ทายระเบียบนี้แลวแตกรณี โดยสงแผนพิมพลายนิ้วมือที่ตรวจสอบแลวพรอมรายการประวัติ (ถามี) ไปยังผูรับตามที่ระบุไว การสงใหสงทางไปรษณียลงทะเบียน เวนแตพนักงานสอบสวนหรือผูที่ไดรับมอบหมายจากพนักงานสอบสวนมาขอรับเอง

2.2 เม่ือไดรับแผนพิมพลายนิ้วมือของผูตองขัง ผูตองกักขัง ผูถูกกักกัน หรือผูรับการอบรมหลบหนีพรอมหมายจับ ใหรีบตรวจสอบและออกประกาศการสืบจับโดยดวน

Page 62: Document Teaching

- 62 -

2.3 เม่ือไดรับแผนพิมพลายนิ้วมือจากเรือนจํา ทัณฑสถาน สถานกักขัง สถานกักกัน สถานอบรมและฝกอาชีพหรือสํานักงานคุมประพฤติ ใหตรวจสอบกับแผนพิมพลายนิ้วมือของผูนั้นเม่ือครั้งตองหาคดีอาญาตามขอ 1 เมื่อเห็นวาตรงกันใหเก็บไวเปนหลักฐานโดยไมตองตอบแจงผลการตรวจสอบเวนแตกรณีตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานหรือตองการผลการตรวจสอบประวัติใหแจงผลการตรวจสอบเปนหนังสือ

2.4 เม่ือไดรับแจงจากกรมราชทัณฑวาจะประหารชีวิตนักโทษใหจั ดสงเจาหนาที่ไปพิมพลายนิ้วมือผูจะถูกประหารชีวิต แลวตรวจสอบแจงยืนยันหรือไมยืนยันวาเปนผูนั้นจริง ไปยังคณะกรรมการประหารชีวิตดําเนินการตอไป ขอ 3 หนาที่กองวิทยาการภาค กองกํากับการวิทยาการเขตและวิทยาการจังหวัด

3.1 เม่ือไดรับแผนพิมพลายนิ้วมือผูตองหาหรือศพจากพนักงานสอบสวน ใหปฏิบัติตาม 2.1.1 และ 2.1.2 โดยอนุโลม

3.2 การแจงผลการตรวจสอบลายพิมพนิ้วมือผูตองหา หรือศพใหใชแบบหนังสือนําสงหมายเลข 2 หรือ 3 โดยไมตองสงแผนพิมพลายนิ้วมือไป ถาผลการตรวจสอบ พบประวัติใหแนบรายการประวัติไปดวย การสงใหสงทางไปรษณียลงทะเบียน เวนแตกรณีพนักงานสอบสวน หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากพนักงานสอบสวนมาขอรับเอง

3.3 กรณีตรวจสอบแผนพิมพลายนิ้วมือพบประวัติใหสําเนาแผนพิมพลายนิ้วมือฉบับที่ตรวจสอบพบ พรอมรายการประวัติสงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรทันทีเพ่ือปรับฐานขอมูล

3.4 เม่ือไดรับแผนพิมพลายนิ้วมือผูตองขัง ผูตองกักขัง ผูถูกกักกัน หรือผูรับ การอบรมหลบหนีพรอมหมายจับ ใหรีบตรวจสอบและออกประกาศการสืบจับ แลวสําเนาแจง กองทะเบียนประวัติอาชญากรทราบ

3.5 เม่ือไดรับแผนพิมพลายนิ้วมือจากเรือนจํา ทัณฑสถาน สถานกักขัง สถานกักกัน สถานอบรมและฝกอาชีพแลว ใหสงไปยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรเพ่ือปฏิบัติตามความใน 2.3

บทท่ี 2

ระเบียบการพิมพลายนิ้วมือขออนุญาตตาง ๆ___________________

ขอ 1 การขออนุญาตทําการอยางใด หากมีกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการกําหนด

คุณสมบัติใหตรวจสอบพิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาต เพ่ือที่จะไดทราบประวัติตองหาคดีอาญา

Page 63: Document Teaching

- 63 -

สําหรับประกอบการพิจารณา เม่ือหนวยราชการหรือตํารวจทองที่ที่ผูนั้นมีภูมิลําเนาอยูจัดใหมีการพิมพลายนิ้วมือแลวใหดําเนินการดังตอไปนี้

1.1 ในกรุงเทพมหานคร ใหพิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาตดวยแบบพิมพลายนิ้วมือ (พลม. 24 – ต. 538) ตามแบบทายระเบียบนี้คนละ 1 ฉบับ การกรอกขอความและการพิมพลายนิ้วมือใหถือปฏิบัติตาม 1.3 และ 1.4 ของบทที่ 1 โดยอนุโลม แลวสงไปตรวจสอบยังกองทะเบียนประวัติอาชญากร

1.2 ในจังหวัดอื่นนอกจากจังหวัดกรุงเทพมหานคร ใหพิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาตดวยแบบพิมพลายนิ้วมือ (พลม. 24 – ต. 538) คนละ 2 ฉบับ แลวสงไปตรวจสอบยังกองกํากับการวิทยาการเขตหรือวิทยาการจังหวัดแลวแตกรณี 1 ฉบับ และสงไปตรวจสอบยังกอง ทะเบียนประวัติอาชญากร 1 ฉบับ การกรอกขอความและการพิมพลายนิ้วมือใหถือปฏิบัติตาม 1.1

1.3 การสงพิมพลายนิ้วมือไปตรวจสอบ ใหใชแบบหนังสือนําสงหมายเลข 1 ตามแบบทายระเบียบนี้ทุกครั้ง

1.4 สําหรับแผนพิมพลายนิ้วมือของผูขอตอใบอนุญาตทําการขายทอดตลาดและคาของเกาหรือใบอนุญาตอื่น ๆ ที่เคยผานการตรวจจากกองทะเบียนประวัติอาชญากรมาแลว ใหใชฉบับเดิมสงใหกองทะเบียนประวัติอาชญากรตรวจสอบใหมวามีประวัติเพ่ิมเติมอะไรบาง เวนแตแผนพิมพลายนิ้วมือฉบับเดิมชํารุดหรือมีกรณีสงสัยจะเรียกใหผูขออนุญาตพิมพลายนิ้วมือใหมได สําหรับพ้ืนที่กรอกขอความในดานหลังแผนพิมพลายนิ้วมือ หากไมพอใหแนบแผนพิมพเพ่ือขยายหรือเพ่ิมเติมพ้ืนที่ได

ขอ 2 เมื่อกองทะเบียนประวัติอาชญากรตรวจสอบไดผลประการใด ใหแจงผลการตรวจสอบไปยังหนวยราชการหรือตํารวจทองที่ ๆ สงพิมพลายนิ้วมือมาใหตรวจสอบทราบ โดยสงแผนพิมพลายนิ้วมือกลับคืนไป ถามีประวัติใหสงรายการประวัติและสําเนาหมายจับ (ถามี) ไปดวย

ขอ 3 เมื่อกองกํากับการวิทยาการเขตหรือวิทยาการจังหวัดตรวจสอบแลว ผลการตรวจสอบเปนประการใดใหปฏิบัติดังนี้

3.1 แจงผลการตรวจสอบเปนหนังสือ ตามแบบหนังสือนําสงหมายเลข 2 หรือ 3 แลวแตกรณี โดยสงแผนพิมพลายนิ้วมือกลับคืนไป ถามีประวัติใหสงรายการประวัติและสําเนาหมายจับ (ถามี) ไปดวย

3.2 สงสําเนาหนังสือแจงผลการตรวจสอบพรอมทั้งรายการประวัติ (ถามี) ไปใหกองทะเบียนประวัติอาชญากร

ขอ 4 ในกรณีหนวยราชการอื่นเปนเจาของเรื่อง สงเรื่องใหเจาพนักงานตํารวจเปนผูพิมพลายนิ้วมือสงตรวจสอบ กอนที่จะแจงประวัติไป ใหผูสงรอรับผลจากทุกแหงที่สงพิมพลายนิ้วมือไปตรวจสอบจนครบรวมแจงไปตามขอ

Page 64: Document Teaching

- 64 -

ขอ 5 เม่ือหนวยงานที่ไดรับเร่ืองขออนุญาตตาง ๆ ไดรับแจงผลการตรวจสอบลายพิมพนิ้วมือ หรือหลักฐานอื่นจากกองทะเบียนประวัติอาชญากร กองกํากับการวิทยาการเขต หรือวิทยาการจังหวัด ใหเก็บรวมไวกับเรื่องเดิมของผูขออนุญาตนั้น ๆ เพ่ือใชเปนหลักฐานตอไป

********************

Page 65: Document Teaching

- 65 -

บทที่ 10 ระบบการแยกประเภทของลายพิมพนิ้วมือ

รูปลักษณะตาง ๆ ของลายเสน

1. เสนตรงธรรมดา 2. เสนโคง 3. เสนวกกลับ 4. เสนเวียน 5. เสนแตก 6. เสนสั้น ๆ หรือ เสนขาด 7. เสนเกาะ หรือ เสนทะเลสาบ 8. เสนหักมุม 9. จุด

ทั้งนี้จะมีไมครบทั้ง 9 ชนิดก็ได แลวแตรูปลักษณะของลายนิ้วมือที่ปรากฏ ประเภทตาง ๆ ของลายพิมพนิ้วมือ ลายพิมพนิ้วมือแบงออกเปน 3 ประเภท คือ

1. ประเภทโคง (ARCH) แบงเปน 2 ชนิดคือ 1.1 โคงราบ (PLAIN ARCH) 1.2 โคงกระโจม (TENTED ARCH)

2. ประเภทมัดหวาย แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก 2.1 มัดหวายอัลนาร (ULNAR)

2.2 มัดหวายเรเดียล (RADIAL) 3. ประเภทกนหอย แบงออกเปน 4 ชนิด ไดแก

3.1 กนหอยธรรมดา (PLAIN WHORL) 3.2 กนหอยกระเปากลาง (CENTRAL POCKET LOOP)

3.3 กนหอยมัดหวายแฝด (DOUBLE LOOP) 3.4 กนหอยซับซอน (ACCIDENTAL WHORL)

Page 66: Document Teaching

- 66 -

หลักสําคัญของการตรวจพิสูจนลายพิมพน้ิวมือ อาศัยลักษณะลายเสนของลายนิ้วมือที่ปรากฏอยูบนหนานิ้วระหวางขอนิ้ว ขอที่ 1 กับปลายนิ้ววาเปนลักษณะลายนิ้วประเภทโคง ชนิดมัดหวาย หรือกนหอย และลายนิ้วมือที่จะใชในการตรวจพิสูจนไดนั้น จะตองใหลายพิมพนิ้วมือ (เสนดํา) ปรากฏชัดเจนทุกสวนของนิ้ว ไมพรา หรือเลอะเลือนใหผูชํานาญในการตรวจลายพิมพนิ้วมือ สามารถอานรูปลักษณะไดอยางถูกตองและสามารถ “นับ” จํานวนเสนในลายพิมพนิ้วมือระหวาง “จุดสันดอน” กับ “จุดใจกลาง” ของลายนิ้วมือชนิดมัดหวายไดถูกตอง ถาเปนลายพิมพนิ้วมือชนิดกนหอยก็ใหสามารถ “สาว” ลายเสนจากจุดสันดอน ซายมือไปสูจุดสันดอนขวา ทางขวามือไดโดยแมนยํา ในการตรวจสอบเปรียบเทียบนั้นก็ดวยการตรวจสอบกับบัตรสารบบที่อยูในกลุมรหัสเดียวกัน รหัสดังกลาวเปนการรวมเอาลายนิ้วมือที่เปนประเภทและชนิดเดียวกันที่อยูในตําแหนงหรือชองลําดับนิ้วตรงกันในแบบพิมพลายนิ้วมือ 10 นิ้ว มิใชนําไปตรวจสอบเปรียบเทียบกับบัตรสารบบทั้ง 5 ลานฉบับ หลักในการตรวจสอบนั้นจะตองเลือกดูวา นิ้วใดบางมีลักษณะเดนชัดหรือแปลกเปนที่สะดุดตาสังเกตและสามารถจดจําไดงายที่สุดเสียกอน ปกติแลวจะหาลักษณะพิเศษของลายนิ้วมือในมือขวากอน เนื่อ งจากอยูตอนบนของแบบพิมพ หากไม มีลักษณะพิเศษจึงจะไปดูในมือซายตอ ไป การตรวจสอบพิสูจนเปรียบเทียบเพ่ือยืนยันวาเปนลายพิมพนิ้วมือของบุคคลเดียวกันหรือไมนั้น ตองอาศัยลักษณะของลายเสนในลายนิ้วมือหลาย ๆ จุด เปนการเปรียบเทียบตามหลักเกณฑของการตรวจพิสูจนเปรียบเทียบเปนหลัก มิไดนําเอาตําหนิหรือแผลเปนมาเปนที่สังเกตจดจําเปนลักษณะพิเศษแตอยางใด เพราะตําหนิหรือแผลเปนนั้นอาจเกิดขึ้นในภายหลังได ซึ่งโดยการเปรียบเทียบ ทั่ว ๆ ไปนั้น แมบุคคลที่มิเคยไดศึกษาเกี่ยวกับวิชาลายพิมพนิ้วมือมากอน ถาไดตรวจดูโดยละเอียดถี่ถวนไมใจรอน มีสมาธิดีแลว เม่ือพบเห็นเขาก็พอจะเกิดความรูสึกจากจิตสํานึกวา ลักษณะของลายเสนในลายนิ้วมือนั้นมีชื่อเรียกอยางเดียวกัน ประเภทและชนิดเดียวกัน คลายคลึงกัน เหมือนกันหรือไมเหมือนกัน

********************

Page 67: Document Teaching

- 67 -

บทที่ 11 การพิมพลายนิ้วมือท่ีถูกตองตามหลักวิชาการ

การพิมพลายนิ้วมือที่ถูกตองตามหลักวิชาการ

หมายถึง การพิมพลายนิ้วมือใหปรากฏลายเสนชัดเจนสมบูรณ โดยใหเห็นลายเสนของขอปลายแตละนิ้วจากขอบเล็บขางหนึ่งถึงขอบเล็บอีกขางหนึ่ง วิธีพิมพลายนิ้วมือ วิธีพิมพลายนิ้วมือมีอยู 2 อยาง คือ 1. การพิมพราบ คือ การพิมพลายนิ้วมือระหวางขอนิ้วขอที่ 1 ถึงปลายนิ้วโดยพิมพกดลงไปตรง ๆ แลวยกขึ้น 2. การพิมพกลิ้งน้ิว คือ การพิมพลายนิ้วมือระหวางขอที่ 1 ถึงปลายนิ้วโดยกลิ้งนิ้วจากขอบเล็บขางหนึ่งไปจนสุดขอบเล็บอีกขางหนึ่ง ใหลายเสนติดทั้งหนานิ้ว เครื่องมือเครื่องใชในการพิมพลายนิ้วมือ 1) แทนหมึกพิมพ ใชกระจกผิวเรียบขนาด 4 คูณ 10 นิ้วฟุต หนาประมาณ ¼ นิ้ว 2) ลูกกลิ้งยาง ขนาดพอสมควรกับความกวางของหนาแทน ใชสําหรับคลึงหมึก 3) หมึก ตองใชหมึกสีดําสําหรับพิมพลายนิ้วมือ 4) แทนประกับสําหรับบังคับแผนพิมพลายนิ้วมือ 5) โตะสําหรับการพิมพลายนิ้วมือ ควรมีความสูงประมาณ 3 ฟุตครึ่ง หรือมีความสูงตํ่ากวาขอศอกของบุคคลในขณะยืนเล็กนอย การชําระนิ้วมือกอนลงมือพิมพ กอนที่จะลงมือพิมพลายนิ้วมือของผูใด จะตองชําระลางนิ้วมือของผูนั้นใหสะอาดเสียกอนถามีผงหรือสิ่งเปรอะเปอนติดอยูแลว ลายนิ้วมือที่พิมพลงไปนั้นจะติดลายเสนไมสมบูรณ ซึ่งอาจทําใหลายนิ้วมือนั้นใชการไมได การชําระลางนี้ ถานิ้วมือของผูถูกพิมพไมสกปรกมากนักควรใชผาชุบน้ํามันกาดพอชื้น ๆ เช็ดตามนิ้วมือใหทั่วเสียกอน แตถามือนั้นสกปรกมากตองลางดวยสบู ยิ่งถาหนังมือดาน หรือแข็งก็ตองลางมือดวยน้ําอุนกับสบูแลวเช็ดเบา ๆ อยาใหทันแหงสนิท จะชวยใหพิมพนิ้วมือนั้นชัดเจนขึ้นได

Page 68: Document Teaching

- 68 -

การทาหมึกบนแทนพิมพ บีบหมึกออกจากหลอดพอประมาณ 2 - 3 หยด ใหหยดเวนระยะตามลําดับลงกลางแทนพิมพ ใชลูกกลิ้งยางกลิ้งไปในทางเดียวกัน จนหมึกนั้นแผขยายออกไปเรียบสมํ่าเสมอทั่วทุกสวนของหนาแทนเม่ือหมึกเรียบดีแลว กอนจะลงมือพิมพใหทดลองพิมพบนกระดาษอื่น ๆ สักนิ้วหนึ่งกอน เพ่ือจะไดทราบวา หมึกบนแทนนั้นหนาหรือบาง ถาลายเสนจางก็หมายถึงหมึกบนแทนพิมพบางไปตองเพิ่มหมึกขึ้นอีก ถาลายเสนดํามากจนเลอะเทอะก็หมายถึงหมึกบนแทนหนาหรือมากเกินไป จะตองเอาหมึกออกเสียบาง และวิธีเอาหมึกออกจากแทนจะใชวิธีเอาออกโดยใชของแข็งขูดออก หรือใชผาเช็ดออกนั้น เปนวิธีการไมถูกตอง เพราะจะทําใหหมึกหนา ๆ บาง ๆ และหนาแทนจะเปนรอย ขาดความสม่ําเสมอ วิธีที่ถูกตองคือ ใหเอาลูกกลิ้งที่ติดหมึกมาก ๆ กลิ้งถายหมึกลงบนกระดาษอื่น แลวกลับไปกลิ้งบนแทนอีก และนํามาถายหมึกที่เหลืออยูบนแทนจนพอเหมาะกับความตองการ แลวจึงลงมือพิมพไดเม่ือพิมพไปแลว 10-15 คน ตองใชผาชุบน้ํามันกาดพอชื้น ๆ เช็ดหนาแทนใหสะอาด แลวคลึงหมึกทําการพิมพใหมตอไป

การพิมพลายนิ้วมือลงบนแบบพิมพ แบบพิมพที่ใชในการพิมพลายนิ้วมือ ใชขนาดกวาง 8 นิ้ว ยาว 8 นิ้ว 2 แบบ คือ

(1) แบบพิมพลายนิ้วมือผูตองหา (พลม.25- ต.539) (2) แบบพิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาต และผูสมัครงาน (พลม.24- ต.538)

การพิมพลายนิ้วมือลงบนแบบพิมพ ใหถือปฏิบัติดังนี้ 1. ใหผูพิมพยืนอยูริมโตะขางหนึ่ง และผูถูกพิมพยืนอยูริมโตะขางเดียวกัน โดยยืนทาง

ขวามือของผูพิมพ 2. ใหพิมพมือขวาตามลําดับนิ้วที่มีชองปรากฏอยูในแบบพิมพ เม่ือพิมพมือขวา

เสร็จแลว จึงพิมพมือซายตามลําดับนิ้วที่มีชองปรากฏอยูในแบบพิมพเชนเดียวกัน การพิมพดังกลาวขางตนทั้งสองมือนี้ตองพิมพใหเลยนิ้วมือขอที่หนึ่งลงมาโดยใชวิธีพิมพกลิ้งนิ้ว

3. ตองจับนิ้วใหแนนพอประมาณและบอกผูถูกพิมพใหทํานิ้วออนๆ อยาเกร็งหรือฝนนิ้ว 4. เวลาพิมพใหผูพิมพจับนิ้วผูถูกพิมพวางตะแคงลงบนแทนพิมพและใชปลายนิ้วชี้ของ

มืออีกขางของผูพิมพแตะประคองนิ้วที่จะพิมพเพ่ือใหหมึกติดสวนบนของปลายนิ้วนั้น ต้ังตนพิมพจากขอบเล็บขางหนึ่งกลิ้งมือเบา ๆ ไปจนสุดขอบเล็บอีกขางหนึ่ง ใหหมึกติดทั่วหนานิ้วโดยถือ หลักวา นิ้วหัวแมมือทั้งขวาและซายใหพิมพกลิ้งเขาหาตัวผูถูกพิมพ สวนนิ้วอื่น ๆ ใหกลิ้งออกจากตัวผูถูกพิมพ

Page 69: Document Teaching

- 69 -

5. การพิมพลงบนกระดาษแบบพิมพใหทําเชนเดียวกับการกลิ้งนิ้วบนแทนพิมพตามขอ 4 โดยพิมพมือขวาตามลําดับนิ้วที่มีชองปรากฏในแบบพิมพ เสร็จแลวจึงพิมพมือซายตามลําดับนิ้วที่มีชองปรากฏในแบบพิมพเชนกัน 6. ใหผูถูกพิมพลายนิ้วมือเซ็นชื่อตนเองลงในแบบพิมพตามชองที่กําหนดไว หากเซ็นชื่อไมไดใหพิมพนิ้วหัวแมมือขวาเปนหลักฐานแลวจึงพิมพนิ้วหัวแมมือขวา - ซาย ลงในแบบพิมพตามชองที่กําหนดไวโดยวิธีพิมพราบเชนเดียวกันกับการพิมพกด 4 นิ้ว พรอม ๆ กัน ขอบกพรองในการพิมพลายนิ้วมือที่ใชการไมไดตองสงคืน

1. พิมพหมึกหนาหรือบางเกินไป กดนิ้วแรงเกินไปทําใหลายเสนติดกัน ลายนิ้วมือมืด พรามัว เลอะเลือน สายเสนเลือนจาง พิมพหมึกสีเขมแตกตางกันในแตละนิ้ว และหมึกไมสมํ่าเสมอกันทุกนิ้ว

2. พิมพไขวมือ หรือไขวนิ้ว หรือซ้ํานิ้ว ไมตรงตามชองที่กําหนดไวในแบบพิมพหรือพิมพสลับมือ

3. พิมพลายนิ้วมือกลิ้งนิ้วไมสุดขอบเล็บทั้งสองขาง 4. พิมพสูงกวาขอนิ้วหรือตํ่ากวาขอนิ้วมากเกินไป 5. พิมพลายนิ้วมือไมตั้งตรง พิมพเอียง พิมพเกินกรอบ 6. พิมพลายนิ้วมือไมครบตามชองที่กําหนดโดยไมไดหมายเหตุ 7. กรอกขอความตาง ๆ ในแบบพิมพไมครบทุกชอง 8. ไมใชหมึกสีดํา

การพิมพลายนิ้วมือที่พิการ - กรณีนิ้วดวน มือดวน ไมสามารถพิมพลายนิ้วมือได ใหหมายเหตุในชองแบบพิมพของนิ้วนั้นวาดวน - กรณีนิ้วกุดเพียงขอนิ้วแรก ใหพิมพนิ้วสวนที่เหลืออยูนั้นลงไป แลวหมายเหตุไวดวยวานิ้วกุด - กรณีนิ้วมากกวา 10 นิ้ว ก็ใหจัดการพิมพไปตามปกติในแบบพิมพ แตนิ้วที่งอกเกินมาใหพิมพไวที่ดานหลังของแบบพิมพ แลวหมายเหตุใหชัดเจนวา เปนนิ้วงอกของนิ้วใดเพราะบคุคลดังกลาวอาจตัดนิ้วที่งอกออกในภายหลัง - กรณีนิ้วติดกัน ใหพยายามกลิ้งนิ้วเทาที่จะสามารถทําได แลวหมายเหตุใหทราบวานิ้วติดกัน - กรณีมือดวนและนิ้วดวนทั้งหมด ใหพิมพฝามือลงไปแทน

Page 70: Document Teaching

- 70 -

- กรณีนิ้วแหง นิ้วของผูสูงอายุ นิ้วดานแข็ง ใหลางดวยน้ําโดยไมตองฟอกสบู แลวเช็ดบาง ๆ พอใหแหงชื้นหมาด ๆ แลวลงมือพิมพทันที - กรณีนิ้วมีเหงื่อออกมาก กอนลงมือพิมพใหเช็ดนิ้วใหแหง พิมพบนแทนหมึกแลวพิมพลงในกระดาษแบบพิมพทันทีทีละนิ้ว - กรณีลายเสน บาง ละเอียด กอนลงมือพิมพใหแชนิ้วในน้ําอุนประมาณ 5 – 10 นาที แลวจึงพิมพลงในแทนหมึกพิมพที่มีหมึกพิมพคอนขางบาง เพ่ือใหหมึกพิมพติดเฉพาะแตเสนนูนไมติดในเสนรอง การพิมพลายนิ้วมือศพ การพิมพลายนิ้วมือศพนี้เปนการพิมพที่ผูพิมพจะตองพยายามหาวิธีพิมพใหไดลายพิมพนิ้วมือของศพนั้นมาใหสมบูรณถูกตอง สามารถนําไปใหรหัสแยกประเภทไดตามหลักวิชา หรือมีรายละเอียดของลายเสนเพียงพอที่จะกําหนดจุดลักษณะสําคัญพิเศษของลายเสน และสามารถนําไปใชในการตรวจสอบได ทั้งนี้ก็เพราะผูพิมพมีโอกาสเพียงครั้งเดียว ถาพิมพเสียหรือพิมพไดรายละเอียดของลายเสนไมครบถวนถูกตองตามหลักวิชาหรือใชในการตรวจสอบไมไดแลว ก็หมดโอกาสที่จะจัดพิมพใหมไดอีก เพราะศพนั้นอาจถูกเผาไปเสียหรือศพเนาจนหนังนิ้วมือหลุดรอนชํารุดเสียหายไปหมด ความสําเร็จและคุณคาที่ควรจะไดรับจาก “ลายนิ้วมือ” ที่ผูพิมพหรอืผูที่ควรจะไดรับก็เปนอันหมดสิ้นไป ศพที่ผูพิมพจัดการพิมพลายนิ้วมือนั้น อาจเปนศพที่อยูในลักษณะและเวลาที่ตายแตกตางกัน เชน อาจเปนศพของบุคคลที่ตายใหม ๆ หรืออาจเปนศพที่ตายมาแลวหลายวัน จนถึงกับขึ้นอืดหรือเนาเปอยผิวหนังหลุดรอนแตยังมีลายนิ้วมืออยู หรืออาจเปนศพที่ตองไปขุดมาจากหลุมฝงศพ แตอยางไรก็ตามลักษณะของศพที่จะทําการพิมพนั้นสวนมากมักจะแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังตอไปนี้ คือ

1. ศพที่ยังไมขึ้นหรือศพที่ตายใหม ๆ 2. ศพที่ขึ้นแลวหนังนิ้วมือหลุดรอน 3. ศพที่ขึ้นจนเนารางกายกําลังเปนน้ําเหลือง หรือเหี่ยวแหง

การพิมพลายพิมพนิ้วมือศพนี้ จําเปนตองมีเครื่องมือเครื่องใชสําหรับการพิมพเปนพิเศษนอกเหนือไปจากเครื่องมือที่ใชอยูตามปกติอีก คือ

1. โลหะที่ทําเปนรองโคง 1 อัน (ถาไมมีใชไมไผผาซีกใหเปนรองก็พอใชได) 2. ถุงมือยาง 1 คู 3. กรรไกรขนาดเล็กหรือมีดเล็กปลายแหลม 1 อัน 4. เข็มฉีดยาขนาดใหญมีเครื่องมือฉีดพรอม 1 เครื่อง 5. กลีเซอรีนหรือเครื่องเคมีอยางอื่น

Page 71: Document Teaching

- 71 -

6. ปากคีบ 1 อัน 7. สบู 1 กอน 8. แอลกอฮอล 1 ขวด 9. ผาเช็ดมือ 1 ผืน 10. แปงเปยกหรือกาว 1 ขวด

ก. การพิมพลายน้ิวมือศพท่ียังไมขึ้น หรือตายใหม ๆ 1. ลางมือศพดวยน้ําอุนกับสบู หรือเช็ดดวยสําลีชุบน้ํามันกาดแลวเช็ดใหแหงสนิท 2. ใชไมชิ้นเล็ก ๆ สอดระหวางนิ้วศพเพ่ือถางออก ถานิ้วงอ กํา ก็ควรงางนิ้ว หรือหักขอมือเพ่ือใหเกิดความสะดวกในการพิมพ 3. จัดใหศพนอนคว่ําหนาบนโตะ โดยใหฝามือคว่ําอยูบนโตะดวย 4. ใชกรรไกรตัดแบบพิมพลายนิ้วมือสําหรับที่จะพิมพ มือขวา - ซาย ออกจากกันโดยตัดที่ขอบของเสนอันที่ 2 ของแตละมือ 5. เอาลูกกลิ้งที่ติดหมึกเสมอดี แลวกลิ้งคลึงบนทองนิ้วมือศพที่ตองการ พิมพตั้งแตขอแรกถึงปลายนิ้ว 6. เอากระดาษแบบพิมพที่ตัดไวใสเขาไปในที่บังคับของโลหะที่ทําเปนรองโคงใหชองที่แบงนิ้วไวในกระดาษแบบพิมพ ตรงกับนิ้วที่จะพิมพ เอากระดาษนั้นกดเขา กับขอนิ้วตามลําดับทุกนิ้วก็จะไดลายนิ้วมือศพตามความประสงค ข. วิธีพิมพลายน้ิวมือศพท่ีข้ึนอืดแลวหนังลายน้ิวมือหลุดรอน

1. ผูพิมพควรสวมถุงมือยางเพ่ือปองกันเชื้อโรค 2. ใชกรรไกรตัดหนังนิ้วมือศพ ต้ังแตต่ํากวาขอนิ้วที่หนึ่ง ไปจนถึงปลายนิ้ว พยายาม

ตัดใหชิดขอบเล็บ 3. เอาหนังที่ตัดไดแชลงไปในน้ํามันเบนซินสักครูหนึ่ง 4. ใชแปงเปยกหรือกาวทาเฉพาะที่นิ้วชี้ของผูพิมพที่สวมถุงมือยางอยู 5. ใชปากคีบ ๆ หนังนิ้วมือนั้นวางบนนิ้วชี้ที่ทากาวไว โดยวางใหเรียบสนิทกับนิ้วมือ 6. ดําเนินการพิมพลายนิ้วมือ โดยวิ ธีกลิ้ งนิ้วลงบนแทนพิมพเหมือนการพิมพ

ลายนิ้วมือคนธรรมดาแลวพิมพลงในแบบพิมพอีกทอดหนึ่ง 7. กระทําดังที่กลาวในขอ 1 - 6 ทีละนิ้ว ๆ ตามลําดับจนครบทุกนิ้ว

ขอควรจํา การตัดหนังนิ้วมือศพตลอดจนถึงการพิมพลงในแบบพิมพ ตองใชความละเอียดรอบคอบระมัดระวังอยางมาก ตองคอย ๆ กระทําทีละนิ้ว ๆ อยาตัดหนังนิ้วมือเกินกวา 1 นิ้ว แลวนําเอาหนังนิ้วมือนั้นมาแชน้ําหรือแอลกอฮอลรวมกัน จะทําใหไมรูวาหนังนิ้วมือที่ตัดออก

Page 72: Document Teaching

- 72 -

นั้นชิ้นไหนเปนหนังของนิ้วอะไร และของมือใด เวลาพิมพลงในแบบพิมพก็เชนกัน ตองระมัดระวังอยาใหสลับนิ้วหรือสลับมือกันไดเปนอันขาด

ค. วิธีพิมพลายน้ิวมือศพท่ีข้ึนอืดจนเนารางกายกําลังเปนนําเหลือง หรือเห่ียวแหง ศพประเภทนี้นิ้วมือมักมีน้ําเหลืองซึมออกมาอยูตลอดเวลาทําใหนิ้วมือเปยกคลึงหมึกลงบนนิ้วไมได หรือจะใชกรรไกรตัดเลาะหนังนิ้วมือออกก็ทําไมไดเชนกัน เพราะหนังนิ้วมือยังติดอยูกับเนื้อ ดังนั้นใหเอากลีเซอรีน ใสในหลอดแกวที่มีเข็มฉีด แลวฉีดลงที่ปลายนิ้วศพทุกนิ้ว ทิ้งไวประมาณ 10 นาที กลีเซอรีนจะเกาะนิ้วใหแข็ง และแหงน้ําเหลืองซึมออกมาไมไดอีกแลวลงมือจัดการพิมพตามวิธีที่กลาวมาแลวในขอ ก. ในกรณีนิ้วมือศพเหี่ยวแหง หรือหดยน ซึ่งไมสามารถจะทําการพิมพใหสมบูรณดีไดใหแกไขโดยฉีดยาเขาไปใตผิวหนัง หรือฉีดดวยกลีเซอรีน หรือน้ําธรรมดาโดยใชเข็มแทงเขาไปที่ขอนิ้วปลอยน้ํายา หรือ กลีเซอรีน หรือน้ําธรรมดาเขาไปจนกระทั่งรูสึกวานิ้วมือศพพองขึ้นมา แลวจึงทําการพิมพ โอกาสแรกที่ผูพิมพไดพบศพควรจะตรวจดูนิ้วมือศพเสียกอนวา นิ้วมือศพอยูครบถวนหรือไม ถาไมครบควรพิจารณาวานิ้วที่หายไป หรือมือที่หายไปเปนการดวนหรือหายไป ในขณะที่ผูตายยังมีชีวิตอยูหรือหายไปเม่ือไดตายลงไปแลว เชน ถูกสัตวแทะหรือกัด เปนตน เม่ือไดสังเกตและตรวจดูเปนที่เรียบรอยแลว ตองบันทึกลงไปในแบบพิมพลายนิ้วมือดวย เพราะสารบบการพิมพลายนิ้วมือมีการแยกเก็บลายนิ้วมือดวนไว

********************

Page 73: Document Teaching

- 73 -

บรรณานุกรม ภาษาไทย

เชวง แกวไชโย, พล.ต.ต. 2522. การทะเบียนประวัติอาชญากร. กรุงเทพมหานคร : เจริญผล. ดนัย ตังธนกานนท, พ.ต.อ. 2538. การทะเบียนประวัติอาชญากร. นครปฐม : สวนวิชาการสืบสวน

และสอบสวน กองบังคับการวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ. ตํารวจแหงชาติ, สํานักงาน. 2543. ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยการชันสูตรพลิกศพ

(ฉบับที่ 6 ). กรุงเทพมหานคร. ทะเบียนประวัติอาชญากร,กอง. 2543. คูมือการทะเบียนประวัติอาชญากรและการพิมพลายนิ้วมือ.

กรุงเทพมหานคร. นิติการ,กอง. สํานักกฎหมายและการสอบสวน สํานักงานตํารวจแหงชาติ.2548. คูมือกําหนดอํานาจ หนาที่ของสวนราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติ กรุงเทพมหานคร บัญชาการศึกษา, กอง. สํานักงานตํารวจแหงชาติ. 2542. คูมือหลักสูตรผูชวยพนักงานสอบสวน.

กรุงเทพมหานคร. บัญชาการศึกษา, กอง. สํานักงานตํารวจแหงชาติ. 2542. คู มือตํารวจหลักสูตรสืบสวน.

กรุงเทพมหานคร. พัชรา สินลอยมา, พ.ต.ต.หญิง. 2542. เอกสารประกอบการสอนวิชาการทะเบียนประวัติอาชญากร.

นครปฐม : สวนวิชาการสืบสวนและสอบสวน กองบังคับการวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ.

. 2543. การสืบสวนโดยใชวิทยาการตํารวจ. นครปฐม : สวนวิชาการสืบสวนและสอบสวน กองบังคับการวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ.

สันต สุขวัจน, พ.ต.ท. 2542. พิสูจนหลักฐาน 1. นครปฐม : โรงเรียนนายรอยตํารวจ. อาวุธ สารพานิช, พ.ต.ต. 2503. การพิมพลายนิ้วมือ. : เอกสารเผยแพรความรูของกรมตํารวจ

อันดับที่ 33/2498. พิมพครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร : ตํารวจ. ภาษาอังกฤษ

Frederick, R.C. 1954. The Fingerprint System At Scotland yard. London : Her Majesty’s Station office.

Saferstein, Richard. 1995. Criminalistics : an introduction to forensic science. 5 th ed. New Jersey : Prentic – Hall, Inc.