Transcript
Page 1: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  1

รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวยั่งยืน ระยะที่ 2 (5) Summary Report of of Sukhothai International Cultural Tourism Expert

Workshop and Symposium 2013

เสนอ องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางย่ังยืน (องคการมหาชน)

Proposed to Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization)

โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Proposed by Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University

ธันวาคม 2556 December 2013

Page 2: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  2

คํานํา

องคการบริหารการพัฒนาพ้ืนที่ พิเศษเพ่ือการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) หรือ อพท. ไดดําเนินการตามนโยบายของรัฐบาล โดยจัดทําแบบแผนการบริหารการพัฒนาพ้ืนที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย–ศรีสัชนาลัย–กําแพงเพชร เพ่ือเปนตนแบบการบริหารการพัฒนาแหลงทองเที่ยวมรดกโลกทางประวัติศาสตรและมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศไทยเพ่ือการทองเที่ยวยั่งยืน และไดวางตําแหนงการพัฒนาการทองเที่ยวพ้ืนที่พิเศษแหงนี้ใหเปนศูนยกลางการทองเที่ยวเชิงเรียนรูทางมรดกโลกและมรดกวัฒนธรรมของภูมิภาคอาเซียน ซึ่งการจัดทํา“ตนแบบ” การบริหารการพัฒนาพ้ืนที่พิเศษเพ่ือการทองเที่ยวยั่งยืนประเภทแหลงทองเที่ยวมรดกโลกทางประวัติศาสตรและมรดกทางวัฒนธรรม อพท. ไดมุงหมายความสําคัญของการประสานทุกภาคีการพัฒนาที่เอ้ืออํานวยตอกันควบคูกับการอนุรักษมรดกโลกทางประวัติศาสตรและมรดกทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาแบบบูรณาการเพ่ือสรรคสรางการทองเที่ยวที่ทรงคุณคา โดยมีกระบวนการจัดการการใชประโยชนทรัพยากรการท องเที่ยวอยางยั่งยืนเพ่ือสรางสมดุลการใชประโยชนระหวางมิติดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มิติดานสังคมวัฒนธรรม และมิติดานเศรษฐกิจ

มรดกวัฒนธรรมในวิถีชุมชน ซึ่งเปนประเด็นหลักของการดําเนินงานมุงเนนเรื่องการบูรณาการทุกมิติของคุณคา และกระบวนการเรียนรูมรดกวัฒนธรรมของแหลงชุมชน เพ่ือนําสูผลประโยชนทองถิ่นและการทองเที่ยวสรางสรรค โดยผูเชี่ยวชาญสากลดานการทองเที่ยววัฒนธรรมของอิโคโมส ซึ่งเปนองคกรที่ปรึกษาหลักดานวิชาการแกพ้ืนที่มรดกโลก ไดรับเชิญเขารวมสังเกตการณฝกปฏิบัติการและทบทวนวิจารณผลงานในพ้ืนที่จริงซึ่งเปนขั้นตอนหนึ่งที่สําคัญในโครงการวิจัยตอเนื่องเพ่ือสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคและการทองเที่ยวยั่งยืนของสุโขทัย รวมถึงเปนผูนําการพูดคุยและอภิปรายในการประชุมผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมซึ่งจัดใหมีเวทีพูดคุยกับผูมีสวนไดสวนเสียในทองถิ่นของพ้ืนที่มรดกโลกสุโขทัยดวย

พ้ืนที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กําแพงเพชร มีขนาดพ้ืนที่กวางใหญและประกอบไปดวยความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ทั้งในมิติที่จับตองไดและจับตองไมได ซึ่งตองพัฒนางานศึกษาวิจัยอยางรอบดานในการกําหนดทิศทางการพัฒนาการทองเที่ยวยั่งยืนในพ้ืนที่พิเศษฯ แหงนี้ ดังนั้นการสรางองคความรูใหมรวมกันระหวางทองถิ่นและผูเชี่ยวชาญนานาชาติจะชวยกําหนดรูปแบบ แบบแผนและทิศทางการบริหารการพัฒนาการทองเที่ยวยั่งยืน การวิจัยนํารองเพ่ืองานศึกษาวิจัยเชิงลึกที่สามารถนําระเบียบวิธีไปดําเนินงานตอในพ้ืนที่อ่ืนๆ หรือสงเสริมงานวิจัยและพัฒนาที่นําไปใชบริหารจัดการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยางยั่งยืน ซึ่งมีเนื้อหาปรากฏอยูในรายงานฉบับนี้

ดร.จาตุรงค โพคะรัตนศิริ หัวหนาโครงการวิจัย

ธันวาคม 2556

Page 3: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  3

สารบัญ

1. การประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย 4 ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013 Sukhothai ICTC 2013 Workshop and Symposium 0

1.1 หลักการและเหตุผล 4 Rational

1.2 วัตถุประสงค 6 Objective

1.3 กําหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยว 7 วัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013 0 Sukhothai ICTC 2013 Workshop and Symposium programme (Thai)

1.4 รายช่ือผูเขารวมใหขอมูลการลงพื้นที่ปฏิบัติการภาคสนาม 11 List of Local Informants (Workshop)

1.5 รายช่ือผูลงทะเบียนเขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติ 12 ดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013 List of Local Participants

2. บันทึกสรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย 16 ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013 Notes from ICTC 2013 Workshop Conclusion & Symposium 3. รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย 53 ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013 ICTC Sukhothai 2013 Report 4. สรุปขอเสนอแนะ (รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร) 92 Recommendation (Exclusive Summary)

เอกสารแนบ 1 กําหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยว 103 วัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013 Attachment 1 Sukhothai ICTC 2013 Workshop and Symposium programme (English) เอกสารแนบ 2 รายช่ือผูเชี่ยวชาญที่เขารวมกิจกรรม 106 Attachment 2 List of Expert Participants

Page 4: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

1. การประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013

Sukhothai ICTC 2013 Workshop and Symposium

Page 5: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  4

1. การประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชีย่วชาญนานาชาติดานการทองเท่ียววัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556ไอซีทีซี 2013 1.1 หลักการและเหตุผล

การประชุมเชิงปฏบิัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเท่ียววัฒนธรรมสุโขทัย

ประจําป 2556 มรดกที่มีชีวิต: การทองเที่ยวสรางสรรคและชุมชนยั่งยืน

(การเรียนรู การสื่อคุณคา และการจัดการ) ณ จังหวัดสโุขทัย ประเทศไทย ระหวางวันท่ี 7-11 ตุลาคม 2556

การประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556 จะถูกจัดขึ้นในจังหวัดสุโขทัย ประเทศไทย ระหวางวันท่ี 7 ถึง 11 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 ดวยความรวมมือระหวาง อิโคโมสไทย คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และองคการบริหารพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) และภาคีรวมจัดอื่น ๆ โดยมีพื้นท่ีมรดกโลกเมืองประวัติศาสตรสุโขทัยและเมืองบริวารในพื้นที่ภาคเหนือตอนลางของประเทศไทยเปนศูนยกลางบริเวณการจัดกิจกรรม

บริเวณพื้นที่และชุมชนโดยรอบอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร ไดถูกประกาศเปนพื้นที่พิเศษเพื่อสงเสริมการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และมีนโยบายเรงดวนเพื่อเรียกรองใหนักวิจั ยและผูเช่ียวชาญในดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ไดทํางานกับชุมชนทองถิ่นเพื่อสรางกระบวนการเรียนรูมรดกวัฒนธรรมรวมกันอยางตอเนื่อง ทามกลางกระแสการทองเที่ยวในพ้ืนท่ี โดยนอกเหนือจากโบราณสถานสําคัญหลายแหง ยังปรากฏวามีการดํารงอยูของประเพณีและมรดกวัฒนธรรมที่จบัตองไมไดประเภทอื่น ๆ อีกมาก เชน การผลิตเครื่องเคลือบดินเผา เครื่องทองและเครื่องเงิน รวมไปถึงผาทอของกลุมชาติพันธุตาง ๆ

มรดกที่มีชีวิตซึ่งเปนประเด็นหลักของการจัดงานในครั้งนี้จะมุงเนนเรื่องการบูรณาการทุกมิติของคุณคา และกระบวนการเรียนรูมรดกวัฒนธรรมของแหลงชุมชน เพื่อนําสูผลประโยชนทองถิ่นและการทองเที่ยวสรางสรรค โดยผูเช่ียวชาญสากลดานการทองเที่ยววัฒนธรรมของอิโคโมส ซึ่งเปนองคกรที่ปรึกษาหลักดานวิชาการแกพื้นที่มรดกโลก จะไดรับเชิญเขารวมสังเกตการณและทบทวนวิจารณผลการฝกปฏิบัติการในพื้นที่จริงซึ่งเปนขั้นตอนหนึ่งที่สําคัญในโครงการวิจัยตอเนื่องเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคและการทองเที่ยวยั่งยืนของสุโขทัย รวมถึงเปนผูนําการพูดคุยและอภิปรายในการประชุมผูเช่ียวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมซึ่งจะจัดใหมีเวทีพูดคุยกับผูมีสวนไดสวนเสียในทองถิ่นของพื้นที่มรดกโลกสุโขทัยดวย

คณะกรรมการดําเนินงาน ประธานท่ีปรึกษา ดร.ยงธนิศร พิมลเสถียร (ประธานอิโคโมสไทย)

ซูซาน เอ็ม มิลลาร (ประธานคณะกรรมการดานทองเที่ยววัฒนธรรมอิโคโมสสากล) สิทธิศักดิ์ ปฐมวารี (ผูจัดการพื้นที่พิเศษฯ สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กําแพงเพชร)

ประธานคณะทํางาน ดร.จาตุรงค โพคะรัตนศิริ และ ดร.พรธรรม ธรรมวิมล ที่อยูสําหรับการติดตอ [email protected]

ICOMOS International Cultural Tourism Committee Workshop and Sukhothai International Cultural Tourism Expert Symposium 2013 Sukhothai, Thailand, October 7-11, 2013

Page 6: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  5

เกี่ยวกับอิโคโมส

สภาการโบราณสถานระหวางประเทศ หรืออิโคโมส เปนองคกรสากลที่มีการดําเนินงานอิสระมีบทบาทเปนที่ปรึกษาดานการอนุรักษโบราณสถานและแหลงประวัติศาสตรใหกับยูเนสโกและคณะกรรมการมรดกโลก อิโคโมสทํางานบนหลักการของกฎบัตรเวนิสหรือกฎบัตรระหวางประเทศวาดวยการอนุรักษและบูรณะโบราณสถานและแหลงประวัติศาสตร ป พ.ศ. 2507 เพื่อสนับสนุนการประยุกตใชทฤษฎี ระเบียบวิธี และเทคนิคทางวิทยาศาสตรเพื่อการอนุรักษแหลงมรดกวัฒนธรรม

อิโคโมสคือเครือขายของผูเชี่ยวชาญและผูปฏิบัติวิชาชีพชํานาญการจากหลากหลายสาขาวิชาชีพท่ีมีการแลกเปลี่ยนองคความรูในหมูสมาชิกซึ่งประกอบไปดวย สถาปนิก นักประวัติศาสตร นักโบราณคดี นักมานุษยวิทยา วิศวกร และนักผัง-เมือง เปนตน โดยสมาชิกของอิโคโมสเปนผูอุทิศตนใหกับการพัฒนาวิธีการและเทคนิคเพื่อการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมในหลากหลายมิติ รวมไปถึง อาคารประวัติศาสตร แหลงโบราณคดี ภูมิทัศนวัฒนธรรม และการทองเที่ยววัฒนธรรม

เกี่ยวกับอิโคโมสไทย

อิโคโมสไทย ไดถูกกอตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2528 เพื่อเปนหนึ่งในคณะกรรมการอิโคโมสระดับชาติที่มีการจัดตั้งใหมีขึ้นทั่วโลกในระดับประเทศซึ่งเปนสมาชิกของยูเนสโก คณะกรรมการอิโคโมสระดับชาติมีหนาที่จัดหาเวทีเพื่อเปดโอกาสใหสมาชิกและบุคคลทั่วไปทั้งระดับปจเจกและตัวแทนองคกรหรือสถาบันตาง ๆ ไดพูดคุยแลกเปลี่ยนขอมูลดานหลักการทางวิชาการและประสบการณฝกปฏิบัติที่เกี่ยวของกับสายงานดานการอนุรักษและสงวนรักษามรดกวัฒนธรรม

กิจกรรมที่ไดมีการดําเนินการมาแลวของอิโคโมสไทย ยังรวมไปถึง การมีสวนรวมกับกรมศิลปากรเพื่อจัดทํากฎระเบียบเกี่ยวกับการอนุรักษอาคารและแหลงประวัติศาสตรมาตั้งแตป พ.ศ. 2528 โดยยึดหลักการกฎบัตรเวนิส และการมีสวนรวมในการประชุมวิชาการนานาชาติตาง ๆ โดยตัวแทนคณะกรรมการผูเช่ียวชาญในหลากหลายสาขา เชน สถาปตยกรรมพื้นถิ่น ภูมิทัศนวัฒนธรรม และการทองเที่ยววัฒนธรรม อิโคโมสไทยยังไดจัดใหมีการบรรยายแกสาธารณชนและการเดินทางเพื่อเยี่ยมชมและศึกษามรดกวัฒนธรรมเปนประจําทั้งในประเทศไทยและในตางประเทศโดยบางครั้งเปนการประสานความรวมมือไปยังคณะกรรมการอิโคโมสของเพื่อนประเทศสมาชิก และยังไดจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติดานการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมมาแลวหลายครั้งโดยมีผลงานตีพิมพหนังสือรวบรวมบทความวิชาการจากการประชุมเหลานั้นซึ่งเปนประโยชนแกการนําไปใชทั้งในสถาบันการศึกษาและแวดวงสังคมอนุรักษโดยทั่วไปท้ังในและตางประเทศ

เกี่ยวกับคณะกรรมการอิโคโมสสากลดานการทองเท่ียววัฒนธรรม

อิโคโมสไดจัดตั้งคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิดานวิชาการระดับนานาชาติในหลากหลายสาขาวิชาความรูที่มีความเกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรม ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ คณะกรรมการอิโคโมสสากลดานการทองเที่ยววัฒนธรรม (ไอซีทีซี) ซึ่งเปนที่รวมของผูเชี่ยวชาญและผูชํานาญการเฉพาะดานการทองเที่ยววัฒนธรรมจากนานาประเทศ ซึ่งมีเปนจํานวนมากที่ไดรับการรับรองและสนับสนุนอยางเปนทางการจากอิโคโมสระดับชาติ โดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิดานวิชาการระดับนานาชาติเหลานี้คือฝายเทคนิคของอิโคโมสที่มีหนาท่ีวิจัยและดําเนินโครงการ และพัฒนาทฤษฎี แนวทางและกฎบัตรเพื่อการพัฒนากระบวนการอนุรักษ และรวมไปถึงการจัดฝกอบรมดวย คณะกรรมการเหลานี้สามารถจัดทําโครงการตาง ๆ อาทิเชน การฝกปฏิบัติการรวมกับชุมชนทองถิ่นเพื่อสนับสนุนการรวมมือและแลกเปลี่ยนขอมูลทางวิชาการในระดับนานาชาติ ซึ่งจะไดมีการนําเสนอไปยังคณะกรรมการบริหารระดับสูงเพื่อรับรองและบรรจุไวในรายงานผลการดําเนินงานประจําป

กฎบัตรอิโคโมสสากลวาดวยการทองเท่ียววัฒนธรรม

มรดก เปนแนวคิดอยางกวางที่รวมไวซึ่งสิ่งแวดลอมธรรมชาติและสภาพแวดลอมวัฒนธรรม อันหมายรวมถึง ภูมิทัศน แหลงโบราณสถาน และเมืองประวัติศาสตร ไปจนถึงความหลากหลายทางชีวภาพ โบราณวัตถุ ประเพณีปฏิบัติ ความรูและประสบการณที่สืบเนื่องตอกันมา มรดกคือการเก็บบันทึกและแสดงออกซึ่งกระบวนการอันยาวนานของการพัฒนาทางประวัติศาสตร และการกอรูปขององคประกอบท่ีสําคัญของอัตลักษณที่หลากหลายในระดับชาติและภูมิภาค ในอัตลักษณพื้นถิ่นและชุมชนทองถิ่นตาง ๆ รวมไปถึงการบูรณาการเขาเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตแบบสมัยใหม มรดกจึงเปนสิ่งที่ไมหยุดนิ่งและเปน

Page 7: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  6

เครื่องมือเชิงบวกเพื่อการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง มรดกเฉพาะกลุมและความทรงจํารวมของแตละทองถิ่นและชุมชนเปนสิ่งที่ไมสามารถหามาทดแทนกันไดและเปนรากฐานท่ีสําคัญของการพัฒนาท้ังในปจจุบันและอนาคต

ในหวงเวลาที่มีโลกาภิวัฒนมากขึ้น การปกปอง อนุรักษ สื่อความหมาย และนําเสนอความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมรดกของแหลงและภูมิภาคตาง ๆ จึงกลายเปนความทาทายสําหรับผูคนทั่วทุกหนแหง อยางไรก็ดี การจัดการมรดกนั้น ๆ ภายใตกรอบการดําเนินงานที่ควรไดรับการยอมรับในระดับสากลและอยูบนมาตรฐานที่ไดรับการประยุกตใชอยางเหมาะสมมักกลายเปนภาระและความรับผิดชอบของบางชุมชนหรือเฉพาะกลุมผูสืบทอดดูแลมรดกเทานั้น

วัตถุประสงคเบื้องตนของการจัดการมรดก คือการสื่อสารนัยสําคัญและความจําเปนที่ตองจัดใหมีการอนุรักษทั้งแกกลุมชุมชนทองถิ่นเจาของมรดก และแกกลุมผูมาเยี่ยมชมซึ่งการสามารถเขาถึงและสัมผัสมรดกทางวัฒนธรรมไดทั้งในทางกายภาพ ทางวิชาการ และทางสภาวะอารมณอยางที่ไดรบัการจัดการที่ดีและมีเหตุผลนั้นนับเปนท้ังสิทธิพิเศษและสิทธิโดยชอบธรรม อันนํามาซึ่งบทบาทและหนาที่ท่ีตองใหความเคารพตอคุณคาในดานตาง ๆ ของมรดก ผลประโยชนและความเทาเทียมที่มีตอชุมชนผูดูแล ผูสืบทอดวิถี และเจาของทรัพยสินหรืออาคารประวัติศาสตร หรือภูมิทัศนและวัฒนธรรมอื่นซึ่งมรดกนั้นไดพัฒนามาสูสภาพปจจุบัน

การทองเที่ยวภายในประเทศและระหวางประเทศยังคงเปนหนึ่งในเครื่องมือสําคัญที่สุดที่กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมผานประสบการณเดินทางพบปะสวนบุคคล ซึ่งไมใชเพียงการรับรูเรื่องราวในอดีตที่หลงเหลืออยู แตยังรวมไปถึงการไดพบเห็นวิถีชีวิตในสังคมที่เปนปจจุบัน การทองเที่ยวไดรับการยอมรับมากขึ้นวาเปนแรงหนุนดานบวกใหกับการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมวัฒนธรรม โดยสามารถดึงศักยภาพในทางเศรษฐกิจของมรดกและใชวิธีการอนุรักษเพื่อนําไปสูการสรางรายไดและการศึกษาแกชุมชนและสงอิทธิพลตอนโยบายการพัฒนา การทองเที่ยวยังเปนสวนสําคัญในเศรษฐกิจระดับชาตแิละระดับภูมิภาคและสามารถเปนปจจัยหลักเพื่อการพัฒนาไดหากมีการจัดการไดอยางตรงเปาหมาย

การทองเที่ยวควรนํามาซึ่งผลประโยชนแกชุมชนเจาบานและสรางวิธีการพรอมแรงจูงใจใหทองถิ่นเอาใจใสดูแลรักษามรดกวัฒนธรรมและประเพณีปฏิบัติเหลานั้นสืบไป การมีสวนรวมและเปนผูเขารวมในการดําเนินการจัดการของตัวแทนชุมชนทองถิ่น กลุมคนพ้ืนถิ่น นักอนุรักษ ผูดําเนินธุรกิจนําเที่ยว เจาของอาคารสถานที่ ผูกําหนดนโยบายและเตรียมการวางแผนพัฒนาทั้งในระดับชาติและระดับปฏิบัติการในแหลงทองเที่ยว จึงเปนเรื่องจําเปนเพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายของการเปนอุตสาหกรรมการทองเที่ยวอยางยั่งยืนและเพื่อการปกปองทรัพยากรมรดกเหลานั้นไวสําหรับคนรุนตอไปในอนาคต

อิโคโมส หรือสภาการโบราณสถานระหวางประเทศซึ่งเปนผูรางกฎบัตรนี้ และองคกรระหวางประเทศอื่น ๆ และภาคสวนอุตสาหกรรมการทองเที่ยว จะอุทิศตนเพื่อบรรลุความทาทายนี้

1.2 วัตถุประสงค

1. เพื่อสรางงานวิจัยนํารองดานการจัดการมรดกวัฒนธรรมที่ครอบคลุมทั้งมิติที่จับตองไดและที่จับตองไมได โดยใชพื้นที่ชุมชนเชื่อมโยงแหลงมรดกโลกเปนพ้ืนท่ีศึกษาในการสรางองคความรูใหมทางวิชาการเพื่อสนับสนุนการจัดทําตนแบบการบริหารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กําแพงเพชร เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

2 .เพื่อสรางภาคีเครือขายระดับนานาชาติ แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณของผูเชี่ยวชาญไทยและผูเชี่ยวชาญนานาชาติ รวมทั้งปราชญของทองถิ่นและผูสนใจ ในหัวขอเศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

3. เพื่อประชาสัมพันธผลงานของ อพท. และสงเสริมการทองเที่ยวของพื้นที่พิเศษฯ ผานกิจกรรมการจัดประชุมวิชาการฯ และการเผยแพรผลงานวิจัย

Page 8: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  7

1.3 กําหนดการจัดประชมุเชิงปฏบิัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติฯ (ICTC 2013)

วันจันทรที่ 7 ตุลาคม 2556

ตลอดวัน ผูเขารวมประชุม กลุมไอซีทีซีเดินทางมาถึงสุโขทัย เขาที่พัก (รับที่สนามบินสุโขทัย เที่ยวบิน PG211 07.00-08.15 และ PG213 15.15-16.30)

18:00-21:00 ใหการตอนรับโดยอิโคโมสไทย ดินเนอรทํางานกลุมที่โรงแรมเลเจนดา เกริ่นนําเกี่ยวกับสุโขทัย ขอมลูกายภาพ หัวขอยอยในการทํางาน และกรณีศึกษา

วันอังคารที่ 8 ตุลาคม 2556 8:30-9:00 ประชุมกลุมทํางานและเตรียมตัวเก็บขอมูลภาคสนาม กลุมที่ 1: “พื้นที่คุมครอง” เก็บขอมูลกับสํานักงานอุทยานฯ หนวยงานรัฐ และชุมชน

กลุมที่ 2: “พิพิธภัณฑทองถิ่น” เก็บขอมูลกับพิพิธภัณฑ ชางฝมือ สถาบันศิลปะ กลุมที่ 3: “สาธารณูโภคเพื่อการทองเที่ยว” เก็บขอมูลกับธุรกิจโรงแรมและผูประกอบการทองเที่ยว และหนวยงานรัฐ + 3 กลุมเก็บเกี่ยวประสบการณทองเที่ยว คือ 1) โครงการเกษตรอินทรียสนามบนิสุโขทัย 2) ศิลปะงานปนท่ีโมทนาเซรามิค 3) ทัวรจักรยานเสนทางใหมสุโขทยั-ศรีสัชนาลัย

9:00-12:00 เยี่ยมชมพื้นที่ดวยรถตู 3 คัน สําหรับกลุม 1-3 โดยแตละกลุมมีไอซทีีซี 5 คน และอิโคโมสไทย 3 คน (และ สถ.มธ. อีกหนึ่งคนเปนผูประสานงาน)

12:30-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00-17:00 เยี่ยมชมพื้นท่ีและพบปะชุมชนเกบ็ขอมูล 17:00-18:00 พักผอนตามอัธยาศยั 18:00-21:00 ดินเนอรทํางานกลุมที่โรงแรมเลเจนดา วันพุธท่ี 9 ตุลาคม 2556 (โปรแกรมเหมือนวันท่ี 8 ตุลาคม 2556) วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม 2556 8.30-9.00 ลงทะเบียนเขารวมงานไอซีทซีี 2013 มรดกที่มีชีวิต: การทองเที่ยวสรางสรรคและชุมชนยั่งยืน (การเรยีนรู การสื่อ

คุณคา และการจดัการ) ณ โรงแรมสุโขทัยเทรเชอร 9:00-10:00 เปดเวทีเสวนา การทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย

- เกริ่นนําถึงการเสวนาระหวางไอซทีีซีและอิโคโมสไทย โดย ดร.จาตรุงค โพคะรัตนศริิ (สถ.มธ. และอิโคโมสไทย)

- การทองเที่ยวสรางสรรคและมรดกวัฒนธรรม โดย ซู มิลลา ประธานไอซีทีซี (สหราชอาณาจักร) - มรดกโลก การทองเที่ยว และชุมชนทองถิ่น โดย ดร.ทิม เคอตสิ หัวหนาฝายวัฒนธรรม ยเูนสโก สํานกังาน

กรุงเทพฯ (ประเทศไทย)

Page 9: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  8

- การสงวนรักษามรดกและการสงเสริมความเขมแข็งใหทองถิ่น โดย เปาโล เดล เบียงโก สถาบันการทองเที่ยวเพื่อชีวิต (อิตาลี)

11:00-12:00 สามกลุมเวริคชอปยอยนําเสนอขอมูลการทํางาน โดยตัวแทนไอซีทีซแีละอิโคโมสไทย กลุมที่ 1 (Protection Zone) นําเสนอโดย Dr.Yongtanit PIMONSATHEAN

และ Mr.Yuk Hong Ian TAN

รายชื่อสมาชิกกลุมที ่1

Dr.Yongtanit PIMONSATHEAN ICOMOS Thailand (ISC-Historic Town and Village)

Mr.Parinya CHUKAEW ICOMOS Thailand

Dr.Pornthum THUMWIMOL ICOMOS Thailand (ISC-Historic Town and Village)

Mr.Yuk Hong Ian TAN ICTC (Singapore)

Ms.Patricia Marie O’DONNELL ICTC (USA)

Dr.Maria GRAVARI-BARBAS ICTC (France-Greece)

Ms.Agnieshka Gabryjela KIERA ICTC (Australia)

กลุมที่ 2 (Eco Museum) นําเสนอโดย Dr.Alexandra DENES

รายชื่อสมาชิกกลุมที่ 2

Dr.Alexandra DENES ICOMOS Thailand

Dr.Nattawut USAVAGOVITWONG ICOMOS Thailand

Mrs.Michele Hermine PRATS ICTC (France)

Mr.Torbjorn EGGEN ICTC (Finland)

Dr.Russell STAIFF ICTC (Australia)

Dr.Robyn BUSHELL ICTC (Australia)

Ms.Potjana SUANSRI CBT-I (Thailand)

กลุมที่ 3 (Tourism Facility) นําเสนอโดย Dr.Aylin ORBASLI

รายชื่อสมาชิกกลุมที่ 3

Ms.Peeraya BOONPRASONG ICOMOS Thailand (ISC-Shared Built Heritage)

Dr.Sakkarin SAPU ICOMOS Thailand

Ms.Pobsook TADTONG ICOMOS Thailand

Dr.Aylin ORBASLI ICTC (UK)

Mr.Randall Edwin DURBAND ICTC (USA)

Mrs.Lynette Frances LEADER-ELLIOT ICTC (Australia)

Page 10: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  9

และกลุมเก็บเกีย่วประสบการณทองเที่ยว

กลุมที่ 1 (Agrarian Heritage Experience) นําเสนอโดย Dr.Celia MARTINEZ YANEZ

รายชื่อสมาชิกกลุมยอยที่ 1

Ms.Jarunee PIMONSATHEAN APTU (Thailand)

Mrs.Woranooch CHUENRUDEEMOL ICOMOS Thailand

Dr.Celia MARTINEZ YANEZ ICTC (Spain)

Mr.Ahmed Abul –Rahman AL-JOWDER ICTC (Bahrain)

Mr.Paul Anthony DIGNAM ICTC (Australia)

กลุมที่ 2 (Pottery Heritage Experience) นําเสนอโดย Mrs.Nanthana BOONLAOR

รายชื่อสมาชิกกลุมยอยที่ 2

Mrs.Nanthana BOONLAOR ICOMOS Thailand

Dr.Vipakorn THUMWIMOL ICOMOS Thailand

Ms.Luisa Ferreira AMBROSIO ICTC (Portugal)

Dr.Suzanne Elizabeth BOTT ICTC (USA)

Mrs.Mariam Elizabeth BOTT ICTC (USA)

กลุมที่ 3 (Heritage Cycling Experience) นําเสนอโดย Mr.James Joseph DONOVAN

รายชื่อสมาชิกกลุมยอยที่ 3

Mr.James Joseph DONOVAN ICTC (USA)

Mr.Ivan Anthony Santos HENARES ICTC (Philippines)

Mr.Ivan Homer U. MAN DY ICTC (Philippines)

Mr.Ian LEADER-ELLIOT ICTC (Australia)

Mr.Prittiporn LOPKERD APTU Cycling Club (Thailand)

Mr.Varodom SUKSAWASDI APTU Cycling Club (Thailand)

Dr.Chawee BUSAYARAT APTU Cycling Club (Thailand)

12:00-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

13:00-14:30 เสวนาโตะกลมรอบที่ 1

การจัดการสิ่งแวดลอมวัฒนธรรมในแหลงทองเที่ยวมรดกโลก นําเสนอโดย ดร.ทิม เคอตสิ (ยูเนสโก สาํนักงานกรุงเทพฯ) และ ดร.ยงธนิศร พิมลเสถียร (อิโคโมสไทย)และผูรวมเสวนา: 1. Dr.Yongtanit PIMONSATHEAN

2. Mr.Yuk Hong Ian TAN

3. Dr.Tim CURTIS

4. Mr. Torbjørn Eggen 5. Mr. Randall Edwin DURBAND 6. Mr. James Joseph DONOVAN 7. Ms. Patricia Marie O'DONNELL

Page 11: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  10

14:30-15:00 พักรับประทานอาหารวาง 15:00-16:30 เสวนาโตะกลมรอบที่ 2

การพัฒนาชุมชนเพื่อการอนุรักษและทองเที่ยว: ยุทธศาสตรเพื่อสื่อคณุคาและเรียนรูอยางสรางสรรค นําเสนอโดย พุนโต วิจายันโต (ศูนยอนุรักษมรดก ประเทศอินโดนีเซยี) ซู มิลลา (ประธานไอซีทีซี) และผูรวมเสวนา: 1. Ms.Susan Mary MILLAR

2. Mr.Yuk Hong Ian TAN

3. Ms. Agnieshka Gabryjela KIERA

4. Ms. Potjana SUANSRI

5. Mr. Ahmed Abul-Rahman AL-JOWDER 6. Mr. Parinya CHUKAEW

7. Mrs. Michele Hermine PRATS

16:30-17:30 กลาวสรุปงานและใหขอเสนอแนะโดยไอซีทีซี กลาวปดการประชุมโดยอิโคโมสไทย

17:30-18:00 พักผอนตามอัธยาศยั 18:00-21:00 พิธีปดงานและดินเนอรที่โรงแรมสโุขทัยเทรเชอร โดย คณุศิริกลุ กสวิิวัฒน รองผูอํานวยการองคการบริหารการ

พัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และคณุสราญโรจน สุทัศนชูโต หัวหนาสํานักผูอํานวยการ สํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน)

วันศุกรที่ 11 ตุลาคม 2556 8:00-11:00 การประชุมใหญสามัญประจําป 2556 อิโคโมส ไอซีทีซ ีณ โรงแรมเลเจนดา สุโขทัย 11:00-12:00 รับประทานอาหารเที่ยงและออกจากท่ีพัก

12:00-17:00 ออกเดินทางสูจังหวัดเชียงใหม (แวะเยี่ยมชมวดัพระธาตุลําปางหลวง) 17:00-19:00 เดินทางถึงจังหวัดเชียงใหมและเขาที่พัก 19:00-21:00 ทานอาหารค่ําแบบประเพณีลานนา (คุมขันโตก)

วันเสารและอาทิตยที่ 12-13 ตุลาคม 2556

ทัวรวัฒนธรรม นครเชียงใหม: จากเมืองโบราณสูเมืองสรางสรรคดานงานฝมือและศิลปะพื้นถ่ิน

(เวียงกุมกาม วัดตนแกวน หมูบานหัตถกรรมบานถวาย วัดพระธาตดุอยสุเทพ และวดัในเขตเวียงเชียงใหม)

Page 12: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  11

1.4 รายชื่อผูเขารวมใหขอมูลการลงพื้นทีป่ฏิบัติการภาคสนาม

คณะผูเช่ียวชาญไดเขารวมสํารวจและพบปะผูใหขอมูลในพื้นที่จริงซึ่งเปนขั้นตอนที่สําคัญในโครงการวิจัยตอเนื่อง เพื่อสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคและการทองเที่ยวยั่งยืนของสุโขทัย โดยรวมถึงเปนผูนําการพูดคุยและอภิปรายในการประชุมยอยระหวางผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรม ตัวแทนภาคประชาชน ผูมีสวนไดสวนเสีย และหนวยงานทองถิ่น โดยแบงแยกกลุมผูใหขอมูลตามประเด็นที่ศึกษาไวดังน้ี

กลุมที่ 1 Protection Zone:

1. คุณนงคราญ สุขสม ผูอํานวยการอุทยานประวัติศาสตรสโุขทัย Sukhothai Historical Park office 2. คุณสถาพร เที่ยงธรรม เจาหนาท่ีสาํนักศิลปากรที่ 6 สุโขทัย Fine Art Department Sukhothai Office 3. นักพัฒนาชุมชน เทศบาลเมืองเกา สุโขทัย Community Developer, Muang Kao 4. นายณัฐพล ติวุตานนท นักผังเมืองชํานาญการ Town & Country Planning

โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสโุขทัย Department Sukhothai

................................................................................................................................................................................ กลุมที่ 2 Eco Museum:

1. นางสาวสุภาวดี พรมพิราม และกลุมเจาหนาท่ี Sri Satchanalai Municipal office

กองวิชาการ/สงเสริมการทองเที่ยว (Tourism Promotion Department) เทศบาลตาํบลศรีสัชนาลัย

2. คุณปราโมทย เขาเหิน หางทองสมสมัย Somsamai Goldsmith Workshop

3. คุณขวัญหลา ลําจวน กองวิชาการ อบต.หนองออ Nong Or Sub-District administration office

4. คุณบณัฑิต ทองอราม หัวหนาอุทยานประวตัิศาสตรศรีสัชนาลัย Sri satchanalai Historical Park office

................................................................................................................................................................................ กลุมที่ 3 Tourism Facility:

1. คุณสรุัสวดี อาสาสรรพกิจ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย Tourism Authority of Thailand,

สํานักงานสุโขทัย Sukhothai Office

2. คุณศุทธาวดี เจริญรัถ โครงการเกษตรอินทรีย สนามบินสโุขทัย Organic Agriculture Project

at Sukhothai Airport

3. คุณมานพ ยังประเสริฐ โรงแรมเลเจนดา สุโขทัย Hotelier,The Legendha Sukhothai

4. คณุเกตุกาญจน แอรแมนี่ ชมรมรีสอรทและเกสตเฮาส สุโขทัย Sukhothai Guest House and Resort Club

Page 13: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  12

1.5 รายชื่อผูลงทะเบียนเขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติฯ (ICTC 2013) วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ที่ ชื่อ-สกุล หนวยงาน 1. คุณจักริน เปลี่ยนวงศ ผูวาราชการจังหวัดสุโขทัย

2. คุณวัชรินทร ทองสกุล รองผูวาราชการจังหวัดกําแพงเพชร

3. คุณศิริกุล กสิวิวัฒน รองผูอํานวยการ อพท.

4. คุณชนัฏพร ช่ืนบาน ผูแทนทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสุโขทัย

5. คุณสมศักดิ์ ลิขสิทธิ ์ วัฒนธรรมจังหวัดสุโขทัย

6. คุณสิริยา บุญญศรีพฤกน วัฒนธรรมจังหวัดกําแพงเพชร

7. คุณณัฐกิตดิ์ เพิ่มศรีสิน ผูแทนสํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสุโขทัย

8. คุณสรัสวดี อาสาสรรพกิจ ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทยสํานักงานสุโขทัย

9. คุณรังสรรค ขําแจง สํานักงานประชาสัมพันธจังหวัดสุโขทัย

10. คุณบุญชัย สุริพล สํานักงานขนสงจังหวัดสุโขทัย

11. คุณณัฐกิจ สิมเพ็ชร สํานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดสุโขทัย

12. คณุพีรพน พิสณุพงศ ผูอํานวยการสํานักศิลปากรที่ 6

13. คุณภาคภูมิ อยูพูล ผูแทนอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย

14. คุณปญญา ตังคณานุกูล อําเภอเมืองสุโขทัย

15. คุณธีระวัฒน แพทยไชโย สํานักงานเทศบาลตําบลบานกลวย

16. คุณสํารี อํ่านอย สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลเมืองเกา

17. คุณอนงค เถื่อนถํ้า สํานักงานเทศบาลตําบลศรีสัชนาลัย

18. คุณเนตรนภา หนูเสา สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลสารจิตร

19. คุณกฤศ เมฆพัฒน สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลนาเชิงคีรี

20. คุณชลลต องอุลัยศรี สํานักงานสรรพากรพื้นท่ีสุโขทัย

21. คุณเฉลิมชัย ศรีตระกูล สํานักงานเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี

22. คุณอภิวัฒน ขอบคุณ สํานักงานเทศบาลตําบลหาดเสี้ยว

23. คุณริชา นวลนุช วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย

24. คุณชรินทร หนูเมือง โรงเรียนลิไทพิทยาคม

25. คุณเกษม ธาราวิวัฒน หอการคาจังหวัดสุโขทัย

26. คุณสุพรต บุญจันทร สภาวัฒนธรรมจังหวัดสุโขทัย

27. คุณการันต เจริญสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร

Page 14: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  13

ที่ ชื่อ-สกุล หนวยงาน

28. คุณพิมพรรณ ประสิทธิงาม โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย

29. คุณปฏิรูป สายสินธุ ประธานชมรมอาสาสมัครนําเที่ยวตําบลเมืองเกา

30. คุณเกตุกาญจน แอรมานี โลตัสวิลเลจ

31. คุณสุภาภรณ หลี่นา มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร

32. คุณนงเยาว ผลบุญ ชมรมสงเสริมการทองเที่ยวโดยชุมชนนครชุม

33. คุณสุนีย ธรรมสอน ชมรมสงเสริมการทองเที่ยวโดยชุมชนนครชุม

34. คุณปทมา บุญเกิด ชมรมสงเสริมการทองเที่ยวโดยชุมชนนครชุม

35. คุณปฐมาภรณ จริยวิทยานนท สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกําแพงเพชร

36. คุณอณิชาภา วงศสมบูรณ นักศึกษา

37. คุณอรพินธุ คงคาจิตต สํานักงานโบราณคดี กรมศิลปากร

38. คุณศุภมาตรา หลังสันเทียะ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย

39. คุณภัครินทร พรมขอย สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลเมืองเกา

40. คุณรัชภา สุระสิริชาติ ชมรมการทองเที่ยวโดยชุมชนเมืองเกาสุโขทัย

41. คุณเพ็ญทิพย เชียวฤทธ์ิ สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกําแพงเพชร

42. คุณสุรอาจ คุณกมุท ผูอํานวยการฝายบริหารแผนฯ สพพ.5

43. คุณเรือนแกว มานาม เจาหนาท่ีพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเลย

44. คุณปรางคสิริ แดงสมบูรณ เจาหนาท่ีพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเลย

45. คุณมนัสนันท พจนจิรานุกุล นักศึกษาดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต

46. คุณสุชบา วสุนันต นักศึกษาดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต

47. คุณธารารัตน ปรีดาภิรมย ชมรมสงเสริมการทองเที่ยวชุมชนเมืองเกาสุโขทัย

48. คุณรัฐชานนท ทองนาค ชมรมสงเสริมการทองเที่ยวชุมชนเมืองเกาสุโขทัย

49. คุณโสพล จริยวัตร สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

50. คุณสุเทพ เกื้อสังข สทช.

51. คุณวรรณวิภา กาญจนา สทช.

52. คุณปองเลิศ เฉลิมสิริโรจน ประธานชมรมสงเสริมการทองเที่ยวเมืองเกาสุโขทัย

53. คุณสุขาวดี พรมพิราม สํานักงานเทศบาลตําบลศรีสัชนาลัย

54. คุณพัชราภรณ ทวีกสิกรรม กรมการทองเที่ยว

55. คุณชญาภา ไชยาวุฒิ กรมการทองเที่ยว

Page 15: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  14

ที่ ชื่อ-สกุล หนวยงาน

56. คุณวิรัตน ปารณะดิษฐ โรงเรียนลิไทพิทยาคม

57. คุณเพชรา ไตรรัตน สํานักงานสรรพากรพื้นท่ีจังหวัดสุโขทัย

58. คุณพรพล นอยธรรมราช สบย. อพท.

59. คุณสมเกียรติ ตั้งสยามวณิชย หนังสือพิมพ “เสียงชนบท”

60. คุณวัลยา ผกามาศ นักประชาสัมพันธ

61. คุณอลงกรณ ไชยกุล นักวิชาการขนสงชํานาญการ

62. ศ.ดร.วิมลสิทธ์ิ หรยางกูล คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

63. คุณณัฐวุฒิ แจงกระจาง สํานักงานพ้ืนท่ีพิเศษ 6

64. คุณอมาวลี สังขจันทร สํานักงานพ้ืนท่ีพิเศษ 6

65. คุณสไบทิพย อินไสย สํานักงานพ้ืนท่ีพิเศษ 6

66. คุณสักกสีย พลสันติกุล สํานักงานพ้ืนท่ีพิเศษ 6

67. คุณเอกสิทธิ์ แหยมคง องคการบริหารสวนจังหวัดกําแพงเพชร

68. คุณสุทัศน นอยตึง FM.95.50 MHz

69. คุณประเสริฐ กาญจโนภาสกุล สํานักงานขนสงจังหวัดสุโขทัย

70. คุณหทัยรัตน พรมเพ็ชร กเณชาสังคโลก สุโขทัย

71. คุณโกวิทย ทัญศรีสุทธ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาลาดกระบัง

72. คุณศิริรัตน ผาสุก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาลาดกระบัง

73. ผศ.ดร.จตุรงค เลาหะเพ็ญแสง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาลาดกระบัง

74. ผศ.ดร.อภิสักก สินธุภัก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาลาดกระบัง

75. มล.วโรดม ศุขสวัสดิ์ คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

76. ผศ.นิรันดร ทองอรุณ คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

77. อ.เชษฐา พลายชุม สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

78. คุณระพิน ดิษทัย องคการบริหารสวนจังหวัดกําแพงเพชร

Page 16: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  15

คณะผูบริหารและเจาหนาท่ีจากสํานักงานพ้ืนท่ีพิเศษอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กําแพงเพชร รวม 10 คน

1. นายสิทธิศักดิ์ ปฐมวารี ผูจัดการพื้นที่พิเศษ 4

2. นายอาชวิน สุขสวาง ผูอํานวยการฝายบริหารแผนและประสานงาน

3. นายณัฐพงศ บุญคํา เจาหนาท่ีพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษ

4. นายวัชระ ทิพยชํานาญ เจาหนาท่ีพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษ

5. นายจรัญ กันสุม เจาหนาท่ีเทคโนโลยีสารสนเทศ

6. นางสาวสุรางคนางค พวงแผน เจาหนาท่ีบริหารงานท่ัวไป

7. นายบรรทัด มะลิวัลย เจาหนาท่ีพัสดุ

8. นายสิทธิชัย สวางจิตต เจาหนาท่ีพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษ

9. นางสาวชุติมา แสงสวัสดิ์ เจาหนาท่ีพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษ

10. นายณัฐพล พงษนิกร เจาหนาท่ีบริหารงาน

Page 17: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

2. บันทึกสรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติ ดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013

Notes from ICTC 2013 Workshop Conclusion & Symposium

Page 18: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 16

2.บันทึกสรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติฯ ไอซีทีซี 2013

Sue Millar, President, ICTC

x When you arrive at the airport in Sukhothai, you see “creative Thailand”

x British people want to come to Thailand because they all like Thai food

x Creativity means calculated risk taking – moving forward, not standing still o Without creativity, sustainable communities can’t be

sustainable o We can’t perform tasks as conservationists without

creativity o Cultural tourism without creativity is not much good;

heritage management as well

x Too many formulaic answers to difficult questions because formulaic answers are safe o Safety is not what this committee is about

o In the cultural tourism committee, this is problematic

for certain members of ICOMOS o But it can be a tool and a process for conservation

x Artists take risks o YoYo Ma and the Silk Road Project

o Medieval stained glass window from Canterbury

cathedral � The writing is very difficult for English speakers to

understand � The first English poet, and his creativity has

survived to this day � Very special – memory and object creating the

special object

Notes from ICTC 2013 Workshop Conclusion &

Symposium

“Without creativity, sustainable communities can’t be sustainable”

Sue Millar

ซู มิลลาร ประธานอิโคโมสไอซีทีซี

x เมื่อคุณเดินทางมาถึงสนามบินสุโขทัย คุณพบเห็นปาย “ประเทศไทยสรางสรรค” (creative Thailand)

x ชาวอังกฤษตองการเดินทางมาประเทศไทยเพราะพวกเขาทุกคนชอบอาหารไทย

x ความสรางสรรค หมายถึงการยอมรับความเสี่ยงที่ไดมีการคํานวณไวแลว การเคลื่อนไปขางหนา ไมใชหยุดนิ่ง o หากปราศจากความสรางสรรค ชุมชนยั่งยืนไมสามารถอยูอยาง

ยั่งยืนได o เราไมสามารถทําหนาที่ในฐานะนักอนุรักษไดหากปราศจาก

ความสรางสรรค o การทองเท่ียววัฒนธรรมที่ปราศจากความสรางสรรคไมใชเรื่องดี

รวมถึงการจัดการมรดกวัฒนธรรมดวย

x มีคําตอบที่เปนสูตรสําเร็จมากเกินไปสําหรับคําถามยาก ๆ เพราะคําตอบที่เปนสูตรสําเร็จนั้นปลอดภัย o ความปลอดภัย (โดยไมยอมเสี่ยง) ไมใชสิ่งที่คณะกรรมการ

(ไอซีทีซี) เปน o ในคณะกรรมการดานทองเท่ียววัฒนธรรม ประเด็นนี้มีปญหาอยู

ในกลุมสมาชิกอิโคโมส o แตสิ่งนี้สามารถนํามาเปนเครื่องมือและกระบวนการเพื่อการ

อนุรักษได x ศิลปนทั้งหลายยอมรับความเส่ียง o โย โย มา (นักเชลโล มีชื่อเสียงระดับโลก) และโครงการถนนสาย

ไหม o หนาตางกระจกสียุคกลาง ในวิหารแคนเทเบอรี (ประเทศสหราช

อาณาจักร) � เนื้อหาที่เขียนขึ้นเขาใจยากมากแมกับผูใชภาษาอังกฤษ

� กวีชาวอังกฤษคนแรก และความสรางสรรคของเขายังคงอยู

รอดมาจนทุกวันนี้ � พิเศษมาก คือ ความทรงจําและวัตถุ ที่รวมสรางสรรคสิ่ง

พิเศษขึ้นมา

Page 19: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 17

x What about creative tourism? o Creative tourism is not just about handicrafts o Creativity is a unifier, even for mass tourism

x Whose creativity are we talking about? o The original artists? The arts and crafts? Or is it us,

who are involved in the professional side? o These creative processes need to occur across the

whole of tourism

x Villefranche de Conflent o This is a terrible world heritage site o These are the shops: there is too much pottery and

no one has the money to buy them; economic hardship in Europe right now

o They also make witches and shoes, Pinocchio – what is Pinocchio doing in the south of France?

o But they are neglecting the reason why it’s a WH site in the first place: the city wall

o It is dead, there is no emotion

x But with creative tourism, emotion comes in

x When you use paradigm of creativity, its much more difficult to separate ICH from CH

x Valley of the Kings, Luxor o Parking lot, walking route o Every WH site has these elements o Competition to have best visitor center o Is this creative tourism? When residents’ homes are

being knocked down?

x Stonehenge o Something is being done – members of parliament

said its out of date and a disgrace to the UK o But the low key visitors center was very popular, the

people liked it – a family tradition for middle income families � NO LONGER

o New visitors center that cost 27 million pounds; the story is an outrage in the UK

o Stonehenge Summer Solstice – real life comes and nobody likes it � It’s not good for conservation but its good for the

spirit and the soul � Druids – pagan worshippers, hippies go there to

camp there

x Come to Sukhothai – breathe a sigh of relief o Visitors center – suitable size for visitor volume, good

design, o There are people who love the place o How can you replicate this love?

x แลวการทองเท่ียวสรางสรรคคืออะไร? o การทองเท่ียวสรางสรรคไมใชแคเรื่องงานหัตถกรรม o ความสรางสรรค คือการรวมทุกอยางเปนหนึ่ง แมแตในการ

ทองเที่ยวที่เนนปริมาณ

x แลวเรากําลังพูดถึงความสรางสรรคของใคร? o ของศิลปนตนฉบับ? ของงานศิลปะและหัตถกรรม? หรือของพวก

เราเองผูที่เขามาเกี่ยวของโดยวิชาชีพ? o กระบวนการสรางสรรคเหลานี้จําเปนตองเกิดขึ้นในทุกสวนของ

การทองเท่ียว

x วิลฟร็องช เดอ คองฟลอง (ประเทศฝร่ังเศส) o เปนแหลงมรดกโลกที่ย่ําแยมาก o รานคาดังที่เห็น มีเครื่องปนดินเผาจํานวนมากเกินไปและไมมีใคร

มีเงินพอจะซ้ือได เพราะเศรษฐกิจที่ย่ําแยในยุโรปขณะนี้

o และยังมีแมมด (ตุกตาชักใย) กับรองเทา แตแลว พินอกคิโอ มาทําอะไรในภาคใตของฝร่ังเศสเชนนี้?

o แตพวกเขากําลังละเลยเหตุผลที่วาทําไมสถานที่แหงนี้จึงไดเปนมรดกโลกตั้งแตแรก เพราะกําแพงเมือง

o ที่แหงนี้ตายแลว ไมมีอารมณรวมใด ๆ เหลืออยูเลย

x แตดวยการทองเท่ียวสรางสรรคอารมณรวมจึงเกิดขึ้นได x เมื่อคุณใชชุดความคิดเรื่องความสรางสรรค มันยากมากยิ่งขึ้นที่จะ

แยกมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได ออกจากมรดกวัฒนธรรม

x หุบเขากษัตริย เมืองลักซอร (ประเทศอียิปต) o ที่จอดรถและเสนทางเดิน o ทุกแหลงมรดกโลกมีองคประกอบเหลานี้ o ตางแขงกันเพื่อมีศูนยนักทองเที่ยวที่ดีที่สุด o แตนี่คือการทองเที่ยวยั่งยืนหรือ? เมื่อบานของชาวบานรอบ ๆ

ตองถูกรื้อทิ้งเพื่อเปดทางให? x สโตนเฮนจ (ประเทศสหราชอาณาจักร) o บางสิ่งกําลังถูกทําขึ้นใหมที่นี่ สมาชิกรัฐสภากลาววาสิ่งที่เปนอยู

นั้นลาสมัยและนาละอายสําหรับประเทศ o แตศูนยนักทองเที่ยวที่ไมโดดเดนแหงนี้เคยเปนที่นิยมอยางมาก

ผูคนชอบมา จนเปนประเพณีของครอบครัวที่มีรายไดปานกลาง

� แตไมมีอีกตอไปแลว o ศูนยนักทองเที่ยวแหงใหมราคากอสราง 27 ลานปอนด เปนเรื่อง

นาโมโหที่เกิดขึ้นในประเทศอังกฤษ o ครีษมายัน (วันที่ดวงอาทิตยโคจรขึ้นถึงจุดสูงสุดในฤดูรอน)

ที่สโตนเฮนจ คือเวลาที่สถานที่แหงนี้มีชีวิตจริงปรากฏ แตไมมีใครชอบ � มันไมดีสําหรับนักอนุรักษ แตดีกับวิญญาณและจิตใจของ

สถานที่ � ดรูอิท (ชนเผาโบราณ) ผูบูชาเพเกน (ลัทธิโบราณ) และฮิปป

มุงไปที่นั่นเพื่อตั้งแคมป x มาดูที่สุโขทัย หายใจไดโลง (เพราะยังไมมีสิ่งที่นากังวลเหลานั้น) o ศูนยนักทองเที่ยว ขนาดตองเหมาะสมกับปริมาณนักทองเที่ยว

และออกแบบอยางดี o มีผูคนที่รักสถานที่แหงนี้อยู o แลวเราจะลอกเลียนซํ้าสิ่งอันเปนที่รักนี้ไดอยางไร?

Page 20: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 18

o There are warning signs o 2 photos: top photo is Sukhothai, bottom photo is

Disneyland o Creative spaces are important for this exchange,

importance of the internet

x Greenwich Park, London: impact of the Olympics

x Sukhothai: success story of organic farm at the airport o Pleasure in cooking

x Just walking into the airport makes you smile

x How often do you smile in an airport? o It’s not your airport, its some very rich mans airport,

but it’s shared with us

x Creativity pulls global and local together and enables us to move forward

x The groups have been creative, have been thinking differently

o แตมีลางบอกเหตุเตือนภัยอยูบาง o รูปภาพสองใบ รูปบนแสดงสุโขทัย รูปลางแสดงสวนสนุกดิสนีย

แลนด o พื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางสรางสรรคจึงมีความสําคัญ

และความสําคัญของอินเทอรเนต

x กรีนนิชปารค ลอนดอน ผลกระทบของมหกรรมกีฬาโอลิมปค

x สุโขทัย กับเรื่องราวความสําเร็จของเกษตรอินทรียที่สนามบิน o ความสุขใจในการปรุงอาหาร

x แคเดินเขาสูสนามบินก็ทําใหยิ้มไดแลว

x บอยครั้งแคไหนกันที่คุณยิ้มในสนามบิน? o ถึงไมใชสนามบินของคุณ มันเปนของเศรษฐีมีเงินคนหนึ่ง แตเขา

ก็แบงปนสิ่งเหลานี้กับเรา x ความสรางสรรคดึงโลกและทองถิ่นเขาหากัน และทําใหเราเคลื่อนไป

ขางหนา x เราทั้งหมดคือกลุมผูสรางสรรค เรามุงคิดคนในส่ิงที่แตกตาง

Page 21: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 19

Dr. Tim Curtis, Head of Culture Unit, UNESCO-Bangkok

World Heritage, Tourism and the Local Community

x 981 WH sites today in 160 countries

x The convention has spread broadly

x UNESCO is committed to strengthening links btw WH and tourism

x But the basis of the convention is conservation

x WH properties are major attractions for tourism sector o Tourism provides opportunity to present WH to

public, to generate funds for conservation, and to promote community and economic benefits

x There shouldn’t be a distinction between conservation and tourism o Linkage especially in less developed countries

x Dramatic growth in international travel – special challenges and opportunities

x Critiques: WH nomination has destroyed sense of place, “Midas touch,” too much tourism destroys a place o Tourism management should be a part of the

nomination process form the beginning – discussions are occurring so that this happens

x Growing trends across regions, in middle income and developing countries o Asia-pacific with largest increase in past 20 years

x 2012: International tourism showed sustained growth despite global economic conditions o Growth of 5.7 % o Emerging economies grow faster in terms of tourism

o Arrivals increase at double the pace of advanced

economies o Thailand: 4.4% yearly growth (as emerging economy)

“Issue of growth is central to issue of conservation of sites

– we can’t delay this issue” Dr. Tim Curtis

ดร.ทิม เคอรติส หัวหนากลุมงานวัฒนธรรม ยูเนสโก สํานักงานกรุงเทพมหานคร มรดกโลก การทองเที่ยว และชุมชนทองถิ่น

x ในขณะนี้มีแหลงมรดกโลก 981 แหงใน 160 ประเทศ

x การประชุมในเรื่องนี้ไดกระจายออกไปอยางครอบคลุมในทุกเร่ือง x ยูเนสโกมีพันธกิจเพื่อสรางความเขมแข็งในการเชื่อมโยงมรดกโลกเขา

กับการทองเท่ียว

x แตพื้นฐานของการประชุมดังกลาวคือเรื่องการอนุรักษ x มรดกโลกทั้งหลายคือสิ่งดึงดูดใจหลักของภาคการทองเท่ียว o การทองเที่ ยวนํามาซ่ึงโอกาสในการนําเสนอมรดกโลกสู

สาธารณะ เพื่อสรางกองทุนใหแกการอนุรักษ และเพื่อสงเสริมผลประโยชนดานเศรษฐกิจและชุมชน

x ไมควรมีการแบงแยกระหวางการอนุรักษและการทองเท่ียว o ควรเชื่อมโยงกันอยางมากโดยเฉพาะในกลุมประเทศดอยพัฒนา

x การเติบโตอยางมากของการเดินทางระหวางประเทศ เปนทั้งความทาทายและโอกาส

x ความเห็นโตแยงที่วา การเสนอชื่อเปนมรดกโลกไดทําลายจิตวิญญาณของสถานที่ คือประเด็น “พรวิเศษ” (แตะตองสิ่งไหนก็กลายเปนเงินเปนทอง เชนเดียวกับตํานานกษัตริยไมดา) การทองเที่ยวที่มากเกินไปยอมทําลายสถานที่แหงนั้น o การจัดการการทองเที่ยวควรเปนสวนหนึ่งอยูในกระบวนการ

เสนอชื่อดวย โดยเริ่มตั้งแตตน และมีการโตเถียงเกิดขึ้นแลวในขณะนี้จึงทําใหมีสิ่งนี้ได

x แนวโนมการเติบโตขามภูมิภาค ในกลุมผูมีรายไดปานกลางและประเทศกําลังพัฒนา o ในเอเชียแปซิฟคมีจํานวนเพิ่มขึ้นมากที่สุดตลอดชวงเวลา 20 ป

ที่ผานมา x การทองเที่ยวระหวางประเทศในป 2012 ไดแสดงใหเห็นการเติบโต

อยางตอเนื่องแมสภาวะเศรษฐกิจโลกไมดีนัก o มีการเติบโตที่ 5.7% o เศรษฐกิจการทองเที่ยวโตเร็วขึ้นนําหนาในกลุมประเทศ

เศรษฐกิจเกิดใหม o การเดินทางเขามีอัตราเพิ่มขึ้นถึงสองเทาเมื่อเทียบกับประเทศ

เศรษฐกิจกาวหนา o ประเทศไทย (ในฐานะประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม) มีอัตราการ

เติบโต 4.4% ทุกป

Page 22: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 20

x Angkor Wat: tourist arrivals increased by 25% in first 8 months of 2011 vs 2010 o Top visitors: Vietnam, South Korea, China o Not only domestic tourism but also neighbor tourism

from middle income countries

x Angkor – a major economic vehicle for Cambodia; serious source of revenue for country, funds education and health

x So many people at Bayon Temple – like a crowded subway

x Australia: Great Barrier Reef o Tourism generates 50,000 jobs o 17 WH properties in Australia – 150,000 jobs

x Quality of visitor experiences and impact on mass tourism

x Macchu Picchu: master plan 2,500 visitors/day o Currently 3,000 o They want 5.000 o Ongoing debate about size in relation to site

o Growing 10-15% a year

x Issue of growth is central to issue of conservation of sites – we can’t delay this issue

x UNESCO World Heritage & Sustainable Tourism Programme: international framework for cooperation o Key features: integrating sustainable tourism

perspectives into mechanisms of WH convention o Partnering w/ tourism sector o Promoting destination approach to tourism

management o Building capacity for site management and local

community development o Developing tools and strategies to support

stakeholders o Information sharing, networking

x Regional initiative: UNESCO Cultural Heritage Specialist Guides Program o Train local people to become specialized WH guides o Work with governments to get certification and

training o Modules that are site specific, community specific o National tourism guides hand tours over to local

guides upon arrival at site o Training piloted in various countries in SE Asia – Laos

especially successful o Rely on governments to set up long-term certification

program so that they can eventually take it over

x นครวัด การเดินทางเขาของนักทองเที่ยวมีเพิ่มขึ้น 25% ในชวงแปดเดือนแรกของป 2011 เมื่อเทียบกับป 2010 o นักทองเที่ยวกลุมหลักคือ เวียดนาม เกาหลีใต และจีน o จึงไมใชการทองเที่ยวภายในประเทศเทานั้น แตรวมถึงการ

ทองเที่ยวจากเพื่อนบานในกลุมประเทศผูมีรายไดปานกลาง x นครวัด คือพาหนะขับเคลื่อนเศรษฐกิจหลักของกัมพูชา เปนแหลง

ผลิตรายไดสําหรับประเทศ รวมถึงกองทุน การศึกษา และสาธารณสุข

x มีคนมากมายไปเที่ยวปราสาทบายน แนนจนเหมือนอยูในรถไฟใตดิน

x เกรท แบริเออร รีฟ ในออสเตรเลีย o การทองเท่ียวสรางงานถึง 50,000 ตําแหนง o มรดกโลกในออสเตรเลีย 17 แหง สรางงานถึง 150,000

ตําแหนง x คุณภาพของประสบการณทองเที่ยว และผลกระทบของการทองเท่ียว

เนนปริมาณ

x มาชู ปคชู ในแผนแมบทรองรับนักทองเที่ยวได 2,500 คนตอวัน o ปจจุบัน 3,000 คนตอวัน o พื้นที่แหงนี้ตองการถึง 5,000 คนตอวัน o จึงมีการโต เถียงกันตอไปถึงขนาดพื้นที่ เทียบกับปริมาณ

นักทองเที่ยว o ที่ยังคงโตขึ้น 10-15% ทุกป

x ประเด็นการเติบโตของปริมาณนักทองเที่ยวคือหัวใจของการอนุรักษพื้นที่ เราไมสามารถผัดผอนไดอีกตอไป

x มรดกโลกยูเนสโกและโครงการทองเที่ยวยั่งยืน คือกรอบการทํางานรวมมือกันในระดับสากล o ประเด็นสําคัญ คือ บูรณาการมุมมองของการทองเที่ยวยั่งยืนสู

การสรางกลไกในที่ประชุมมรดกโลก o เปนภาคีรวมกับภาคสวนทองเท่ียว o สงเสริมแนวทางของพื้นที่เพื่อจัดการการทองเท่ียว

o สรางศักยภาพรองรับในการจัดการพื้นที่และการพัฒนาชุมชน

ทองถิ่น o พัฒนาเครื่องมือและยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนผูมีสวนไดสวนเสีย

o แบงปนขอมูลและสรางเครือขาย

x การริเริ่มในระดับภูมิภาค ไดแก โครงการไกดนําเที่ยวพิเศษพื้นที่มรดกวัฒนธรรมของยูเนสโก o ฝกอบรมคนทองถิ่นใหเปนไกดพิเศษพื้นที่มรดกโลก o ทํางานกับรัฐบาลเพื่อไดรับการฝกอบรมและประกาศนียบัตร

o ตั้งกลุมฝกอบรมที่บงชี้เฉพาะพื้นที่ และเฉพาะชุมชน o ไกดนําเที่ยวระดับชาติตองสงตองานนําเที่ยวใหไกดทองถิ่นเมื่อ

มาถึงพื้นที่ o การฝกอบรมเริ่มทดลองแลวในหลายประเทศของเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต และประสบความสําเร็จมากเปนพิเศษในลาว o ขึ้นอยูกับรัฐบาลที่จะสรางโครงการฝกอบรมประกาศนียบัตรใน

ระยะยาว เพื่อใหรัฐบาลนั้นรับลูกตอเนื่องไปจัดการไดเองในท่ีสุด

Page 23: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 21

Paolo Del Bianco, President,

Fondazione Romuldo Del Bianco – Life Beyond Tourism

x Over 20 years of activities for the promotion of intercultural dialogue through international network of cooperation of Fondazione Romuldo Del Bianco – Life Beyond Tourism (RDB-LBT) for intercultural dialogue, I feel particularly grateful for kind invitation through the splendid collaboration in this fantastic are, UNESCO World Heritage Sukhothai.

x The origin of my presence in ICOMOS, my good friend who was appointed president of ICOMOS Theory and Philosophy Committee suggested I should attend the Committee’s first meeting in Cracow in 2006. I joined because the Fondazione’s mission was based on the following crucial elements: travel, young people, intercultural dialogue and heritage.

x We initially focused our attention on young people from the countries of the former Soviet Union and Soviet Bloc, beyond the famous wall in Berlin, Because my job description at the time was hotelier in Florence and after the fall of the Berlin Wall I thought of helping these young people who lacked the money to travel by offering them a free stay for one week in my hotels in Florence, but on one condition. Every week I wanted young people from at least three different countries, brought no longer of politics but by the force of culture, in workshop, in an attempt to pave the way for them to communicate and to open up to one another, practicing on predefined international workshops, with topics defined by their docents.

x First consideration: The person addressing you is not an academic but simply a man living and working in this international context, who has implemented certain principles and discovered certain realities. Seeing dialogue between theory and practice.

“a serious cultural shortcoming, because people associated tourism with business,

not tourism with emotions” Paolo Del Bianco

เปาโล เดล เบียงโก ประธานมูลนิธิโรมุลโด เดล เบียงโก ไลฟ บียอนด ทัวริซึ่ม

x กวา 20 ปของกิจกรรมการสงเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ผานเครือขายระดับสากลของความรวมมือผานทางมูลนิธิโรมุลโด เดล เบียงโก ไลฟ บียอน ทัวริซ่ึม เพื่อการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ไปยัง 77 ประเทศในหาทวีป กับหารอยกวาสถาบัน ยินดีที่ไดรับเชิญผานกระบวนการความรวมมือและการทํางานที่นาทึ่งมายังพื้นที่ที่แสนพิเศษมรดกโลกสุโขทัย

x ความสัมพันธสวนตัวที่มีตออิโคโมสเริ่มตนจากเพื่อนรักที่เปนประธานคณะกรรมการสากลฝายวิชาการอิโคโมส ดานปรัชญาและทฤษฎี แนะนําใหเขารวมในการประชุมครั้งแรกของคณะกรรมการที่เมืองคราโครวในป 2549 เพราะมูลนิธิของเรามีภารกิจคือการสงเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ผานองคประกอบคือ การเดินทาง เยาวชน การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม และมรดกวัฒนธรรม

x เราเริ่มตนโดยมุงเนนความสนใจไปยังกลุมเยาวชนคนหนุมสาวจากประเทศกลุมโซเวียตเดิมหลังกําแพงเบอรลิน เพราะในขณะนั้นงานหลักที่ทําอยูคือการทําโรงแรมในฟลอเรนซ และหลังจากกําแพงเบอรลินลมสลายจึงไดคิดวาควรชวยเหลือเยาวชนหนุมสาวเหลานี้ผูซ่ึงขาดแคลนทุนทรัพยเพื่อการเดินทางทองโลก โดยการใหที่พักฟรีหนึ่งสัปดาหในโรงแรมของผมที่ฟลอเรนซโดยมีเง่ือนไขเดียวคือ ทุกสัปดาหตองมีเยาวชนจากอยางนอยสามประเทศมาอยูรวมกันดวยแรงผลักดันทางวัฒนธรรม มิใชการเมือง เพื่อเขารวมฝกปฏิบัติการกรุยทางนําไปสูการส่ือสารเพื่อเปดใจรับผูอื่นและมีสวนรวมในการฝกปฏิบัติการนานาชาติซ่ึงกําหนดแนวทางหัวเรื่องโดยผูนํากลุมของตนเอง

x สิ่งแรกที่ควรพิจารณาคือ ตัวผมเองซ่ึงมายืนอยูตรงนี้ไมใชนักวิชาการแตเปนเพียงคนธรรมดาผูซ่ึงใชชีวิตและทํางานในบริบทสากล ลงมือปฏิบัติตามหลักการและไดคนพบความเปนจริงที่เกิดขึ้น ไดเห็นการแลกเปลีย่นเรียนรูกันระหวางทฤษฎีและการปฏิบัติ

Page 24: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 22

x Second consideration: and a new development it was precisely hosting these young people, in meeting them at the start of this intercultural adventure for them, then meeting them again at the end of the week and seeing the results of their work, dining with them and seeing their tears, that I saw the light.

x That was the first moment that the hotelier Paolo Del Bianco understood what the word ‘hospitality’ meant, a meaning with which he had been totally unfamiliar up until that moment. In his view, hospitality had meant the ‘smile rate’ in a hotel, the level of room service, the quality of a breakfast, created comforts and so on, thus ultimately it was related to the bill the hotel guest was going to pay. I had never associated hospitality with tears, with emotional communication that these young people experienced on their first trip outside the confines of their home cities, never mind their home countries.

x Third consideration: From that moment on, I began to link the concept of hospitality to emotion, and even though I am a hotelier, I have begun to feel a certain repulsion for the word ‘tourism’, which is universally associated with consumer-related services, created comforts and so on, but not with hospitality.

x Fourth consideration: few public administrations have paid attention to tourism, because tourism was inevitably ‘good news’, something positive for their area, and so it was to discuss how to ‘promote’ and not how to ‘manage’ it. The term ‘management’ was instead used by the tourist industry, which in understandable view to improving services for customers, meeting the needs of different cultures, of simplification for all participants, the aspects of safety, hygiene, all for the development of market and product, then the business industrializing the system, reducing costs by standardizing the various stages of the journey and services to travellers.

x The market is flourishing, historic centres are increasingly attractive for the tourist, the value of property in central areas has risen, and private individuals living or working in properties have sold them to investment companies which have turned them into a tourist system. We became aware of this when we started to see city centres emptying of real life; mainly the phenomenon was felt in the medium and small size towns.

x สิ่งที่สองคือการพัฒนารูปแบบใหม ดวยการเปนเจาภาพใหกับกลุมเยาวชนคนหนุมสาวเหลานี้ ไดพบปะพูดคุยในชวงเริ่มตนการผจญภัยขามวัฒนธรรมของพวกเขา และไดพบอีกครั้งในชวงสุดทายของสัปดาหการฝกและไดเห็นผลงานของพวกเขา ทานอาหารรวมกันกับพวกเขา และไดเห็นน้ําตาแหงความปติไปพรอมกับแสงสวางในแตละคน

x นั่นจึงเปนนาทีแรกที่ผูบริหารเจาของกิจการโรงแรมอยาง เปาโล เดล เบียงโก ไดเขาใจวาการดูแลเอาใจใสใหบริการของวิชาชีพนี้ที่แทจริงมีความหมายวาอยางไร กอนหนานี้เขาเขาใจวามันคือ รอยยิ้มที่มอบให ระดับการใหบริการหองพัก อาหารเชาคุณภาพดี ความสะดวกสบายที่ถูกสรางสรรคขึ้น และอื่น ๆ โดยเฉพาะที่สุดคือตัวเลขในใบเสร็จซ่ึงลูกคาของโรงแรมตองจาย แตไมเคยมากอนที่จะไดเขาใจวา การดูแลเอาใจใสใหบริการ คือน้ําตาที่เกิดจากการไดสื่อสารเรียนรูทางอารมณรวมกับคนหนุมสาวเหลานี้ผูซ่ึงไดรับประสบการณเดินทางเปนครั้งแรกนอกบานเกิดถิ่นอยูอาศัยของตนเองอยางที่ไมคิดมากอนวาจะไดรับโอกาสแบบนี้

x สิ่งที่สามคือ นับจากนาทีนั้นผมเชื่อมโยงแนวคิด การดูแลเอาใจใสใหบริการ เขากับ อารมณความรูสึกรวม และเร่ิมเกิดความรูสึกรวมในที่สุดกับคําวา การทองเที่ยว ซ่ึงมักเกี่ยวโยงกับการใหบริการลูกคาสรางสรรคความสะดวกสบาย แตไมไดหมายถึงการดูแลเอาใจใสใหบริการเสมอไป

x สิ่งที่สี่คือ มีหนวยงานบริหารปกครองจํานวนนอยที่ใสใจกับการทองเที่ยว เพราะการทองเที่ยวมักถูกแปลความไปวาเปนเรื่องดีกับพื้นที่และควรสงเสริมอยางไร แตไมไดถูกถกเถียงกันวาควรจะจัดการอยางไร คําวา การจัดการ เมื่อถูกนํามาใชกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไดถูกตีความไปวาคือการปรับปรุงการใหบริการลูกคาที่มาจากตางที่มา จัดใหเรียบงายเขาไดกับทุกคน ปลอดภัย สะอาด เพื่อการพัฒนาตลาดและผลิตภัณฑที่ดี และเมื่อธุรกิจเริ่มเขามามีบทบาทกับระบบจึงทําใหเกิดการลดคาใชจายและสรางมาตรฐานเหมือนกันใหกับทุกการเดินทางและบริการสําหรับนักทองเที่ยว

x ตลาดการทองเที่ยวจึงเฟองฟู ยานประวัติศาสตรเปนที่ดึงดูดนักทองเที่ยว ราคาพื้นที่ยานใจกลางเมืองสูงขึ้น ผูอยูอาศัยหรือธุรกิจเดิมในเมืองตองขายที่อยูของตนเองใหกับบริษัทนักลงทุนซ่ึงเปลี่ยนทุกสิ่งใหเขาสูวงจรการทองเท่ียวอยางเต็มตัว เราเริ่มรูสึกถึงสิ่งเหลานี้เมื่อเร่ิมเห็นวายานใจกลางเมืองรางชีวิตผูคนที่แทจริง

Page 25: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 23

x A city such as Florence, which had a population of 500,000 in the 1950s and which, according to the town planning law of 1962, expected to reach a population of 700,000, currently counts some 350,000 residents; in other words exactly half the figure forecast fifty years ago. The addition of an area to the World Heritage List has imparted a strong boost to this process. That was when we started shutting the stable door after our horse had bolted.

x Fifth consideration: What is the cause of all this? Does it depend on local authorities’ lack of vision in addressing the issue? Does it depend on the length of time involved in any kind of planning measure? In my experience, it is caused by the failure to see students’ tears! That is a serious cultural shortcoming, because people associated tourism with business, not with emotion.

x In this unstoppable advent of globalization, our planet is fast heading towards a population of 10 billions. So we should never forget that our first, great heritage in this world is peace, peace among peoples, serene coexistence in a framework of respect for individual traditions and for one’s own cultural heritage.

x Referring to facts that are substantially related to three UNESCO conventions: 1972 World Heritage Convention; 2003 for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage; and 2005 on the Protection and Promotion of the Diversity of the Cultural Expressions; and to the International Cultural Tourism Charter 1999. I propose to begin afresh, starting precisely with terminology. From the Grand Tour in the late 18th and 19th Centuries; passing through mass tourism with its consumer-related services, which has created a vast organizational network in the world, that can be appropriately used for other great goals to taking on board the opportunities in life that exist beyond tourism.

x To achieve this, I propose working carefully on local areas, which need to become increasingly aware of their identity, an identity which is the child of the place in which they have lived for generations and which they have to know better than others in order to be able to protect it and to explain it to others, to get others to appreciate it.

x ในเมืองฟลอเรนซซ่ึงมีประชากรราวหาแสนคน ในชวงทศวรรษ 1950 และตามกฎหมายผังเมืองป 1962 คาดการณวานาจะมีประชาการอยูอาศัยราวเจ็ดแสนคน แตปจจุบันกลับมีเหลือแคเพียง 350,000 คน นอยกวาที่คาดการณไวเมื่อหาสิบปที่แลวถึงครึ่งหนึ่ง การเปนพื้นที่มรดกโลกมีสวนทําใหกระบวนการนี้พุงทะยานมากขึ้นไปอีก แลวนับจากนั้นเราจึงเร่ิมรูสึกตัวและไดเริ่มลงมือทําบางอยางที่ดูเหมือนกับวัวหายแลวเพิ่งลอมคอก

x สิ่งที่หาคือ สาเหตุทั้ งหมดนี้เกิดจากอะไร เปนเพราะหนวยงาน

ทองถิ่นขาดวิสัยทัศนที่จะจัดการเรื่องเหลานี้หรือวาขึ้นอยูกับชวงระยะเวลาที่ตองนํามาขบคิดเรื่องการวางแผนและผังเมือง จากประสบการณสวนตัว สาเหตุทั้งหมดเปนเพราะไมมีใครเคยไดเห็นน้ําตาจากเด็กนักเรียนเหมือนที่ผมไดเห็น เรามีปญหาดานการขาดแคลนวัฒนธรรมเกิดขึ้นเปนเพราะ ผูคนนําการทองเที่ยวไปเชื่อมโยงกับธุรกิจ ไมใชกับอารมณความรูสึกรวม

x ในภาวะโลกาภิวัตนที่รุดหนาไปจนหยุดไมอยูนี้ โลกของเรากําลังจะมีประชากรถึงกวาสิบลานคน เราไมควรลืมวามรดกวัฒนธรรมแรกของโลกเรานี้คือความสงบสันติสุข ซ่ึงเปนกรอบแนวคิดที่มีความเกี่ยวของกับการเคารพในวิถีที่แตกตางและมรดกวัฒนธรรมของแตละคน

x จากการทบทวนเนื้อหาซ่ึงมีความเกี่ยวของอยางมากกับการประชุมสามครั้งของยูเนสโก คือ การประชุมมรดกโลกครั้งแรก (1972) การสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได (2003) และการปกปองและสงเสริมความหลากหลายของการแสดงออกทางวัฒนธรรม (2005) ตลอดจนกฎบัตรสากลดานการทองเที่ยววัฒนธรรมของอิโคโมส (1999) ผมขอเสนอวาเราควรเริ่มตนใหมทั้งหมดโดยผนวกรวมการทองเที่ยวชมโบราณสถานและเมืองประวัติศาสตรในยุคคริสตศตวรรษที่ 18-19 ผานมาสูการทองเที่ยวเนนปริมาณและบริการลูกคาที่ไดสรางเครือขายการทํางานระดับโลก ซ่ึงสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนในเวลานี้คือเปาหมายที่ยิ่งใหญในดานการสงเสริมโอกาสแหงชีวิตที่ลึกซึ้งกวาการทองเท่ียว

x เพื่อ ใหบรรลุวัตถุประสงคนี้ ผมเสนอวา เราควรทํางานอยางระมัดระวังและใกลชิดในพื้นที่ทองถิ่น ซ่ึงจําเปนตองมีการตระหนักถึงคุณคาความสําคัญของอัตลักษณของตนเองเพิ่มมากขึ้น อัตลักษณซ่ึงฝงตัวอยูมานานและเติบโตผานหลายรุนอายุซ่ึงคนที่นั่นรูดีที่สุดกวาใครอื่น เพื่อใหสามารถนํามาสูการปกปองและอธิบายสรางความเขาใจแกคนอื่นใหเขารวมชื่นชมได

Page 26: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 24

x So, from the traveller’s standpoint: we need to start afresh from the travel agency or from whoever offers travel services, with a question: ‘Are you interested in a trip based on consumer-related services or are you looking for a trip based on values?’

x From the resident’s standpoint: we should ask residents: do you expect your business to raise your standard of living and an evolution of the social context where you live, or do you expect it to wreck the environment you were born in, even eventually causing you to lose your and your place identity?

x This is why the operative model of heritage and landscape community Life Beyond Tourism is designed to promote accurate knowledge and loyalty of one’s own area, before one can present it to visitors – whether personally or on the web – thus getting to know it and fostering mutual acquaintance among the various players in it.

x Heritage and landscape community Life Beyond Tourism is the virtual international database already operating for and with the communities. In this international cultural platform and database, cities like Kyoto, Krakow, Tbilisi and others, and various universities and institutions, has given already their adhesion.

x This Portal, this heritage and landscape community is fed o Through a survey conducted by young university

students, of the area’s cultural institutions and businesses, starting in particular with the less well-known ones;

o With the construction of the cultural biography of place

x Thus travel becomes an opportunity for familiarizing with the difficulties involved in understanding cultural diversity. Thus we see travel as an emotion becoming a tool for sensitization to respect for cultural diversity in a globalised world that is heading towards a population of 10 billion. Thus the travel must be seen as fund raising for both the heritage, which is the reason for the trip, whether for institutions working for the same.

x ดังนั้น จากจุดยืนของนักเดินทาง เราตองการเริ่มตนใหมโดยการถามผูประกอบการนําเที่ยวหรือองคกรภาคสวนใดก็ตามที่ใหบริการดานการเดินทางทองเที่ยว “คุณยังสนใจแคการเดินทางที่มุงใหบริการสนองความตองการของลูกคา หรือคุณสนใจการเดินทางที่เนนความหมายคุณคาของการทองเท่ียว”

x จากจุดยืนของผูอยูอาศัยในทองถิ่น เราควรถามชาวบานวา คุณคาดหวังใหธุรกิจของคุณยกระดับมาตรฐานการดํารงชีวิตและวิวัฒนาการทางสังคมบนพื้นที่ที่คุณใชชีวิตอยู หรือคุณอยากใหมันไปทําลายสภาพแวดลอมที่คุณเกิดมาและจนถึงที่สุดไปทําใหคุณสูญเสียตัวตนและอัตลักษณของพื้นที่ไป

x จึงเปนที่มาของแนวทางที่เราดําเนินการอยูคือ ชุมชนมรดกและภูมิทัศนวัฒนธรรม วิถีชีวิตในการทองเที่ยว ซ่ึงถูกออกแบบมาเพื่อสงเสริมความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับพื้นที่ของตนเองกอนที่จะนําเสนอสูผูมาเยือน ไมวาจะโดยวิธีการสวนตัวหรือผานทางสื่อออนไลน เปนการไดเรียนรูและสนับสนุนที่พึ่งพาผูมีสวนรวมหลายกลุมในคราวเดียวกัน

x ชุมชนมรดกและภูมิทัศนวัฒนธรรม วิถีชีวิตในการทองเที่ยว เปนฐานขอมูลระดับสากลบนโลกเสมือนจริง และไดดําเนินงานในลักษณะเพื่อชุมชนและรวมมือกับชุมชน ซ่ึงฐานขอมูลและพื้นที่นานาชาติดานวัฒนธรรมแหงนี้ ไดรวมมือกับเมืองประวัติศาสตรทั้ง เกียวโต คราโครว ทบิลิสิ และอื่น ๆ ตลอดจนมหาวิทยาลัยและสถาบันจากนานาประเทศ

x พื้นที่แหงนี้ไดรับการจัดทําขอมูลโดย o ผานการสํารวจพื้นที่จริง ดําเนินการโดยกลุมนักศึกษา

หนุมสาวจากมหาวิทยาลัย บนพื้นที่ทางวัฒนธรรมตลอดจนสถาบันและภาคธุรกิจ โดยเฉพาะการเริ่มตนในพื้นที่ซ่ึงยังไมเปนที่รูจักมากนัก

o รวมกับการสราง ปูมประวัติดานวัฒนธรรม ของพื้นที่

x ดังนั้นการเดินทางจึงกลายเปนโอกาสสําคัญเพื่อเริ่มทําความรูจักกับความยุงยากตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางความรูความเขาใจในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ดังนั้นเราจึงมองการเดินทางวาเปนอารมณความรูสึกรวมที่ไดกลายมาเปนเครื่องมืออันมีประสิทธิภาพตอการแสดงความเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรมบนโลกโลกาภิวัฒนใบนี้ที่จะประกอบไปดวยผูคนเกือบหมื่นลานคน ดังนั้นการเดินทางทองเที่ยว ควรสงเสริมการสรางกองทุนสําหรับมรดกวัฒนธรรม และสถาบันทั้งหลายควรมีการทํางานในลักษณะเดียวกัน

Page 27: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 25

x Another point that we consider crucial is this: so in the model Life Beyond Tourism, heritage is not seen as an object per se but as a strategy for fostering intercultural dialogue, thus no longer in terms only of the protection and enhancement of heritage but also in terms of its use and enjoyment for social purposes, for dialogue and respect for diversity, thus heritage as a tool for mankind, therefore ultimately heritage for peace in the world.

x One more proposal: I would like to end with this concept: residents and businessmen in an area have to understand the importance of being part of the heritage and their new role as promoters of peace. Especially in places registered on the UNESCO World Heritage List. In application, this awareness must be verified and secured by the government.

x In the absence of this awareness and a corresponding popular will, there will never be management plane that can recover the advantage that the trade and tourism industry will take on the assets, over-feeding the same, with its inscription in the UNESCO WH list. There will always be battles lost at the start and make enrolment in the list of UNERSCO an element of destruction rather than preservation, as it will create a consequent mobility of visitors, consequently mobility of activities.

x The conclusion will be that the management plan will help maintain heritage in tangible content, but you risk losing the tangible heritage with low tangible content (such as local crafts) and all the intangible heritage as traditions, with abandonment of residents: in other words the loss of the soul of the place.

x Let us hope that ICOMOS ICTC and RDB-LBT can join forces, taking into account that the Foundation has a Memorandum of Understanding with ICOMOS International signed in 2013. We continue our task, we believe in it. We have to make the assets independent of any power: this is the other great goal of the model created by the Foundation.

x The Foundation has international network of cooperation in with 77 countries in 5 continents and over 500 institutions. Now we have 78, with Thailand and in particular with Sukhothai.

x อีกประเด็นหนึ่งคือการที่เราควรตระหนักวา ในวิธีการแบบของเรานี้ มรดกวัฒนธรรมไมไดถูกมองวาเปนเพียงวัตถุแตเปนยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจทางวัฒนธรรม โดยไมไดเปนเพียงแคการอนุรักษและสงวนรักษาวัตถุแตยังหมายรวมถึงการใชประโยชนทางสังคมและมีความสุขสนุกสนานกับมันไดดวยโดยเคารพในความหลากหลายและการแลกเปลี่ยนพูดคุย และทําใหมรดกวัฒนธรรมเปนเครื่องมือหนึ่งเพื่อการสรางความสงบสันติสุขแกมนุษยชาติ

x มีขอเสนออีกประการหนึ่ง ผมตองการจบการนําเสนอนี้ดวยแนวคิดหนึ่ง คือชาวบานและนักธุรกิจในพื้นที่ตองทําความเขาใจกับคุณคาความสําคัญของการเปนสวนหนึ่งของมรดกวัฒนธรรม และบทบาทใหมของแตละคนในการเปนผูสนับสนุนความสงบสันติสุข โดยเฉพาะในพื้นที่ซ่ึงเปนมรดกโลกของยูเนสโก และการตระหนักนี้ยังตองไดรับการยอมรับและดูแลปกปองโดยรัฐบาล

x หากขาดการตระหนักรูในสิ่งนี้ และขาดซ่ึงความตั้งใจจริงโดยรวมของประชาชน ก็จะไมสามารถมีแผนการจัดการใดเกิดขึ้นเพื่อดูแลการเอารัดเอาเปรียบที่เกิดขึ้นจากการคาและอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไดโดยผานกระบวนการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก และจะยังคงมีการสูญเสียเกิดขึ้นในการตอสูเชนนี้ตั้งแตยังไมเริ่มตนขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกดวยซํ้า ซ่ึงกลายเปนการทําลายมากกวาอนุรักษและจะมีผูมาทองเที่ยวประกอบกิจกรรมเปนจํานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ อยางไมมีขีดจํากัด

x ขอสรุปวาแผนการจัดการหนึ่งสามารถชวยเหลือดานการดูแลรักษามรดกวัฒนธรรมในทางกายภาพเทานั้น แตถาคุณยอมเสี่ยงที่จะสูญเสียคุณคาที่จับตองไมไดของมรดกวัฒนธรรมตลอดจนวิถีชีวิตไปก็เทากับเปนการละทิ้งเพิกเฉยตอชาวบานทองถิ่นซึ่งเทากับเปนการสูญสิ้นจิตวิญญาณของพื้นที่นั่นเอง

x จงมีความหวังวา อิโคโมสไอซีทีซี และมูลนิธิโรมุลโด เดล เบียงโก ไลฟ บียอนด ทัวริซ่ึม สามารถรวมแรงกันโดยปจจุบันนี้ไดทําขอตกลงความรวมมือระหวางมูลนิธิกับอิโคโมสสากลแลวเมื่อป 2013 โดยเราจะยังคงดําเนินภารกิจของเราตอไปตามความเชื่อของเราเพื่อทําใหมรดกวัฒนธรรมมีพลังอยางเปนอิสระไมถูกครอบงําโดยสิ่งใด ซ่ึงเปนเปาหมายหลักสูงสุดอีกอยางหนึ่งของการจัดตั้งมูลนิธิของเรา

x ทางมูลนิธิมีความรวมมือกับ 77 ประเทศใน 5 ทวีป และกวา 500 สถาบันแลว ขณะนี้เรามีเพิ่มขึ้นเปน 78 ประเทศ คือประเทศไทย และโดยเฉพาะกับพื้นที่สุโขทัย ขอบคุณ

Page 28: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 26

Dr Yongtanit Pimonsathean,

ICOMOS Thailand &Thammasat University

Working Group 1 - Protection Zone

x Strengths

x Overarching Concepts

x Observations – The Way Forward

x Benchmarking

x Best Practices

x Strengths o Resources – exceptional and well maintained o Special focus on monuments o Strengths: cutting edge 3-d visualization – people out

looking at materials can see how they may have appeared historically without intervening with fabric

x There are big ideas here that are important o Framed as Destination: Thailand, Sukhothai

& Srisatchanalai

o Country, Province, Communities and community world heritage

x Cultural sustainability: economy, ecology, and society under the umbrella of culture

x More deep integration of culture into UNESCO agenda

x Place cultural umbrella as cross cutting through notion of sustainability

x Sukhothai as a Cultural Landscape: Construct since 1992, only one year after Sukhothai was nominated o Place and size of areas are a cultural landscape: sites,

rice fields, residential & business areas

x Community heritage tools for continuity and change

o UNESCO HUL 2011 o Civic engagement o Knowledge & planning o Regulatory systems o Financial tools

“Plan must include multidisciplinary approach – not just looking at tourism, regional planning, and management

of WH as separate categories” Dr. Yongtanit Pimonsathean

ดร.ยงธนิศร พิมลเสถียร, อิโคโมสไทย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กลุมทํางานที่ 1 การอนุรักษและการจัดการพื้นที่ประวัติศาสตร x จุดแข็งของพื้นที่ x แนวคิดที่บูรณาการ

x สังเกตการณ เพื่อหนทางในอนาคต

x การเปรียบเทียบขอมูลกับพื้นที่อื่น

x ดูกรณีตัวอยางที่ดีที่สุด

x จุดแข็งของพื้นที่ o ทรัพยากร มีความโดดเดนและไดรับการดูแลอยางดี o เนนความสําคัญเปนพิเศษที่โบราณสถาน o สรางจุดแข็ง ดวยการแสดงภาพจําลองสามมิติที่ล้ําสมัย เพื่อให

ผูคนไดมองไปยังวัตถุในปจจุบันแลวทราบวามันเคยมีสภาพเปนอยางไรในอดีต โดยไมตองไปรบกวนของจริง

x มีความคิดใหญ ๆ บางประการที่สําคัญ o การสรางกรอบแนวคิดของพื้นที่ทองเที่ยว ประเทศไทยเชื่อมโยง

สุโขทัยและศรีสัชนาลัย

o เช่ือมโยงประเทศ, จังหวัด, ชุมชน และชุมชนมรดกโลก

x ความยั่งยืนดานวัฒนธรรม คือเศรษฐกิจ ระบบนิเวศ และสังคม ที่คิดภายใตกรอบวัฒนธรรม

x มีการบูรณาการที่ลึกซ้ึงขึ้นในดานวัฒนธรรม เพื่อสอดคลองกับแนวทางของยูเนสโก

x กรอบแนวคิดวัฒนธรรมตองถูกจัดวางไวใจกลางองคความรูดานความยั่งยืน

x สุโขทัยคือภูมิทัศนวัฒนธรรมที่ถูกสรางขึ้นภายหลังจากที่ไดรับการเสนอชื่อเปนมรดกโลก o ยานและขนาดพื้นที่มีความเปนภูมิทัศนวัฒนธรรม ทั้งแหลง

ประวัติศาสตรและไรนา บานเรือนและพื้นที่การคา

x เครื่องมือจัดการมรดกชุมชนเพื่อรองรับความตอเนื่องและการเปลี่ยนแปลง o ขอเสนอแนะของยูเนสโกดานภูมิทัศนชุมชนเมืองประวัติศาสตร o การมีสวนรวมของประชาชน o การจัดการความรูและการวางแผน o ระบบกฎหมาย o เครื่องมือชวยเหลือดานการเงิน

Page 29: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 27

x Need to present stronger, deeper richer story – not only for tourists but also for residents o Interpretation is thin, weak – these sites deserve

richer approach

x Observations & the way forward o Comprehensive provincial plan on zoning and

functions o Plan must include multidisciplinary approach –

not just looking at tourism, regional planning, and management of WH as separate categories

o Inter-agency approach including input from community leaders, stakeholders, and scholars

x Benchmarking

x Management based strategies

x Sukhothai & Sri Satchanalai as cultural landscapes

x Detailed management plan

x Management guided by defined places

x Sukhothai as cultural landscape: not only physical aspects o Need to capture local narratives and practices

and bring them to the sites o Buffer zone can be a place where these

activities come together – community involvement and space for different narratives

x Learning from best practices o Refine and change o Inventory heritage resources – including within

communities, ICH o Collaborate with partner sites and academics to

share knowledge and experience o Regional cooperation o Exchange with parallel sites regionally – we are

a learning society o Expand staff and community volunteer skills

o Diversify interpretation to present the site to a

diverse audience

x Protection zone should be a place that is complementary in terms of legal or customary restrictions that gives a WH site an added layer of protection o FAD process is level across the whole of these

large areas – need a more refined way of dealing with variety of resources

x มีความจําเปนตองเพิ่มความแข็งแรงและลึกซ้ึงรุมรวยของเรื่องราว ไมใชเพียงแคสําหรับนักทองเที่ยวแตเพื่อชาวบานในพื้นที่ดวย o การสื่อความหมายคุณคาพื้นที่ยังคงบางเบาและออนแอ พื้นที่

เหลานี้คูควรกับแนวทางที่เต็มอิ่มกวานี้

x การสังเกตการณ เพื่อหนทางในอนาคต o ผังเมืองรวมระดับจังหวัด เกี่ยวกับการจัดโซนพื้นที่และประโยชน

การใชที่ดิน o แผนดังกลาวตองรวมแนวคิดที่หลากหลายบูรณาการ ไมใชมอง

เพียงแคการทองเที่ยว การวางแผนและผังระดับภูมิภาค และการจัดการมรดกโลก ที่แยกขาดจากกันไปอยูคนละสวน

o แนวทางการสรางหนวยงานกลาง ซ่ึงตองมีสวนรวมจากหัวหนาชุมชนตาง ๆ ผูมีสวนไดสวนเสีย และนักวิชาการ

x การเปรียบเทียบขอมูลแนวทางจัดการกับพื้นที่อื่น

x ยุทธศาสตรดานการจัดการ

x มองสุโขทัยและศรีสัชนาลัยในฐานะภูมิทัศนวัฒนธรรม

x แผนการจัดการในขั้นรายละเอียด

x การจัดการตองถูกชี้นําดวยนิยามพื้นที่ซ่ึงชัดเจนแลว

x สุโขทัยในฐานะภูมิทัศนวัฒนธรรม ไมเพียงแคในประเด็นกายภาพ o จําเปนตองจับแนวทางวิธีการพรรณนาและลงมือปฏิบัติแบบ

ทองถิ่นใหได และนํามาสูการจัดการพื้นที่ o เขตกันชนสามารถเปนยานซ่ึงกิจกรรมเหลานี้รวมเขาอยูดวยกัน

โดยชุมชนมีสวนรวม และมีพื้นที่สําหรับความหมายพรรณนาที่แตกตางกันไปได

x เรียนรูจากกรณีตัวอยางที่ดีที่สุด o ปรับละเอียด และเปลี่ยนแปลง o ศึกษาและบันทึกรายละเอียดทรัพยากรวัฒนธรรม รวมถึงภายใน

ชุมชนตาง ๆ และมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได o รวมมือกับภาคีในพื้นที่อื่น และกลุมวิชาการอื่น เพื่อแบงปน

ความรูและประสบการณ o ทํางานรวมกันในระดับภูมิภาค o แลกเปลี่ยนกับพื้นที่คูขนานดวยกันในระดับภมูิภาค เพราะเราอยู

ในสังคมเพื่อการเรียนรู o ขยายขอบเขตทักษะความสามารถในดานตาง ๆ ของเจาหนาที่

และอาสาสมัครชุมชน o สรางความหลากหลายในดานการสื่อความหมายคุณคา เพื่อ

นําเสนอพื้นที่ใหกับผูชมที่มีความหลากหลาย

x พื้นที่อนุรักษควรเปนยานซ่ึงมีกฎระเบียบและขอกําหนดทางกฎหมายที่สงเสริมและทําใหมรดกโลกไดรับความคุมครองเพิ่มขึ้น

o กรมศิลปากรมีกระบวนการที่ใชแบบเดียวกันไปหมดทั่วทั้งพื้นที่ขนาดใหญ จําเปนตองมีแนวทางที่ปรับละเอียดเพิ่มขึ้นเพื่อจัดการกับทรัพยากรที่หลากหลาย

Page 30: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 28

Dr Alexandra Denes

Working Group 2: An Exploratory Appraisal of ICH

in Sukhothai Historical Park

x Project Brief o Using an eco-museum model proved to be too

cumbersome a task for the limited two-day survey period

x Group Visits

x Observations about handicrafts

x Somsamai goldsmiths – successful business o Grandson of founder has thriving business with clients

from across the country o Designs inspired by and taken from the stucco bas

reliefs at the temple o Clients are primarily Thais who value the designs o Owner’s core concern: to support transmission of

craft to younger generation of artisans o Key observation: even though it has become a

symbol of Sukothai identity, we have to ask how integration into a tourist route would impact this craft. Would it do more harm than good? It might not contribute to the continuity of the tradition – their objective is to find more goldsmiths; they don’t need more customers

x Sangkhalok Kilns and Pottery Museum and Prasert Pottery Workshop o Strong interpretation but historical interpretation

could be enhanced: position in the wider Asian region, trade influences, etc.

o Prasert Pottery established by father of current owner: father started workshop as a result of kilns being excavated and his inspiration: relationship between archaeological process and revival of living traditions

o Interpretation could include these links between CH and living traditions

“Advocates recognition of the intangible values, narratives stories, practices and beliefs of local communities alongside

outstanding universal values of the site” Dr. Alexandra Denes

ดร.อเล็กซานดรา เดนิส

กลุมทํางานที่ 2 การทดลองประเมินคุณคามรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดในอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย

x ขอสรุปโครงการ o การทดลองใชแนวคิดนิเวศพิพิธภัณฑ พบวามีความยุงยากเกินไป

สําหรับชวงเวลาออกสํารวจเพียงสองวัน

x เยี่ยมชมพื้นที่แบบกลุม

x สังเกตการณเกี่ยวกับงานหัตถกรรม

x ที่รานทองสมสมยั เปนธุรกิจที่ประสบความสําเร็จ o หลานชายของผูกอตั้งไดตอยอดความสําเร็จของธุรกิจและมี

ลูกคาจากทั่วประเทศ o งานออกแบบไดรับแรงบันดาลใจและนําแบบมาจากงานปูนปน

ในวัดโบราณ o ลูกคาสวนมากเปนคนไทยซ่ึงใหคุณคากับงานออกแบบ o ความกังวลหลักของเจาของธุรกิจคือ ตองสนับสนุนการสืบทอด

งานฝมือไปยังชางรุนเด็กกวา o จากการสังเกตที่สําคัญพบวา แมสิ่งนี้จะกลายเปนสัญลักษณของ

ความเปนสุโขทัย เรายังคงตองตั้งคําถามวาเมื่อนําไปรวมเขากับเสนทางการทองเท่ียวแลวจะเกิดผลกระทบตองานฝมือนี้อยางไร จะดีขึ้นหรือแยลงกวาเดิม และอาจไมไดสรางประโยชนใหกับการสืบทอดวิถีปฏิบัตินี้ก็เปนได เพราะวัตถุประสงคหลักของที่นี่คือการหาผูสืบทอดงานฝมือชางทองใหมากขึ้น ไมไดตองการลูกคาเพิ่มขึ้น

x เตาสังคโลกและพิพิธภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา และโรงปนของรานประเสริฐแอนติค o มีการส่ือความหมายและคุณคาที่แข็งแรง แตในแงประวัติศาสตร

ยังมีที่เพิ่มเติมขยายความไดมากขึ้น เชน สถานะในภูมิภาคเอเชียที่กวางขึ้น และอิทธิพลดานการคา

o รานประเสริฐแอนติคกอตั้งขึ้นโดยรุนพอของเจาของรานปจจุบัน โดยทําโรงปนขึ้นเพราะไดแรงบันดาลใจจากเตาเผาโบราณที่ถูกขุดคนในพื้นที่ละแวกบาน โดยสามารถเชื่อมโยงกระบวนการทางโบราณคดีเขากับการฟนฟูวิถีปฏิบัติที่ยังมีชีวิตได

o การส่ือความหมายและคุณคาอาจรวมเอาความเชื่อมโยงระหวางมรดกวัฒนธรรมและวิถีปฏิบัติที่ยังมีชีวิตดวยก็ได

Page 31: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 29

o Opening up multiple narratives and meanings of practices to local populations

o Key observation: unclear whether local potters would benefit from inclusion in cultural tourism route – most work is done on commission � More visitors may disrupt and not improve the

business

x Gold Texile Museum about Tai Phuan textiles o Vernacular architecture and agricultural implements o Uncle Sathorn, Curator and advocate of Tai Phuan

cultural traditions o Museum aimed primarily at Thai audience – again,

what are the benefits of a significant increase in tourists to this museum?

x Further research and engagement with artisans to discuss scenarios and possible outcomes

x What would be the impact if these crafts were included in tourism trails?

x Explore resistance or acceptance through scenario-based research

x Observations about ICH

x Cultural memory and sacred sites – significance of sites as living sacred devotional sites – evidence everywhere

x

x Locals also pay respect to tutelary spirits such as spirits of Phra Reuang Dynasty o Constitute shared cultural memory o Wat Phra Prang – annual merit making ceremony to

replace cloth on shrine to pay respect to Phra Reuang o All of these intangible dimensions have been left out

of the story in favor of a scientific and rational narrative of the site

x Suggest more in-depth research on intangible meanings and values of the sites in keeping with Hoi An Protocols

x Heritage of the senses, heritage and affect

x Advocates recognition of the intangible values, narratives stories, practices and beliefs of local communities alongside outstanding universal values of the site

x What more can be done to support municipal local museum at Wat Phra Prang o Scenario-building research with communities to

consider impacts of tourist promotion of festivals and ritual practices as these practices can be negatively impacted by mass tourism

o ICH research should explore how to engage both elders and young people

o For example, invite children to draw their own roofs

o ควรเปด เผยให เห็น เรื่ องราวนํา เสนอที่หลากหลายและความหมายหลายดานของวิถีปฏิบัติของคนทองถิ่น

o ขอสังเกตที่สําคัญคือ ไมชัดเจนวาชางปนทองถิ่นอาจไดรับผลประโยชนอยางไร จากการจัดใหอยูในเสนทางทองเที่ยววัฒนธรรม เพราะงานสวนใหญทําโดยมีการส่ังผลิต � นักทองเที่ยวที่มากขึ้นอาจรบกวนการทํางานและไมไดชวย

พัฒนาธุรกิจใหดีขึ้น

x พิพิธภัณฑสาธรผาทองคํา เกี่ยวกับผาไทพวน o สถาปตยกรรมพื้นถิ่นและรูปแบบวิถีชีวิตชุมชนเกษตรกรรม o ลุงสาธร คือภัณฑารักษและผูมี ใจรักทุมเทในการสืบทอด

วัฒนธรรมไทพวน o พิพิธภัณฑมีเปาหมายหลักมุงไปที่คนไทย แตเชนกันที่เกิดคําถาม

วาแลวพิพิธภัณฑแหงนี้จะไดรับผลประโยชนจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนนักทองเที่ยวอยางไร

x งานวิจัยและการมีสวนรวมตอไปของชางฝมือ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและมุมมองในทิศทางและความเปนไปไดของผลลัพธที่อาจแตกตางกัน

x อะไรคือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ถางานฝมือเหลานี้ถูกรวมเขาอยูในเสนทางการทองเท่ียว

x คนหาแรงตานและการยอมรับ ผานกระบวนการวิจัยที่สรางมุมมองภาพรวม และทิศทางเหลานี้ขึ้นใหเห็นชัด

x สังเกตการณดานมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได x ความทรงจําวัฒนธรรมและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ แหลงที่มีนัยสําคัญในฐานะ

พื้นที่ซ่ึงถูกยกยองและปฏิบัติตอดวยความศักดิ์สิทธิ์ในชีวิตประจําวัน พบเห็นไดทุกที่

x ชาวบานยังเคารพวิญญาณผูปกปองคุมครองในพื้นที่ เชน ดวงวิญญาณของราชวงศพระรวง o ซ่ึงสรางรากฐานที่แบงปนรวมกันของความทรงจําวัฒนธรรม o วัดพระปรางค มีพิธีกรรมทําบุญดวยการเปลี่ยนผาบนศาล

ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อแสดงความเคารพตอพระรวง o มิติที่ จับตองไม ได เหลานี้ถูกทอดทิ้งจากเรื่องเลา ซ่ึงไปให

ความสําคัญกับการใหเหตุผลทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของกับพื้นที่มากกวา

x แนะนําใหทําวิจัยเชิงลึกเกี่ยวกับความหมายและคุณคาที่จับตองไมไดของพื้นที่ โดยอางอิงกับหลักการโฮยอัน (Hoi An Protocols)

x มรดกคือมิติแหงสัมผัสที่หลากหลาย พิจารณาทั้งตัวมรดกและผลของมัน

x ควรทุมเทใหกับการสรางความตระหนักในคุณคาที่จับตองไมได ตํานานเรื่องเลาบรรยาย วิถีปฏิบัติและความเชื่อของชุมชนทองถิ่น ควบคูไปกับคุณคาอันเปนสากลของพื้นที่

x มีอะไรที่ทําไดอีกเพื่อสนับสนุนพิพิธภัณฑชุมชนที่วัดพระปรางค o ทําวิจัยเพื่อสรางทิศทางในภาพรวมรวมกับชุมชน เพื่อพิจารณา

ผลกระทบของการสงเสริมการทองเที่ยวที่เกี่ยวของกับงานเทศกาลและวิถีปฏิบัติบูชาตามพิธีกรรมความเชื่อ เพราะอาจไดรับผลกระทบในดานที่ไมดีจากการทองเท่ียวเชิงปริมาณ

o การวิจัยดานมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดควรคนหาวาจะนําผูสูงอายุและเยาวชนมารวมมือกันไดอยางไร

o ยกตัวอยางเชน การเชิญชวนใหเด็กมาวาดภาพตอเติมส วนหลังคาของโบราณสถานโดยใชจินตนาการ

Page 32: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 30

x In depth, participatory research essential to ensuring community consultation and empowerment in anticipation of inevitable changes (high speed rail)

x ในเชิงลึก งานวิจัยแบบมีสวนรวมมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองปรึกษาและสนับสนุนชุมชนใหเขมแข็งเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่หลีกเล่ียงไมได (รถไฟความเร็วสูง)

Page 33: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 31

Dr Aylin Orbasli

Working Group 3: The Visitor Experience

Tourism Facilities & Infrastructure

x Overview – looking at the region in a larger way, the bigger picture o Offers a good product mix o WH site that is attractive with deep historic

importance o Temples, historic towns, vernacular architecture in

addition o Renowned for crafts o Attractive natural environment, peaceful o Sustainability message supported by DASTA, also

bicycling, organic farming o Active center for agriculture o Facilities: good range of accommodation serving

domestic and international visitors o Growing interest in region

x The Visitor o Who are they, how do they arrive, who are they

marketing to? o Sketchy statistics and limited visitor profiling – not in-

depth enough o High quality, small volume visitors – people who care

about the environment and care about the place, not just because it’s a trendy place or a place where their tour operator sent them

o Mix of domestic and international markets, range of age groups

o Concentration of visitors near Sukhothai – is a concentrated or spread-out model more beneficial for future planning?

o Improve visitor data, visitor surveys

“Improve coordination between

attraction, information sharing and

joined up marketing” Aylin Orbasli

ดร. อัยลิน เออรบาซลิ กลุมทํางานที่ 3 ประสบการณนักทองเที่ยว

โครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการทองเที่ยว x ในภาพรวม ใหมองในระดับภูมิภาคเพื่อใหเห็นภาพที่กวางขึ้น

ครอบคลุมพื้นที่ใหญขึ้น o นําเสนอผลิตภัณฑทองเที่ยวที่ดีแบบผสมผสานกัน o แหลงมรดกโลกซ่ึงมีความนาสนใจในแงความสําคัญดาน

ประวัติศาสตรเชิงลึก o วัดเกาและเมืองประวัติศาสตร สถาปตยกรรมพื้นถิ่น เปนสวน

เสริมที่สําคัญ o มีงานหัตถกรรมที่เปนที่รูจัก o มีสภาพแวดลอมธรรมชาติที่นาดึงดูดใจ สงบงาม o การสื่อความหมายของความยั่งยืนผานทาง อพท. ซ่ึงสนับสนุน

การปนจักรยานและทําเกษตรอินทรีย o เปนศูนยกลางกิจกรรมวิถีเกษตร o สิ่งอํานวยความสะดวก มีความหลากหลายใหเลือกดานที่พัก

สําหรับนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางชาติ o ไดรับความสนใจจับตามองมากขึ้นในระดับภูมิภาค

x นักทองเที่ยว o พวกเขาเหลานี้เปนใคร มาถึงพื้นที่นี้ไดอยางไร เปนลูกคาใหกับ

ตลาดกลุมใด o สถิติขั้นหยาบและการเก็บขอมูลรายละเอียดนักทองเที่ยวแบบ

จํากัดยังไมมีความลึกมากพอ o นักทองเที่ยวกลุมเล็กคุณภาพสูง คือคนที่เอาใจใสเกี่ยวกับ

สภาพแวดลอมและพื้นที่ ไมใชทองเที่ยวตามกระแสนิยมหรือเพราะบริษัททัวรจัดวาใหไปก็ไปที่ไหนก็ได

o ผสมผสานตลาดภายในและตางประเทศเขาดวยกัน มีกลุมอายุลูกคาที่หลากหลาย

o การกระจุกตัวของนักทองเที่ยวใกลสุโขทัยมากขึ้น ควรพิจารณาวาระหวางกระจุกตัวกับกระจายตัวอยางใดจะเกิดประโยชนกับการวางแผนจัดการในอนาคตมากกวา

o ปรับปรุ งฐานขอมูลนักท อง เที่ ย วและการสํ ารวจขอมู ลนักทองเที่ยว

Page 34: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 32

o Maintain and nurture high-quality focus – not about volume

x Connectivity o Arrival & departure: disconnected nodes

o Buses, airport, train – but none of these forms are

connected o There is no information about them either (for

exclusively English speakers) o Very limited way finding, signage and information

(before and during visit) o On the roads – limited signage – bicycle trips difficult

to undertake on your own � Cycling depends on good signage

x Recommendations o Improve transport infrastructure and ensure that its

accessible and multi lingual, available on a website

o Coordinated directional road signs o Coordinated information about what you see, what’s

there – interpretation in a broader sense; info at sites, transport interchanges

x Accommodation o Statistics are sketchy o Opportunities for better coordination across sector

o Hotels are filling in public sector jobs – transport and

information (have shuttle buses to sites, to the airport – youre dependent on transportation provided by the hotel) also in terms of offering information about attractions

o No formal training in tourism sector skills available locally

o No centralized training source o No obvious planned development for the sector –

carrying capacity, how much is needed, no growth forecast, no planned approach

o Develop further education facilities for training in

tourism sector skills that is integrated with the sector (at local university) � An attraction in itself – training restaurants,

training hotels

o Underpin attractions with good training facility integrated with local businesses

o ดูแลรักษาและทํานุบํารุงใหมีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้นไปคือเปาหมาย ไมใชเนนปริมาณ

x การเชื่อมตอพื้นที่ o การเดินทางขาเขาและขาออก พบวาขาดความเชื่อมตอกันของ

แตละศูนยกลางการเดินทาง o รถโดยสาร สนามบิน รถไฟ ไมมีอะไรเชื่อมตอถึงกันไดแมแต

อยางเดียว o และไมมีขอมูลเกี่ยวกับการโดยสารเชื่อมตอเหลานี้เลยดวย

(โดยเฉพาะในภาษาอังกฤษ) o มีการใหขอมูล ปายบอกทางและสถานที่อยางจํากัดมาก (ทั้ง

กอนและระหวางการเดินทางทองเที่ยว) o บนถนน มีปายบอกทางนอยมาก หากปนจักรยานตองพบความ

ยากลาํบากในการหาทางไปดวยตนเอง � การปนจักรยานขึ้นอยูกับการมีปายบอกทางที่ดี

x ขอเสนอแนะ o ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานดานการเดินทางขนสง และทําให

แนใจวามีการเขาถึงที่สะดวกพรอมขอมูลหลายภาษาและจัดใหมีในเว็บไซต

o มีปายบอกทางถนนที่ทํางานสอดคลองกันดี o มีการใหขอมูลที่สอดคลองกันในระหวางทางวาสิ่งที่พบเห็นคือ

อะไร ตอไปมีอะไร มีการส่ือความหมายในระดับพื้นฐานเขาใจไดงาย มีการใหขอมูลในสถานที่ และจุดรวมทางแยกเสนทางตาง ๆ

x ที่พัก o ขอมูลสถิติอยูในขั้นหยาบ o ควรหาโอกาสประสานความรวมมือทํางานรวมกับหนวยงานอื่น

เพื่อไดขอมูลที่ดีขึ้นรวมกัน o โรงแรมทําหนาที่แทนหนวยงานรัฐในหลายตําแหนงงาน เชน

การเดินทางขนสงและการใหขอมูล (โรงแรมมีรถรับสงถึงที่จากสนามบิน ซ่ึงจําเปนตองพึ่งพาบริการของรถโรงแรมเปนหลัก) และตลอดจนการใหขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ทองเท่ียว

o ไมมีการจัดการเรียนรูและฝกอบรมในทองถิ่นดานทักษะบริการ

ทองเที่ยว o ไมมีแหลงขอมูลกลางที่เกี่ยวของกับการฝกอบรม o ไมมีแผนการพัฒนาที่ชัดเจนเกี่ยวกับภาคการทองเที่ยว ทั้งเรื่อง

ปริมาณรองรับที่เหมาะสมกับพื้นที่ ความตองการที่เพิ่มขึ้นหรือนอยลง ไมมีการพยากรณการเติบโต และไมมีการวางแผนทิศทาง

o ควรพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกดานการศึกษาเพิ่มมากขึ้นเพื่อฝกอบรมทักษะในภาคการทองเที่ยวโดยบูรณาการรวมกับหนวยงานทองถิ่น (เชน มหาวิทยาลัยในทองถิ่น) � ทําใหโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกเหลานี้

กลายเปนสิ่งที่นาสนใจดึงดูดการทองเที่ยวในตัวมันเอง เชน โรงแรมและรานอาหารที่มีการจัดอบรมใหความรูและทักษะกับผูสนใจ

o ผสานแหลงทองเที่ยวเขากับสิ่ งอํ านวยความสะดวกดานการศึกษาและฝกอบรมที่ดี โดยบูรณาการรวมกับกลุมธุรกิจทองถิ่น

Page 35: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 33

x Attractions o Most are in historical parks o Others are unknown and not accessible – not

mapped or linked o Lost potential for local income (handicraft sales) and

visitor engagement (for example birding) nature tourism

o Improve coordination between attraction, information sharing and joined up marketing

o Include handicraft retail opportunities in planning for transport accessibility enhancements

x Future planning o Base planning on good research base that includes

social surveys – what do people really want and how do they want tourism to develop? This needs to be the starting point

o Enhance and nurture existing facilities � Then its possible to build out, but need this

strong foundation o Use tourism facilities and planning for longer term

economic growth beyond tourism (i.e. using Sukhothai branding to reach outside markets)

x What is underpinning this is about wider regional economic growth and not just about tourism

x แหลงทองเที่ยว o สวนใหญอยูในอุทยานประวัติศาสตร o ที่เหลือไมเปนที่รูจักและไมสามารถเขาถึงได ไมมีแมแตในแผนที่

หรือถูกกลาวถึงเชื่อมโยง o ขาดโอกาสสรางรายไดใหทองถิ่น (เชน การขายงานหัตถกรรม)

และการมีสวนรวมของนักทองเที่ยว (เชน การชมนกและธรรมชาติชนบท)

o ควรปรับปรุงการทํางานรวมกันระหวางแหลงทองเที่ยว การแบงปนขอมูลและการผสานแรงเพื่อทําการตลาดรวมกัน

o ควรสรางโอกาสการคาปลีกงานหัตถกรรมไวในการวางแผนเพิ่มการเขาถึงพื้นที่โดยการเดินทางขนสง

x การวางแผนในอนาคต o ตองมีการวางแผนบนพื้นฐานการทําวิจัยที่ดี ซ่ึงรวมถึงการสํารวจ

ขอมูลเชิงสังคม วาผูคนตองการอะไรอยางแทจริง และตองการใหการทองเที่ยวมีการพัฒนาอยางไร ซ่ึงประเด็นนี้ควรใชเปนจุดเร่ิมตน

o เพิ่มเติมและทํานุบํารุงสิ่งอํานวยความสะดวกที่มีอยูแลว � แลวจึงจะสามารถสรางรากฐานที่แข็งแรงซ่ึงเปนเรื่องจําเปน

ใหกับพื้นที่ได o ใชส่ิงอํานวยความสะดวกและการวางแผนการทองเท่ียวเพื่อหวัง

ผลการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวมากกวาแคผลประโยชนจากการทองเที่ยว (เชน สรางตราสินคาและความนาเชื่อถือในคุณภาพดวยอัตลักษณสุโขทัยเพื่อเขาถึงตลาดภายนอกที่กวางขึ้น)

x สิ่งที่ชวยสนับสนุนไดคือการเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคที่กวางขึ้นโดยที่ไมใชเฉพาะแตเร่ืองการทองเท่ียว

Page 36: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 34

Tourism Experience Groups

Side group 1: Agrarian Heritage Experience

x The concept of agrarian heritage is very new and still evolving

x Intangible heritage: evolving heritage of farming communities

x Living heritage and productive heritage – changes every season, every year, depending on the weather

x Observations and questions o What happened to farming activity within the

WH site? To the farmers? What role did agriculture have within traditional local management and protection of the site?

Side group 2: Pottery Heritage Experience

x Visited 3 sites

x Atmosphere and activities o Monthana Ceramics: invite people to try the craft

making process � Introduce process and allow visitors to

experiment � Some Sukhothai patterns but most are

exploratory creative design o Ganesha Ceramics: products based on traditional

designs

x Artists vs. artisans practice o Knowledge & skills transfer – Monthana: less

traditional know-how transferred but provide artistic creative inspirational platform

o Other shops: traditional know-how and design from masters to apprentices

o Monthana: more active; other shops: more passive

x Experience: more linked, continuity

x Holistic integrative approach

x Identity o Monthana: makers identity o Suthep & Garnesha Pottery: cultural identity

x Need for training and education for young generation

Side group 3: Heritage Cycling Experience

x Range of bicycle skills

กลุมประสบการณการทองเที่ยว

กลุมประสบการณที่ 1 มรดกวิถีเกษตร x แนวคิดเกี่ยวกับมรดกวิถีเกษตรยังเปนเรื่องที่ใหมมากและกําลัง

พัฒนาอยู x มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดอยางหนึ่ง คือการพัฒนาดานมรดก

วัฒนธรรมของชุมชนเกษตรกรรม

x มรดกวัฒนธรรมที่มีชีวิตและสรางผลผลิตได มีความเปลี่ยนผันไปทุกฤดูกาล ทุกป ขึ้นกับสภาพดินฟาอากาศ

x การสังเกตและตั้งคําถาม o เกิดอะไรขึ้นกับกิจกรรมการเกษตรในพื้นที่มรดกโลกแหงนี้ เกิด

อะไรขึ้นกับชาวไรนาสวน วิถีเกษตรมีบทบาทอยางไรในการจัดการพื้นที่แบบดั้งเดิมของทองถิ่นและในการปกปองอนุรักษพื้นที่

กลุมประสบการณที่ 2 สังคโลก

x ไดเยี่ยมชมสามพื้นที่ x บรรยากาศและกิจกรรมที่เกิดขึ้น o โมทนาเซรามิค ไดเชิญชวนผูคนใหมาทดลองกระบวนผลิตงาน

หัตถกรรมนี้ดวยตนเอง � มีการแนะนํากระบวนการและอนุญาตใหนักทองเที่ยว

ทดลองทําได � มีการใชรูปแบบมาตรฐานสุโขทัยอยูบาง แตสวนใหญเปน

งานออกแบบสรางสรรคเชิงทดลอง o คเณชาเซรามิค ทําผลิตภัณฑโดยใชการออกแบบแนวประเพณี

ปฏิบัติ x วิถีปฏิบัติของศิลปนและชางฝมือ o การถายทอดความรูและทักษะ ที่โมทนาจะไมเนนการถายทอด

ความรูเชิงปฏิบัติแบบประเพณีดั้งเดิม แตจะนําเสนอพื้นที่ใหแสดงความคิดสรางสรรคและแรงบันดาลใจแบบศิลปน

o รานอื่น ๆ จะเนนการถายทอดความรูเชิงปฏิบัติแบบประเพณีดั้งเดิมและงานออกแบบในลักษณะจากครูถายทอดสูลูกศิษย

o ที่โมทนาจะมีความตื่นตัวมากกวา ในขณะที่รานอื่นจะมีความนิ่งมากกวา

x ประสบการณ คือเรื่องการเชื่อมโยงและตอเนื่อง x ดวยแนวทางบูรณาการแบบมองภาพรวม

x ในแงอัตลักษณ o ที่โมทนา คืออัตลักษณที่สรางขึ้นดวยตนเองของศิลปนผูสราง o ที่สุเทพและคเณชาสังคโลก อัตลักษณที่ถายทอดทางวัฒนธรรม

x จําเปนตองมีการฝกอบรมและใหความรูการศึกษาแกเยาวชนคนรุนใหม

กลุมประสบการณที่ 3 เสนทางจักรยาน

x ตองพิจารณาความหลากหลายของทักษะผูปนจักรยาน

Page 37: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 35

ROUNDTABLE DISCUSSION

ROUNDTABLE ONE

Tim Curtis:

x I’m interested to hear about issues of site interpretation and the meaning of the site as a cultural landscape. o 10 years ago: UNESCO project looking specifically at

these issues – of archaeological interpretations and how visitor experience might be improved through different modes of interpretation.

Dr. Yongtanit:

x These questions are crucial to the locality. This term cultural landscape is new – inscribed in 1991, right around the time that Sukothai was inscribed.

x Cultural landscape requirements for site landscape approach.

x We have to be careful about using the term cultural landscape – have seen lots of documents from the government about policy and cultural landscape and sustainable tourism, but there is a gap between these theories and the practice.

x We also must welcome intangible cultural heritage to the site – this will be a broad advance – site managers and officials cannot afford such changes right now, and we need to break these big walls of the political and administrative climate right now to make a space for people to discuss these issues

x ASEAN / Asian countries – initiatives for world heritage and heritage management stem from western world – this is the commonly held view o We need to have our own ideas and our own

practices too

x Group number 2 who mentioned Hoi An Protocols – this is also the work of UNESCO about heritage in Asia; guidance framework

x Group 3: there are a lot of things to do; we need a lot of training and capacity building in the tourism industry in Sukhothai

x We have seen more and more tourists from China, and this will impact the activities of the people in Thailand who are working in the tourism industry. Tourists of different nationalities. We can do something proactive or else we can follow them. I will start my message this way, thank you.

การเสวนาโตะกลม

การเสวนาโตะกลมรอบที่ 1

ทิม เคอรติส

x ผมสนใจจะฟงเรื่องประเด็นที่เกี่ยวกับการสื่อความหมายและคุณคาของพื้นที่และความหมายของพื้นที่ในฐานะภูมิทัศนวัฒนธรรม o สิบปที่แลว ยูเนสโกมีโครงการที่มุงเปาไปที่ประเด็นเหลานี้

เกี่ยวกับการสื่อความหมายและคุณคาดานโบราณคดี และประสบการณของนักทองเที่ยวที่จะสามารถนํามาพัฒนาวิธีการสื่อความหมายที่แตกตางกันไป

ดร.ยงธนิศร x คําถามเหลานี้สําคัญอยางยิ่งกับการดํารงความเปนทองถิ่น คําวาภูมิ

ทัศนวัฒนธรรมเปนเรื่องใหมเริ่มมีการใชในป 1991 ซ่ึงเปนชวงเวลาเดียวกับที่มีการขึ้นทะเบียนมรดกโลกสุโขทัย

x ตองพิจารณาขอกําหนดของการเปนภูมิทัศนวัฒนธรรม โดยการใชแนวทางพิจารณาภูมิทัศนโดยรวมของแหลง

x เราตองระมัดระวังกับการใชคําวาภูมิทัศนวัฒนธรรม เนื่องจากพบเห็นในเอกสารจํานวนมากของรัฐบาลเรื่องนโยบายดานภูมิทัศนวัฒนธรรมและการทองเที่ยวยั่งยืน แตพบชองวางความแตกตางระหวางทฤษฎีและการปฏิบัติ

x เรายังตองเปดรับประเด็นมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดของแหลงนั้นดวย ซ่ึงจะนับไดวาเปนความกาวหนาในภาพรวม แตหนวยงานที่จัดการพื้นที่และภาครัฐยังไมสามารถยอมรับความเปลี่ยนแปลงดังกลาวในขณะนี้ได และเราตองทลายกําแพงขนาดใหญของบรรยากาศการเมืองและการบริหารรัฐกิจในขณะนี้เพื่อสรางพื้นที่วางสําหรับประชาชนไดรวมพูดคุยถกเถียงในประเด็นเหลานี้

x ประเทศในเอเชียและอาเซียน มีแนวทางเริ่มตนของมรดกโลกและการจัดการที่รับมาจากโลกตะวันตก ซ่ึงเปนสิ่งที่พบเห็นและยึดถือปฏิบัติในภาพรวมทั่วไป o เราจําเปนตองมีแนวคิดและแนวทางปฏิบัติของเราเองดวย

เชนกัน

x กลุมสองไดมีการพูดถึงหลักการโฮยอัน ซ่ึงเปนผลงานของยูเนสโกดวยเชนกันเกี่ยวกับประเด็นมรดกวัฒนธรรมในเอเชีย ที่นําเสนอเปนกรอบแนวทาง

x กลุมสามนําเสนอวามีหลายสิ่งที่ตองทํา เราจําเปนตองมีการฝกอบรมมากมายหลายอยางและสรางความสามารถเพื่อรองรับอุตสาหกรรมทองเที่ยวในสุโขทัย

x เราไดพบเห็นนักทองเที่ยวจํานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ จากประเทศจีน และสิ่งนี้จะมีผลกระทบตอกิจกรรมของประชาชนในประเทศไทยผูซ่ึงกําลังทํางานอยูในอุตสาหกรรมทองเท่ียว นักทองเที่ยวมาจากชนชาติที่แตกตางกัน เราตองสามารถทําบางสิ่งในเชิงรุกมิเชนนั้นเราจะกลายเปนผูตามแกไข นี่เปนขอความเร่ิมตนที่ผมอยากนําเสนอ

Page 38: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 36

Tim Curtis:

x It would be very good to know what the proportion of domestic tourism is here – I still think this is the main proportion of tourism in Sukothai even for Sukothai festivals. If we are going to start talking about site interpretation, shouldn’t we be doing that with this in mind? There are places in Thailand where the spirit of place has been completely lost. We need to consider domestic tourism as well.

Randy Durband:

x Starting point for travel: what do you want as a community? Sustaining economic vitality and authenticity. What I found lacking most here is a clear vision. It’s been hard for our group to make recommendations because we don’t know what the local people want. Sukothai is so important to Thai culture, so you could make the argument to only develop tourism for domestic travelers. International travelers can recognize this value as well. Whatever it is one does, you need to get meaningful data and analysis about why people are coming here today. What pleases them and displeases them? Who are the people we want to come here? What do we want them to do when they are here? If we get people who are appropriate to this destination they will recommend it to other similar tourists. We need to do intensive market research to find out the current situation. First, what do we want as a community? and then we can go on to investigate growth.

Yuk Hong Ian Tan:

x I can foresee why there is the rise of Chinese tourism in Thailand; there is a lot more media attention on this country. There is a popular Chinese movie about Thailand called Lost in Thailand. There is a strong connection between popular media and tourism in this part of the world. Tourism offices are trying to promote tourism through mass media, through commercials, movies. There are glossy, hyped images of countries. How do we manage these expectations? Avoid run of the mill tourism and shopping? How do we offer deeper experiences beyond these?

ทิม เคอรติส

x คงเปนเรื่องที่ดีมากหากไดรูวาสัดสวนของการทองเที่ยวโดยคนในประเทศของที่นี่เปนอยางไร ผมยังคิดวาคนไทยนาจะมีสัดสวนเปนหลักของการทองเที่ยวในสุโขทัยแมกระทั่งในชวงเทศกาลตาง ๆ ถาเรากําลังจะเร่ิมตนพูดถึงการสื่อความหมายในแหลงเหลานี้ ทําไมเราจึงจะไมทําโดยคิดถึงประเด็นนี้ มีหลายที่ในประเทศไทยที่ซ่ึงจิตวิญญาณของแหลงนั้นไดหายไปแลวจนหมดสิ้น เราจําเปนตองพิจารณานัยสําคัญของการทองเท่ียวโดยคนในประเทศดวยเชนกัน

แรนดี้ เดอรบัน

x จุดเร่ิมตนสําหรับประเด็นการเดินทางทองเที่ยว คือ คุณตองการอะไรจากชุมชนทองถิ่น การสงเสริมความมีชีวิตชีวาดานเศรษฐกิจและความแทของคุณคา สิ่งที่ผมไดพบวาขาดหายไปเกือบหมดที่นี่คือวิสั ยทัศน นี่ จึ ง เปน เรื่ อ งยากสํ าหรับกลุ มของเราที่ จะสร า งขอเสนอแนะตาง ๆ ออกมาได เพราะเราไมรูวาชาวบานทองถิ่นตองการอะไร สุโขทัยมีความสําคัญอยางมากกับวัฒนธรรมไทย ดังนั้นคุณจึงควรสามารถสรางขอถกเถียงเพื่อพัฒนาการทองเท่ียวของคนในประเทศเพียงอยางเดียวก็ยอมได แลวนักทองเที่ยวตางชาติจึงอาจตระหนักถึงคุณคาสิ่งนั้นไปดวยเชนกัน ไมวาหนึ่งคนจะทําอะไร คุณจําเปนตองเก็บรายละเอียดที่เต็มไปดวยความหมายและวิเคราะหวาทําไมผูคนจึงเดินทางมาที่นี่กันในทุกวันนี้ สิ่งใดทําใหพวกเขารูสึกพอใจและไมพอใจ ใครคือกลุมคนที่ตองการจะมาที่นี่ แลวเราตองการใหพวกเขามาทําอะไร ถาเราไดกลุมคนซ่ึงเหมาะสมกับแหลงทองเที่ยวพวกเขาก็จะแนะนําพื้นที่แหงนี้ตอไปใหกับนักทองเที่ยวคนอื่นที่ชื่นชอบคลายกัน เราจําเปนตองทําการวิจัยตลาดอยางเขมขนเพื่อคนหาเกี่ยวกับสถานการณที่เปนปจจุบัน อยางแรกคือเราตองการอะไรจากชุมชนทองถิ่นที่นี่ และจากนั้นเราจะสามารถไปตอยังการสืบสวนหาหนทางเติบโตการทองเท่ียว

ยุก หง เอียน ตัน

x ผมสามารถเห็นลวงหนาวาทําไมจึงมีนักทองเที่ยวจีนเพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย ประเทศนี้มีสื่อจับจองอยูเปนจํานวนมากในประเด็นนี้ และยังมีภาพยนตรเกี่ยวกับประเทศไทยเรื่อง ลอสตอินไทยแลนด ที่นิยมกันมากในหมูชาวจีน สื่อที่เขาถึงคนจํานวนมากกับการทองเที่ยวมีความเกี่ยวพันกันอยางเขมแข็ง หนวยงานทองเที่ยวกําลังพยายามสงเสริมการทองเที่ยวผานสื่อมวลชนกระแสหลักเชิงพาณิชย เชน ภาพยนตร สิ่งเหลานี้เปนเพียงภาพฉาบฉวยและโฆษณาเกินจริง เราจะจัดการกับความคาดหวังเหลานี้ไดอยางไร จะหลีกเลี่ยงการทองเที่ยวแบบดาษดื่นที่มีแตเรื่องชอปปงไดอยางไร เราจะสามารถนําเสนอประสบการณที่ลึกซึ้งอยางไรไดนอกเหนือไปจากนี้

Page 39: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 37

Jim Donovan:

x Actively looking at the site through bicycles – the other tourists were not Thai. Most bicycle tourists with that company are European. We were surprised that no Thai at all are interested in bicycle tours. Its too hot, etc. You need to know who you are planning for. If you are targeting domestic tourists maybe you don’t need to have bicycle tourists.

Patricia O’Donnell:

x One of the things we did was look at the way that ICOMOS guides experts in their reviews of WH nominations. The listed number of cultural landscapes is hovering around 90. The notion of the protected zone or the buffer zone – how we have treated it in the past and how we would treat it if we viewed it through a cultural lens. In group one we went out to the reservoir, we saw the riverside – in Sukothai, the landscape would be a part of the heritage relationships - the mountains, the reservoir, the water system that comes down next to the Buddha are all organized into a system that is a completely different layer on the landscape that gives people a sense of the way cultural landscapes are designed. Humanity and nature working together create these things.

x This irrigation system is something nobody is talking about. So if we talk about what are you going to interpret – what about talking about ancient technologies and their relevance to contemporary life? This area’s economic well being is agricultural. Look at what the protective zone is for this heritage – its not concentric – it has to be mapped against topography, water systems, in which the way it was created supported this ceremonial core area – what are the systems that are completely integrated with the land and humanity that have shaped it over time and how would those be captured and interpreted, and the shape of your world heritage area would change.

x It would set you on a course for understating it and how your protection mindset would shift. If you look at it another way to see settlement patterns and the historic urban landscape, you would look at the relationships between settlements and land uses and adjacencies. We have some ragged and sharp adjacencies and transitions in the site today. Everything shouldn’t be treated the same. When you have resources of a specific type, the management of them needs to relate to the function, the meaning, the historical use.

จิม โดโนแวน

x จากการมองพื้นที่โดยเชิงรุก ผานวิธีการขี่จักรยานทองเที่ยวออกสํารวจ เราไมพบกลุมนักทองเที่ยวที่เปนคนไทย โดยนักขี่จักรยานทองเที่ยวกับบริษัทที่จัดการทัวรรูปแบบนี้ สวนใหญเปนชาวยุโรป เราจึงแปลกใจที่ไมมีคนไทยสักคนเดียวที่สนใจรูปแบบทัวรการทองเที่ยวดวยจักรยาน ไมวาเหตุผลจะเปนเพราะอากาศรอนเกินไปและอื่นใดก็ตาม เราจําเปนตองรูวาเรากําลังจะวางแผนการจัดการนี้ไปเพื่อใคร ถาคิดวากลุมเปาหมายคือนักทองเที่ยวภายในประเทศจริงก็อาจไมจําเปนตองพูดถึงการมีนักขี่จักรยานทองเท่ียว

แพทริเซีย โอดอนเนล

x หนึ่งในหลายสิ่งที่กลุมผูเชี่ยวชาญเราไดมองอยูคือ หนทางที่อิโคโมสกําลังนําผูเชี่ยวชาญไปสูการทบทวนเรื่องการนําเสนอมรดกโลก ภูมิทัศนวัฒนธรรมในบัญชีรายชื่อมรดกโลกมีจํานวนมากถึงประมาณเกาสิบแหง ความรูความเขาใจเรื่องพื้นที่อนุรักษหรือพื้นที่กันชนนั้นเกี่ยวของกับวาเราดูแลปฏิบัติตอพื้นที่อยางไรในอดีต และเรานาจะเลือกปฏิบัติตอแหลงที่วานี้อยางไรกันถาหากวาไดมองดวยมิติกรอบแนวคิดดานวัฒนธรรม ในกลุมหนึ่งเราไดเดินทางไปดูอางเก็บน้ํา และเราไดเห็นพื้นที่ริมแมน้ํา ในสุโขทัยนาจะนับไดวาภูมิทัศนเปนสวนหนึ่งของความสัมพันธที่เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรม ทั้งภูเขา แหลงน้ํา ระบบชลประทานซ่ึงนําน้ํามาสูตระพังเบื้องลางใกลวัดโบราณและพระพุทธรูปไดมีการจัดการเปนระบบที่นําเสนออีกระดับขั้นหนึ่งของความเปนภูมิทัศนซ่ึงทําใหผูคนสัมผัสไดถึงวิถีแหงภูมิทัศนวัฒนธรรมที่ถูกออกแบบขึ้น มนุษยชาติและธรรมชาติทํางานดวยกันและสรางสรรคสิ่งเหลานี้ขึ้น

x ระบบชลประทานนี้คือสิ่งที่ไมมีใครพูดถึง ดังนั้นถาพูดถึงวาสิ่งใดที่เรากําลังจะสื่อความหมายเพื่อนําเสนอ ก็นาลองพิจารณาเทคโลยียุคโบราณและความเกี่ยวพันที่มีมาถึงวิถีชีวิตในปจจุบัน พื้นที่แหงนี้มีเศรษฐกิจหลักซ่ึงนําความกินดีอยูดีมาสูผูคนคือดานการเกษตร เมื่อมองสิ่งที่พื้นที่อนุรักษแหงนี้กําลังทําในดานปกปองมรดกวัฒนธรรมก็พบวาไมไดพิจารณาในมิติดังกลาว ซ่ึงควรตองมีการระบุในแผนที่ทั้งเร่ืองคุณลักษณะสัณฐานการจัดรูปผืนดินและระบบการจัดการน้ําซ่ึงไดถูกสรางสรรคขึ้นเพื่อสนับสนุนพื้นที่ทางพิธีกรรมในยานใจกลางแหลงนี้ มีระบบอะไรที่ถูกบูรณาการเขาเปนสวนหนึ่งอยางสมบูรณกบัแผนดินและผูคนซ่ึงถูกจัดการผานยุคสมัย และสิ่งเหลานั้นจะถูกจับตองและตีความนําเสนอมาสูการเปลี่ยนแปลงวิถีแหงพื้นที่มรดกโลกแหงนี้ในปจจุบันอยางไร สิ่งนี้จะทําใหคุณพิจารณาวาอะไรที่ถูกประเมินคุณคาต่ําเกินไปเมื่อเริ่มตนและชุดของความคิดวิธีการเพื่อการอนุรักษนาจะตองเปลี่ยนผันตามไปอยางไร

x หากคุณมองอีกทางหนึ่งใหเห็นรูปแบบการตั้งถิ่นฐานและภูมิทัศน

ความเปนชุมชนเมืองประวัติศาสตรก็นาจะไดเห็นความสัมพันธระหวางถิ่นฐานอยูอาศัยและการใชประโยชนที่ดินและสิ่งอื่นในพื้นที่เช่ือมโยง ทุกวันนี้เราพบวามีสภาพแวดลอมตอเนื่องมาของแหลงและพื้นที่เชื่อมโยงที่ดูรุงรังและขัดแยงไมกลมกลืน ทุกสิ่งอยางไมควรถูกปฏิบัติดวยวิธีการแบบเดียวกัน เมื่อเรามีทรัพยากรที่มีรูปแบบเฉพาะตัว การจัดการสิ่งเหลานั้นก็จําเปนตองเชื่อมโยงกับประโยชนใชสอย ความหมาย และคุณคาทางประวัติศาสตรอยางเฉพาะเจาะจงดวย

Page 40: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 38

You need to understand all of these components and the needs of these components to be protected and presented into the future.

x It’s very exciting to think of it as a cultural landscape construct – I’ve only give two examples. There can be all of these different themes that visitors can choose to investigate. Maybe many elements or maybe deeply in one. With QR codes, web linked 3g, robust websites…possibilities. All these possible avenues if we open up the conceptual approach that would lead you to a real richness and would help the site feel welcoming to people with a variety of interests.

x “Five people independently or together want five different things.” There is always the approach of giving diversity, and more and more as we become connected to our devices, we expect it.

Tim Curtis:

x This issue goes beyond tourism. In 2011 Thailand went through major floods; Ayutthaya was under water for 7 weeks. The site was built to withstand floods – but this knowledge has been ignored and there have been mass floods. Relevance of this site to contemporary needs.

Patricia O’Donnell:

x With climate change all over the world we have these issues of water management. I am very aware of the survival and function issues. We can try engineering or we can go back to traditional knowledge, which I think has a lot to offer.

Tim Curtis:

x What we are doing in Ayutthaya now is to see if we can use the traditional system to prevent flooding today.

Randy Durband:

x We are talking about branding, Chinese tourists. Bringing the right visitor in and the right mindset. Developing messaging that attracts the “right” kind of people. Ecological possibilities, water management. It’s this concept of branding and figuring out what you want to project. You can weave different elements in – maybe the brand is “archaeology and so much more.” Choose the ones you want and develop those.

คุณตองเขาใจองคประกอบทั้งหมดเหลานี้และความจําเปนของ องคประกอบเหลานี้ที่ตองไดรับการอนุรักษและนําเสนอใหดํารงอยูตอเนื่องไปสูอนาคต

x จะนาตื่นเตนกวามากหากคิดวาแหลงนี้ทั้งหมดคือการสรรคสรางทางดานภูมิทัศนวัฒนธรรม ฉันขอยกเพียงสองตัวอยาง มีหัวเร่ืองตามความสนใจมากมายแตกตางกันใหนําเสนอซ่ึงนักทองเที่ยวสามารถเลือกสํารวจได บางครั้งอาจพวงกันหลายองคประกอบหรือบางทีอาจมุงในเชิงลึกเพียงเร่ืองเดียว ดวยวิธีการที่เปนไปไดมากมายเชนการใชคิวอารโคดและการสรางเว็บลิงคนําเสนอขอมูลผานโครงขายอินเตอรเนทสามจี แนวทางเหลานี้เปนไปไดมากมายถาเราเปดใจกับแนวความคิดที่สามารถนําเราไปสูคุณคาที่หลากหลาย และยังชวยใหพื้นที่แหงนี้สรางความรูสึกตอนรับผูคนที่มีความสนใจหลากหลายแตกตางกันไป

x “คนหาคนไมวามาดวยกันหรือแยกกันมาก็ตางมีความตองการหาสิ่งที่ไมเหมือนกัน” หนทางยอมมีเสมอกับการใหสิ่งที่หลากหลาย และยิ่งผูคนเชื่อมโยงตนเองเขากับเครื่องมือและเทคโนโลยีสมัยใหมสวนตัวมากขึ้นเร่ือย ๆ ก็มีความคาดหวังเพิ่มขึ้นตามมา

ทิม เคอรติส

x ประเด็นนี้ไปไกลกวาแคเรื่องการทองเที่ยว ในป 2011 ประเทศไทยผานวิกฤตภัยน้ําทวมครั้งใหญ อยุธยาจมอยูใตน้ํากวาเจ็ดสัปดาห พื้นที่แหงนี้แทจริงแลวถูกสรางขึ้นใหตานทานและอยูรอดยามน้ําทวมดังที่เคยเปนมาตลอด แตความรูดังกลาวถูกละเลยและจึงนํามาสูภัยน้ําทวมซํ้าซาก คุณคาของพื้นที่จึงควรนํามาพิจารณาในมิติการปรับตัวใหเขากับความจําเปนรวมสมัยในยุคปจจุบัน

แพทริเซีย โอดอนเนล

x ดวยความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่เกิดขึ้นทั่วโลกเราจึงพบประเด็นปญหาดานการจัดการน้ํา ฉันมีความตระหนักมากเปนพิเศษในเรื่องการอยูรอดและประโยชนใชสอยขององคประกอบในพื้นที่ที่มีความเกี่ยวของกับประเด็นนี้ เราสามารถพยายามใชความรูดานวิศวกรรมหรือลองกลับไปสูภูมิปญญาดั้งเดิมซ่ึงโดยสวนตัวฉันคิดวาสามารถนําไปทําประโยชนไดมากทีเดียว

ทิม เคอรติส

x สิ่งที่เรากําลังทําอยูในอยุธยาขณะนี้คือการพยายามลองดูวาจะสามารถใชระบบการจัดการดั้งเดิมเพื่อปองกันปญหาน้ําทวมในปจจุบันไดหรือไม

แรนดี้ เดอรบัน

x เรากําลังพูดถึงประเด็นเรื่องการสรางตราสินคาเพื่อสื่อสารกับผูบริโภคดวย คือการนํานักทองเที่ยวที่ถูกกลุมและมีแนวคิดที่ถูกตองสอดคลองกับคุณคามายังพื้นที่ และการพัฒนาขอมูลสื่อสารเพื่อดึงดูดกลุมคนที่ใช มีความเปนไปไดที่จะเขาใจและเขาถึงคุณคาดานระบบนิเวศสภาพแวดลอมหรือเรื่องการจัดการน้ําของพื้นที่ แนวคิดเรื่องการสรางตราสินคาในลักษณะนี้คือเรื่องเดียวกันกับการพยายามที่จะรูใหไดวาเราตองการลงมือทําและนําเสนอสิ่งใด คุณสามารถถักรอยองคประกอบที่แตกตางเขาดวยกัน บางครั้งตราสินคาอาจเปนเรื่องโบราณคดีและอีกมากมายหลายสิ่งอยางก็ได จงเลือกองคประกอบเหลานี้ที่ตองการและนํามาพัฒนา time, more money, with an

Page 41: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 39

Sustainable tourism isn’t about limiting the number of visitors. We want to grow tourism, grow the economy. Spend more authentic engaging experience that helps to protect the place.

Jaturong:

x Let’s open the table to the audience.

Sue Millar:

x I’m hearing bottom up and top down. Why I’ve intervened is because I’ve become frustrated. My frustration is that interpretation has been bandied around – we need interpretation etc etc. For me, nobody has actually worked on interpretation as a conceptual matter – interpretation conceptually and the issue of different learning experiences. This has not come up once today so I’m just putting it on the table.

Russell Staiff:

x Tim – I thought there had been studies about botanics and the agricultural system of Sukothai. I had read a report from some years ago about the other ways the site could be interpreted. Botanical studies surprising as many were discovered to go back to the 13th or 14th century.

x I want to pick up the idea that if its 70% of Thai people coming and the question of interpretation. Too much of an emphasis on dialogic relationship between heritage and “leaning things.” Last night was a very semiotic experience, which can mean just as much. Current interpretation treats the site as if it’s an encyclopedia in stone and it must be read in that way. If we are going to encourage more types of visitors, we know that place making is complicated and multi-faceted and there are many reasons and ways that people connect to place. What are local people’s connections to place? What are the stories that animate their connections and make those things ways that people can connect? Narrative storytelling offers powerful ways for people to connect to sites. The impact of digital technology – possibilities. A way to bring tangible and intangible together. Yes there are issues, authorized vs. unauthorized, perils of blogging. Let’s see the potential of digital and social media as a way of presenting multiple stories.

การทองเที่ยวยั่งยืนไมใชการจํากัดจํานวนนักทองเที่ยว เราตองการการทองเที่ยวที่เติบโตขึ้นและเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้น นักทองเที่ยวใชเวลามากขึ้นและจายมากขึ้นในขณะที่ไดรับประสบการณอยางมีสวนรวมโดยสัมผัสไดถึงความแทในคุณคาซ่ึงสามารถชวยอนุรักษและปกปองพื้นที่ไดดวย

จาตุรงค x ชวงเวลานี้ขอเปดพื้นที่สนทนาใหกับคุณผูฟง

ซู มิลลาร x ที่ไดฟงมานี้มีทั้งประเด็นที่ตองใชการริเร่ิมโดยคนทั่วไปและหนวยงาน

รัฐชี้นําทาง ความนาหงุดหงิดโมโหคือสิ่งที่นําฉันใหมาเขารวมมีสวนเกี่ยวของในประเด็นการทองเท่ียววัฒนธรรมนี้ ความนาหงุดหงิดที่วาคือภารกิจเร่ืองการส่ือความหมายคุณคาที่ถูกโยนกันไปมาตลอดเวลา เราจําเปนตองมีแนวคิดและวิธีการและองคประกอบอื่น ๆ อีกมากมายหลายอยางดําเนินการอยางเหมาะสม สําหรับฉันพบวายังไมมีใครเลยที่ลงมือทํางานจริงจังกับประเด็นการสื่อความหมายคุณคาของมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่โดยเช่ือมโยงกับแนวคิดที่สําคัญและสรางประสบการณเรียนรูที่แตกตางกันไป สิ่งนี้ไมสามารถเกิดขึ้นไดทันทีทันใดในคราวเดียวจึงขอนําเสนอประเด็นนี้ขึ้นสูเวทีเจรจาดวย

รัสเซล สเตฟฟ x ตอเนื่องจากสิ่งที่ทิมไดพูดไว ผมคิดวามีการศึกษาเกี่ยวกับดาน

พฤกษศาสตรและระบบเกษตรกรรมของสุโขทัย ผมไดอานรายงานฉบับหนึ่งจากเมื่อหลายปกอนเกี่ยวกับหนทางอื่น ๆ ในการสื่อความหมายคุณคาของพื้นที่ การศึกษาดานพฤกษศาสตรทําใหผมแปลกใจวาสามารถคนพบหลายสิ่งที่ยอนเวลากลับไปไดถึงชวงคริสตศตวรรษที่สิบสามและสิบสี่

x ผมตองการหยิบขอคิดหนึ่งที่พูดถึงวาถากวารอยละเจ็ดสิบของคนไทยมาเที่ยวที่นี่และกับประเด็นคําถามเรื่องการสื่อความหมายคุณคา มีการขยายความกันอยางมากมายเกินไปเกี่ยวกับความสัมพันธเชิงคําพูดโตตอบที่มีระหวางมรดกวัฒนธรรมกับ “สิ่งที่วางพิงไวเฉย ๆ อยางนั้น” สิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อคืนวานก็สามารถเปนประสบการณแฝงความหมายเชิงคุณคาที่นาประทับใจไดพอกัน การสื่อความหมายคุณคาในขณะนี้ปฏิบัติตอพื้นที่เสมือนหนึ่งวามันเปนดั่งกอนหินที่อัดแนนไปดวยความรูรอบทุกสิ่งอยางและผูคนก็ตองมาทําความเขาใจมันแบบนั้นเทานั้น ถาเราจะกระตุนใหมีนักทองเที่ยวหลากหลายกลุมเพิ่มขึ้นเราก็รูอยูแกใจแลววาการสรางสถานที่ใหนาสนใจนั้นมีความซับซอนและใชองคประกอบหลายดานหลากมิติ และมีหลายเหตุผลและหนทางมากเหลือเกินที่ทําใหผูคนมาเชื่อมโยงผูกพันกับพื้นที่แหงหนึ่งได แลวคนทองถิ่นผูกพันกับพื้นที่ของเขาดวยอะไร มีเรื่องราวอะไรที่เลาและจําลองภาพความเชื่อมโยงผูกพันของพวกเขาเหลานั้นและในทางกลับกันทําใหสิ่งเหลานั้นกลายเปนหนทางที่ผูคนใชสรางความเชื่อมโยงผูกพันได การเลาเรื่องแบบบรรยายใหเห็นภาพมอบหลายหนทางที่ทรงพลังเพื่อใหผูคนเชื่อมโยงตนเองเขากับพื้นที่ได ผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิตอลนําเสนอความเปนไปไดเพิ่มขึ้นอีกอยางมากมาย และเปนหนทางที่นําคุณคาที่จับตองไดและจับตองไมไดมาอยูรวมกันได จริงอยูที่มีประเด็นปญหาเกิดขึ้นมากมาย ทั้งความถูกตองและนาเชื่อถือของวิธีการกับขอมูล ความเสี่ยงและอันตรายจากการเขียนเร่ืองราวประสบการณสวนตัวนําออกเผยแพร ขอใหเรามองศักยภาพของสื่อสังคมดิจิตอลในฐานะหนทางหนึ่งที่จะนําเสนอเร่ืองราวที่หลากหลายไดมากยิ่งขึ้น

Page 42: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 40

Lyn Leader-Elliott:

x For me, one of the things that I would really like to see is some idea of the social context in which these great historical sites existed. I didn’t get any feeling as to how people related to them, whether anybody lived there – that’s an extraordinary gap. Where did people who worshipped at these sites come from? I don’t have any idea about general social and cultural context, and that would be a very important way to think about interpretation generally and also links to how people are living now. The point of interpretation is to make a connection between how people lived in the past and what you see now, how things have changed and continued and in what ways.

TorbjørnEggen:

x I once met somebody living in a WH site. She said, you can say nothing for us, about us, without us. I think the WH sites that are the most difficult landscapes on earth – there are so many uses. You have to find optimal use. Use the community to open up a vast area of knowledge. Go away from mistrusting and start trusting.

Jim Donovan:

x The discussion has moved a lot towards interpretation. There is a disconnect between circulation in the site and around the site.

x Randy talked about managing the more tourists that might be coming. You need to start planning for tourists that will come – they wont all be at the site, they need to get to the site and leave the site. It’s not very easy to walk to the site, to bike. How do you manage the circulation around the site itself? If you don’t think about it, it could create a lot of problems. Need to plan how people will experience the site. I focus on physical planning around the site – make sure the physical plan supports all the things you want to do or else people won’t be able to experience these things and it might taint the way they think about the site if they become frustrated.

ลิน ลีดเดอร เอลเลียต

x สําหรับฉัน สิ่งหนึ่งที่อยากเห็นมากคือขอคิดบางอยางเกี่ยวกับประเด็นบริบททางสังคมบนพื้นที่ซ่ึงมีแหลงประวัติศาสตรเหลานี้ปรากฏอยู ฉันไมรูสึกเลยวาผูคนในพื้นที่เหลานี้มีความสัมพันธกับแหลงอยางไร มีใครอยูอาศัยใชชีวิตในแหลงเหลานั้นบางหรือไม แลดูเสมือนมีชองวางขนาดใหญที่ไมธรรมดากั้นกลางอยู ผูคนที่เคยทําพิธีกรรมบูชาสถานที่เหลานั้นมาจากไหนหรือหายไปไหน ฉันไมไดเรียนรูอะไรเลยเกี่ยวกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมโดยทั่วไปของพื้นที่แหงนี้และนั่นนาจะเปนหนทางสําคัญมากที่จะนําไปสูวิธีคิดเกี่ยวกับการสื่อความหมายคุณคาในภาพรวม และยังเชื่อมโยงไปถึงวาผูคนและวิถีชีวิตในปจจุบันเปนอยางไร ประเด็นเรื่องการสื่อความหมายคุณคาคือการสรางความเชื่อมโยงใหไดระหวางผูคนที่ใชชีวิตอยูในอดีตและสิ่งที่ เห็นที่ เปนอยูในปจจุบัน สิ่งเหลานั้นไดเปลี่ยนแปลงไปอยางไรและตอเนื่องมาอยางไรและในวิถีทางแบบใด

ทอบเบ็น เอคเคน

x ครั้งหนึ่งผมไดเคยพบกับบางคนที่อาศัยใชชีวิตอยูในแหลงมรดกโลก เธอคนนั้นบอกวา คุณไมสามารถพูดอะไรแทนเราไดเกี่ยวกับเราโดยปราศจากพวกเรา ผมคิดวาแหลงมรดกโลกซ่ึงนับวาเปนภูมิทัศนซ่ึงจัดการยากที่สุดบนโลกใบนี้มีวิธีการและประโยชนในการใชงานอยูมากมายหลายอยาง คุณตองหาการใชประโยชนที่อยูกึ่งกลางอยางสมเหตุสมผลใหเจอ จงใชชุมชนเพื่อเปดพื้นที่แหงความรูอันกวางใหญไพศาล และหลีกพนใหไกลจากความไมไวเนื้อเชื่อใจกันและจงเริ่มตนความไววางใจซ่ึงกันและกัน

จิม โดโนแวน

x การพูดคุยกันนี้ไดถูกชักนําไปสูประเด็นการสื่อความหมายคุณคาคอนขางมาก ผมขอพูดถึงประเด็นความไมเชื่อมโยงระหวางการเดินทางในพื้นที่และโดยรอบบริเวณพื้นที่

x แรนดี้ไดพูดเกี่ยวกับการจัดการนักทองเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้นซ่ึงอาจเกิดขึ้นไดกับพื้นที่แหงนี้ คุณจําเปนตองเริ่มการวางแผนสําหรับนักทองเที่ยวที่จะมาถึงเหลานั้น ซ่ึงทั้งหมดจะไมไดมาใชชีวิตที่พื้นที่แหงนี้ แตพวกเขาจะตองเดินทางมาและออกไปจากพื้นที่ ซ่ึงไมใชเรื่องงายเลยที่จะเดินเทาหรือขี่จักรยานไปในพื้นที่แหงนี้ คุณมีการจัดการเรื่องการเดินทางรอบพื้นที่นี้กันดวยตนเองอยางไรบาง ถายังไมไดคิดถึงสิ่งนี้เลยก็นาจะสรางปญหาอยางมากมาย จึงจําเปนตองวางแผนวาผูคนจะสามารถไดรับรูประสบการณเกี่ยวกับพื้นที่แหงนี้อยางไร ผมมุงประเด็นไปที่การวางผังกายภาพรอบบริเวณพื้นที่นี้ ตองทําใหแนใจวาผังสิ่งแวดลอมกายภาพดังกลาวจะชวยสนับสนุนทุกสิ่งที่คุณตองการทําใหเกิดขึ้นไมเชนนั้นผูคนก็จะไมสามารถไดรับรูประสบการณเกี่ยวกับสิ่งเหลานี้ไดเลย และยังอาจสรางความมัวหมองในความคิดของคนเหลานี้เกี่ยวกับพื้นที่หากเขากลับไดพบเจอประสบการณที่นาหงุดหงิดโมโห

Page 43: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 41

Patricia O’Donnell:

x Sukothai is an archaeological site where the archaeology is behind the curve. Even its core area of interpretation isn’t up to current practice. Do archaeologists know what was planted and what grew next to these sites? It’s a very interesting concept to think about. If these were places of worship used by lots of people, there probably wasn’t ground cover around all of these sites. Now there is a lot of manicuring. What if this was packed earth because people were there every day worshipping? It would have a very different look. If the archaeology moved into botanical remains, you can use this information to think about how the site can look. Thomas Jefferson’s poplar forest - archaeologists discredited amounts of trees and found the evidence for 4 shrubs. They gained 2 primary sources from the time that they could work with.

x In Sukothai, usually there is one source of information and it’s a documentary record and it’s incomplete. Main Buddha – what if this Buddha was surrounded by edges where you could stand and see water and there was the reflection from the rice paddy? This would really change the feeling of the site. What if you could use radar to find evidence of these rice paddies, and then people could come to see the moon reflected in the rice paddies?

Tim Curtis:

x These studies have been done but they haven’t been transferred into concrete management. How do we take this knowledge and use it? The challenge is connecting the research with management, with the community – the research is only one part of the approach. It’s been a long time since that’s been discussed here.

Jim Donovan:

x In Srisatchanalai the road system is there and a lot of it is integrated. Is this a new road or an old road? I couldn’t tell.

Yuk Hong Ian Tan: I want to pick up on Tim’s point about connecting research to people. Two levels: interpretation for tourists. Other level: deep research into landscape. How do you interpret this vast profound information and feed it to tourists who have short times at this site? How can we use pre-travel and post-travel to communicate more information? You can see these places on TV. Pre travel and post travel shouldn’t be seen as separate. They are a matrix or a complex web.

แพทริเซีย โอดอนเนล

x สุโขทัยเปนแหลงโบราณคดีที่ซ่ึงคุณคาความรูทางโบราณคดียังถูกเก็บไวไมไดนําเสนอ แมแตในบริเวณพื้นที่ใจกลางแหลงยังไมมีการสื่อความหมายคุณคาที่เปนไปตามวิธีปฏิบัติที่ทันยุคสมัยปจจุบัน นักโบราณคดีรูหรือไมวามีตนไมชนิดใดปลูกอยูในบริเวณแหลงและมีพืชพรรณชนิดใดบางขึ้นในพื้นที่ติดกัน สิ่งนี้เปนแนวคิดที่นาสนใจมากและควรนําไปคิดกัน ถาสถานที่เหลานี้เคยเปนที่ซ่ึงผูคนมากมายมาสักการบูชาก็คงไมไดมีแตพื้นดินโลง ๆ ปกคลุมอยูทั่วบริเวณไปหมดเชนนี้ และยังเห็นไดชัดวามีการตบแตงพื้นที่ปลูกเล็มหญาใหดูเปนระเบียบเรียบรอยอยูมาก แลวถาหากพื้นที่แหงนี้เปนลานดินอัดแนนเพราะเคยมีผูคนจํานวนมากมาใชเปนที่สักการบูชากันทุกวันละ สภาพที่ควรเปนจริงคงจะแตกตางไปจากที่ เห็นนี้มาก ถางานโบราณคดีหันมามองรองรอยทางพฤษศาสตรที่ยังคงหลงเหลืออยูบางคุณก็จะสามารถใชขอมูลสิ่งนี้เพื่อคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ควรจะมองเห็นบนพื้นที่แหงนี้ ยกตัวอยางเชน ปาตนปอปลารของทอมัส เจฟเฟอรสัน ซ่ึงนักโบราณคดีเห็นแยงกับจํานวนตนไมมากมายและพบหลักฐานเพียงไมแคสี่พุมเทานั้น นักโบราณคดีไดใชขอมูลหลักสองแหลงจากชวงเวลานั้นเปรียบเทียบกันซ่ึงทําใหพวกเขาสามารถดําเนินงานตอได

x ในสุโขทัยโดยปกติแลวมีแหลงขอมูลเพียงหนึ่งแหงและเปนเพียงบันทึกที่ไมสมบูรณรอบดาน ถาหากวาองคพระพุทธรูปหลักถูกลอมรอบไปดวยขอบที่ซ่ึงคุณสามารถยืนและมองเห็นน้ําและเห็นเงาสะทอนทุงนาไดดวยละ สิ่งนี้นาจะเปลี่ยนอารมณความรูสึกที่มีตอแหลงไปไดอยางจริงจัง แลวถาคุณสามารถใชเรดารคนเจอหลักฐานวาเคยมีทุงนาอยูจริงแลวผูคนสามารถเดินทางมาเพื่อชมพระจันทรสะทอนเงาในทุงนาดวยละ

ทิม เคอรติส

x การศึกษาเหลานี้ไดรับการดําเนินการไปแลวแตไมเคยไดรับการถายทอดมาสูการจัดการอยางเปนรูปธรรม เราจะรับเอาความรูนี้มาใชไดอยางไร ความทาทายอยูที่การเชื่อมโยงงานวิจัยเขากับการจัดการพื้นที่และกับชุมชน งานวิจัยเปนเพียงสวนหนึ่งของแนวทางนี้ซ่ึงไดเคยมีการนํามาถกเถียงพูดคุยกันมากอนเมื่อนานมากแลว

จิม โดโนแวน x ในศรีสัชนาลัยมีระบบถนนที่เห็นไดชัดเจนอยูและถูกนํามาผสมผสาน

เพิ่มเติมขึ้นอีกมากมาย มันเปนถนนใหมหรือเกากันแน ผมไมสามารถบอกไดเลย

ยุก หง เอียน ตัน

x ผมขอหยิบประเด็นของทิมเกี่ยวกับการเชื่อมโยงงานวิจัยเขากับผูคน มีอยูสองระดับคือ การสื่อความหมายคุณคากับนักทองเที่ยว และอีกระดับหนึ่งคืองานวิจัยเชิงลึกในดานภูมิทัศน คุณจะสื่อความหมายคุณคาของขอมูลจํานวนมากมายมหาศาลนี้ไดอยางไรเพื่อปอนใหกับนักทองเที่ยวผู ซ่ึงมีเวลาเพียงนอยนิดในแหลงทองเที่ยว เราจะสามารถใชชวงเวลากอนการเดินทางและหลังการเดินทางเพื่อสื่อสารขอมูลใหมากขึ้นไดอยางไร คุณสามารถพบเห็นสถานที่เหลานี้ในทีวีไดอยูแลว ซ่ึงกิจกรรมกอนและหลังการเดินทางไมควรถูกมองแยกวาไม

เกี่ยวของกัน สิ่งเหลานี้เกี่ยวพันกันเปนระบบที่โยงใยซับซอนสงเสริมกันอยู

Page 44: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 42

Aylin Orbasli:

x We need to be careful about how we take research back into the site. Everything we find out about the historic landscape can’t be recreated. The landscape changes and evolves many times. Like the issue of quarries at sites – if they are grown over and green, it’s much nicer than quarries in use. How can research into past agriculture also inform current agriculture? This can have economic impacts and values beyond tourism.

Maria Gravari-Barbas:

x Two scenarios to imagine: a scenario of desertification where this region is a shrinking region losing its inhabitants. The other scenario will bring this region into the center of the larger region. This might be the center of a very huge tourism demand. It’s about shaping future and trying to see through these extreme scenarios. What is the optimal scenario? What is the role that heritage and heritage tourism can play in this optimal scenario? It is important to develop and interpret the site. Eventually the optimal scenario would be not to interpret, not to communicate.

Russell Staiff:

x The peopling of archaeological sites - how do you make them seem alive and seem like you could slip yourself into and belong to that place? This is available on youtube – people are watching the movie The Gladiator in the middle of the Coliseum. The reality is that this is how people are using the sites. Monash University has done an animation of Ayutthaya that shows a living version of the site. HKU has also been doing lots of work. E-harvesting: for individual heritage sites to harvest information already on the web that is about their heritage site, so that they can manage it and benefit from it. The future of heritage is a digital future – the entities will be so intertwined that it will be difficult to keep them separate. I was first concerned about the technological rich and technological poor divide but developing countries are bypassing computers and accessing things through smartphones. People enter the sites with more digital capacity in their phones than what the site itself has. I say this as someone who is a technophobe but I can see the writing on the wall.

อัยลิน เออรบาซลิ x เราจําเปนตองระมัดระวังเกี่ยวกับการที่เรานําผลของงานวิจัยกลับมา

สูพื้นที่ ทุกสิ่งอยางที่เราคนเจอเกี่ยวกับภูมิทัศนประวัติศาสตรนั้นไมสามารถสรางขึ้นมาใหมทั้งหมดได ภูมิทัศนเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนไปหลายตอหลายครั้ง อยางเชนประเด็นแหลงตัดหินที่นํามาสรางโบราณสถานซ่ึงถูกตนไมใบหญาขึ้นปกคลุมจนเขียวชอุมและนามองมากกวา แลวงานวิจัยเกี่ยวกับวิถีเกษตรกรรมในอดีตสามารถนํามาเชื่อมโยงกับรูปแบบเกษตรกรรมในปจจุบันไดอยางไรบาง สิ่งนี้สามารถสรางผลกระทบทางเศรษฐกิจและคุณคาที่ไปไกลเกินกวาการทองเที่ยวได

มาเรีย กราวารี บาบาส

x มีสองสภาพการณใหชวนจินตนาการถึง คือสภาพการณที่ซ่ึงเกิดการละทิ้งถิ่นฐานและถูกทอดทิ้งเนื่องจากภูมิภาคนี้หดเล็กลงไปเรื่อยและสูญเสียผูอยูอาศัยใชชีวิตแทจริงไป สภาพการณอีกอยางหนึ่งคือการนําพาภูมิภาคนี้ใหเติบใหญกลายเปนศูนยกลางของภูมิภาคที่มีขนาดใหญยิ่งขึ้นไปอีก พื้นที่แหงนี้อาจกลายเปนศูนยกลางของความตองการทองเที่ยวปริมาณมหาศาล นี่จึงเกี่ยวของกับการวางกรอบอนาคตและพยายามมองใหทะลุผานสภาพการณสุดโตงทั้งสองอยางนี้ แลวสภาพการณที่อยูกึ่งกลางพอเหมาะพอดีคืออยางไร บทบาทที่มรดกและการทองเที่ยววัฒนธรรมสามารถเลนในสภาพการณที่พอเหมาะพอดีนี้คืออะไร เปนเรื่องสําคัญจริงที่ตองพัฒนาและสื่อความหมายคุณคาของพื้นที่ จนกระทั่ งในที่สุดสภาพการณที่พอเหมาะพอดีนี้ไมนาตองถูกนํามาจงใจสื่อความหมายคุณคาหรือตั้งใจสื่อสารอยางโจงแจงอีกตอไป

รัสเซล สเตฟฟ x การจัดการผูคนในแหลงโบราณคดี คุณจะทําใหพวกเขาดูเหมือนอยู

อาศัยใชชีวิตไดอยางมีชีวิตชีวาเสมือนหนึ่งวาคุณสามารถแทรกตัวเขาไปเปนสวนหนึ่งและเปนเจาของรวมในพื้นที่ไดอยางไร อันนี้ลองดูในยูทูบได จะเห็นวามีผูคนไดเปดชมภาพยนตรเรื่องกลาดิเอเตอรบนเครื่องมือสื่อสารพกพาขณะอยูในใจกลางโคลิเซียม ความเปนจริงก็คือนี่เปนวิธีที่ผูคนใชประโยชนจากแหลงประวัติศาสตรในทุกวันนี้ มหาวิทยาลัยโมนาชไดทําภาพเคลื่อนไหวจําลองของอยุธยาที่แสดงสถานการณซ่ึงมีผูคนใชชีวิตอยูในนั้นดวย มหาวิทยาลัยฮองกงก็มีการทํางานในทํานองนี้หลายชิ้นเชนเดียวกัน อีฮาเวสติ้งคือการทําฐานขอมูลเกี่ยวกับแหลงมรดกเฉพาะโดยที่ใชวิธีการเก็บเกี่ยวขอมูลซ่ึงมีอยูกระจัดกระจายบนเว็บไซตในโลกอินเตอรเนทอยูแลวที่เกี่ยวของกับพื้นที่นั้น เพื่อใหเกิดการจัดการขอมูลและใชประโยชนขอมูลนั้นได อนาคตของมรดกวัฒนธรรมคืออนาคตแบบดิจิตอล ทุกสิ่งจะถูกนํามาเกี่ยวพันซ่ึงกันและกันจนกระทั่งยากที่แยกสวนออกจากกันได ผมเคยกังวลเกี่ยวกับการแบงแยกระหวางกลุมคนรวยมากเทคโนโลยีกับกลุมยากจนที่ไมมีเทคโนโลยี แตกลายเปนวาปจจุบันประเทศกําลังพัฒนาลัดหนทางจากการใชคอมพิวเตอรธรรมดาไปสูการเขาถึงทุกสิ่งไดดวยโทรศัพทพกพาแบบสมารทโฟน ผูคนเขาสูขอมูลพื้นที่เหลานี้ไดดวยศักยภาพที่มากยิ่งขึ้นของเทคโนโลยีดิจิตอลในโทรศัพทมากกวาที่มีในพื้นที่ของจริงเสียอีก ผมพูดถึงสิ่งเหลานี้ในฐานะคนหนึ่งที่กลัวการใชโทรศัพทที่มีเทคโนโลยีทันสมัย แตผมสามารถเห็นไดชัดเจนวาอะไรกําลังเกิดขึ้นขณะนี้

Page 45: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 43

Randy Donovan:

x If I’m in the Sukothai region, what can we do more immediately in the next year or two? Short term and more immediate. Someone showed me an app that can show you around this area – if it’s further developed, so many things we’ve discussed, like lack of signage can be addressed. How to grow tourism in a sustainable manner? There was an idea to put handicrafts in a single location that apparently didn’t work. But this idea shouldn’t be abandoned. Tourists want handicraft shopping experiences and this can help engage the visitor, extend visit period, shop local, local economic stimulation.

Jaturong:

x We have a question from the local community.

Local Comment:

x I am impressed that you have spent few days here and can see to the issues. What worries the locals is that everyone knows the situation and the challenges but who does the action? The local administrative offices are fragmented and do jobs separately. Administration is not unified, connected.

x On Chinese tourists: it’s not that scary. Need to believe in the power and character of Sukothai. The place draws the people and the kind of people who like the place. Chinese tourists who have stayed at his guesthouse come because they like the place and are drawn to the place. If people want fast food tourism they will go to Patpong.

Local Comment:

x I would like to see Sukothai as a town where people like to come, but when they come I don’t want them to see temple, temple, temple. Want to have networking that can create a center. Collaboration and establishing. Need full and formal support from governmental agency.

Local Comment:

x There is a lack of active local participation in heritage management in Sukothai.

x The fence around the park has divided the life of the people out of the historical area. The local people want the fence to be removed. They want to participate in taking care of the area as before and they need support from scholars and local government

แรนดี้ เดอรบัน

x ถาผมอยูในบริเวณพื้นที่สุโขทัย เราจะสามารถทําอะไรไดทันทีขณะนี้ในอีกหนึ่งถึงสองปขางหนานี้ ใชเวลาชวงระยะสั้นและไดผลงานรวดเร็วมากกวา มีบางคนไดแสดงใหผมเห็นวามีแอปที่สามารถนําคุณไปทั่วบริเวณพื้นที่นี้ ไดหมด ถามันไดรับการพัฒนาขึ้นไปอีกในประเด็นหลายสิ่งที่เกี่ยวของกับที่เราไดพูดคุยกันอยูนี้ เชนเรื่องการขาดปายบอกทางและขอมูล ก็จะสามารถนํามาจัดการได การทองเที่ยวจะเติบโตขึ้นอยางยั่งยืนไดอยางไร เคยมีขอคิดหนึ่งวาใหนํางานหัตถกรรมมารวมกันไวที่เดียวซ่ึงผลลัพธก็ชัดเจนวาไมประสบผลสําเร็จ แตขอคิดเชนนี้ก็ไมควรถูกทอดทิ้งไปหมดสิ้นเสียทีเดียว นักทองเที่ยวตองการประสบการณจับจายซ้ือของงานหัตถกรรมและสิ่งนี้อาจชวยนํานักทองเที่ยวใหใชเวลาอยูในพื้นที่นานขึ้นและเลือกซ้ือเลือกกินเลือกใชของทองถิ่นและกระตุนความมีชีวิตชีวาของเศรษฐกิจในพื้นที่

จาตุรงค x เรามีคําถามจากชุมชมในพื้นที่ที่มารวมฟงในวันนี้ คําถาม

x ผมทึ่งที่พวกคุณใชเวลาเพียงไมกี่วันที่นี่และสามารถเห็นประเด็นปญหาเหลานี้ได สิ่งที่ทําใหชาวบานกังวลใจคือวาทุกคนรูสถานการณและความทาทายดังกลาวแตใครละจะเปนคนลงมือปฏิบัติ สํานักงานบริหารปกครองทองถิ่นทั้งหลายมีความแตกแยกและทํางานหลายอยางแยกขาดจากกัน การบริหารจัดการที่นี่ไมมีเอกภาพและความรวมมือเช่ือมโยงตอเนื่องกันเลย

x เกี่ยวกับประเด็นนักทองเที่ยวจีน มันไมไดนากลัวขนาดนั้น เราตองเชื่อในพลังและคุณลักษณะเฉพาะของความเปนสุโขทัย พื้นที่แหงนี้ชักนําผูคนและประเภทของกลุมคนที่ชื่นชอบสถานที่แบบนี้ นักทองเที่ยวจีนที่มาพักในเกสตเฮาสของผมเขามากันเพราะวาเขาชอบสถานที่แบบนี้และจึงถูกแรงดึงดูดมายังพื้นที่แหงนี้ ถาพวกเขาชอบการทองเท่ียวแบบบริโภคจานดวนก็คงไปพัฒนพงษ

คําถาม

x ฉันอยากเห็นสุโขทัยเปนเมืองที่ซ่ึงผูคนอยากมาเยือน แตถาพวกเขามาแลวฉันก็ไมตองการใหเขาไดเห็นแตวัดนั้นวัดนูนวัดนี้ อยากใหมีการสรางเครือขายเพื่อสรางสรรคความเปนศูนยกลางขึ้นที่นี่ มีการทํางานแบบภาคีรวมมือกันและจัดตั้ งศูนยกลางโดยไดรับการสนับสนุนอยางเต็มที่และเปนทางการจากหนวยงานรัฐ

คําถาม

x ยังขาดการรวมมืออยางมีสวนรวมแบบเชิงรุกที่มาจากคนทองถิ่นในการจัดการมรดกวัฒนธรรมของสุโขทัย

x รั้วที่ลอมอยูรอบอุทยานประวัติศาสตรไดแบงแยกชีวิตของผูคนออกจากพื้นที่ประวัติศาสตร ผูคนทองถิ่นตองการใหเอารั้วนี้ออกไป พวกเขาอยากจะมีสวนรวมในการดูแลพื้นที่แหงนี้เหมือนเม่ือกอนและพวกเขาตองการการสนับสนุนจากนักวิชาการและรัฐบาลทองถิ่น

.

Page 46: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 44

Lyn Leader-Elliott:

x Look at the Nancy Chandler map for Chiang Mai. It would be wonderful for foreign visitors. Everyone loves them and it concentrates on the good things that are typical and create positive cultural experiences. I want to encourage this as a collaborative local project. In terms of comments about Chinese visitors, we talked about quality tourism. This doesn’t depend on nationality; it depends on who is interested in what you have here. It depends on the character of the place.

Local Comment:

x The first thing we have to start with is to get together as one. You come here and want to help but you don’t know what’s going on in the village. We have to come together as one first. If we do have this big support, it gives confidence to us. There is lots of tension between the locals and the municipal government.

Tim Curtis:

x At Ayutthaya, the site is purely managed by FAD without much other participation. We are presenting wonderful ideas, but the real problem how we are going to do it. We need to have open and honest discussions that are less interesting about decision making and who makes decisions and what processes occur. This is a discussion that the FAD needs to engage with as well as local authorities. Thailand is incredibly resourceful and understands tourism incredibly well. I have no problem with Chinese tourists, I have a problem with mass tourists. Sukothai is very Thai, every Thai child learns about Sukothai in high school. This is heritage tourism and it’s good for this to be happening at this place. The mechanisms for implementation and decision making are not in place in a way that will allow these things to happen.

Agnieshka Kiera:

x I am encouraged by the fact that residents here are raising these issues because we keep saying “we should do this etcetc” but no one says who are we? There are divisions. How can you integrate and bring these ideas as outcomes on the ground? How can you decide about removing the fence? How does the heritage site remain as a part of the life of the communities that belongs to the communities? They should be able to evolve with it and make it work. How do we bring all of these entities together to work together as one?

ลิน ลีดเดอร เอลเลียต

x ลองดูแผนที่เชียงใหมฝมือศิลปนแนนซ่ี แชนดเลอร ซ่ึงนาจะเปนสิ่งวิเศษสําหรับนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ทุกคนรักมันและมันอัดแนนไปดวยสิ่งดี ๆ มากมายทั้งที่อาจเปนเรื่องธรรมดาทั่วไปและยังสรางประสบการณทางวัฒนธรรมในเชิงบวกไดดวย ฉันอยากกระตุนสงเสริมสิ่งนี้ในลักษณะโครงการความรวมมือในระดับทองถิ่น สวนเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับนักทองเที่ยวจีน เราไดเคยพูดถึงเรื่องการทองเที่ยวเชิงคุณภาพ ซ่ึงนี่ไมใชประเด็นที่ผูกพันเรื่องเชื้อชาติ แตเกี่ยวพันกับวาใครที่มีความสนใจในสิ่งที่เรามีอยูที่นี่ มันขึ้นอยูกับคุณลักษณะของพื้นที่

คําถาม

x สิ่งแรกที่เราตองเริ่มตนคือการรวมมือกันเปนหนึ่งเดียว คุณมาเยือนที่นี่และตองการชวยเหลือเราแตคุณไมรูวามีอะไรเกิดขึ้นบางในหมูบานที่นี่ เราตองรวมมือกันเปนหนึ่งเสียกอน ถาเราไดรับความสนับสนุนครั้งใหญ นั่นจะสรางความมั่นใจใหแกพวกเรา ขณะนี้มีความตึงเครียดอยูมากระหวางคนทองถิ่นและเทศบาล

ทิม เคอรติส

x ที่อยุธยา พื้นที่ถูกจัดการโดยสิ้นเชิงดวยหนวยงานเดียวคือกรมศิลปากรโดยปราศจากการมีสวนรวมจากที่อื่นใด เรากําลังนําเสนอขอคิดที่วิเศษมากมาย แตปญหาที่แทจริงคือเราจะดําเนินการมันไดอยางไร เราตองมีการพูดคุยถกเถียงที่เปดกวางและจริงใจที่ซ่ึงลดประเด็นเร่ืองผลประโยชนในเชิงอํานาจการตัดสินใจและที่วาใครเปนผูมีอํานาจกําหนดและกระบวนการขั้นตอนที่ยุงยาก นี่จึงเปนการพูดคุยถกเถียงที่กรมศิลปากรจําเปนตองมีสวนรวมดวยเชนเดียวกับหนวยงานรัฐในระดับทองถิ่นทั้งหมด ประเทศไทยมีทรัพยากรที่วิเศษเหลือเชื่อและเขาใจการทองเที่ยวไดเปนอยางดี ผมไมมีปญหาแตอยางใดเลยกับนักทองเที่ยวจีนแตมีปญหากับกลุมนักทองเที่ยวเนนปริมาณ สุโขทัยมีความเปนไทยมาก เด็กไทยทุกคนเรียนเกี่ยวกับสุโขทัยในโรงเรียน สิ่งนี้คือการทองเท่ียววัฒนธรรมและเปนสิ่งดีที่เกิดขึ้นกับพื้นที่แหงนี้ กลไกในการลงมือปฏิบัติตามแผนและการตัดสินใจไมไดขัดขวางสิ่งเหลานี้แตอยางใดเลย

แอกนิชกา เคียรา

x ฉันสนใจในขอเท็จจริงที่วาผูอยูอาศัยในพื้นที่แหงนี้เปนผูที่กําลังยกประเด็นตาง ๆ ขึ้นมาดวยตนเอง เพราะเรามักพูดวา เราควรทํานั้นนูนนี่ แตไมมีใครพูดชัดเจนวาเรานี่คือใคร จึงมีการแบงแยกกลุมกันขึ้น คุณจะสามารถผสมผสานและนําขอคิดเหลานี้มาสูผลลัพธเพื่อนําไปปฏิบัติไดอยางไร คุณจะตัดสินใจเกี่ยวกับการเอารั้วออกไปไดอยางไร แหลงมรดกวัฒนธรรมจะยังคงเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตชุมชนโดยชุมชนยังคงมีความเปนเจาของอยูไดอยางไร พวกเขาควรจะสามารถเขามีสวนรวมและทําใหมันเปนจริงได เราจะนําองคประกอบเหลานี้รวมเขาดวยกันและทํางานเปนหนึ่งเดียวไดอยางไร

Page 47: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 45

Patricia O’Donnell:

x There is a growing interest in a dialogue about good governance. Good governance is inclusive governance. One of the models we’ve used in the US is community vision planning – requires at all levels engaging in a dialogue that is respectful and what is called active listening. This term active listening doesn’t just mean you don’t give the person the floor to speak but you also hear them. Bring this vision planning to Sukothai. Sometimes it can take 2 years and many meetings like a monthly meeting for two years. Everyone has to stick with it. The community can create a vision plan with objectives that are shared objectives. There is a way that you can walk together.

Randy Durband:

x Thai tourism is so successful. Phenomenal entry policy, fabulous airport, big smile. One of the fears of the community – it will become like Pattaya. What can we do here that will preserve our culture, preserve our respect, dignity?

Local Comment:

x Why aren’t we talking about the Kham paeng Phet site at all?

Local Comment:

x We have good facilities but lack of maintenance. Local Comment:

x What about land title deeds? Inside the ancient wall we do not have land title deeds. If we can have these deeds then we can participate on an equal level but we need these deeds.

Local Comment:

x On cultural landscape. It must happen from a bottom –up approach.

Local Comment:

x To get better administration, independent organizations must also be involved.

Suzanne Bott:

x I want to acknowledge your question about how do we actually do this within the community. You have to determine what your future is going to look like locally and then work with authorities. So many of us are senior and luddites. I think that education on technology is the future. What we haven’t talked about yet is the education of the local communities so that they can take hold of the future of the region and not have to work in service sector jobs. They can become the managers and

แพทริเซีย โอดอนเนล

x ขณะนี้มีความสนใจเพิ่มมากขึ้นเร่ือย ๆ ในการพูดคุยเกี่ยวกับธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาลคือการปกครองดวยวิธีการรวมมือกัน รูปแบบหนึ่งที่ใชกันอยูในสหรัฐอเมริกาคือการวางแผนวิสัยทัศนของชุมชน ซ่ึงตองการการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในทุกระดับชั้นเพื่อพูดคุยสนทนากันโดยมีความเคารพนับถือซึ่งกันและกันในลักษณะการรับฟงแบบเชิงรุก การรับฟงแบบเชิงรุกนี้มีนิยามซ่ึงหมายถึงวาคุณไมเพียงเปดพื้นที่ใหโอกาสผูคนไดพูดแตคุณยังตองรับฟงพวกเขาดวย หากนําการวางแผนวิสัยทัศนเชนนี้มาสูสุโขทัย บางครั้งอาจตองใชเวลาถึงสองปและมีการประชุมหลายครั้งแบบการประชุมรายเดือนตลอดชวงระยะเวลาสองป ทุกคนตองยึดถือตามนี้ ชุมชนจึงสามารถสรางสรรคการวางแผนวิสัยทัศนที่มีวัตถุประสงคแบบรวมกันได ยังมีหนทางที่ทําใหทุกคนสามารถเดินรวมกันไปได

แรนดี้ เดอรบัน

x การทองเที่ยวไทยประสบความสําเร็จมาก มีนโยบายสนับสนุนมากมายเปนปรากฏการณ สนามบินชั้นเยี่ยม และรอยยิ้ม ความกลัวอยางหนึ่งของชุมชนคือ มันจะกลายเปนเหมือนพัทยา เราจะทําอยางไรกับพื้นที่ตรงนี้เพื่อสงวนรักษาวัฒนธรรมของเราเอาไวใหได รักษาความนาเคารพนับถือและเกียรติภูมิของเราไว

คําถาม

x ทําไมเราไมมีการพูดถึงพื้นที่กําแพงเพชรบางเลย(ไดอธิบายวาเปนขอจํากัดของพื้นที่ปฏิบัติงานในระยะสั้นจึงละเวนไว)

คําถาม

x เรามีสาธารณูปโภคที่ดีแตขาดการดูแลรักษา คําถาม x แลวเร่ืองเกี่ยวกับโฉนดแสดงกรรมสิทธิ์ครอบครองที่ดินจะวาอยางไร

ภายในเขตกําแพงเมืองเราไมมีโฉนดที่ดินกันเลย ถาเราสามารถมีโฉนดที่ดินเหลานี้แลวเราจึงสามารถมีสวนรวมไดในระดับที่เทาเทียมจริง แตกอนอื่นเราตองการกรรมสิทธิ์ดังกลาว

คําถาม

x เกี่ยวกับเรื่องภูมิทัศนวัฒนธรรม จะเกิดขึ้นไดตองใชแนวทางที่ริเริ่มโดยผูคนในพื้นที่เสียกอน (ไมใชหนวยงานรัฐ)

คําถาม

x เพื่อใหไดมาซ่ึงการบริหารจัดการที่ดีกวาเดิม องคกรอิสระตองเขามามีสวนรวมดวย

ซูซาน บอทท x ฉันตองการขยายประเด็นจากคําถามที่วาเราจะทําสิ่งนี้ใหเกิดขึ้นใน

ชุมชนไดอยางไร คุณตองพิจารณาตั้งเปาหมายวาอนาคตของคุณเองจะยังดํารงความเปนชุมชนทองถิ่นอยางไรแลวจึงทํางานรวมกับหนวยงานรัฐ พวกเราสวนใหญเปนคนมีอายุแลวและกลัวเทคโนโลยีสมัยใหม ฉันคิดวาการศึกษาที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีคืออนาคต สิ่งที่เรายังไมไดพูดถึงในขณะนี้คือการศึกษาของชุมชนทองถิ่นที่จะทําใหพวกเขาสามารถยึดมั่นในอนาคตของภูมิภาคนี้ดวยตนเองและไมจําเปนตองไปหางานทําเปนลูกจางในภาคบริการ พวกเขาสามารถเปนผูจัดการและนักการศึกษาและผูมีวิชาชีพในขั้นสูงขึ้นไปผู ซ่ึงสามารถนําพาสุโขทัยไปสูอนาคตได educators and more upper division level professionals who

can take Sukhothai into the future.

Page 48: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 46

TorbjørnEggen:

x Start at a small level. FAD Representative:

x On land title deeds: the area is divided into 2 main parts: within the ancient wall and outside the wall. Inside is a strict conservation zone that includes laws on land title deeds. Inside the wall it is not right to issue deeds, but the land can still be occupied and used by locals. Outside the ancient wall, land deeds can be issued on a case-by-case basis. The deeds could result in land changing hands in a speculative way, which could endanger the world heritage. The fence needs to be there to control visitors and those who might enter without paying. The park has exceptions for locals and students who can enter without paying. Before this fence existed there was a shrub fence but it was damaged often and cut through. Also tourists sometimes sneak in without paying. For the fee it will be gathered for the fund to protect heritage sites all over the country.

ทอบเบ็น เอคเคน

x เร่ิมตนจากระดับเล็กกอน

ตัวแทนจากกรมศิลปากร x ในสวนของโฉนดแสดงกรรมสิทธิ์ครอบครองที่ดิน พื้นที่นี้แบง

ออกเปนสองสวนหลัก ภายในเขตกําแพงและนอกเขตกาํแพงเมืองเกา ภายในคือพื้นที่อนุรักษเขมขนที่ซึ่งรวมไปถึงกฎหมายเกี่ยวกับเอกสารสิทธิที่ดินดวย ภายในเขตกําแพงไมใชเรื่องถูกตองที่จะออกเอกสารสิทธิแตที่ดินยังสามารถถูกครอบครองและใชประโยชนโดยคนทองถิ่นได ภายนอกเขตกําแพงเมืองเกาสามารถออกโฉนดที่ดินไดโดยพิจารณาเปนกรณีไป โฉนดที่ดินอาจสงผลใหเกิดการเปลี่ยนมือผูครอบครองในลักษณะการเก็งกําไรที่ดินซ่ึงอาจกอใหเกิดอันตรายกับมรดกโลก สวนเรื่องรั้วจําเปนตองมีเพื่อควบคุมนักทองเที่ยวผูที่อาจเขามาและไมจายเงินคาธรรมเนียม อุทยานประวัติศาสตรมีการยกเวนใหคนทองถิ่นและนักเรียนนักศึกษาเขาชมไดไมเสียคาใชจาย กอนหนาที่จะมีรั้วตาขายเหล็กก็เคยมีรั้วพุมไมซ่ึงไดรับความเสียหายจากการทําลายตัดเปนชองทะลุอยูบอยครั้ง และบางครั้งนักทองเที่ยวก็แอบเขาไปโดยไมเสียเงิน เงินคาธรรมเนียมจะถูกรวบรวมเพื่อเปนกองทุนใหกับการอนุรักษแหลงมรดกวัฒนธรรมทั่วประเทศ

Page 49: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 47

Intermission Presentation

Punto Wijayanto, Borobudur: Saujana Heritage

Java, Indonesia

x Location

x History

x Today: major tourist destination o Divided into 3 zones, each zone managed by different

entity

x 1997: economic crisis

x Proposal to make a super mall art market to gather vendors

x Refused by community, demonstrations o This situation provided momentum on how to take

care of Borobudur as world heritage

x Land use changing

x Borobudur cultural landscape – part of the landscape with integrated community activities o The role of citizens’ organizations, ie OVOP: One

Village One Production – encourage local industries by local initiatives

o Village Tour in Borobudur o Borobudur Field School

o Workshop inviting students to work with local

communities – learn from communities’ voices o Community mapping

การนําเสนอหลังชวงพักคร่ึงการเสวนา

พุนโต วิจายันโต, มรดกโลกโบโรบุดูร (บุโรพุทโธ) เสาจานา

เกาะชวา อินโดนีเซีย x ที่ตั้ง x ประวัติศาสตร x วันนี้ เปนสถานที่ทองเท่ียวหลัก o แบงเปนสามพื้นที่ แตละพื้นที่มีการจัดการโดยหนวยงานที่

แตกตางกัน

x ในป 1997 ประสบวิกฤตเศรษฐกิจ

x มีขอเสนอใหทําหางรานขนาดใหญเปนตลาดขายงานศิลปะ เพื่อรวมกลุมผูคาแผงลอยเขาดวยกัน

x ชุมชนปฏิเสธขอเสนอดังกลาวและเกิดการประทวง o สถานการณดังกลาวไดทําใหเกิดกระแสการถวงดุลวาจะทํา

อยางไรดีเพื่อดูแลรักษาโบโรบุดูรในฐานะมรดกโลก

x เกิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

x ภูมิทัศนวัฒนธรรมโบโรบุดูร เปนสวนหนึ่งของภูมิทัศนที่ผสมผสานกิจกรรมของชุมชนเขาดวยกัน o บทบาทขององคกรภาคประชาชน เชน หนึ่งหมูบานหนึ่ง

ผลิตภัณฑ เพื่อกระตุนสงเสริมอุตสาหกรรมทองถิ่นดวยการริเริ่มของคนทองถิ่นเอง

o การนําเที่ยวหมูบานในโบโรบุดูร o จัดใหมีโรงเรียนกิจกรรมภาคสนามโบโรบุดูรเพื่อการเรียนรูดาน

การจัดการมรดกวัฒนธรรม o จัดใหมีการฝกปฏิบัติการโดยเชิญนักศึกษามารวมทํางานกับ

ชุมชนทองถิ่น เรียนรูจากคําบอกเลาและเสียงของชาวบาน o การทําแผนที่ชุมชน

Page 50: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 48

SECOND ROUNDTABLE

Sue Millar:

x In the UK people are cynical about community empowerment. Consultation gets more and more formulaic and there’s never any feedback to the community. Community development strategies. Policies. For interpretation and creative learning. Every time the earlier group was trying to talking about physical structures, interpretation wouldn’t go away. Explore what we mean by community development. Who prepares the strategy, to what extent to communities themselves prepare the strategy, is it a real partnership? Creative learning – about craft skills. Artistic skills – the issue in this area – learning skills learning styles. Here the promotion is all about WH sites. There are no people in these promotions. If there are, they are on a bike. Creative activity based tourism and creative tourism here is enormous and the potential is huge. How do you empower that potential, and do we want to empower it? What happens to monuments when activities become equally important?

Agnieshka Kiera:

x How do we deliver the desired outcomes that we have been discussing for two days, how do we turn our ideas into outcomes on the ground? Creativity is about problem solving. We admire heritage cities because they involved individual acts of creativity – they were crafted; there was an art of city building. The rest of how the city evolved was up to individual people. There were frameworks of rules, and individual people were able to creatively build cities according to their individual rules and aspirations. We lost this due to globalization. How do we deliver these wonderful ideas to the ground? We rely on law and bureaucracy in Australia. Decentralization. Local governments deal with planning controls. There are planning rules that everyone must comply with and bureaucracy is there to tick the boxes. Planning frameworks are there for making things happen and creativity within it. People like basic rules because they provide certainty and consistency so that people can calculate their risks. There are good things but the bad thing is that is can stifle the community. We all understand good governance differently.

เสวนาโตะกลมรอบท่ี 2

ซู มิลลาร x ในประเทศอังกฤษ ผูคนจะคิดถึงแตประโยชนสวนตนเปนที่ตั้งกันมาก

ในประเด็นการเพิ่มอํานาจและความเขมแข็งในชุมชน สวนพวกที่ปรึกษาการพัฒนามืออาชีพก็ทํางานแบบใชสูตรสําเร็จมากขึ้นทุกทีและไมเคยมีผลตอบรับกลับมาสูชุมชน ยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน และนโยบายตาง ๆ เพื่อการสื่อความหมายคุณคาและการเรียนรูเชิงสรา งสรรค ทุกครั้ งที่ กลุ มแรกกํ าลั งพยายามพูดถึ งประ เด็นสภาพแวดลอมกายภาพ พบวามักตองวนกลับมาสูประเด็นเรื่องการสื่อความหมายคุณคา ลองคนดูวาเราหมายถึงอะไรเมื่อเอยคําวาการพัฒนาชุมชน ใครกันเปนผูเตรียมวางยุทธศาสตร และตัวชุมชนทั้งหลายเองไดมีสวนเกี่ยวของในการเตรียมวางยุทธศาสตรเหลานั้นสักเทาใด ในรูปแบบที่เปนการทํางานแบบมีสวนรวมจริงหรือไม การเรียนรูเชิงสรางสรรคเกี่ยวกับทักษะฝมือดานงานหัตถกรรมและทักษะทางงานชางฝมือศิลปะที่เปนประเด็นที่เกี่ยวของกับพื้นที่แหงนี้คือรูปแบบการเรียนรูและทักษะในการเรียนรู ซ่ึงที่นี่สงเสริมการทองเที่ยวแตเฉพาะที่เกี่ยวของกับมรดกโลกในขณะที่ไมมีชีวิตผูคนอยูในบรรดาสิ่งที่สงเสริมเหลานั้นเลย หรือถามีก็เกี่ยวของกับเรื่องจักรยาน กิจกรรมทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและการทองเที่ยวสรางสรรคที่นี่ใหญโตมากและมีศักยภาพมหาศาล คุณจะเพิ่มอํานาจและความเขมแข็งในศักยภาพนี้อยางไรและเราอยากจะสงเสริมมันหรือไม จะเกิดอะไรขึ้นกับแหลงโบราณสถานเมื่อกิจกรรมของมนุษยไดรับการสงเสริมใหมีความสําคัญในระดับเทาเทียมกัน

แอกนิชกา เคียรา

x เราจะทําใหเกิดผลลัพธอยางที่ตองการไดอยางไรคือสิ่งที่เราพูดคุยกันมาเปนเวลากวาสองวัน เราจะเปลี่ยนขอคิดมากมายใหกลายเปนจริงขึ้นมาไดอยางไร ความสรางสรรคของพื้นที่คือการแกปญหาที่มีอยู เราชื่นชมเมืองมรดกโลกเพราะวามันรวมเอาการกระทําสรางสรรคตาง ๆ ของผูคนที่ถูกขัดเกลามาแลวรวมกลายเปนศิลปะของการสรางเมือง ที่เหลือวาเมืองจะวิวัฒนตอไปอยางไรก็ขึ้นอยูกับผูคน เมืองมีกฎเกณฑและกรอบระเบียบอยู และแตละคนสามารถสรางสรรคเมืองของตนเองตามกฎเกณฑและความตองการสวนตัวดวยเชนกัน เราสูญเสียสิ่งพิเศษเหลานี้ไปใหแกโลกาภิวัฒน เราจะทําอยางไรใหขอคิดที่วิเศษเหลานี้เปนจริงได ในออสเตรเลียเรายึดถือกฎหมายและระเบียบราชการ การกระจายอํานาจ รัฐบาลทองถิ่นจัดการกับการควบคุมการวางแผน มีระเบียบการผังเมืองที่ซ่ึงทุกคนตองปฏิบัติตามและระเบียบราชการใหตรวจสอบโดยรอบคอบ กรอบแนวทางผังเมืองคือสิ่งที่สรางทุกอยางใหเกิดขึ้นและมีความสรางสรรครวมอยูดวยได ผูคนชอบกฎเกณฑที่เรียบงายเพราะวามันทําใหรูสึกถึงความแนนอนและสม่ําเสมอโดยที่เขาสามารถคํานวณความเสี่ยงไดเอง มันมีทั้งสิ่งดีและสิ่งไมดีก็คือมันสามารถไปจํากัดสิทธิชุมชน ซ่ึงเราทุกคนมีความเขาใจเกี่ยวกับธรรมาภิบาลในวิธีที่แตกตางกันออกไป

Page 51: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 49

MichèlePrats:

x We are at a world heritage site. National scale French heritage organization. Special way and structure for managing a site. Involve all stakeholders.

Sue Millar:

x We have some models. Let’s come back here to Thailand to Sukhothai to the world heritage site here. How do you think a community development strategy could work in this context?

Celia MartínezYáñez:

x Do you think we can apply the community concept to very big cities?

Lyn Leader-Elliott:

x Community development includes economic development cultural development. Community development is much wider than planning and consultation.

AjaanPotjana:

x For the sense of place, a sense of feeling a part of world heritage – we need to encourage and empower the local communities to be a part of it. We have to start with the potential of our communities. In the heritage site we cannot separate communities, we have to connect them. We have to engage and involve people in the process of development so that they feel they have a part in the area. The area is separated into zones and the feel like the “others.” We need to give them the experience of the place so that they don’t feel like “others.” If they have the opportunity to participate in the site and present their ways of living, their festivals, their stories, they will also feel like they are a part of the site. They are a part of the continuity of the local history and they are excited to present what they have. We have to link the information in the park and the information that exists already and integrate it together. They should be able to do activities and have creative experiences in the site in order for inclusion and a sense of shared ownership to be possible. Connect and network across communities. The organic farm is a good example with effective interpretation that people appreciate. How can we transfer this process to not just envision the area to make it happen?

มิเชล แพรท

x เรากําลังอยูที่แหลงมรดกโลก ในระดับชาติของฝรั่งเศสมีองคกรดานมรดกวัฒนธรรม จัดใหมีวิธีการและโครงสรางการจัดการแบบพิเศษเพื่อจัดการกับแหลงมรดก ซ่ึงตองรวมผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมดเขาดวยกัน

ซู มิลลาร x เรามีบางตัวอยางของรูปแบบการจัดการในตางประเทศ กลับมาพูดถึง

ประเทศไทยและสุโขทัยที่เปนมรดกโลกกันบาง คุณคิดเห็นอยางไรวายุทธศาสตรการพัฒนาชุมชนจะสามารถทํางานในบริบทแบบที่เปนอยูนี้ได

ซีเลีย มารติเนซ ยาเนซ

x คุณคิดวาเราสามารถประยุกตแนวคิดเกี่ยวกับชุมชนมาใชกับเมืองขนาดใหญไดอยางนั้นหรือ

ลิน ลีดเดอร เอลเลียต

x การพัฒนาชุมชนรวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชน การพัฒนาชุมชนเปนมากกวาแคการวางแผนและใหคําปรึกษา

พจนา

x ในประเด็นจิตวิญญาณของพื้นที่ ความรูสึกและการรับรูวาเปนสวนหนึ่งของมรดกโลกนั้นเราจําเปนตองกระตุนสงเสริมและเพิ่มอํานาจความเขมแข็งใหกับชุมชนทองถิ่นเขารวมเปนสวนหนึ่งใหได เราตองเร่ิมตนที่ศักยภาพของชุมชนเราเอง ในแหลงมรดกโลกเราไมสามารถแยกชุมชนออกจากพื้นที่ได เราตองเชื่อมโยงทั้งสองสิ่งใหได เราตองสงเสริมและนําผูคนเขามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาเพื่อใหพวกเขารูสึกวาเปนสวนหนึ่งของพื้นที่ พื้นที่แหงนี้ถูกแบงแยกออกเปนสวน ๆ และทําใหพวกเขารูสึกเหมือนกับเปน “คนอื่น” เราจําเปนตองสรางประสบการณรวมบนพื้นที่แหงนี้ใหกับพวกเขาเพื่อไมใหพวกเขารูสึกเหมือนเปนคนอื่น ถาพวกเขามีโอกาสไดเขามีสวนรวมในการจัดการพื้นที่และสามารถนําเสนอรูปแบบการดําเนินชีวิตของตนเอง ตลอดจนงานเทศกาลระดับชุมชน ตํานานเรื่องเลาของชาวบาน พวกเขาก็จะรูสึกวาตนเองเปนสวนหนึ่งของพื้นที่ พวกเขาลวนมีคุณคาเปนสวนหนึ่งของความตอเนื่องในประวัติศาสตรทองถิ่นและพวกเขายอมตื่นเตนดีใจที่ไดนําเสนอในสิ่งที่พวกเขาเปนและมีอยู เราตองเชื่อมโยงขอมูลในอุทยานประวัติศาสตรและขอมูลที่มีอยูตามสภาพปจจุบันที่เปนจริงของพื้นที่แลวผสมผสานเขาดวยกัน พวกเขาควรที่จะสามารถทํากิจกรรมตาง ๆ และมีประสบการณเชิ งสรางสรรคบนพื้นที่แหงนี้เพื่อใหรูสึกวาเปนสวนหนึ่งและไดแบงปนความเปนเจาของพื้นที่ ตองเชื่อมตอและสรางเครือขายระหวางชุมชนตาง ๆ เขาดวยกัน การทําไรนาสวนเกษตรอินทรียเปนตัวอยางหนึ่งที่ดีซ่ึงสื่อความหมายคุณคาของพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพในส่ิงที่ผูคนชื่นชมยอมรับ เราจะสามารถถายทอดกระบวนการเชนนี้ไปสูสิ่งที่ไมใชเพียงสรางวิสัยทัศนแตทําใหเกิดขึ้นจริงไดอยางไร

Page 52: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 50

Maria Gravari-Barbas:

x We are speaking about community and community is at the very center of all of these processes. But we are also speaking about WH sites and this complicates things much more. It is not just about community. If we forget tourists in this relationship we are missing something really important. The main idea for me is not only to think about community, but to think about how community can meet with this huge population of tourists. We should not forget that in most WH sites tourists are not only the consumers but also the producers – the social coproduction of heritage. Let’s think about how these communities can meet the world.

Russell Staiff:

x I find the word interpretation highly problematic. Heritage places announce themselves to the world – we’re in a dialogic relationship as community or as tourists – and its about a co-creation of meaning, not just about someone deciding meaning and transmitting it. It’s a process called world-making and many different people are a part of it. Heritage places are storytelling places and there are obligations around that. Whose stories? Who is telling the stories? Who is listening? All storytelling and all dialogues that occur within heritage places have a validity whether they are about art historical background or they are about families enjoying the place together with friends.

Randy Durband:

x I think we can expand the concept of museums to mini museums. A mini museum might be 2 shelves in a guesthouse and it is very tied to storytelling. The process of creating this is a process of local people creating and exploring their own heritage. Spread this idea. It can be done at the community level – small, not professionally curated museums in communities. Think small, think many.

Jaturong:

x Local people want more examples of implementation and action strategies.

มาเรีย กราวารี บาบาส

x เรากําลังพูดถึงชุมชน และชุมชนคือศูนยกลางที่สุดของกระบวนการทั้งหมดทุกสิ่ง แตเราก็กําลังพูดถึงแหลงมรดกโลกที่ซ่ึงทําใหเกิดความซับซอนขึ้นในหลายสิ่งอยางมากมาย นี่จึงไมใชแคเรื่องชุมชน ถาเราลืมกลุมนักทองเที่ยวในความสัมพันธอันซับซอนนี้เทากับเรากําลังพลาดบางสิ่งที่มีความสําคัญมาก ขอคิดหลักสําหรับฉันคือไมเพียงแตตองคิดเรื่องชุมชนแตตองคิดวาจะทําอยางไรใหชุมชนสามารถเผชิญกับจํานวนมหาศาลของประชากรนักทองเที่ยวได เราไมควรลืมวาในแหลงมรดกโลกสวนใหญนักทองเที่ยวไมเพียงแตเปนผูบริโภคแตยังเปนผูผลิตและสืบตอความสําคัญของพื้นที่ดวย นับเปนกระบวนการผลิตรวมกันทางสังคมของมรดกวัฒนธรรม เรามาลองคิดดูวาชุมชนเหลานี้จะพรอมเผชิญหนากับโลกทั้งใบไดอยางไร

รัสเซล สเตฟฟ x ผมเห็นวานิยามของการสื่อความหมายคุณคานั้นเปนปญหาอยูมาก

ทีเดียว แหลงมรดกวัฒนธรรมประกาศตนเองสูโลกทั้งใบ ทําใหเราอยูในความสัมพันธเชิงคําพูดถกเถียงกันในฐานะชุมชนหรือในฐานะนักทองเที่ยว และสิ่งที่เรียกวาเปนการรวมกันสรรคสรางความหมายใหเกิดขึ้นไมใชแคเพียงวาใครบางคนเทานั้นที่ตัดสินใจใหความหมายอยางใดอยางหนึ่งและถายทอดมันออกไป สิ่งนี้เรียกวากระบวนการสรางโลกทัศนและผูคนมากมายหลายกลุมตางเปนสวนหนึ่งของกระบวนการนี้ แหลงมรดกวัฒนธรรมคือสถานที่ซ่ึงเปนเรื่องเลาและจึงมีสิ่งที่เปนภาระผูกพันอยูโดยรอบเรื่องเลานั้น ไดแก เปนเรื่องเลาของใคร ใครเปนคนเลาเรื่อง ใครเปนคนฟง เรื่องเลาทั้งหมดและบทสนทนาพูดคุยตอบโตกันทั้งปวงที่เกิดขึ้นในแหลงมรดกวัฒนธรรมมีความนาเชื่อถือซ่ึงเปนพื้นฐานใหกับประวัติศาสตรศิลปะของพื้นที่หรืออาจเกี่ยวของกับเรื่องราวครอบครัวทั้งหลายมารวมหมูกันใชชีวิตอยางมีความสุขรวมกันฉันทมิตร

แรนดี้ เดอรบัน

x ผมคิดวาเราสามารถขยายแนวคิดเกี่ยวกับพิพิธภัณฑแบบทั่วไปใหกลายเปนพิพิธภัณฑขนาดเล็กยอยหลายแหง ซ่ึงอาจเปนแคชั้นแสดงของสองชั้นวางอยูในเกสตเฮาสและมีสิ่งที่ผูกพันอยูกับเรื่องเลาอยางแทจริง กระบวนการสรางสรรคสิ่งนี้คือกระบวนการที่ชาวบานทองถิ่นสรางสรรคและคนหามรดกที่เปนตัวตนของตนเอง ขยายขอคิดเชนนี้ออกไป และทําใหเกิดขึ้นไดในระดับทองถิ่น ขนาดเล็ก ๆ และไมตองถึงกับเปนพิพิธภัณฑที่มีระบบผูดูแลจัดการอยางมืออาชีพ คิดใหเล็กแตคิดใหมากและหลากหลาย

จาตุรงค x มีการแสดงความเห็นจากผูฟงที่เปนชาวบานทองถิ่นวาตองการ

ตัวอยางเพิ่มเติมของการนําแนวคิดไปปฏิบัติและยุทธศาสตรเพื่อการลงมือทําใหเกิดขึ้นไดจริง

Page 53: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 51

Lyn Leader-Elliott:

x Vigan – community consultation and community education. The process of making people proud of the place. It took 25 years to bring locals into management and interpretation and to make them feel a part of the site.

Agnieshka Kiera:

x I understand that surrounding communities haven’t taken ownership of the site. They may have even been relocated. Community facilitating tourism through homestays. Someone has to help the community to do so – like an enlightened local authority.

AjaanPotjana:

x There are examples from the local community near Wat Phra Prang. People wanted to initiate the museum. People working together can create the workshop near the pottery site. Need to link the young generation to the heritage site.

Ivan Mandy:

x Vigan is a colonial city north of Manila. In Vigan, the conservation of the colonial town was implemented by the private sector. The listing came from the private sector. Now in Vigan, things are done by the local communities and there is government support. The local communities try to pressure the local government to do the things they should do.

Ahmed Al-Jowder:

x There is rural to urban migration but people still have connection to their home places and sometimes they decide to return. Gulf countries have municipal councils that are elected by the people.

Suzanne Bott:

x I want to introduce the concept of play. On the pottery tour we had clay and the thought comes to mind, one evening a week, with all of the cultural knowledge in Sukothai, to set up an evening for play. Clay, arts and painting, have an elder talk about Sukothai as a royal kingdom, do a dance demonstration, talk about the lotus flower, what is the importance of it, what is the connection to the temple design and why is it so important to Thai culture? This concept of play.

ลิน ลีดเดอร เอลเลียต

x เมืองมรดกโลกวิกันมีการใหคําปรึกษาและการศึกษาเรียนรูในระดับกลุมชุมชน กระบวนการทําใหผูคนภาคภูมิใจกับพื้นที่นั้นใชเวลาถึงยี่สิบหาปในการนําคนทองถิ่นมาสูการจัดการและการสื่อความหมายคุณคาและทําใหพวกเขารูสึกวาเปนสวนหนึ่งของพื้นที่

แอกนิชกา เคียรา

x ฉันเขาใจวาชุมชนตาง ๆ ที่อยูรอบบริเวณไมไดรับสิทธิความเปนเจาของบนพื้นที่ พวกเขาอาจถูกโยกยายที่อยูอาศัยมาอีกดวย ชุมชนอํานวยความสะดวกใหกับการทองเท่ียวผานธุรกิจโฮมสเตย ควรมีใครบางคน ชวยใหชุมชนทําสิ่งนั้นใหดีได เชน หนวยงานทองถิ่นที่เห็นความสําคัญในเรื่องนี้อยางแทจริง

พจนา

x มีบางตัวอยางที่พบในชุมชนทองถิ่นใกลวัดพระปรางค ผูคนที่นั่นตองการริเริ่มใหมีพิพิภัณฑชุมชน คนที่ทํางานรวมกันอยูในจุดนี้สามารถสรางสรรคการฝกปฏิบัติการใกลพื้นที่แหลงทําเครื่องเคลือบดินเผาได จําเปนตองเชื่อมโยงเยาวชนรุนใหมเขากับพื้นที่มรดกวัฒนธรรม

ไอวาน แมน ดี x วิกันเปนเมืองในยุคอาณานิคมอยูทางตอนเหนือของกรุงมะนิลา ใน

กรณีวิกัน การอนุรักษเมืองอาณานิคมแหงนี้ถูกนํามาลงมือปฏิบัติโดยภาคเอกชน การขึ้นทะเบียนอาคารนั้นมาจากภาคเอกชน ปจจุบันนี้ในวิกันมีหลายสิ่งที่ดําเนินงานโดยชุมชนทองถิ่นตาง ๆ เองและมีรัฐบาลเปนผูใหการสนับสนุน ชุมชนทองถิ่นทั้งหลายพยายามกดดันใหรัฐบาลทองถิ่นทําในหลายสิ่งที่ควรตองทํา

อัคเหม็ด อัล จาวเดอร x พบวามีการโยกยายถิ่นจากชนบทสูเมือง แตวาผูคนยังคงมีความ

เช่ือมโยงผูกพันอยูกับบานเกิดของตนเอง และบางครั้งก็ตัดสินใจหวนกลับคืนสูถิ่นเกา ในกลุมประเทศอาหรับที่มั่งค่ังแถบอาวเปอรเซียมีสภาทองถิ่นที่ถูกเลือกตั้งขึ้นโดยประชาชนทองถิ่น

ซูซาน บอทท x ฉันตองการนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเลนสนุก ในระหวางการทัวร

ชมงานเครื่องเคลือบดินเผาเมื่อเราไดสัมผัสดินเหนียวและมีความคิดบางอยางเริ่มขึ้นมา คือหนึ่งวันในหนึ่งสัปดาหนาจะมีการนําความรูทางวัฒนธรรมทั้งหมดในสุโขทัยมาจัดแสดงการละเลนในยามเย็น เชน ดินเหนียวกับศิลปะแขนงตาง ๆ และงานเขียนภาพระบายสี มีผูเฒาผูใหญมาบอกเลาเกี่ยวกับสุโขทัยและประวัติศาสตรในยุคสมัยอาณาจักร มีการสาธิตการรองเลนเตนระบํา มีการพูดคุยเกี่ยวกับดอกบัวและพรรณไม สิ่งที่สําคัญคืออะไรเปนสิ่งที่เชื่อมโยงผูกพันผูคนกับวัดโบราณและงานออกแบบและทําไมมันจึงมีความสําคัญกับวัฒนธรรมไทยในปจจุบัน เหลานี้คือแนวคิดที่นาจะนํามาทําใหเกิดการเลนสนุก

Page 54: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 52

Sue Millar:

x When I arrived at Sukhothai it looked like a Lego set. A learning center with Lego sets for children to build up activities.

Celia MartínezYáñez:

x I am worried that we as experts are doing everything for communities without communities. What is the concept of heritage for communities? We don’t know about this concept.

Punto Wijayanto:

x Information – the communities need information in order to be involved in the process.

Ivan Mandy:

x You can reassess the values of the world heritage listing and explain it in layman’s terms to the community. Knowing is different from understanding.

Lyn Leader-Elliott:

x Because few foreigners speak Thai, they depend on guides to help them connect with place. Tourists are visitors who want to learn about this very special place. How can they do that if they don’t have the language? Training for guides is crucial. With community authored material.

Sue Millar:

x No one quite knows what one means by interpretation. What is the role of the tourist? You can’t go straight into tour guiding. Once you have awareness training; awareness is always about cocreation. Teenagers learn about themselves by having fights with each other. Nothing with community development is a quick fix.

Local Comment:

x Sukothai is a world heritage but I am a community member and I know nothing about it. I don’t know what I can get from this world heritage. What can I get from it?

Local Comment:

x What will be a future direction from DASTA after this meeting and all of these discussions?

Closing Remarks: Dr. Yongtanit

ซู มิลลาร x เมื่อแรกมาถึงสุโขทัยที่นี่ดู เหมือนชุดตัวตอเลโกสําหรับพัฒนา

จินตนาการเด็ก ศูนยการเรียนรูที่มีการสรางสรรคชุดตัวตอเหลานี้ขึ้นสําหรับเด็กเพื่อเรียนรูนาจะสรางกิจกรรมที่นาสนใจขึ้นได

ซีเลีย มารติเนซ ยาเนซ

x ฉันเปนกังวลวาเราในฐานะผูเชี่ยวชาญกําลังทําทุกสิ่งเพื่อชุมชนโดยปราศจากชุมชน อะไรคือแนวคิดเรื่องมรดกวัฒนธรรมสําหรับชุมชน เรายังไมรูอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้

พุนโต วิจายันโต

x ขอมูลเปนสิ่งสําคัญ ชุมชนทั้งหลายจําเปนตองรับรูขอมูลเพื่อใหพวกเขาสามารถเขามามีสวนรวมในกระบวนการได

ไอวาน แมน ดี x คุณสามารถทําการประเมินคุณคาสิ่งที่อยูในรายชื่อบัญชีมรดกโลก

เสียใหม และอธิบายเกี่ยวกับมันดวยคําบอกเลาอธิบายแบบชาวบานเพื่อสื่อสารกับชุมชน การไดรูมีความแตกตางกับการไดทําความเขาใจ

ลิน ลีดเดอร เอลเลียต

x เพราะวามีชาวตางชาติเพียงไมกี่คนพูดภาษาไทยได พวกเขาจึงพึ่งพาไกดนํา เที่ ยว เพื่อชวยใหพวกเขาเชื่อมโยงสื่อสารกับพื้นที่ ได นักทองเที่ยวคือแขกผูมาเยือนซ่ึงตองการเรียนรูเกี่ยวกับสถานที่พิเศษมากแหงนี้ พวกเขาจะสามารถทําความเขาใจมันดวยตนเองอยางไรโดยไมตองพึ่งเร่ืองการใชภาษา การฝกฝนอบรมเกี่ยวกับการนําเที่ยวจึงเปนเรื่องสําคัญมาก โดยใชเครื่องมือสื่อสารที่ชุมชนเปนผูจัดทํามีเนื้อหาวิธีการเลาเรื่องที่แตงและเรียบเรียงขึ้นมาเอง

ซู มิลลาร x ไมมีใครรูจริงแนวาสิ่งที่ตองการส่ือถึงของพื้นที่นี้คืออะไร บทบาทของ

นักทองเที่ยวในที่นี้คืออะไร คุณไมสามารถเดินตรงดิ่งไปยังประเด็นเร่ืองการฝกฝนอบรมการนําเที่ยวในทันทีเลยได แตควรไดมีการฝกฝนอบรมดานการตระหนักรูในคุณคาและผลกระทบเสียกอนก็นาจะเปนหนทางสูการรวมกันสรางสรรคบางสิ่งไดเสมอ กลุมเยาวชนคนวัยรุนควรไดเรียนรูเกี่ยวกับตนเองโดยการตอสูกันทั้งถกเถียงทางความคิดและการลงมือทํา ไมมีอะไรเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนที่จะแก ไขไดอยางรวดเร็วทันใจ

คําถาม

x สุโขทัยเปนมรดกโลก แตฉันเปนสมาชิกคนหนึ่งในชุมชนนี้และฉันไมรูอะไรเกี่ยวกับสิ่งนี้เลย ฉันไมรูวาฉันจะสามารถไดอะไรจากการที่พื้นที่นี้เปนมรดกโลก ฉันจะไดประโยชนอะไรขึ้นมาจากสิ่งนี้

คําถาม

x ทิศทางในอนาคตของ อพท. คืออะไร หลังจากการประชุมและพูดคุยถกเถียงกันแลวทั้งหมดในครั้งนี้

กลาวปดการประชุมโดย ดร.ยงธนิศร พิมลเสถียร

Page 55: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

3. รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติ ดานการทองเที่ยววัฒนธรรมสุโขทัย ประจําป 2556 ไอซีทีซี 2013

ICTC Sukhothai 2013 Report

Page 56: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 53

3. รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการผูเชี่ยวชาญนานาชาติฯ

ICTC Sukhothai 2013 Report

PRESIDENT’S INTRODUCTORY REMARKS

As one of ICOMOS Scientific Committees the International Cultural Tourism Committee (ICTC) was invited by ICOMOS Thailand, Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University (APTU) Thailand; and the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (DASTA) to participate in a research project to promote the creative economy and to take part in fieldwork in Sukhothai, Thailand, October 7-11, 2013 on the theme Living Heritage: Creative Tourism and Sustainable Communities. We were delighted to accept the invitation: the theme complements our committee’s new strategic direction. ICOMOS ICTC is a global network of distinguished cultural tourism, conservation and heritage management experts dedicated to developing sustainable tourism principles and practice, placing culture and creativity at the centre of sustainable development. Our International Scientific Committee’s research agenda is increasingly significant as cultural heritage expands in scope and popularity embracing the way of life of the people in the historic places tourists visit. Cultural heritage is now main-stream tourism activity. Once the infrastructure is organised World Heritage sites become icons for mass tourism. Paradoxically, greater interest has led to greater investment and improvements in site management; but worldwide the protection and conservation of cultural heritage in general has become increasingly problematic. Sustainable tourism is frequently an aspiration rather than a reality for heritage destinations. ICOMOS ICTC members arrived in Sukhothai at a critical moment. Located in Northern Thailand at the cross roads of Myanmar, China Lao and Cambodia prospects for increased tourist flows are immense. Thailand has adopted creative tourism as a tool for sustainable community development. Creative tourism is celebrated as a new way to travel. DASTA has followed UNESCO’s lead in encouraging learning from direct experiences such as participating in activities and interacting with local people. One first highlighted in the ICOMOS International Cultural Tourism Charter. Yet policy planning for the sustainable development and the integration of cultural heritage education, interpretation and management processes is currently non-existent. For the present tourist numbers are limited by poor communications. There are no major transport links although a high speed train is planned.

คํากลาวนําโดยประธานไอทีซีที ในฐานะที่เปนหนึ่งในคณะกรรมการฝายวิชาการของอิโคโมส ไอซีทีซี หรือคณะกรรมการสากลดานการทองเที่ยววัฒนธรรม ไดรับเชิญจากสมาคมอิโ ค โ ม ส ไ ท ย ค ณ ะ ส ถ า ป ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร แ ล ะ ก า ร ผั ง เ มื อ ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (สถ.มธ.) และองคการบริหารการพัฒนาพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (อพท.) เพื่อเขารวมในโครงการวิจัยเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคและลงพื้นที่ปฏิบัติงานในจังหวัดสุโขทัย ประเทศไทย ในวันที่ 7-11 ตุลาคม 2556 ภายใตหัวเรื่องแนวคิด มรดกที่มีชีวิต การทองเที่ยวสรางสรรคและชุมชนยั่งยืน เรามีความยินดีที่ไดตอบรับคําเชิญ ซ่ึงหัวเรื่องแนวคิดมีสวนสงเสริมไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตรแนวใหมของคณะกรรมการชุดนี้ อิโคโมสไอซีทีซีเปนเครือขายการทํางานระดับโลกที่เกี่ยวของโดยเฉพาะอยางยิ่งกับผูเชี่ยวชาญดานการทองเที่ยววัฒนธรรม การอนุรักษและการจัดการมรดกวัฒนธรรม ที่ทุมเทใหกับการพัฒนาหลักการและวิธีปฏิบัติเพื่อนําไปสูการทองเที่ยวยั่งยืน โดยวางวัฒนธรรมและความสรางสรรคไวที่ใจกลางของการพัฒนาอยางยั่งยืน แนวทางการวิจัยของคณะกรรมการฝายวิชาการสากลของเรามีนัยสําคัญเพิ่มมากขึ้นในขณะนี้เปนเพราะมรดกวัฒนธรรมไดขยายขอบเขตการรับรูและความนิยมโดยทั่วไปที่รวมเอาวิถีการดํารงชีวิตของผูคนเขาไวในการทองเที่ยวบนแหลงประวัติศาสตรดวย มรดกวัฒนธรรมในขณะนี้กลายเปนกิจกรรมทองเท่ียวแนวหลักไปแลว เมื่อไดรับการจัดการดานโครงสรางพื้นฐานที่ดีก็ทําใหแหลงมรดกโลกกลายเปนที่หมายหลักของการทองเที่ยวเนนปริมาณไปในทันที พบวามีความขัดแยงกันอยูในที โดยผลประโยชนที่มีมากขึ้นนํามาสูการลงทุนที่เพิ่มมากขึ้นและการปรับปรุงดานการจัดการพื้นที่ แตการปกปองและอนุรักษมรดกวัฒนธรรมโดยทั่วไปกลับมีปญหาเพิ่มมากขึ้น บอยครั้งที่การทองเท่ียวยั่งยืนจึงมักกลายเปนแคเปาหมายที่ไปไมถึงและไมเปนจริงของแหลงทองเที่ยวมรดกวัฒนธรรม สมาชิกของอิโคโมสไอซีทีซี ไดเดินทางมาถึงสุโขทัยในชวงเวลาที่สําคัญ เริ่มพบกระแสนักทองเที่ยวที่เขามาเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากทําเลที่ตั้งอยูในภาคเหนือตอนลางของประเทศไทยซ่ึงเปนจุดตัดเสนทางเชื่อมโยงระหวางประเทศเมียนมาร จีน ลาวและกัมพูชา ประเทศไทยไดรับเอาแนวทางการทองเที่ยวสรางสรรคเปนเครื่องมือหนึ่งเพื่อพัฒนาชุมชนยั่งยืน การทองเที่ยวสรางสรรคจึงไดรับการชื่นชนในบทบาทดานการเดินทางแนวใหม โดย อพท. ไดใชแนวทางเดียวกับยูเนสโกที่มุงหนาสูการกระตุนสงเสริมการเรียนรูไปพรอมกับการไดรับประสบการณตรงจากการทองเที่ยว เชน การมีสวนรวมในกิจกรรมที่มีการปฏิสัมพันธรวมกับผูคนในทองถิ่น โดยไดมีการเนนย้ํามากอนแลวในประเด็นนี้เปนครั้งแรกภายใตกฎบัตรสากลดานการทองเที่ยววัฒนธรรมของอิโคโมส แตทวาการวางแผนเชิงนโนบายเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนและการบูรณาการดานกระบวนการการศึกษา การสื่อความหมายคุณคา และการจัดการมรดกวัฒนธรรม ยังคงไมปรากฏใหเห็นในปจจุบันนี้ ทําใหจํานวนนักทองเที่ยวขณะนี้ถูกจํากัดไวดวยการสื่อสารที่ไมเขาถึงดีพอและขาดการเชื่อมตอดวยระบบการคมนาคมขนสงหลักที่ดี แมวาจะไดมีการวางแผนการสรางทางรถไฟความเร็วสูงแลวก็ตาม

Page 57: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 54

The joint Workshop in Sukhothai afforded ICTC members an opportunity to gain an insight into the challenges faced by Thai people as they seek to develop the cultural sites attached to the Sukhothai - Sri Satchanalai – Kamphaeng Phet Historical Parks. Observations and recommendations made in this report are based on one week of intensive field study working in partnership with Thai colleagues in an invigorating mix of debate, dialogue and exchange of expertise. The Workshop deliberations were underpinned by papers prepared in advance by ICTC members. These are presented in a separate publication and were discussed at the Sukhothai International Cultural Tourism Expert Symposium held during the same week. Our sincere thanks to hosts ICOMOS Thailand and Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University for their commitment to ICOMOS ICTC visiting Thailand including attracting sponsorship from DASTA and Thailand Convention and Exhibition Bureau (TCEB) and other organisations and for putting on such an interesting and stimulating programme. We extend special thanks to ICOMOS Thailand President Dr Yongtanit Pimonsathean for generously giving his time and expertise; Mr Sitisak Pathomwaree DASTA Sukhothai Site Manager for providing the context for our work; Dr Pornthum Thumvimol co-chairperson for his knowledge and enthusiasm; and finally – last but not at all least - our ICTC colleague and chairperson Dr Jaturong Pokharatsiri whose vision to involve us in this research project inspired us all. We also thank ICOMOS colleagues who participated in the Sukhothai Workshop and Symposium, especially Lyn Leader-Elliott, editor of the ICOMOS ICTC Sukhothai Workshop Report, for ensuring our scientific investigations were a resounding success and duly recorded.

Sue Millar

President, ICOMOS International Scientific Committee,

Cultural Tourism

การฝกปฏิบัติการรวมในสุโขทัยครั้งนี้ทําใหสมาชิกไอซีทีซีไดรับโอกาสในการเพิ่มพูนความรูความเขาใจในสิ่งทาทายที่คนไทยตองเผชิญอยูเพื่อแสวงหาหนทางพัฒนาแหลงมรดกวัฒนธรรมที่มีพื้นที่ติดตอกับอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัยและกําแพงเพชร การสังเกตการณและขอเสนอแนะที่จัดทําขึ้นในรายงานฉบับนี้มีพื้นฐานที่มาจากการทํางานในพื้นที่จริงอยางเขมขนเปนเวลาหนึ่งสัปดาหรวมกับเพื่อนรวมงานชาวไทยที่ไดรวมกันสรางบทสนทนา พูดคุยและถกเถียงพรอมแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันกับผูเชี่ยวชาญ การฝกปฏิบัติการในครั้งนี้ไดมีการเตรียมการมาเปนอยางดีโดยมีกลุมสมาชิกไอซีทีซีสวนหนึ่งไดรวมกันจัดทําเอกสารขอมูลลวงหนาไวใหศึกษา ซ่ึงไดรับการนําเสนอเปนเอกสารจัดพิมพแยกไวโดยเฉพาะเพื่อใชในการเสวนาระหวางการจัดการประชุมผูเชี่ยวชาญนานาชาติดานการทองเที่ยววัฒนธรรมซ่ึงจัดขึ้นภายในสัปดาหเดียวกันที่สุโขทัย เราขอขอบคุณอยางจริงใจตอกลุมเจาภาพของเราคือสมาคมอิโคโมสไทยและคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมืองมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรที่ไดจัดตั้งภารกิจชักนําใหอิโคโมสไอซีทีซีเดินทางมาเยี่ยมเยือนประเทศไทย รวมทั้งไดรับการสนับสนุนจาก อพท. และสํานักงานสงเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) และจากภาคสวนอื่น ๆ อีก ตลอดจนถึงความสามารถที่ไดสรางสรรคโครงการที่มีความนาสนใจและกิจกรรมที่กระตุนความคิดและการทํางานไดดีเชนนี้ เราขอขอบคุณเปนพิเศษไปถึงนายกสมาคมอิโคโมสไทย ดร.ยงธนิศร พิมลเสถียร สําหรับการแบงปนเวลาและความเชี่ยวชาญที่มีใหกับเรา คุณสิทธิศักดิ์ ปฐมวารี ผูจัดการพื้นที่พิเศษฯ สุโขทัย ที่ไดนําเสนอพื้นที่การทํางานแหงนี้ใหกับเรา ดร.พรธรรม ธรรมวิมล ประธานรวมการจัดงานในครั้งนี้สําหรับความรูและความทุมเท และทายที่สุดสําหรับเพื่อนรวมกลุมไอซีทีซีของเรา ดร.จาตุรงค โพคะรัตนศิริ ผูซ่ึงเปนประธานการจัดงานที่ไดใชวิสัยทัศนในการผนวกรวมกิจกรรมกลุมของเราเขาไวในโครงการวิจัยซ่ึงไดสรางแรงบันดาลใจใหพวกเราทุกคนเปนอยางมาก และเราขอขอบคุณเพื่อนสมาชิกอิโคโมสทุกทานผูซ่ึงไดเขารวมในการฝกปฏิบัติการและเปนพิเศษสําหรับ ลิน ลีดเดอร เอลเลียต ผูรับหนาที่เปนบรรณาธิการของรายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการอิโคโมสไอซีทีซีที่สุโขทัย ที่ไดรวมกันสํารวจตรวจสอบดวยความรูความสามารถทางวิชาการจนปรากฎเปนผลสําเร็จดวยดี และไดถูกบันทึกไว ณ ที่นี้

ซู มิลลาร

ประธานคณะกรรมการสากลฝายวิชาการอิโคโมส ดานการทองเทีย่ววัฒนธรรม

Page 58: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 55

Acknowledgements

ICTC WORKSHOPS REPORT: INTRODUCTION

ICOMOS International Cultural Tourism Committee (ICTC) Workshop and Sukhothai International Cultural Tourism Expert Symposium 2013 WAS held at Sukhothai, Thailand, October 7-11, 2013. This ICOMOSICTC event was co-organized by ICOMOS Thailand, Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University (APTU) Thailand; and the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (DASTA) Thailand. The ‘Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns’ were inscribed on the list of UNESCO World Heritage in 1991. An ancient kingdom, during the 13th and 14th centuries Sukhothai was located at a strategic crossroad and prospered as a centre of trade. The civilization which evolved in the Kingdom of Sukhothai rapidly absorbed numerous external influences and by incorporating them with ancient local traditions forged what is known as the 'Sukhothai style'. Its art, culture and history are linked to Bagan, Angkor, Ayutthaya and Lanna. Today Sukhothai still has historic monuments illustrating this glorious era of Thai religious art and architecture. The settlements attached to the Sukhothai - Si Satchanalai – Kamphaeng Phet Historical Parks were recently designated a special area for sustainable tourism development. Key priorities were identified as:

x ensuring the continuation and integrity of cultural values alongside - and integral to – the earliest stages of tourism development

x And an urgent need for researchers and experts to work with the local communities has been recognized.

Apart from a number of historic monuments and archaeological sites, Sukhothai also produces fine quality and prominent ceramics, goldsmith-silversmith crafts and ethnic textile works, among other living traditions and intangible heritages. Policy planning for the sustainable development and the integration of cultural heritage education, interpretation and management processes has been identified as currently non-existent.

เกริ่นนํา การประชุมเชิ งปฏิบัติการและเสวนาผู เชี่ ยวชาญนานาชาติ ของคณะกรรมการสากลดานการทองเท่ียววัฒนธรรมแหงสภาการโบราณสถานระหวางประเทศ (อิโคโมส ไอซีทีซี) ไดถูกจัดใหมีขึ้นเมื่อวันที่ 7-11 ตุลาคม 2556 ที่จังหวัดสุโขทัย ประเทศไทย กิจกรรมการจัดงานอิโคโมส ไอซีทีซี ในครั้งนี้ไดถูกจัดขึ้นโดยความรวมมือของสมาคมอิโคโมสไทย คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (สถ.มธ.) และองคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเท่ียวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) ประเทศไทย(อพท.) เมืองประวัติศาสตรสุโขทัยและเมืองบริวาร ถูกขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกยูเนสโกในป 2534 อาณาจักรโบราณแหงชวงคริสตศตวรรษที่ 13-14 แหงนี้มีที่ตั้งอยูในแหลงชุมทางที่เจริญรุงเรืองเปนศูนยกลางดานการคาขาย อารยธรรมที่ซ่ึงมีวิวัฒนาการในอาณาจักรสุโขทัยไดรับเอาอิทธิพลจากภายนอกที่หลากหลายเขามาอยางรวดเร็วและผนวกรวมเขากับอารยธรรมของตนเองจนเกิดเปนรูปแบบประเพณีทองถิ่นโบราณเฉพาะตัวดังที่เรียกกันวา “รูปแบบสุโขทัย” ที่ซ่ึงศิลปะ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร มีความเชื่อมโยงกับพุกาม นครวัด อยุธยา และลานนา สุโขทัยในวันนี้ยังคงหลงเหลือโบราณสถานและแหลงประวัติศาสตรที่ ฉายภาพยุคสมัยที่เจริญรุงเรืองดวยศิลปะและสถาปตยกรรมไทยตามศาสนาความเชื่อ ถิ่นที่อยูอาศัยซ่ึงอยูติดกับอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร ไดถูกประกาศจัดตั้งเปนพื้นที่พิเศษเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวยั่งยืนเม่ือไมนานมานี้ ประเด็นหลักที่ถูกพิจารณาใหความสําคัญ ไดแก x การสรางความแนใจวาความตอเนื่องและความดีงามของคุณคาทาง

วัฒนธรรมจะอยู เคียงขางและผสานรวมเขากับการพัฒนาการทองเที่ยวตั้งแตในขั้นเร่ิมตน

x คนหาและตระหนักถึงความจําเปนเรงดวนเพื่อใหนักวิจัยและผูเชี่ยวชาญไดทํางานรวมกับชุมชนทองถิ่น

นอกจากจํานวนโบราณสถานและแหลงประวัติศาสตรโบราณคดีทั้งหลาย สุโขทัยยังมีการผลิตงานคุณภาพดานเครื่องเคลือบดินเผาที่โดดเดน เครื่องประดับเงินและทอง และงานทอผาของกลุมชาติพันธุ ทามกลางประเพณีและมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดอีกหลายอยางที่ยังคงมีชีวิตอยู การวางแผนและนโยบายเพื่อการพัฒนาและบูรณาการมรดกวัฒนธรรมอยางยั่งยืนทั้งในดานกระบวนการเรียนรู การสื่อความหมายคุณคา และการจัดการ ถูกพบวาไมมีปรากฏใหเห็นในพื้นที่ ณ สภาพปจจุบันนี้

Page 59: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 56

Organising Committee

Members of the international event organizing committee were:

x Honorary Chairpersons Yongtanit Pimonsathean, Ph.D. (President, ICOMOS Thailand)

x Susan M. Millar (President, ICOMOS ICTC)

x Sitisak Pathomwaree (Sukhothai Site Manager, DASTA Thailand)

x Conference Chairperson Jaturong Pokharatsiri, Ph.D. (APTU and ICOMOS Thailand)

x Conference Co-chairperson Pornthum Thumvimol, Ph.D. (Fine Arts Department and ICOMOS Thailand)

Workshop Theme

Living heritage was the main theme of this ICOMOS ICTC Workshop. Papers and discussion focused on the integration of the multi-dimensional cultural values of different places and people within the designated area; and the cultural heritage knowledge, skills and learning processes required to achieve the mutually dependent goals of the successful empowerment of local people and growth of creative tourism in the context of sustainable community and cultural tourism development. Workshop, Symposium and Forum

ICOMOS ICTC cultural tourism and heritage management experts were invited, with other international delegates, to observe and work on the cultural sites attached to the Sukhothai - Si Satchanalai – Kamphaeng Phet Historical Parks as part of a continuing research project to promote the creative economy. Delegates worked in six cross-disciplinary teams during the workshop. Each Team included international delegates and members of Thai ICOMOS. On October 8 and 9, each group visited a number of different places in the region, meeting local experts, business people, government officials, craftspeople and other community members. The itineraries were thoughtfully and creatively planned and managed to allow each group to collect information from the field trips. This complemented the extensive materials provided by Dr. Jaturong Pokharatsiri and his team to all delegates some weeks prior to the meeting.

คณะกรรมการดําเนินงาน

กรรมการดําเนินงานในกิจกรรมนานาชาติครั้งนี้ประกอบไปดวย

x ประธานกิตติมศักดิ์ ดร.ยงธนิศร พิมลเสถียร (ประธานสมาคมอิโคโมสไทย)

x ซูซาน เอ็มมิลลาร (ประธานอิโคโมส ไอซีทีซี) x สิทธิศักดิ์ ปฐมวารี (ผูจัดการพื้นที่พิเศษสุโขทัย อพท.)

x ประธานดําเนินงาน ดร.จาตุรงค โพคะรัตนศิริ (สถ.มธ. และสมาคมอิโคโมสไทย)

x ประธานดําเนินงานรวม ดร.พรธรรม ธรรมวิมล (กรมศิลปากร และสมาคมอิโคโมสไทย)

แนวคิดการดําเนินงาน

มรดกที่มีชีวิตคือแนวคิดหลักของการดําเนินงานเวิรคชอปอิโคโมส ไอซีทีซี ในครั้งนี้ บทความและการเสวนาไดมุงเนนเรื่องการบูรณาการมิติที่หลากหลายของคุณคาดานวัฒนธรรมของหลายแหลงและกลุมผูคนในพื้นที่พิเศษแหงนี้ ตลอดจนความรูความเขาใจเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม ทักษะ และกระบวนการเรียนรูที่จําเปนสําหรับการเขาถึงเปาหมายรวมกันดานการสรางพลังความเขมแข็งใหกับคนทองถิ่นใหสําเร็จ และการเติบโตของการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคในบริบทของการพัฒนาชุมชนและการทองเที่ยววัฒนธรรมอยางยั่งยืน เวิรคชอป การประชุมและเสวนา

ผูเชี่ยวชาญดานการทองเที่ยววัฒนธรรมและการจัดการมรดกวัฒนธรรมของอิโคโมส ไอซีทีซี และแขกผูมีเกียรตินานาชาติ ไดรับคําเชิญเพื่อใหมาสังเกตการณและทํางานบนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ติดตอกับอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร โดยเปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยตอเนื่องเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรค ผูเชี่ยวชาญรับเชิญไดทํางานขามศาสตรรวมมือกันโดยแบงเปนหกกลุม แตละกลุมมีทั้งผูเชี่ยวชาญนานาชาติและสมาชิกสมาคมอิโคโมสไทย ในวันที่ 8 และ 9 ตุลาคม แตละกลุมไดเยี่ยมชมสถานที่แตกตางกันไปหลายแหงในภูมิภาคนี้ พบปะพูดคุยและประชุมกับผูเชี่ยวชาญทองถิ่น กลุมนักธุรกิจ เจาหนาที่รัฐ ชางฝมือผูผลิตงานหัตถกรรม และสมาชิกชุมชนทองถิ่น ตารางการดําเนินงานถูกวางแผนไวไดอยางสรางสรรคและเต็มไปดวยประเด็นนาขบคิด และถูกจัดการเปนอยางดีเพื่อใหแตละกลุมสามารถเก็บขอมูลจากการลงพื้นที่ภาคสนามไดหลายครั้ง ซ่ึงนับเปนสวนสนับสนุนที่ดีเยี่ยมเพิ่มเติมจากเนื้อหาวิจัยขอมูลสรุปในพื้นที่ที่จัดหาไวใหแลวในเบื้องตนโดย ดร.จาตุรงค โพคะรัตนศิริ และทีมงาน เปนเวลาหลายสัปดาหกอนหนาที่ผูเช่ียวชาญทั้งหลายจะไดมาพบเจอกันในวันจริงบนสถานที่จริง

Page 60: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 57

On October 10 a full day forum was held, at which several keynote speakers addressed a large audience Arrangements had been made for simultaneous translation from English into Thai to enable non-English speakers to understand and participate in the discussion. Each of the six working groups presented their findings to the full forum and has taken account of issues raised there in finalising their reports, which form the main body of this report. Working Groups

Working Group 1 Protection and Management of Historic Sites

Working Group 2 Intangible Cultural Heritage in Sukhothai Working Group 3 Tourism Facilities and Visitor Experience Side Group 1 Agrarian Heritage Experience Side Group 2 Pottery Heritage Experience Side Group 3 Heritage Cycling Experience Although the initial concept had been that Working groups 1 to 3 would concentrate on themes and concepts while the side groups would look at more practical considerations, all groups in practice ended up considering both sorts of issues.

ในวันที่ 10 ตุลาคม หนึ่งวันเต็มไดถูกจัดขึ้นเพื่อการเสวนา ที่ซ่ึงผูนําการเสวนาหลายคนไดมีสวนรวมนําเสนอและพูดคุยแลกเปลี่ยนขอมูลและความคิดเห็นกับผูฟงกลุมใหญในสถานที่จัดประชุม ไดมีการจัดการเพื่อใหมีการแปลเนื้อหาการพูดคุยอยางตอเนื่องในทันทีจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย เพื่อใหผูฟงที่ไมใชภาษาอังกฤษไดเขาใจและมีสวนรวมตอบโตกลับมายังวงสนทนาได ตัวแทนจาก 6 กลุมทํางานไดนําเสนอผลการคนพบสูเวทีการเสวนา และไดรับเอาประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นนํามาสูการสรุปรายงานขั้นสุดทายของแตละกลุม ซึ่งไดถูกนํามารวมเปนเนื้อหาหลักของรายงานฉบับนี้ กลุมทํางาน กลุมทํางานที่ 1 การอนุรักษและการจัดการพื้นที่ประวัติศาสตร กลุมทํางานที่ 2 มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดในสุโขทัย กลุมทํางานที่ 3 สิ่งอํานวยความสะดวกการทองเทีย่วและประสบการณผูมาเยือน

กลุมทํางานยอยที 1 ประสบการณมรดกวิถีเกษตร กลุมทํางานยอยที่ 2 ประสบการณมรดกเครื่องเคลือบดินเผา กลุมทํางานยอยที่ 3 ประสบการณขี่จักรยานชมมรดกวัฒนธรรม แมวาในเบื้องตนไดกําหนดวากลุมทํางานที่หนึ่งถึงสามนาจะเนนไปที่แนวคิดและทฤษฎีกับแผนและนโยบาย ในขณะที่กลุมทํางานยอยนาจะมองไปที่ระดับปฏิบัติการที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ แตในที่สุดทุกกลุมไดพิจารณาทั้งสองประเด็นในการระหวางการทํางานและสรุปงาน

Page 61: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 58

WORKING GROUP REPORTS

WORKING GROUP 1: PROTECTION

Introduction and Project Brief

This report amalgamates our group’s research findings presented during the workshop and our subsequent efforts to refine some of the ideas based on feedback shared by local stakeholders and other participants during the symposium. The group focused on understanding and exploring the physical protection and management of the Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns, a UNESCO World Heritage Site (WHS) inscribed in 1991. The towns, which include Sukhothai, Sri Satchanalai and Kamphaeng Phet, were also recently designated special areas for sustainable tourism development by DASTA? Based on the broad theme of Protection, the group decided to focus on understanding specific aspects of how the historical sites are managed.During the field studies on 8 and 9 October, group delegates were taken around Sukhothai Historical Park, SI Satchanalai Historical Park, as well as other sites, including the Saritphong Reservoir, rice paddies, canals, villages, ruins, hilltop Buddha shrines and the Conservation and Study Centre of Sangkhalok CeramicKilns. The group also had the opportunity to speak to an urban planner in the Municipal Office. Eight ICOMOS professionals and two students contributed to Group 1 (see Group Members List, Attachment 1). Objectives

Some overarching objectives were developed from the group’s discussions. These objectives were subsequently used in the analysis of the observations and devising strategies and community tools to help enhance the management and protection of the World Heritage Site.

กลุมทํางานที่ 1 การอนุรักษและการจัดการพื้นที่ประวัติศาสตร เกริ่นนําและสรุปยอโครงการ

รายงานฉบับนี้ผสมผสานขอคนพบของกลุมทํางานของเราทั้งที่ไดนําเสนอในระหวางการฝกปฏิบัติการ และรวมถึงความพยายามของเราในภายหลังที่ตอเนื่องมาเพื่อเรียบเรียงและขัดเกลาบางความคิดโดยพิจารณาผลตอบรับที่ไดจากการแบงปนความคิดเห็นรวมกับผูมีสวนไดสวนเสียในทองถิ่นตลอดจนผูเขารวมกิจกรรมการเสวนาที่จัดใหมีขึ้น กลุมนี้ไดเนนเรื่องการทําความเขาใจและคนหาในประเด็นการอนุรักษทางกายภาพและการจัดการเมืองประวัติศาสตรสุโขทัยและเมืองบริวาร ซ่ึงเปนมรดกโลกยูเนสโกที่ไดรับการขึ้นทะเบียนในป 2534 ตัวเมืองอยูอาศัยบางแหงซ่ึงอยูในพื้นที่สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร ไดรับการประกาศใหเปนพื้นที่พิเศษเพื่อพัฒนาการทองเท่ียวยั่งยืนโดย อพท. เมื่อไมนานมานี้ดวย โดยใชพื้นฐานแนวคิดทั่วไปดานการอนุรักษและสงวนรักษา กลุมทํางานนี้ไดตัดสินใจมุงเนนบางประเด็นโดยเฉพาะเรื่องการทําความเขาใจวาพื้นที่ประวัติศาสตรมีการจัดการอยางไร ในระหวางลงสํารวจพื้นที่จริงเมื่อวันที่ 8 และ 9 ตุลาคม ผูเชี่ยวชาญในกลุมไดถูกพาไปเยี่ยมชมรอบบริเวณอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย และพื้นที่ อื่น ๆ อีก รวมทั้งอางเก็บน้ําสรีดภงส ทุงนา ลําคลองตาง ๆ หมูบาน ซากโบราณสถาน สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธศาสนาบนยอดเขา และศูนยเรียนรูและอนุรักษเครื่องเคลือบดินเผาสังคโลกและเตาเผา กลุมนี้ยังไดมีโอกาสพบปะพูดคุยกับเจาหนาที่การผังเมืองหนึ่งคนในสํานักงานเทศบาล (ตําบลเมืองเกา) ผูเชี่ยวชาญทางวิชาชีพจากอิโคโมสจํานวนแปดคนและนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสังเกตการณจํานวนสองคนไดรวมกิจกรรมดังกลาว (ดูรายชื่อสมาชิกกลุมไดในเอกสารแนบที่หนึ่ง) วัตถุประสงค วัตถุประสงคโดยรวมไดรับการพัฒนาขึ้นในระหวางการพูดคุยถกเถียงกันในกลุม โดยที่วัตถุประสงคเหลานี้ไดรับการนํามาใชงานในภายหลังตอเนื่องในสวนของการวิเคราะหขอมูลสังเกตการณ และการสรางยุทธศาสตรและเครื่องมือสําหรับชุมชนเพื่อชวยขยายความสําคัญของคุณคาการจัดการและอนุรักษแหลงมรดกโลก

Page 62: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 59

These overarching objectives include:

x Develop sustainable heritage management that incorporates culture and heritage resources into the commonly accepted triad of economy, ecology and society;

x Apply a holistic approach to leverage on the exceptional qualities of Sukhothai World Heritage Site as part of the kingdom’s, province’s, and local community’s cultural resources;

x Apply the UNESCO Recommendation on the Historic Urban Landscape to bring forward the tool kit of community engagement, knowledge and planning, regulatory systems and finance for heritage, to enhance the character, presentation and management of the World Heritage Site;

x Coordinate tourism messaging at the national, provincial and local scales

x Improve presentation by integrating cutting-edge technology tools, updating resource inventories and resource based site boundaries, and applying new archaeological and ethnographical evidence to present more robust and interesting site interpretation.

Figure 1: Culture as Umbrella for Sustainability This model presents the sustainability concept with culture as the umbrella. Considerations for these World Heritage Sites can effectively apply this integrated model of sustainability. Based on these overarching objectives, Workshop Group 1 have categorised its observations under the categories of Management and Interpretation. Observations - Management

Under Management, the group observed the following: 1. Lack of a resource-based Protection or Buffer zone definition when the historical parks and sites were inscribed in 1991; 2. Ambiguous and overlapping planning and management jurisdictions administered separately by the Provincial Office,

วัตถุประสงคโดยรวมเหลานี้รวมไปถึง x พัฒนาการจัดการมรดกวัฒนธรรมอยางยั่งยืนโดยควบรวมทรัพยากร

วัฒนธรรมและมรดกเขาไวเปนพื้นฐานของการพิจารณาประเด็นเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม อันเปนหลักการที่ยอมรับไวเบื้องตนแลว

x ประยุกตใชแนวทางการพิจารณาแบบองครวมเพื่อยกระดับคุณภาพในขั้นสูงของความเปนแหลงมรดกโลกสุโขทัย ในฐานะเพื่อเปนทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่สําคัญเปนสวนหนึ่งของประเทศ ของจังหวัด และของชุมชน

x ประยุกตใชแนวทางขอเสนอแนะของยูเนสโกที่เกี่ยวกับภูมิทัศนชุมชนเมืองประวัติศาสตร เพื่อกาวหนาไปสูการใชเปนเครื่องมือเพื่อสรางความเขมแข็งชุมชน สรางองคความรูในการคิดวางแผน ระบบการสรางขอกําหนดเพื่อควบคุมและสนับสนุน และการสงเสริมดานการเงินใหกับมรดกวัฒนธรรม เพื่อขยายเพิ่มพูนคุณคาในแงคุณลักษณะเฉพาะ การนําเสนอและการจัดการแหลงมรดกโลก

x ใหควบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวของเรื่องการทองเที่ยวของพื้นที่ลงในแผนและนโยบายระดับชาติ ระดับจังหวัด และทองถิ่น

x ปรับปรุงการนําเสนอพื้นที่ โดยผสานรวมเครื่องมือเทคโนโลยีสมัยใหมลาสุด ปรับปรุงขอมูลทรัพยากรพื้นฐานที่เกี่ยวของใหทันสมัยอยูตลอดเวลารวมทั้งที่เกี่ยวของกับแหลงและพื้นที่โดยรอบ และประยุกตใชหลักฐานที่คนพบทั้งดานโบราณคดีและมานุษยวิทยาชาติพันธุเพื่อนําเสนอความหลากหลายและนาสนใจของการสื่อความหมายคุณคาพื้นที่ใหมากขึ้น

รูปที่ 1 วัฒนธรรมในฐานะเปนรมแผคลมุการพัฒนาอยางยั่งยืน แบบจําลองขางบนแสดงแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนโดยมีวัฒนธรรมเปนรมแผคลุม ขอคิดพิจารณาใดก็ตามสําหรับแหลงมรดกโลกสามารถประยุกตใชแบบจําลองที่เนนวิธีการบูรณาการเชนนี้ไดใหเกิดประสิทธิภาพเพื่อความยั่งยืน โดยอาศัยพื้นฐานจากวัตถุประสงคโดยรวมดังกลาว กลุมทํางานที่ 1 ไดแยกเนื้อหาการสังเกตการณพื้นที่ออกเปนหัวขอเรื่องการจัดการและการสื่อความหมายคุณคา การสังเกตการณดานการจัดการ

ในประเด็นการจัดการ กลุมนี้มีขอสังเกตนําเสนอดังตอไปนี้ 1. ขาดการอนุรักษโดยพิจารณาทรัพยากรที่เปนองคประกอบเกี่ยวของกับคุณคาอยางแทจริง หรือการสรางขอกําหนดพื้นที่กันชน เมื่อแรกขึ้นทะเบียนอุทยานประวัติศาสตรเหลานี้เปนมรดกโลกในป 2534 2. ความกํากวมไมชัดเจนและทับซอนไปมาดานการวางแผนนโยบายและผงักับการตัดสินใจดานการจัดการ ซึ่งมีการบริหารจัดการแยกสวนขาด

Page 63: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 60

Municipal Office, and the Fine Arts Department as well as national and regional tourism offices, that require improved coordination; 3. Limited community and stakeholders’ engagement on issues such as the management of the historical sites and the integration of commercial and community activities within the inscribed World Heritage Site. Observations - Interpretation

Under the category of Interpretation, the group recognized that: 4.The inventories of heritage assets found in Sukhothai and Sri Satchanalai based on monument and archaeological site approach, are out-dated and incomplete as they fail to include tangible resources of the cultural landscape and intangible heritage of traditional practices, crafts and beliefs; 5.The Sukhothai Historical Park focuses on the interpretation of the monuments as isolated objects; hence communities living within the four corners of the old city walls are conceptually beyond the heritage of the park; 6. Interpretation of monuments in the Historical Park is simplistic and fails to appeal to diverse visitors with differing interests, whereas stronger more diverse presentation will shape a more meaningful, memorable visit. Analysis and Strategies

The six above observations made by Workshop Group 1 highlighted key opportunities which can be harnessed to enhance the exceptional inherent qualities of Sukhothai World Heritage Site. Specific to the six observations highlighted, delegates subsequently analysed and devised preliminary operational strategies for each observation.

จากกันโดยสํานักงานในระดับจังหวัด ระดับเทศบาล และหนวยงานของกรมศิลปากร เชนเดียวกับสํานักงานการทองเที่ยวที่มีทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ ซ่ึงจําเปนตองปรับปรุงใหเกิดการทํางานประสานสอดคลองกันใหได 3. มีการจํากัดบทบาทการมีสวนรวมของชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสียในประเด็นที่เกี่ยวของกับการจัดการแหลงประวัติศาสตร และการผสานรวมกิจกรรมทางการคาพาณิชยและของชุมชนไวในพื้นที่มรดกโลก การสังเกตการณดานการสื่อความหมายคุณคา

ในหัวขอเรื่องการสื่อความหมายคุณคา ทางกลุมไดตระหนักในเรื่อง ตอไปนี้คือ 4. การเก็บขอมูลบันทึกเกี่ยวกับทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมดังที่พบในสุโขทัยและศรีสัชนาลัย ใชเพียงพื้นฐานของการพิจารณาแคโบราณสถานและแหลงโบราณคดี ซ่ึงเปนแนวทางที่เลิกใชกันแลวและทําใหพบความไมสมบูรณของการไมรวมเอาทรัพยากรที่จับตองไดอื่น ๆ เชน ภูมิทัศนวัฒนธรรม ตลอดจนมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดของพื้นที่ เชน วิถีปฏิบัติและแบบแผนการดํารงชีวิตตามประเพณี ความเชื่อ และงานหัตถกรรม 5. อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยเนนเรื่องการสื่อความหมายคุณคาของโบราณสถานแบบแยกขาดเสมือนเปนวัตถุชิ้นหนึ่งที่ไรชีวิต ดังนั้นชุมชนตาง ๆ ที่อยูอาศัยในบริเวณสี่มุมกําแพงเมืองเกาจึงไมไดรับการพิจารณาวาเปนสวนหนึ่งของมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ 6. การส่ือความหมายคุณคาของโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตรแบบผิวเผินและลมเหลวในการสรางความดึงดูดใจผูมาเยือนที่หลากหลายไปดวยความสมใจที่แตกตาง ซ่ึงการนําเสนอที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นยอมชวยสรางประสบการณมาเยือนใหมีความหมายที่แข็งเรงและเปนที่จดจําไดมากยิง่ขึ้น การวิเคราะหและยุทธศาสตร ในหกหัวขอสังเกตการณดังกลาวของกลุมทํางานที่ 1 ไดเนนเปนพิเศษถึงโอกาสที่แหลงมรดกโลกสุโขทัยควรถูกสงเสริมพัฒนาเพื่อใหคุณภาพของสิ่งที่มีอยูในพื้นที่ไดถูกขยายความนํามาใชไดมากยิ่งขึ้น และเมื่อพิจารณาโดยเฉพาะทั้งหกประเด็นนี้ ผูเชี่ยวชาญในกลุมไดวิเคราะหเพิ่มเติมตอเนื่องและสรางยุทธศาสตรการดําเนินการเบื้องตนสําหรับแตละประเด็นสังเกตการณดังตอไปนี้

Page 64: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 61

Observation Preliminary Strategies

1 Lack of a Buffer zone when first inscribed.

Æ

Include a buffer zone in the local Tourism Plan and Comprehensive Provincial Plan that addresses protection of the heritage resources

2 Ambiguous planning and management jurisdictions and lack of coordination.

Æ

Define responsibilities amongst different agencies based on skills and mission and improve coordination and collaboration

3 Limited community and stakeholders’ engagement.

Æ

Improve community engagement to become a key platform in the planning process.

4 The inventories of heritage assets are out-dated.

Æ

Harness community involvement and training as a tool to collaborate on updating the inventory of tangible and intangible heritage assets.

5 The interpretation of the monuments as isolated objects.

Æ

Understand global trends in heritage interpretation and curatorship that embrace the full range of tangible and intangible heritage resources.

6 Simplistic interpretation of monuments that does not appeal to a diverse crowd of visitors.

Æ

Encourage diversity and depth in historic documents and resource-based materials available to visitors

Apart from the preliminary strategies identified above, Workshop Group 1 put forward two additional strategic thrusts that are more broad-based and address the planning and operational aspects of World Heritage Site management. These thrusts are Benchmarking and Learning from Best Practices. Benchmarking involves an understanding of the Outstanding Universal Values (OUVs) inherent in Sukhothai World Heritage Site and examining how other regional and international sites with similar inscribed OUVs are managed and interpreted. Learning from Best Practices requires gathering of examples from other World Heritage Sites for reconsideration of all aspects of conservation, presentation and operation of these World Heritage Sites and nationally important heritage sites. The investigation of Best Practices should foster a collaborative and creative process of knowledge sharing amongst regional and international historical sites. Benchmarking as Living Cultural Landscape

Delegates suggested that Benchmarking should involve an examination of the historical urban development of Sukhothai and Si Satchanalai historical towns.

ประเด็นสังเกตการณ/ ยุทธศาสตรเบื้องตน 1. ขาดพื้นที่กันชนเมื่อแรกขึ้นทะเบียน/ ใหกําหนดรวมพื้นที่กันชนไวในแผนจัดการทองเที่ยวทองถิ่นและผังเมืองรวมจังหวัด โดยที่เนนยํ้าเรื่องการอนุรักษสงวนรักษาทรัพยากรที่เกี่ยวของดานมรดกวัฒนธรรม 2. การวางแผนนโยบายและตัดสินใจดานการจัดการที่กํากวมและขาดการประสานงานใหสอดคลอง/ ใหกําหนดบทบาทหนาที่รับผิดชอบของแตละหนวยงานโดยพิจารณาจากทักษะและภาระหนาที่หลักที่เกี่ยวของ และปรับปรุงรูปแบบการทํางานใหประสานสอดคลองและการรวมมือกันทํางานในแตละโครงการ 3. จํากัดการเขามสีวนรวมของชมุชนและผูมีสวนไดสวนเสีย/ ปรับปรุงวิธีการเขามีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางพื้นที่หลักใหกับกระบวนการทางผังเมืองและการวางแผนนโยบายตอไป 4. การเก็บขอมูลบันทึกดานทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมที่ใชอยูมีความลาสมัย/ ใหสงเสริมสนับสนุนการฝกอบรมแบบมีสวนรวมของชุมชนเพื่อเปนเครื่องมือในการรวมมือกันระหวางการปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอทั้งรายการทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและจับตองไมได 5. การสื่อความหมายคุณคาของโบราณสถานเสมือนเปนวัตถุไรชีวิตแยกออกจากชุมชน/ ใหทําความเขาใจเสียใหมกับสถานการณโลกที่เปลี่ยนไปในดานการสื่อความหมายคุณคาและการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเพื่อนําเสนอ ซ่ึงเปดรับทั้งทรัพยากรที่จับตองไดและที่จับตองไมไดทุกรูปแบบอยางเต็มที่ 6. การสื่อความหมายคุณคาแบบผิวเผินของโบราณสถาน ที่ไมไดนาดึงดูดสนใจกับกลุมผูมาเย่ียมชมที่หลากหลาย/ สงเสริมสนับสนุนความหลากหลายและความลึกซ้ึงของขอมูลประวัติศาสตรและทรัพยากรเกี่ยวของที่มีอยูใหสามารถเขาถึงไดโดยกลุมผูมาเยี่ยมชม

นอกเหนือจากยุทธศาสตรเบื้องตนที่กลาวมานี้ กลุมทํางานที่หนึ่งไดสรางยุทธศาสตรเพื่อผลักดันเพิ่มเติมอีกสองขอ ซ่ึงเกี่ยวของในประเด็นที่กวางขึ้นโดยเนนดานการวางแผนและลงมือปฏิบัติของการจัดการพื้นที่มรดกโลกโดยตรง ไดแก การเปรียบเทียบแนวคิดวิธีการ และการเรียนรูจากตัวอยางที่ลงมือทําไดดีที่สุด การเปรียบเทียบแนวคิดวิธีการ รวมไปถึงประเด็นดานการทําความเขาใจในคุณคาอันเปนสากลที่โดดเดนที่มีความเกี่ยวของกับมรดกโลกสุโขทัย และตรวจสอบวาภูมิภาคอื่นและในตางประเทศที่มีมรดกโลกซ่ึงมีคุณคาในลักษณะใกลเคียงกันมีการจัดการและสื่อความหมายคุณคาอยางไร การเรียนรูจากตัวอยางที่ลงมือทําไดดีที่สุด จําเปนตองอาศัยตัวอยางที่รวบรวมมาจากแหลงมรดกโลกอื่นเพื่อพิจารณาในประเด็นทั้งการอนุรักษ การนําเสนอ และการลงมือปฏิบัติในแหลงมรดกโลกเหลานี้ตลอดจนแหลงมรดกวัฒนธรรมอื่นที่สําคัญในระดับชาติ การตรวจสอบพิจารณาอางอิงจากตัวอยางที่ดีที่สุดเหลานี้ควรจะชวยสรางความรวมมือและกระบวนการสรางสรรคในดานการแบงปนความรูของแหลงประวัติศาสตรในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติไดตอไป การเปรียบเทียบแนวคิดวิธีการเรื่องภูมิทัศนวัฒนธรรมที่มีชีวิต

ผูเชี่ยวชาญในกลุมไดเสนอแนะวาการเปรียบเทียบแนวคิดวิธีการควรตองรวมถึงการตรวจสอบไปที่พัฒนาการความเปนชุมชนเมืองประวัติศาสตรของชุมชนเมืองเกาในสุโขทัยและศรีสัชนาลัย ทางกลุมไดรับรูเพิ่มเติมวาแหลงมรดกโลกดังกลาวมีศักยภาพที่จะถูกนํามาขบคิดภายใตกรอบแนวคิด

Page 65: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 62

The group further acknowledge that the World Heritage Sites have potential to be conceptualized as cultural landscapes, an UNESCO World Heritage Site category that was introduced in 1992, one year after the inscription of Sukhothai. More than 80 sites have been inscribed as cultural landscapes since that time. These three World Heritage Sites can be assessed as evolved living cultural landscapes, shaped by humanity and nature over time. This cultural landscapes framework embraces the full breadth of heritage resources at these sites as frameworks at a larger scale. They are, for example, the seat of influence of an ancient kingdom, an importance collection of provincial urban settlements, and have intricate water management systems. All of these conceptual frameworks are inclusive of and beyond the collection of ruins and monuments. The objective of applying cultural landscape thinking to these sites is to sustain, present and manage the entire tangible and intangible representation of Sukhothai’s political, religious and civic heritage holistically. A re-interpretation of the cultural landscape of Sukhothai will allow local stakeholders to examine the relationship between communities and the historical landscape. This has the potential of developing into a “living heritage” concept where local stakeholders have a greater say in developing tourism and craft industries sensitive to the historical sites’ interpretation, whilst fostering a greater sense of belonging and necessity to protect the characteristic of the historical sites. The UNESCO Recommendation on the Historic Urban Landscape (HUL) adopted in 2011 provides a set of useful tools for the implementation of cultural landscape conservation strategies within a larger goal of achieving sustainable development and to support public and private actions aimed at preserving and enhancing the quality of the human environment. The HUL tools include:

เรื่องภูมิทัศนวัฒนธรรม ซ่ึงยูเนสโกไดเพิ่มรายการนี้ไวในประเภทหนึ่งของแหลงมรดกโลกเมื่อป 2535 เพียงหนึ่งปใหหลังนับจากที่สุโขทัยไดรับการประกาศเปนมรดกโลกไปแลว โดยนับจากนั้นไดมีภูมิทัศนวัฒนธรรมที่ไดรับการประกาศใหเปนมรดกโลกแลวจํานวนถึง 80 แหงทั่วโลก แหลงมรดกโลกใน 3 พื้นที่เหลานี้สามารถถูกนํามาตีความและประเมินคุณคาวาเกี่ยวของกับภูมิทัศนวัฒนธรรมที่ยังมีชีวิตอยูได ที่ซ่ึงถูกสรางสรรคขึ้นตามกาลเวลาโดยผูกพันกับมนุษยและธรรมชาติ แนวคิดภูมิทัศนวัฒนธรรมเชนนี้เปดรับทรัพยากรทางวัฒนธรรมทั้งมวลบนพื้นที่เหลานี้เพื่อนํามาสูกรอบการคิดและพัฒนาในระดับที่กวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น ยกตัวอยางเชน อิทธิพลที่สงมาถึงปจจุบันของอาณาจักรโบราณ กลุมของการตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัยที่สําคัญของพื้นที่ชุมชนเมืองในระดับจังหวัด และระบบการจัดการน้ําที่ซับซอนมีประสิทธิภาพของพื้นที่มาแตสมัยโบราณ กรอบแนวคิดเหลานี้ลวนเกี่ยวของจากภายในและไปไกลลึกซ้ึงเกินกวาแคเรื่องกลุมโบราณสถานและซากปรักหักพัง วัตถุประสงคของการประยุกตความคิดดานภูมิทัศนวัฒนธรรมเขากับพื้นที่เหลานี้ คือเพื่อดํารงไว นําเสนอ และจัดการกับคุณคาอันเปนตัวแทนของมรดกวัฒนธรรมสุโขทัยทั้งในดานที่จับตองไดและที่จับตองไมได เชน การเมืองการปกครอง ศาสนาความเชื่อ และเรื่องราวที่เกี่ยวกับชาวบานทั่วไปในแบบองครวม การทบทวนและสื่อความหมายคุณคารูปแบบใหมของภูมิทัศนวัฒนธรรมสุโขทัยจะชวยเปดทางใหผูมีสวนไดสวนเสียไดตรวจสอบความสัมพันธระหวางชุมชนตาง ๆ กับภูมิทัศนประวัติศาสตรที่อยูรอบตัว สิ่งนี้มีศักยภาพที่จะพัฒนาไปสูการเปน “มรดกที่มีชีวิต” ซ่ึงเปนแนวคิดที่ผูมีสวนไดสวนเสียในทองถิ่นมีบทบาทและแสดงความคิดเห็นมีสวนรวมไดมากขึ้นในการพัฒนาการอุตสาหกรรมทองเที่ยวและหัตถกรรมทองถิ่นที่มีความเกี่ยวกันและสงผลตอการสื่อความหมายคุณคาของแหลงประวัติศาสตร และในขณะเดียวกันยังชวยสงเสริมความเขมแข็งดานความรูสึกเปนเจาของรวมและตระหนักรูถึงความจําเปนในการปกปองและสงวนรักษาคุณลักษณะของพื้นที่ประวัติศาสตรไว ในขอเสนอแนะของยูเนสโกเรื่องภูมิทัศนชุมชนเมืองประวัติศาสตร (HUL) ซ่ึงเร่ิมใชในป 2554 ไดนําเสนอชุดของเครื่องมือที่เปนประโยชนเพื่อการนํายุทธศาสตรการอนุรักษภูมิทัศนวัฒนธรรมมาสูการลงมือปฏิบัติ โดยอยูภายใตกรอบที่ใหญกวาวาดวยการบรรลุผลเร่ืองการพัฒนาอยางยั่งยืน และสนับสนุนการลงมือกระทําของหนวยงานรัฐและเอกชนที่มุงหวังใหเกิดการสงวนรักษาและสงเสริมคุณภาพของสิ่งแวดลอมอยูอาศัยของมนุษย เครื่องมือนี้ประกอบไปดวย

Page 66: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 63

(a) Civil Engagement through facilitation of stakeholder dialogues and to empower them to identify key values in the landscape, develop visions that reflect their diversity and to agree on actions to safeguard their heritage and promote sustainable development. (b) Knowledge and Planning to protect the integrity and authenticity of the attributes of cultural landscape, and to provide the monitoring and management of change to improve the quality of life and urban space. (c) Regulatory Systems that include legislative and regulatory measures aimed at the conservation and management of tangible and intangible attributes of the cultural landscape, including social, environmental and cultural values. (d) Financial Tools that build capacities and support innovative income-generating development that is integral to the cultural landscape. The HUL tools can help to enhance our understanding of the historical towns’ unique characteristics, such as the irrigation system and the development of kilns and urban settlements. The management plan of the World Heritage Site can then be updated to consider how physical attributes such as ancient canals, earthen walls, ruins and reservoirs can be incorporated in the collective interpretation of the historical landscape. Learning from Best Practices

While the primary objective of Benchmarking is to effect policy changes in the historical sites’ management and interpretation, best practices focus on operational considerations for managing, maintaining and continual research in the WHS. Delegates identified a few areas in which the exchange of best practices amongst regional and international historical sites would be useful. These include: 1. Establishing a community-driven inventory of heritage assets within the WHS that will capture information such as condition review and site monitoring. 2. Preparing short to long term maintenance and infrastructure development schedule with clearly-defined scopes of work managed by FAD, Municipal Office and the Provincial Office.

ก) การมีสวนรวมโดยภาคประชาชนผานการสนับสนุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย และเพื่อสรางความเขมแข็งใหกับกลุมนี้เพื่อสามารถกําหนดคัดสรรคุณคาที่สําคัญซ่ึงอยูในสภาพภูมิทัศน และพัฒนาวิสัยทัศนตาง ๆ เพื่อสะทอนความหลากหลายในคุณคาที่มีอยู และเพื่อตกลงรวมมือในการกระทําเพื่อสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมและสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน ข) ความรูและการวางแผนและผังเมืองเพื่อปกปองคุณคาความดีงามและความแทขององคประกอบตาง ๆ ในภูมิทัศนวัฒนธรรม และเพื่อจัดใหมีการจัดการและเฝาติดตามผลของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตและพื้นที่สาธารณะในยานชุมชนเมือง ค) ระบบของขอกําหนดตาง ๆ ที่รวมทั้งขอกําหนดทางกฎหมายและระเบียบมาตรการตาง ๆ ที่มีเปาหมายเพื่อการอนุรักษและการจัดการองคประกอบที่จับตองไดและที่จับตองไมไดของภูมิทัศนวัฒนธรรม รวมทั้งคุณคาดานสังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม ง) เครื่องมือทางการเงิน ที่ชวยสรางความสามารถในการรองรับและสนับสนุนการพัฒนาเพื่อสรางรายไดอยางสรางสรรคที่ทันสมัยและผสานเขาดวยกันกับภูมิทัศนวัฒนธรรมไดอยางกลมกลืน เครื่องมือดานภูมิทัศนวัฒนธรรมนี้สามารถชวยเพิ่มพูนและขยายขอบเขตความเขาใจเกี่ยวกับคุณลักษณะที่ไมเหมือนใครของการพัฒนาเมืองประวัติศาสตร ยกตัวอยางเชน ระบบชลประทาน การเก็บเกี่ยวพืชผลเกษตร การผลิตเครื่องเคลือบดินเผาและเตาเผา การตั้งถิ่นฐานชุมชนเมือง สถานที่สําคัญทางศาสนาและความเชื่อ และอื่น ๆ ดังนี้แลวแผนการจัดการแหลงมรดกโลกจึงสามารถนํามาปรับใหทันสมัยเพื่อพิจารณาองคประกอบทางกายภาพที่เกี่ยวของ เชน คลองโบราณ กําแพงดิน ซากปรักหักพัง และอางเก็บน้ํา วาจะสามารถนํามาผนวกรวมเขาดวยกันในการสื่อความหมายคุณคาในภาพรวมของภูมิทัศนประวัติศาสตรนี้ไดอยางไร เรียนรูจากตัวอยางที่ลงมือทําไดดีที่สุด

ในขณะที่วัตถุประสงคแรกเริ่มของการเปรียบเทียบแนวคิดวิธีการ คือการสงผลกระทบเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในการจัดการและการสื่อความหมายคุณคาพื้นที่ประวัติศาสตร ในสวนการเรียนรูจากตัวอยางที่ดีที่สุดจะเนนการพิจารณาในระดับลงมือปฏิบัติในดานการจัดการ การบํารุงรักษา และการวิจัยอยางตอเนื่องในพื้นที่มรดกโลก ผูเชี่ยวชาญในกลุมไดระบุบางพื้นที่ซ่ึงสามารถนํามาแลกเปลี่ยนเปนบางตัวอยางที่ดีที่สุดของแหลงประวัติศาสตรในระดับกลุมภูมิภาคและระดับนานาชาติที่นาจะเปนประโยชน ซ่ึงรวมไปถึง 1. การจัดตั้งใหมีการลงมือจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมโดยชุนชนเปนผูขับเคลื่อนเองในพื้นที่มรดกโลก ที่ซ่ึงจะมีการพิจารณาขอมูลในดานการทบทวนสภาพและสถานการณที่เปนอยูและการติดตามผลความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ 2. เตรียมตารางงานการบํารุงรักษาและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยมีขอบเขตการทํางานที่ชัดเจนภายใตภาระงานทั้งที่มีการจัดการโดยกรมศิลปากร สํานักงานเทศบาล และหนวยงานรัฐในระดับจังหวัด

Page 67: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 64

3. Encouraging continual research in the World Heritage Site and to apply cutting-edge technology in areas such as material conservation and 3D virtual reconstruction of ruins. 4. Fostering stronger cooperation among World Heritage Site staff, NGOs and volunteers by offering skill building workshops, knowledge sharing sessions and interesting projects such as carrying out surveys to document intangible cultural heritage, etc. 5. Creating knowledge sharing opportunities to link up regional and national sites with historical and geographical similarities to enhance knowledge and enrich interpretation. 6. Enriching and diversifying the interpretation of the World Heritage Site to appeal to diverse groups of visitors with different interests and needs. Thematic tours, re-enactment and virtual reconstruction of the monuments not only enhance visitors’ experiences, they also play a key role in instilling national pride for locals. Conclusion

The field studies and analysis conducted by Workshop Group 1 highlighted the exceptional heritage qualities inherent in the Sukhothai and Sri Satchanalai World Heritage Site. Delegates also commended the high level of dedication towards the management and promotion of Sukhothai World Heritage Site shown by the local representatives of Fine Arts Department, municipal and provincial offices as well as the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration. The group believes that an adoption of the two strategic thrusts of Benchmarking and Learning from Best Practices will help to enhance the interpretation of the World Heritage Site, thereby attracting more local and international visitors to enjoy the heritage richness of the historical sites.

3. สงเสริมกระตุนใหเกิดการวิจัยอยางตอเนื่องในพื้นที่มรดกโลกและประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหมกับพื้นที่ เชน การอนุรักษโดยวิธีคิดคนดานวัสดุสมัยใหมและการสรางแบบจําลองเสมือนจริงสามมิติของซากปรักหักพัง 4. สนับสนุนการทํางานประสานสอดคลองกันใหแข็งแรงมากยิ่งขึ้นระหวางเจาหนาที่ดูแลพื้นที่มรดกโลก องคกรภาคเอกชนอิสระ และอาสาสมัคร โดยจัดใหมีการทําเวิรคชอปเพื่อสรางทักษะความสามารถและแลกเปลี่ยนความรูกันภายใตโครงการที่นาสนใจ เชน การลงพื้นที่ออกสํารวจและเก็บขอมูลมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได และอื่น ๆ 5. สรางสรรคใหเกิดโอกาสแบงปนความรูระหวางกันเพื่อเชื่อมโยงพื้นที่อื่นทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศที่ ซ่ึงมี ความคลายคลึงกันดานภูมิศาสตรสภาพแวดลอมและประวัติศาสตร เพื่อขยายขอบเขตความรูและเพิ่มพูนความสมบูรณในการส่ือความหมายคุณคา 6. เพิ่มพูนและสรางความหลากหลายใหกับการสื่อความหมายคุณคาของแหลงมรดกโลกเพื่อดึงดูดความสนใจกลุมผูมาเยือนที่มีความหลากหลายและมีความสนใจและความตองการที่แตกตางกัน การนําเที่ยวแบบกําหนดเร่ืองราวความสนใจเฉพาะดาน การสรางสถานการณจําลองเพื่อสาธิตและแสดงโดยผูชมมีสวนรวม หรือสรางแบบจําลองเสมือนจริงขึ้นของโบราณสถาน ไมเพียงสามารถเพิ่มพูนและขยายขอบเขตประสบการณผูมาเยือนแตยังแสดงบทบาทสําคัญในการสรางความภาคภูมิใจในชาติภูมิใหกับคนในทองถิ่น บทสรุป

การลงพื้นที่จริงเพื่อศึกษาและคิดวิเคราะหโดยกลุมดําเนินงานที่หนึ่ง ไดเนนในประเด็นคุณภาพของมรดกวัฒนธรรมที่หาไหนไมมีเหมือนและเกี่ยวของกับแหลงมรดกโลกสุโขทัยและศรีสัชนาลัยภายใตเง่ือนไขและขอจํากัดของการดําเนินงาน ผูเชี่ยวชาญในกลุมยังไดนําเสนอแนวทางการจัดการและสงเสริมแหลงมรดกโลกสุโขทัยดวยความทุมเทอยางยิ่งดังปรากฏในรายงานกลุมชิ้นนี้ สําหรับตัวแทนหนวยงานทองถิ่นจากกรมศิลปากร สํานักงานเทศบาลและหนวยงานระดับจังหวัด ตลอดจนอพท. ทางกลุมเชื่อวาการนํายุทธศาสตรเพื่อผลักดันทั้งสองขอดังกลาวไปปรับใช คือ การเปรียบเทียบแนวคิดวิธีการ และการเรียนรูจากตัวอยางที่ดีที่สุด จะชวยขยายขอบเขตการสื่อความหมายคุณคาแหลงมรดกโลก และนํามาสูการดึงดูดคนทองถิ่นและนักทองเที่ยวตางชาติใหมามีความสุขเต็มอิ่มกับมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ประวัติศาสตรแหงนี้ได

Page 68: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 65

WORKING GROUP 2: INTANGIBLE HERITAGE IN SUKHOTHAI

– an Exploratory Appraisal

Introduction and Project Brief Our group’s task was to explore the intangible cultural heritage found within the Historical Park and its vicinity, in order to consider possibilities for linking living traditions to cultural tourism routes within the park. Our original concept of using the “eco-museum” model to map aspects of intangible culture within the park proved to be too cumbersome a task for the limited, two-day survey period. We elected instead to undertake a preliminary appraisal of intangible cultural heritage within the park, to better understand the nature of living traditions and consider both the potential benefits and possible negative impacts of tourism development focused on intangible cultural heritage. The group visited twelve locations over two days: Day 1: 1) Somsamai Goldsmiths, Amphur Si Satchanalai 2) Wat Phra Sri Mahathat Chaliang & Wat Phra Prang, Sri Satchanalai Historical Park 3) Si Satchanalai Community Museum (Si Satchanalai Municipality) 4) Sangkhalok Kilns, Si Satchanalai Historical Park 5) Sangkhalok Pottery Museum 6) Prasert Pottery workshop 7) Gold Textile Museum (Thai Phuan Textile Museum) 8) Traditional Thai Phuan wooden house Day 2: 1) Si Satchanalai Park Interpretation Centre 2) Si Satchanalai Park 3) Organic Farm, Sukhothai Airport 4) Sukhothai Historical Park Observations about Handicrafts

(Goldsmiths, Pottery, Textiles)

Somsamai Goldsmiths

x Already a very successful business with clients across the country. Has developed designs inspired by the stucco reliefs at Si Satchanalai Park and thus maintains this link to the Historical Park (a link acknowledged in the signage at the temple with the last remaining stucco bas-reliefs)

x Clients are not foreign tourists, but rather Thais, who value the beautifully detailed 24 Karat gold designs

กลุมทํางานที่ 2: มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดในสุโขทัยการประเมินคุณคาเชิงคนหา

เกริ่นนําและสรุปยอเกี่ยวกับโครงการ โจทยของกลุมเราคือการคนหามรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดซ่ึงมีอยูในอุทยานประวัติศาสตรและพื้นที่โดยรอบ เพื่อนํามาสูการพิจารณาความเปนไปไดเพื่อเชื่อมโยงประเพณีวิถีชีวิตเขากับเสนทางการทองเที่ยววัฒนธรรมในบริเวณพื้นที่ดังกลาว

แนวคิดเริ่มตนของเราคือ “พิพิธภัณฑในแหลงจริง” ถูกนํามาใชเปนแบบจําลองเพื่อระบุตําแหนงเชิงพื้นที่ขององคประกอบทางวัฒนธรรมที่จับตองไมไดในบริเวณอุทยานฯ และพื้นที่ใกลเคียง แตพบวาเปนภารกิจที่หนักเกินไปเมื่อคํานึงถึงขอจํากัดที่มีโดยเฉพาะการลงพื้นที่สํารวจภายในเวลาสองวัน ดังนั้นเราจึงเปลี่ยนมาเลือกใชการประเมินคุณคาเบื้องตนของมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดในบริเวณอุทยานและพื้นที่ใกลเคียง เพื่อทําความเขาใจใหดีขึ้นถึงธรรมชาติของประเพณีวิถีความเปนอยูและเพื่อพิจารณาทั้งประโยชนที่อาจเกิดขึ้นไดตลอดจนผลกระทบดานลบที่เปนไปไดจากการพัฒนาการทองเท่ียวโดยมุงเนนไปยังประเด็นมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดเปนหลัก

ทางกลุมไดลงพื้นที่เยี่ยมชมสถานที่ถึงสิบสองแหงในเวลาสองวัน วันที่หนึ่ง 1) รานทองสมสมัย ตําบลทาชัย อําเภอศรีสัชนาลัย 2) วัดพระศรีมหาธาตุเชลียง หรือวัดพระปรางค

ในอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย 3) พิพิธภัณฑชุมชนศรีสัชนาลัย (ดําเนินการโดยเทศบาลตําบล

ศรีสัชนาลัย) 4) เตาเผาสังคโลก อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย 5) พิพิธภัณฑสังคโลก อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย 6) รานประเสริฐแอนติค โรงผลิตเครื่องเคลือบดินเผา 7) สาธรพิพิธภัณฑผาทองคํา (พิพิธภัณฑผาทอชาวไทพวน) 8) บานไมพื้นถิ่นของกลุมชาติพันธุชาวไทพวน วันที่สอง 1) ศูนยขอมูลอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย 2) อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย 3) โครงการเกษตรอินทรียสนามบินสุโขทัย 4) อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย การสังเกตการณเกี่ยวกับงานหัตถกรรม (เครื่องประดับทองคํา เครื่องเคลือบดินเผา ผาทอ) รานทองสมสมัย

x เปนธุรกิจที่ประสบความสําเร็จมากอยูแลวโดยมีลูกคามาจากทั่วประเทศ ไดพัฒนาการออกแบบโดยไดแรงบันดาลใจจากภาพปูนปนนูนต่ําในอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย และจึงสามารถดํารงไวซ่ึงความเชื่อมโยงกับอุทยานประวัติศาสตร (ซ่ึงความเชื่อมโยงนี้ไดรับการบอกเลานําเสนอบนปายขอมูลหนาวัดซ่ึงยังคงมีภาพปูนปนนูนต่ําสวนสุดทายหลงเหลืออยู)

x ลูกคาสวนใหญไมใชนักทองเที่ยวชาวตางชาติแตเปนคนไทย (เริ่มมีลูกคาชาวพมาและลาวเพิ่มมากขึ้น)ซ่ึงชื่นชอบในความสวยงามของรายละเอียดการออกแบบเครื่องประดับทองคํายี่สิบสี่กะรัต

Page 69: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 66

x The core concern of the owner, who is the grandson of the founder of Somsamai Gold, is how to support transmission of the craft to a younger generation. He is coordinating with vocational schools to develop a gold smithing curriculum.

x Key observation: Even though gold smithing has become a symbol of Sukhothai identity with links to the Heritage site, integration into a tourist route would arguably do more to disrupt the craft (i.e. too many visitors to the workshop) rather than contribute to the continuity of the gold smithing tradition. Key issue for this business is recruitment of apprentice goldsmiths not sales at point of manufacture.

Sangkhalok Kilns, Pottery Museum and the Prasert Pottery Workshop

x The Sangkhalok kilns, numbering in the hundreds, are a remarkable feature of the heritage landscape in Si Satchanalai Park.

x The pottery museum—together with the kiln excavation sites—offers a rich interpretation of the history of trade, glazes and motifs, as well as firing process. Historical interpretation would be enhanced with the inclusion of more information about trade, patterns, motifs, and influences in the wider Asian region.

x Key observation: The Prasert Pottery workshop was established by the father of the current owner, who began as an avid collector of Sangkhalok pottery around the time of the archaeological excavation of the sites. We were struck by the potter’s passion and commitment to the revitalization of this ancient handicraft, and feel that more could be done to recognize how the revival of pottery among local artisans was inspired by the archaeological excavation process, again showing interpretive links between the tangible heritages and living intangible traditions. (This might be incorporated into the pottery museum as a special exhibit or other form of interpretation. Using the pottery museum as a space for multiple narratives about this heritage and its meaning to local populations.)

x Key observation: As in the case of the goldsmith, it is unclear whether the local potters would benefit from inclusion in a cultural tourism route, inasmuch as most of their income is from pottery sold on commission with only a fraction of relatively low value items sold to

x ความกังวลหลักของเจาของซ่ึงเปนหลานชายของผูกอตั้งรานทองสมสมัย คือจะสามารถสนับสนุนใหเกิดการสืบทอดงานฝมือไปสูคนรุนใหมและเยาวชนไดอยางไร เขากําลังรวมมือกับโรงเรียนฝกการอาชีพในทองถิ่นบางแหงเพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนทําเครื่องประดับทองคํา

x ขอสังเกตหลัก คือ แมวาการทําเครื่องประดับทองคําไดกลายมาเปนสัญลักษณอยางหนึ่งของอัตลักษณความเปนสุโขทัยที่มีความเชื่อมโยงกับอุทยานประวัติศาสตร แตการผนวกสิ่งนี้ เขาสู เสนทางการทองเที่ยวอาจเปนการไปรบกวนกระบวนการสืบทอดงานหัตกรรมประเภทนี้(มีผูมาเยี่ยมชมในบริเวณพื้นที่ทํางานของชางทองมากจนเกินไป) มากกวาที่จะมีสวนในการสนับสนุนสงเสริมความตอเนื่องของวิถีการทําเครื่องประดับทองคํา ประเด็นปญหาหลักสําหรับธุรกิจนี้อยูที่การไดมาซ่ึงชางฝมือทําทองรุนฝกหัดไมไดอยูที่การขายของตรงจุดที่ผลิต

เตาเผาสังคโลก พิพิธภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา และรานประเสริฐแอนติค

x เตาเผาสังคโลกซึ่งมีจํานวนมากนับหลักรอยเปนองคประกอบที่สําคัญโดดเดนของภูมิทัศนมรดกวัฒนธรรมในอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย

x พิพิธภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา พรอมดวยแหลงขุดคนเตาเผาสังคโลก นําเสนอการส่ือความหมายคุณคาที่เต็มเปยมใหกับประวัติศาสตรดานการคาและการเคลือบกับการเขียนลวดลาย ตลอดจนกระบวนการเผา โดยการส่ือความหมายคุณคาเชิงประวัติศาสตรนาจะถูกเพิ่มเติมขยายขอบเขตโดยรวมเอาขอมูลที่มากขึ้นในเรื่องเกี่ยวกับการคา รูปแบบ ลวดลาย และอิทธิพลที่สงถึงในระดับภูมิภาคเอเชียที่กวางขึ้น

x ขอสังเกตหลัก คือ รานประเสริฐแอนติค ในสวนโรงผลิตเครื่องเคลือบดินเผาไดถูกกอตั้งขึ้นโดยพอของเจาของกิจการในปจจุบัน ผูซ่ึงเร่ิมตนจากการเปนนักสะสมทุกสิ่งอยางเกี่ยวกับงานสังคโลกที่ไดจากแหลงขุดคนทางโบราณคดีในเวลานั้นทางกลุมประทับใจในแรงปรารถนาและภาระหนาที่ของชางปนผูซ่ึงตองการฟนฟูงานศิลปหัตถกรรมโบราณชนิดนี้ และรูสึกวายังมีอีกหลายสิ่งที่สามารถทําใหเกิดขึ้นไดเพื่อสื่อสารใหตระหนักถึงวาการฟนฟูงานเครื่องเคลือบดินเผาเหลานี้ของกลุมชางฝมือทองถิ่นไดรับแรงบันดาลใจจากกระบวนการขุดคนทางโบราณคดีอยางไรบาง เพื่อแสดงการสื่อความหมายคุณคาที่เช่ือมโยงระหวางมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและวิถีปฏิบัติที่จับตองไมไดแตยังคงมีชีวิตอยู (สิ่งนี้อาจผนวกรวมเขากับพิพิธภัณฑเครื่องเคลือบดินเผาโดยจัดแสดงเปนพิเศษหรืออาจนําเสนอในรูปแบบการสื่อความหมายแบบอื่นโดยใชพิพิธภัณฑเครื่องเคลือบดินเผาเพื่อเปนพื้นที่หนึ่งในการพรรณนาเรื่องที่หลากหลายซับซอนเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมประเภทนี้และความหมายคุณคาของมันที่มีตอประชาชนทองถิ่น)

x ขอสังเกตหลัก เชนเดียวกับในกรณีของการทําเครื่องประดับทองคํา ยังไมชัดเจนวาชางปนทองถิ่นจะไดรับประโยชนจากการถูกผนวกรวมเขาในเสนทางทองเที่ยววัฒนธรรมไดอยางไร ในเมื่อรายไดสวนใหญมาจากการขายสินคาเครื่องเคลือบดินเผาตามใบสั่งจองโดยมีเพียงสวนเล็กนอยมากของรายไดที่มาจากการขายของที่ระลึกราคาคอนขางถูกใหกับนักทองเที่ยวที่มาเยี่ยมชมในพื้นที่การมีผูมาเยี่ยมชม

Page 70: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 67

tourists on site. More visitors could potentially disrupt rather than improve the business.

Gold Textile Museum

x An eclectic museum of Thai Phuan textiles, vernacular architecture and agricultural implements in Had Siaw, Si Satchanalai, the center of the Thai Phuan ethnic community. The museum is curated by Uncle Sathorn, a strong advocate and supporter of Thai Phuan ethnic traditions.

x The museum is a local, community-based museum with a focus on celebrating Thai Phuan identity and history. While charming, the museum is aimed at a Thai audience, and as in the other two cases above, it is uncertain what the benefits would be of a significant increase of tourist visitation to the museum and textile shop, given that they already have a well-established clientele and local museum visitors.

Summary of recommendations for the handicrafts:

Our group suggests further research with artisans in the Historical Park and vicinity to discuss scenarios and possible outcomes of their integration into cultural tourism.

x If these crafts were integrated into tourism trails, what do they think the impact would be?

x In what scenarios would it be desirable or undesirable? This kind of participatory, scenario-based research would be:

x a means to better understand the artisans’ resistance or acceptance of big changes due to tourism, and

x a means to help artisans envision and prepare for coming infrastructural changes, such as the rapid rail. Observations about Intangible Cultural Heritage at the Historical Sites (Sukhothai and Sri Satchanalai)

x Throughout the historical park, we observed that the nearly all of the historical sites bore signs of their significance as living, sacred and devotional sites—incense, flowers, fruits, candles and other ritual offerings. At Sri Satchanalai, we learned that local communities pay respects to tutelary spirits to request their protection, guidance and luck.

มากขึ้นอาจมีความเปนไปไดที่จะรบกวนมากกวาชวยอุดหนุนใหธุรกิจดีขึ้น

สาธรพิพิธภัณฑผาทองคํา

x เปนพิพิธภัณฑที่มีแบบฉบับเปนของตนเอง จัดแสดงผาทอของกลุมชาติพันธุไทพวน บานเรือนพื้นถิ่นและเครื่องมือของใชพื้นบานในตําบลหาดเสี้ยว อําเภอศรีสัชนาลัย ซ่ึงเปนศูนยกลางแหลงอยูอาศัยของชุมชนชาวไทพวน พิพิธภัณฑแหงนี้ดําเนินการจัดแสดงโดยลุงสาธรผูเปนเจาของและทุมเทอยางมุงมั่นใหกับการสนับสนุนการสืบทอดวิถีชาวไทพวน

x พิพิธภัณฑแหงนี้มีลักษณะเปนของทองถิ่นและโดยชุมชน มุงเนนไปที่การเฉลิมฉลองอัตลักษณและประวัติศาสตรของชาวไทพวนที่มาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ แมจะมีสเนหแตพิพิธภัณฑแหงนี้มุงเนนไปที่ผูมาเยี่ยมชมชาวไทย และเชนเดียวกันกับในอีกสองกรณีขางตนคือไมแนชัดถึงประโยชนที่อาจไดรับหากมีจํานวนนักทองเที่ยวเขาเยี่ยมชมสถานที่เพิ่มมากขึ้นทั้งในสวนพิพิธภัณฑและรานขายผาทอ โดยพบวามีลูกคาประจําอยูแลวและผูมาเยี่ยมชมสวนใหญเปนคนทองถิ่น

สรุปเกี่ยวกับขอเสนอแนะสําหรับงานหัตถกรรม

กลุมของเราขอเสนอแนะวาใหมีการทําวิจัยรวมกับชางฝมือทองถิ่นที่อยูในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตรและพื้นที่โดยรอบ โดยพูดคุยถกเถียงกันในประเด็นภาพรวมแนวทางและผลลัพธที่เปนไปไดของการผสานรวมเขาสูการทองเท่ียววัฒนธรรม

x ถาหากงานหัตถกรรมเหลานี้ถูกผสานรวมเขาสูเสนทางการทองเที่ยว พวกเขาจะคิดวาอาจไดรับผลกระทบอยางไรบาง

x ในภาพรวมแนวทางอยางไรบางที่พวกเขารูสึกวาตองการใหเกิดขึ้น หรือไมตองการใหเกิดขึ้น รูปแบบของการวิจัยแบบมีสวนรวมโดยใชภาพรวมแนวทางเชนนี้อาจเกิดประโยชนโดย

x เปนวิธีการทําใหเขาใจไดดียิ่งขึ้นวาชางฝมือทองถิ่นยอมรับหรือปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงไดมากเทาใดจากการทองเท่ียว และ

x เปนวิธีการเพื่อชวยใหศิลปนทองถิ่นสรางวิสัยทัศนและเตรียมพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางพื้นฐานที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เชน การกอสรางทางรถไฟความเร็วสูง

การสังเกตการณเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดในอุทยานประวัติศาสตร (สุโขทัยและศรีสัชนาลัย)

x ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร เราไดสังเกตเห็นวาเกือบทั้งหมดของพื้นที่อุทยานฯ ยังคงปรากฏสัญญาณการมีชีวิตอยูอยางมีนัยสําคัญของสถานที่ซ่ึงมีความศักดิ์สิทธิ์และเปนที่เคารพสักการะ เชน ธูปเทียน ดอกไม ผลไม และสิ่งบูชาอื่น ๆ ที่ศรีสัชนาลัยเราไดเรียนรูวาชุมชนทองถิ่นใหความเคารพกับวิญญาณผูพิทักษหรือเจาที่เพื่อปกปองคุมครอง คอยชี้นําทางและเพื่อขอพร

Page 71: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 68

x We also learned about living myths and ritual practices surrounding the tutelary spirit cult of Phra Ruang, which is the name of the founding dynasty of Sukhothai kings. While mythical in content, these stories can be said to constitute a shared cultural memory and express the affective and spiritual connections between local populations and the sites.

x We learned that Wat Phra Prang is the only site where there is an active Buddhist monastery in the historical site of Wat Phra Sri Mahathat Chaliang. The community organizes an annual merit-making rite at the historical site, to replace the holy cloth at the top of the central prang structure. This is also the site of the shrine to the tutelary spirit of Phra Ruang Phra Lue.

Summary of recommendations for Intangible Cultural

Heritage at the Historical Sites

Recommendations from this group focus on research that involves local communities. The group suggests: 1. Further in-depth field research on the intangible values and meanings of the sites to local populations. In keeping with the UNESCO Hoi An Protocols for Best conservation Practice in Asia and growing interest in moving beyond archaeological explanations to promote a more holistic, multidimensional experience of heritage (i.e. heritage and the senses, heritage and affect), our group advocates recognition of the intangible values, narratives, stories, practices and beliefs of local communities alongside the Outstanding Universal Values of the site. For example, at Wat Phra Prang, the newly established Municipal Museum could play a role as an interpretation centre about the intangible values, rituals and beliefs related to the narratives of Phra Ruang as well as rituals and beliefs related to the historic site, which could then be incorporated into the museum interpretation. Some future possibilities for incorporating intangible significance of the sites are digital animation (i.e. daily life, life of the Buddha, living rituals and practices) The proposed research should explore what more could be done to support Thesaban local museum at Wat Phra Prang (and possibly the interpretation center at Sukhothai) i.e. capacity-building for research and documentation of ICH related to the sites.

x เรายังไดเรียนรูเกี่ยวกับตํานานเรื่องเลาที่ยังคงถูกพูดถึงอยูและการปฏิบัติทางพิธีกรรมตาง ๆ โดยรอบพื้นที่ทางจิตวิญญาณของผูพิทักษที่เรียกวา พระรวง ซ่ึงเปนชื่อของราชวงศกษัตริยผูกอตั้งสุโขทัย แมในเนื้อหาจะลึกลับไมมีคําตอบที่ชัดเจน แตเรื่องเลาเหลานี้อาจกลาวไดวาชวยกอตั้งรากฐานความทรงจําทางวัฒนธรรมที่มีรวมกันอยูและถูกถายทอดอยางพึงพอใจดวยความผูกพันเชื่อมโยงทางจิตวิญญาณระหวางประชาชนทองถิ่นกับแหลงพื้นที่

x เราไดเรียนรูวาวัดพระปรางคเปนพื้นที่เพียงแหงเดียวที่ยังคงมีพระสงฆอยูอาศัยประกอบกิจกรรมทางศาสนาในพื้นที่โบราณสถานวัดพระศรีมหาธาตุเชลียง โดยชุมชนมีสวนรวมจัดงานพิธีกรรมทําบุญประจําปในแหลงประวัติศาสตรแหงนี้ โดยการเปลี่ยนผาหมรอบองคพระปรางค และที่นี่ยังเปนสถานที่ซ่ึงมีศาลผูพิทักษในนาม พระรวงพระลือ ปรากฏอยูดวย

สรุปเกี่ยวกับขอเสนอแนะสําหรับมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดในอุทยานประวัติศาสตร ขอเสนอแนะจากกลุมนี้มุงเนนไปที่การวิจัยที่มีสวนรวมโดยชุมชมทองถิ่น ทางกลุมขอเสนอแนะวา 1. ใหทําวิจัยเชิงลึกบนพื้นที่ศึกษาจริงตอไปในประเด็นคุณคาและความหมายที่จับตองไมไดของพื้นที่แหงนี้ที่มีตอประชาชนทองถิ่น เพื่อใหไปดวยกันกับขอเสนอของยูเนสโกเรื่อง แนวทางโฮยอันเพื่อการลงมืออนุรักษที่ดีที่สุดในเอเชีย และเพื่อความสนใจที่เพิ่มมากขึ้นมาโดยตลอดของการเปลี่ยนแนวทางการอธิบายดานโบราณคดีของพื้นที่มาสูมิติแบบองครวมที่แ สดงความหลากหลายของประสบการณที่ไดรับจากมรดกวัฒนธรรม (เชน มรดกวัฒนธรรมและสัมผัสประสบการณที่ไดรับ และความผูกพันพึงพอใจ) ทางกลุมเราขอเสนอใหทุมเทในเรื่องการตระหนักรูถึงคุณคาของมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได ตํานาน เรื่องเลาพรรณนา วิถีปฏิบัติและความเชื่อของชุมชนทองถิ่นตาง ๆ ควบคูไปกับคุณคาสากลอันโดดเดนของพื้นที่ ยกตัวอยางเชน ที่วัดพระปรางค มีพิพิธภัณฑทองถิ่นที่ถูกจัดตั้งขึ้นใหมซ่ึงสามารถแสดงบทบาทในฐานะศูนยกลางการสื่อความหมายคุณคาเกี่ยวกับคุณคาที่จับตองไมได พิธีกรรมและความเชื่อที่เชื่อมโยงกับเรื่องเลาชาวบานตํานานพระรวง เชนเดียวกันกับพิธีกรรมและความเชื่อที่เกี่ยวของกับแหลงประวัติศาสตร ซ่ึงสามารถนํามาผนวกรวมกับการสื่อความหมายคุณคาในพิพิธภัณฑได ความเปนไปไดอื่นในอนาคตเพื่อการผนวกรวมคุณคาความสําคัญที่จับตองไมไดของพื้นที่ยังรวมไปถึงการใชเทคโนโลยีการสรางภาพเคลื่อนไหวจําลองแบบดิจิตอล (เชน วิถีชีวิตประจําวันชาวบาน การดําเนินชีวิตของพระพุทธเจา พิธีกรรมและวิถีปฏิบัติที่สืบทอดมา) งานวิจัยที่นําเสนอควรคนหาวาจะสามารถทําอะไรไดบางเพื่อสนับสนุนพิพิธภัณฑชุมชนทองถิ่นของเทศบาลที่วัดพระปรางค (และเปนไปไดวาควรรวมไปถึงศูนยขอมูลที่สุโขทัย) เชน การสรางขีดความสามารถเพื่อการวิจัยและเก็บขอมูลมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดที่เชื่อมโยงกับพื้นที่

Page 72: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 69

2. A scenario-building research with the communities to consider the impacts of tourist promotion of festivals and ritual practices, as these practices can be negatively impacted by mass tourism (as in the case of alms giving in Luang Prabang). 3. The Intangible Cultural Heritage research should explore how to engage both the elders and young people, particularly through the arts and initiatives which encourage creative, imaginative engagement with the heritage sites. One example would be inviting children to draw their own roofs for the historic structures in the park, or photography or painting projects. 4. The in-depth, participatory research into Intangible cultural heritage and the scenario-building process would be essential to ensure community consultation and empowerment in anticipation of major changes in the near future due to the high-speed rail.

2. งานวิจัยเพื่อสรางแนวทางภาพรวมอนาคตโดยใหชุมชนตระหนักถึงผลกระทบจากการสงเสริมการทองเที่ยวงานเทศกาลและพิธีกรรมตาง ๆ เพราะการทองเท่ียวแบบเนนปริมาณสามารถสรางผลกระทบในทางลบตอวิถีปฏิบัติเหลานี้ (เชนเดียวกันกับที่เกิดขึ้นตอการตักบาตรเชาในเมืองหลวงพระบาง) 3. งานวิจัยดานมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดควรคนหาวาจะรวมเอาทั้งผูสูงอายุและเยาวชนมามีสวนรวมโดยเฉพาะในดานศิลปะและการสงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรคและใสจินตนาการเพิ่มเติมใหกับพื้นที่มรดกวัฒนธรรมไดอยางไร ตัวอยางหนึ่งคือการเชิญชวนเด็กใหวาดภาพหลังคาและแนวเสนขอบฟาเพื่อแสดงโครงสรางกายภาพของสิ่งปลูกสรางประวัติศาสตรในอุทยานฯ หรือโครงการถายภาพหรือวาดรูประบายสี 4. งานวิจัยเชิงลึกแบบมีสวนรวมในเรื่องมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได และกระบวนการสรางแนวทางภาพรวมอนาคตที่นาจะมีความจําเปนเพื่อการปรึกษากันในกลุมชุมชนและการสรางความเขมแข็งของชุมชนตอการพิจารณาเร่ืองความเปลี่ยนแปลงใหญที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตจากการสรางรางรถไฟความเร็วสูง

Page 73: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 70

WORKING GROUP 3: VISITOR EXPERIENCE:

TOURISM FACILITIES and INFRASTRUCTURE

1. Introduction Group 3 was initially asked to focus on tourism facilities but as we discussed our task we decided that we should instead focus on how visitors could experience the region. We therefore refocused on visitor experience, with particular emphasis on physical tourism facilities and infrastructure, including transport, way-finding and attractions. Over the two days of field trips, this group visited the historical parks in Sukhothai and Sri Satchanalai, craft workshops, the Organic Farm at the Sukhothai Airport, Sawankhalok railway station, museums and temples. Our report incorporates information we gained from observation and discussion with local people on our field trip, together with further discussion and analysis following the Forum. It addresses the facilities and infrastructure under four headings: visitors, connectivity (including transportation), accommodation and attractions. We also offer overarching recommendations for future economic and sustainable development planning in Sukhothai province, with particular reference to heritage and tourism. 2. Destination Overview The World Heritage Site (WHS) is the key anchor attraction for Sukhothai Province. Of the three sites that constitute the WHS, Sukhothai is the most visited (70,000 visitors estimated per annum), followed by Sri Satchanalai (15,000) and Kamphaeng Phet being the least visited. The region is also known for its crafts, most notably gold smithing, textiles and pottery (that has grown on the back of the archaeological site). There is a range of temples, private and public museums and craft related retail outlets. As a destination Sukhothai province offers a good product mix and is well placed to develop for specialist, high end and low impact tourism markets. Notably:

x It is home to a World Heritage Site spread over three locations in a varied and attractive cultural landscape

x Other cultural attractions including temples, old towns, vernacular architecture, national and private museums and markets. enrich the cultural heritage experience

กลุมทํางานที่สาม: ประสบการณผูมาเยือน สิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการทองเที่ยวและโครงสรางพื้นฐาน

1.เกริ่นนํา เมื่อเร่ิมตนทํางานทางกลุมไดถูกกําหนดใหมุงเนนไปที่เรื่องสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการทองเท่ียว แตเมื่อเราไดพูดคุยถกเถียงในโจทยที่ไดรับเราจึงตัดสินใจวานาจะมุ งเนนไปสูประเด็นที่วาจะสรางประสบการณใหนักทองเที่ยวในภูมิภาคนี้ไดสัมผัสอยางไร โดยมีการขยายความเพิ่มเติมในประเด็นสิ่งอํานวยความสะดวกในดานกายภาพและโครงสรางพื้นฐานเพื่อการทองเท่ียว รวมไปถึงเร่ืองการเดินทางขนสง ปายบอกและการหาทิศทาง และสถานที่ทองเท่ียว ในชวงเวลากวาสองวันของการลงพื้นที่สํารวจ กลุมนี้ไดเยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยและศรีสัชนาลัย แหลงผลิตงานหัตถกรรม โครงการเกษตรอินทรียสนามบินสุโขทัย สถานีรถไฟสวรรคโลก พิพิธภัณฑและวัดจํานวนหนึ่ง รายงานของเราผนวกรวมขอมูลที่เราไดรวบรวมขึ้นมาจากการสังเกตการณและการพูดคุยถกเถียงกับคนทองถิ่นในระหวางการลงพื้นที่ภาคสนาม รวมกับการพูดคุยถกเถียงและวิเคราะหตอเนื่องมาภายหลังการจัดประชุมเสวนาผูเชี่ยวชาญนานาชาติ รายงานนี้กลาวถึงประเด็นสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพื้นฐานภายใตสี่หัวเรื่อง คือ ผูมาเยือน การเชื่อมโยงพื้นที่ (รวมถึงการเดินทางขนสง) ที่พัก และสถานที่ทองเท่ียว เรายังไดทําขอเสนอแนะโดยรวมเกี่ยวกับแผนการพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืนในอนาคตของพื้นที่จังหวัดสุโขทัย โดยเฉพาะการอางอิงถึงเรื่องการทองเที่ยวและมรดกวัฒนธรรม 2. ภาพรวมของพื้นที่ มรดกโลกเปนสิ่งดึงดูดความสนใจหลักของจังหวัดสุโขทัย จากสามแหลงที่รวมกันเขาเปนหนึ่งมรดกโลกแหงนี้ อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยมีจํานวนนักทองเที่ยวมากที่สุด (โดยเฉลี่ย 70,000 คนตอป) ตามมาดวยศรีสัชนาลัย (15,000 คนตอป) และกําแพงเพชรมีจํานวนนักทองเที่ยวนอยที่สุด ภูมิภาคนี้ยังมีชื่อเสียงเปนที่รูจักในเรื่องงานหัตถกรรม โดยเฉพาะการทําเครื่องประดับทองคํา ผาทอ และเครื่องเคลือบดินเผา (ซ่ึงมีการดําเนินกิจการอยูบนพื้นที่แหลงโบราณคดีจริง) และยังมีวัดจํานวนมาก พิพิธภัณฑทั้งของรัฐบาลและเอกชน และสถานที่จําหนายสินคางานหัตถกรรม ในบทบาทดานสถานที่ทองเที่ยว จังหวัดสุโขทัยมีผลิตภัณฑเพื่อการทองเที่ยวที่ดีผสมผสานกัน และมีสถานะที่ดีเพื่อการพัฒนาใหดึงดูดกลุมตลาดทั้งผูมีความสนใจเฉพาะทางและกลุมนักทองเที่ยวคุณภาพหรือเนนปริมาณก็ได เพราะวา

x เปนที่อยูของแหลงมรดกโลกที่กระจายตัวอยูในสามที่ตั้งบนสภาพภูมิทัศนวัฒนธรรมที่หลากหลายและดึงดูดนาสนใจ

x มีสถานที่ทองเท่ียวทางวัฒนธรรมอื่นอีก เชน วัด เมืองเกา บานเรือนพื้นถิ่น พิพิธภัณฑและตลาดทั้งของรัฐและเอกชน ชวยสงเสริมการเติมเต็มประสบการณทองเที่ยว

Page 74: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 71

x It is renowned and recognised for the quality of its craft trades

x It has an attractive natural environment and flora and fauna

x A positive sustainability message is emerging, including through Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (DASTA) involvement (for exampling bicycling)

x It is an active centre for agriculture, which is being supported by active research

x There is a limited but good range of accommodation serving domestic and international visitor segments

x There is a growing national and international interest in the region

While there is potential and local commitment and enthusiasm to develop sustainable tourism, there are a number of hurdles and challenges that need to be overcome at a strategic and province-wide level for this to be successful and for the potential of the region and its people to be realised. 3. Visitors 3.1 Overview There were limited (and in places contradictory) visitor statistics available to the group at the time of the visit. However, a broad overview indicates that there are some 700,000 a year, of which 60-70% are Thai (however, it is unclear what percentage of these are visits by school or University students). The average stay is reported as 1.7 nights. International visitors are reported as spending more per visit. Overall there is a good domestic-international mix of visitors across a range of age groups. Most arrivals are independent travellers or members of relatively small groups. Market segments for international visitors range from backpackers stopping off on their way from Bangkok to Chiang Mai, to middle and high income groups travelling independently and more often as part of an organised group. International visitors come from the West as well as ASEAN countries and Japan. There is a perceived growth in Chinese visitors. Partly due to its inland location, large crowd attracting attractions are notably absent in the province, and their absence can play a significant role in maintaining high end and niche markets.

x มีชื่อเสียงและเปนที่รูจักจากการคางานหัตถกรรมคุณภาพ

x มีสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติที่ดึงดูดใจทั้งพืชพรรณและสัตวปา

x มีการสงเสริมบทบาทดานการพัฒนาอยางยั่งยืน รวมทั้งที่ไดรับการประกาศใหเปนพื้นที่พิเศษของ อพท.(เชน การสนับสนุนเร่ืองจักรยานทองเที่ยว)

x เปนศูนยกลางกิจกรรมดานการเกษตร ซ่ึงถูกสนับสนุนโดยงานวิจัยอยางตอเนื่อง

x มีที่พักจํานวนจํากัดแตมีความหลากหลายในการรองรับกลุมนักทองเที่ยวทั้งจากในประเทศและชาวตางชาติ

x ภูมิภาคนี้ไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้นทั้งจากในและตางประเทศ ในขณะที่มีศักยภาพและความสนใจตลอดจนความมุงหมายจากภาคสวนทองถิ่นที่ตองการพัฒนาการทองเที่ยวยั่งยืน ก็มีภารกิจและความทาทายจํานวนมากที่จําเปนตองไดรับการจัดการในระดับยุทธศาสตรจังหวัดเพื่อใหประสบความสําเร็จและเพื่อใหศักยภาพของผูคนและภูมิภาคนี้รับการยอมรับ 3.ผูมาเยือน 3.1 ภาพรวม ในระหวางที่ทางกลุมไดทํางาน มีรายงานสถิตินักทองเที่ยวแบบจํากัดมากและบางครั้งก็ขัดแยงในตัว อยางไรก็ดีภาพรวมสวนใหญบงชี้วาจํานวนตัวเลขอยูที่ประมาณ 700,000 คนตอป ซ่ึงประมาณ 60-70% คือคนไทย (อยางไรก็ดี ไมชัดเจนวารอยละของตัวเลขเหลานี้อาจรวมจํานวนนักเรียนมาทัศนศึกษาเขาไปดวยเทาใด) มีรายงานการพักคางคืนเฉลี่ยอยูที่ 1.7 คืน โดยนักทองเที่ยวตางชาติมีการใชจายมากกวา โดยภาพรวมมีสวนผสมระหวางนักทองเที่ยวทั้งจากไทยและตางชาติครอบคลุมทุกชวงกลุมอายุ ที่มาเยี่ยมชมมากที่สุดคือกลุมนักเดินทางอิสระหรือการมาทองเที่ยวแบบกลุมเล็ก สวนแบงการตลาดสําหรับนักทองเที่ยว มีตั้งแตกลุมแบกเปซ่ึงแวะหยุดพักระหวางทางกรุงเทพมหานครและเชียงใหม กลุมรายไดปานกลางถึงสูงเดินทางอิสระและมีบอยครั้งที่เดินทางเปนกลุมทัวร นักทองเที่ยวตางชาติมาจากโลกตะวันตกและกลุมชาติอาเซียน ตลอดจนญี่ปุน มีสัดสวนที่เติบโตขึ้นของนักทองเที่ยวจีน สวนหนึ่งเปนเพราะตําแหนงที่ตั้งในใจกลางประเทศหางจากเมืองใหญชายฝงทะเล จึงไมพบวามีแหลงทองเที่ยวที่นาดึงดูดใจสําหรับนักทองเที่ยวกลุมใหญ และจึงทําใหขาดการตลาดที่จําเปนสําหรับการดึงดูดกลุมนักเดินทางจายหนักและตลาดสําหรับนักทองเที่ยวที่ชื่นชอบทางเลือกที่มีรูปแบบเฉพาะตัว

Page 75: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 72

The group was of the view that mass tourism numbers could damage the essential character of the Sukhothai region. Thai visitors, apart from school and educational visits, include those visiting friends and family (VFR). Thai visitors are more attracted to some of the crafts (e.g. gold textiles) and sites of religious significance. 3.2 Assessment of issues The absence of good visitor data and visitor feedback restricts a good understanding of visitor types, expectations and needs. However, several key issues have been identified as:

x Absence of reliable visitor data, understanding of market segments, visitor profiling or satisfaction surveys is hindering future tourism planning. An improved understating of the market will also assist in retaining and nurturing the high quality, low impact visitor focus for the province.

x The current trend of high quality small volume visitors needs to be sustained, rather than moving towards higher volume for volume’s sake.

x Most visitor facilities (attractions and accommodation) are concentration around Sukhothai

x Duration of stay in the region is relatively low, partly due to limited accessibility and awareness of things to do.

3.3 Recommendations 1. Improve the quality of visitor data with better profiling, year on year studies and visitor satisfaction surveys. 2. Develop partnerships with tourism providers to engage in focused marketing activities to attract high end and low impact tourism and longer visitor stay. 4. Connectivity 4.1 Overview A lack of connectivity within the transport infrastructure across the province emerges as a key hindrance to tourism development in Sukhothai. The problem, however, is not so much a case of the absence of infrastructure, but one of poor connectivity and at times non-existent links between various transport options, and between attractions, town centres and accommodation facilities. The result is less time spent exploring the province by independent travellers, leaving hoteliers and guest houses with the task of providing transport.

ทางกลุมไดเห็นวาการเพิ่มขึ้นของจํานวนนักทองเที่ยวเนนปริมาณอาจทําลายคุณลักษณะเฉพาะที่สําคัญของพื้นที่สุโขทัย นักทองเที่ยวชาวไทย นอกเหนือจากที่มากับโรงเรียนและเพื่อการศึกษา และไมรวมที่มาเยี่ยมครอบครัวและเพื่อน พบวามีความสนใจไปที่งานหัตถกรรมมากกวา (เชน เครื่องประดับทองคํา และผาทอ) และสถานที่สําคัญทางศาสนา 3.2 การประเมินประเด็นปญหา การขาดการเก็บสถิติขอมูลและความคิดเห็นนักทองเที่ยวที่เปนระบบทําใหมีความเขาใจเพียงจํากัดเกี่ยวกับประเภทของนักทองเที่ยว ความคาดหวัง และความตองการ อยางไรก็ดีมีประเด็นปญหาหลายอยางที่สามารถระบุได เชน

x การขาดขอมูลที่นาเชื่อถือเกี่ยวกับนักทองเที่ยว ขาดความเขาใจดานสวนแบงการตลาด การสํารวจความพึงพอใจและสถานภาพนักทองเที่ยว ซ่ึงทําใหเปนอุปสรรคตอการวางแผนการจัดการทองเที่ยว การปรับปรุงในสวนความเขาใจดานการตลาดจะชวยเหลือในดานการรักษากลุมและดูแลนักทองเที่ยวคุณภาพสูงสรางผลกระทบนอยใหยังคงอยูในจังหวัดนี้

x แนวโนมปจจุบันในดานนักทองเที่ยวกลุมเล็กคุณภาพสูงจําเปนตองไดรับการเนนย้ําและรักษากลุมไว มากกวาจะมุงไปสูการเลือกปริมาณที่เพิ่มขึ้นเพียงเพื่อเพิ่มยอดตัวเลข

x สิ่งอํานวยความสะดวกนักทองเที่ยวสวนใหญ (ที่พักและสถานที่ทองเที่ยว) กระจุกตัวอยูรอบสุโขทัยเทานั้น

x ชวงเวลาในการพักคางคืนในภูมิภาคนี้คอนขางนอย สวนหนึ่งเกิดจากขอจํากัดในการเขาถึงพื้นที่และการไมตระหนักรูวาจะอยูเพื่อทํากิจกรรมอะไรในพื้นที่

3.3 ขอเสนอแนะ 1. ปรับปรุงคุณภาพของขอมูลนักทองเที่ยวโดยการเพิ่มขอมูลดานสถานภาพนักทองเที่ยวใหดีขึ้น และมีการศึกษาเพื่อสํารวจความพึงพอใจนักทองเที่ยวเปนประจําทุกป 2. พัฒนาการมีภาคีรวมมือกับผูประกอบการดานการทองเที่ยวเพื่อมุงเนนไปยังกิจกรรมสําหรับกลุมเปาหมายทางการตลาดเพื่อดึ งดูดกลุมนักทองเที่ยวอยูยาว จายหนักและสงผลกระทบนอย การเชื่อมโยงพื้นที่ 4.1 ภาพรวม ขาดการเชื่อมโยงภายในโครงสรางพื้นฐานดานการเดินทางขนสงทั่วทั้งพื้นที่จังหวัด ซ่ึงเปนอุปสรรคสําคัญของการพัฒนาการทองเที่ยวของสุโขทัย อยางไรก็ดีปญหานี้ไมไดเปนเพราะการไมมีโครงสรางพื้นฐานแตเปนเพราะการเชื่อมโยงที่แยและในขณะเดียวกันไมมีการเชื่อมตอระหวางทางเลือกการเดินทางขนสงหลายอยางและระหวางสถานที่ทองเที่ยวแตละแหง ตลอดจนการเชื่อมตอระหวางเมืองและที่พัก ผลลัพธคือการมีเวลาเหลือนอยลงสําหรับเดินทางทองเที่ยวของนักทองเที่ยวอิสระและทิ้งใหโรงแรมและเกสตเฮาสตองทําหนาที่จัดหาการเดินทางขนสงใหนักทองเที่ยวเอง

Page 76: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 73

On the other hand, there are a number of positive initiatives, such as a growing network of bicycle routes linking the key sites and drawing attention to the natural beauty of the surroundings. A new shuttle bus system is planned to commence soon between Sukhothai and Sri Satchanalai Historical Parks. There are known plans for a high speed rail route that will pass through the province and will undoubtedly have an impact on the province as well as the visitor profile and dynamic. This needs to be carefully considered in future tourism development planning. 4.2 Assessment of issues The key issues identified are:

x Arrival and departure points form disconnected nodes

x Travelling around the absence of coordinated public transport infrastructure limits visits and time spent

x There is very limited way-finding signage and information (before and during a visit), especially in the Latin alphabet.

x Alternative transport options such as cycling are also dependent on good signage and improved road safety.

4.3 Recommendations 1. Improve information available to visitors on various transport options, by a. Providing bus transfer information to Sukhothai from Phitsanulok train station and bus stations in Thai and English (more languages if possible) b. Providing train timetables in English at train stations c. Providing train timetables for Chiang Mai and Bangkok at all area bus stations where tourists are likely to arrive 2. Coordinate with various transport providers to develop transport nodes and linked up timetables, including bus transfers from trains in Sukhothai and Phitsanulok that are at convenient times. 3. Expand on planned Sukhothai-SiSat bus service to include service to the airport, train station, bus stations, and concentrations of hotels-shops-restaurants. 4. Consider two-tiered pricing for international visitors separate from national residents, which would allow for an expanded service for touristic visitors by offering service that includes the needs local residents.

ในอีกดานหนึ่ง มีความคิดริเริ่มดานบวกอยูจํานวนหนึ่งเชน การสรางโครงขายเสนทางจักรยานเชื่อมโยงพื้นที่สําคัญและนํานักทองเที่ยวไปสูธรรมชาติสวยงามที่อยูรอบพื้นที่ และมีการวางแผนการเปดใชบริการระบบรถโดยสารขนสงขนาดเล็ก เดินทางเชื่อมตอระหวางพื้นที่อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร มีแผนที่รับทราบกันอยูในขณะนี้เรื่องเสนทางรถไฟความเร็วสูงที่จะวิ่งผานจังหวัด โดยไมตองสงสัยวาจะตองมีผลกระทบกับจังหวัดนี้และความเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกลุมนักทองเที่ยวอยางแนนอน สิ่งนี้จําเปนตองไดรับการพิจารณาอยางระมัดระวังตอการวางแผนการพัฒนาการทองเที่ยวในอนาคต 4.2 การประเมินประเด็นปญหา ประเด็นปญหาหลักที่คนพบไดแก x จุดเดินทางขาเขาและขาออกจากพื้นที่ไมมีความสอดคลองเชื่อมตอ

กันกับยานศูนยกลางอื่น ๆ ในพื้นที่ x การเดินทางในบริเวณพื้นที่ขาดการประสานสอดคลองของโครงสราง

พื้นฐานระบบขนสงสาธารณะซ่ึงไปจํากัดการเยี่ยมชมพื้นที่และการใชเวลาในแตละสถานที่

x มีปายบอกทางและขอมูลอยูจํากัดมาก (ทั้งกอนและหลังการเดินทางเยี่ยมชม) โดยเฉพาะในภาษาอังกฤษ

x ทางเลือกอื่นของการเดินทาง เชน การขี่จักรยานก็ขึ้นอยูกับการมีปายบอกทางที่ดีเชนกัน และการปรับปรุงเร่ืองความปลอดภัยบนทองถนน

4.3 ขอเสนอแนะ 1. ปรับปรุงขอมูลนําเสนอเพื่อใหนักทองเที่ยวสามารถใชในการเลือกระบบเดินทางขนสง โดย ก. จัดทําขอมูลเกี่ยวกับรถโดยสารขนสงมายังสุโขทัยจากสถานีรถไฟและสถานีรถโดยสารจังหวัดพิษณุโลก ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (และมีภาษาอื่น ๆ เพิ่มขึ้นอีกหากทําได) ข. จัดทําตารางการเดินรถไฟในภาษาอังกฤษที่สถานีรถไฟ ค. จัดทําตารางการเดินรถไฟไปเชียงใหมและกรุงเทพที่สถานีรถโดยสารทุกแหงซ่ึงนักทองเที่ยวมักใชเดินทาง 2. ทํางานประสานความรวมมือกับผูใหบริการเดินทางขนสงเพื่อพัฒนาศูนยกลางจุดเปลี่ยนถายการเดินทางตาง ๆ และเชื่อมโยงตารางการเดินทางทั้งหมดใหเปนระบบ รวมทั้งจัดหารถโดยสารขนสงจากสถานีรถไฟในสุโขทัยและพิษณุโลกในเวลาที่เหมาะสม 3. ตอขยายการวางแผนใหบริการรถโดยสารเชื่อมตอระหวางอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยและศรีสัชนาลัยใหวิ่งผานและใหบริการจากสนามบิน สถานีรถไฟ สถานีรถโดยสาร และที่จุดรวมโรงแรมรานคาและรานอาหาร 4. พิจารณากําหนดราคาคาโดยสารสองระดับสําหรับนักทองเที่ยวตางชาติแยกออกจากผูที่มีถิ่นพํานักในประเทศไทย ซ่ึงนาจะชวยเพิ่มการขยายบริการแกนักทองเที่ยวไดมากขึ้นในขณะที่ยังสามารถตอบสนองความตองการของคนทองถิ่นได

Page 77: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 74

5. Provide coordinated directional road signs in both Thai and English (Latin alphabet) and signs to sites at key interchanges to encourage more self-guided travel across the province. 6. Continue to develop and promote cycling, by a. Providing signage on long-distance bicycle route, and signs pointing to the route from relevant locations. b. Enhancing the promotional information about bicycles within the Historical Parks. c. Bicycle rentals to use to reach the Historical Parks and to use within the parks. d. Improving safety along bicycle routes. 5. Accommodation 5.1 Overview Reflecting the visitor segments that are currently visiting the province, the accommodation available in Sukhothai ranges from simple backpacker hostels to high end resorts, with a good range in between. Notably most accommodation provision is relatively small in scale thus with less impact on the landscape. An emerging eco-resort and eco-tourism market is commendable and should be supported. There are five large hotels alongside a growing number of guest houses that are usually family run with approximately 20 rooms each. These reportedly operate on an 80-90% occupancy rate. The average stay is reported to rarely exceed two nights though, and this is partly linked to the absence of things to do at night and limited transportation options to visit more places in the province (see section on Connectivity above). The Tourism Authority of Thailand (TAT) plays an important role in marketing. Most accommodation provision is situated around Sukhothai. There is a homestay scheme in the north of province, though this is not easily accessible from the main attractions and transportation networks. 5.2 Assessment of issues The following key issues were identified in discussions with local hoteliers and service providers:

x Statistics on accommodation provision are sketchy (see also issue concerning limitations of visitor data)

x No formal training in tourism sector skills is available locally and linked to the hotel industry. The nearest training centre is in neighbouring Phitsanulok province. As with transportation, hotels and guest houses are filling in the training gap, but this is not sustainable in the long term.

5. จัดทําปายบอกทางถนนซ่ึงมีการประสานขอมูลใหสอดคลองกันทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ดวยตัวอักษรที่เขาใจงายและเปนสากล) และปายบอกทางไปยังสถานที่ตรงบริเวณแยกการจราจรหลักเพื่อสงเสริมกระตุนใหเกิดการเดินทางไปทั่วบริเวณพื้นที่จังหวัดดวยตนเองใหมากขึ้น 6. พัฒนาและสงเสริมการขี่จักรยานอยางตอเนื่องตอไป โดย ก. จัดทําปายบอกทางบนเสนทางจักรยานทางไกล และปายชี้ไปยังเสนทางที่เชื่อมโยงกับตําแหนงที่เกี่ยวของ ข. ขยายเพิ่มเติมขอมูลการสงเสริมการใชจักรยานในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร ค. สงเสริมการใชจักรยานเชาเพื่อเขาถึงอุทยานประวัติศาสตรและเพื่อใชเดินทางภายในบริเวณอุทยานฯ ง. ปรับปรุงความปลอดภัยของการขี่จักรยานบนถนน 5.ที่พัก 5.1 ภาพรวม ที่พักที่สามารถหาไดในจังหวัดสุโขทัยมีตั้งแตแบบเรียบงายเชนหองพักรวมสําหรับนักทองเที่ยวแบกเปไปจนถึงโรงแรมระดับหรูหราและที่พักในระดับกลางอีกหลายแหง สะทอนภาพของสวนแบงการตลาดนักทองเที่ยวที่มาเยี่ยมชมพื้นที่ในจังหวัด ที่พักสวนใหญมีขนาดคอนขางเล็กจึงมีผลกระทบตอสภาพภูมิทัศนคอนขางนอย รีสอรทแบบรักษาสภาพแวดลอมเพื่อรองรับตลาดการทองเที่ยวแบบทางเลือกจึงนาจะไดรับการสงเสริมและสนับสนุนในพื้นที่ มีโรงแรมขนาดใหญหาแหงที่ เกิดขึ้นควบคูไปกับจํานวนเกสตเฮาสที่สวนมากมีระบบจัดการแบบครอบครัวและมีหองพักประมาณ 20 หองโดยเฉลี่ย โดยมีรายงานวามีอัตราการเขาพักเฉลี่ยที่ 80-90% แตการพักคางโดยเฉลี่ยแทบไมเกินสองคืน ซ่ึงสิ่งนี้เชื่อมโยงถึงการขาดกิจกรรมใหทําในชวงกลางคืนและการมีทางเลือกของการเดินทางขนสงที่จํากัดโดยไมสามารถไปเยี่ยมชมสถานที่อื่น ๆ ในจังหวัดไดอีก (ดูหัวขอ การเชื่อมโยงพื้นที่ ที่กลาวไวกอนหนานี้) การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) รับบทบาทในดานการสงเสริมดานการตลาดจึงควรพิจารณาในประเด็นนี้ มีที่พักทางเลือกนาสนใจเกิดขึ้นโดยรอบพื้นที่สุโขทัย เชน โฮมสเตยในพื้นที่ทางตอนเหนือของจังหวัด แมจะเขาถึงไดยากจากสถานที่ทองเที่ยวหลักและโดยการใชโครงขายการเดินทางขนสงแบบปกติ 5.2 การประเมินประเด็นปญหา ประเด็นปญหาตอไปนี้ไดถูกนําเสนอขึ้นในระหวางการพูดคุยถกเถียงกับผูประกอบการโรงแรมและผูใหบริการทองเท่ียว

x การเก็บขอมูลสถิติเกี่ยวกับที่พักไมมีความละเอียด (ดูเพิ่มเติมในหัวขอเกี่ยวกับขีดจํากัดเรื่องขอมูลนักทองเที่ยว)

x ไมมีการฝกอบรมทักษะในภาคสวนการทองเที่ยวในระดับทองถิ่น และไมมีความเชื่อมโยงมาสูธุรกิจโรงแรม ศูนยฝกอบรมที่ใกลที่สุดอยูในจังหวัดพิษณุโลก และเชนเดียวกับประเด็นการเดินทางขนสง โรงแรมและเกสตเฮาสตองรับภาระดานการฝกอบรมทักษะเหลานี้เอง ซ่ึงการรับภาระเชนนี้ไมอาจยั่งยืนไดในระยะยาว

Page 78: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 75

x There is no obvious planned development or strategy for the sector.

x Hoteliers are not fully represented or active in a trade organisation – reducing opportunities for sharing resources and coordinating marketing efforts, although the Sukhothai Guest House and Resort Club with 22 members provides a platform for networking and coordination amongst the service providers.

5.3 Recommendations 1. Develop further education facilities for training in tourism a sector skill that is integrated with the sector (hotels, organic food producers, attractions) and is responsive to the local skill shortage. 2. Support eco-tourism activity, through training and awareness building as well as provision for networking and building synergies between providers of ecologically sensitive products. 6. Attractions 6.1 Overview There is a good variety of visitor attractions in Sukhothai ranging from historic sites and traditional crafts (including demonstrations) to nature-based activities and those linked to local life products (organic farming). The World Heritage Site is an established and ‘mature’ product and several of the craft products are rated 5* and are well known beyond the province. Also of note are several small museums, and living sacred sites that locals still respect and engage with through ritual as they have a spiritual connection to the site. As reported previously and by other groups there is potential to enrich and coordinate interpretation. However, despite having a wide range of attractions, there is no overall or connected image for the province as a whole beyond the World Heritage Site. Some attractions are scattered and others are hard to access. Where there is a cluster of activities, these are not necessarily coordinated or collectively marketed There is potential to develop nature based and adjunct activities that will enhance the existing tourism products. Much of the visitor activity remains focused around the Sukhothai site, including night time events and festivals.

x ไมมีแผนหรือยุทธศาสตรการพัฒนาที่ชัดเจนในภาคสวนนี้

x โรงแรมไมมีการนําเสนอหรือดําเนินการเชิงรุกอยางเต็มที่ในดานการรวมมือกันขาย ทําใหลดโอกาสในการแบงปนทรัพยากรและการทําตลาดรวมกันทั้งที่อาจทําได แมวาจะมีชมรมรีสอรทและเกสตเฮาสสุโขทัยซ่ึงมีสมาชิกอยู 22 ราย พยายามสรางพื้นที่เพื่อการทํางานแบบเครือขายและประสานความรวมมือกันทามกลางผูใหบริการรายอื่น ๆในพื้นที่

5.3 ขอเสนอแนะ 1. พัฒนาสาธารณูปโภคดานการศึกษาเพื่อการฝกอบรมทักษะในภาคสวนการทองเท่ียวตอไป โดยการผสานรวมกันเขากับภาคสวนตาง ๆ ในดานการทองเที่ยว (เชน โรงแรม ผูผลิตอาหารอินทรีย แหลงทองเที่ยว) และใหมีการตอบสนองรับกันกับทักษะที่กําลังขาดแคลนในพื้นที่ 2. สนับสนุนกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ผานการฝกอบรมและการสรางความตระหนักในคุณคา ไปพรอมกับการจัดทําเครือขายและสรางพลังแนวร วมระหว า งผู ประกอบการที่ นํ า เสนอผลิตภัณฑ ซ่ึ ง ใส ใจกับสภาพแวดลอม 6. แหลงทองเที่ยว 6.1 ภาพรวม มีแหลงทองเที่ยวที่ดึงดูดใจอยูหลากหลายในสุโขทัย ทั้งที่ เปนพื้นที่ประวัติศาสตรและแหลงผลิตงานหัตถกรรมทองถิ่น (บางแหงมีการสาธิตขั้นตอนการทําใหชม) ไปจนถึงกิจกรรมที่พึ่งพาสิ่งแวดลอมธรรมชาติและผลิตภัณฑที่เชื่อมโยงกับการใชชีวิตในทองถิ่น(เชน เกษตรอินทรีย) แหลงมรดกโลกคือผลิตภัณฑทองเที่ยวชนิดหนึ่งที่ถูกจัดตั้งใหมีขึ้นและไดมีพัฒนาการมาจนเต็มที่แลว ผลิตภัณฑอื่นและงานหัตถกรรมทองถิ่นจัดอยูในระดับหาดาวและเปนที่รูจักนอกเหนือไปจากในจังหวัดสุโขทัย และยังมีพิพิธภัณฑขนาดเล็กหลายแหง และแหลงสักการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ยังมีคนทองถิ่นมาใชอยูโดยมีความสัมพันธระหวางคนกับพื้นที่ผานพิธีกรรมและความเชื่อมโยงทางจิตวิญญาณ ซึ่งกลุมอื่นไดอางถึงแลววามีศักยภาพที่จะเพิ่มพูนและผสานรวมเขากับการส่ือความหมายคุณคาของพื้นที่ อยางไรก็ดี แมจะมีแหลงทองเที่ยวที่หลากหลายอยูจํานวนหนึ่ง แตยังไมมีการเชื่อมตอสิ่งเหลานี้ใหเกิดเปนภาพลักษณของจังหวัดแบบองครวมมากกวาแคภาพของแหลงมรดกโลก แหลงทองเที่ยวบางแหงอยูกระจัดกระจายและอีกหลายแหงที่ยากจะเขาถึง และแมจะมีกลุมของกิจกรรมการทองเที่ยวอยูแตไมพบวามีการทํางานประสานความรวมมือหรือทําการตลาดรวมกัน มีศักยภาพที่จะพัฒนากิจกรรมเสริมที่เชื่อมโยงกับสิ่งแวดลอมธรรมชาติซ่ึงจะตอขยายทรัพยากรการทองเท่ียวจากที่มีอยูแลวใหเพิ่มพูนยิ่งขึ้น กิจกรรมนักทองเที่ยวสวนใหญยังคงกระจุกตัวอยูรอบพื้นที่อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย รวมถึงกิจกรรมยามคํ่าคืนและเทศกาล

Page 79: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 76

6.2 Assessment of issues Alongside the overview presented above, the following issues have been identified concerning the provision of visitor attractions (products) in Sukhothai province:

x Promoted attractions are largely focused around the historical parks, especially Sukhothai.

x There are a number of attractions, and types of attraction, that are relatively unknown and/or are not easily accessible.

x Nature based attractions, from cycling to bird watching for example, are not coordinated or sufficiently promoted.

x Opportunities for local income generation (handicraft sales), participation and visitor engagement (for example birding) are not being exploited.

6.3 Recommendations 1. Promote a diverse range of attractions across the province by strengthening existing attractions and developing new (or less well recognised) attractions 2. Identify geographic, thematic and complementary clusters of attractions across the province (especially in the south), in order to a. Strengthen and enhance the attractions b. Improve coordination amongst attractions to facilitate information sharing, joined up and complementary marketing. 3. Include handicraft retail opportunities in planning for transport accessibility enhancements, for instance facilitating visits to markets and retail outlets and to craft workshops that are interested in expanding visits (refer to reports of Working Group 2 and Side Group 2). 4. Ensure that the development of attractions is based on thorough research, including on the conservation of cultural and natural assets, and local social needs. 5. Future Planning As in every place it is important that Sukhothai also uses its tourism products as a basis or catalyst for economic and social development beyond tourism products and services. This will build up a more sustainable and long term economy in which tourism can also thrive. 6.3 Recommendations The following recommendations are for overarching activities and initiatives that will support sustainable tourism development and deliver social and economic benefits.

6.2 การประเมินประเด็นปญหา ควบคูมากับภาพรวมที่นําเสนอขางตน ประเด็นปญหาตอไปนี้ถูกระบุถึงโดยเกี่ยวเนื่องกับประเด็นการจัดการเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว (ในฐานะผลิตภัณฑทองเที่ยว) ในจังหวัดสุโขทัย

x แหลงทองเที่ยวที่ไดรับการสงเสริมสวนใหญกระจุกตัวอยูรอบอุทยานประวัติศาสตรโดยเฉพาะที่สุโขทัย

x มีแหลงทองเที่ยวอยูจํานวนหนึ่งและเปนบางประเภทที่ไมคอยเปนที่รูจัก และ/หรือไมอาจเขาถึงไดโดยงาย

x แหลงทองเที่ยวธรรมชาติ ตัวอยางเชน ขี่จักรยานหรือชมนกทองถิ่น ยังไมถูกนํามาผสานรวมหรือสงเสริมอยางเพียงพอ

x ยังไมมีการสรางโอกาสในการเพิ่มรายไดใหคนในระดับทองถิ่น(จากการขายงานหัตถกรรม) ตลอดจนการมีสวนรวมของทองถิ่นและเปดโอกาสใหนักทองเที่ยวเขามีสวนรวมในประสบการณทองถิ่น (เชน การชมนกทองถิ่น)

6.3 ขอเสนอแนะ 1. สงเสริมความหลากหลายของแหลงทองเที่ยวทั่วพื้นที่จังหวัด โดยเพิ่มความเขมแข็งใหกับแหลงทองเที่ยวที่มีอยูแลวและพัฒนาแหลงทองเที่ยวใหม ๆ (หรือที่ยังไมมีคนรูจักมากนัก) 2. อัตลักษณทางภูมิศาสตรที่ตั้ง การกําหนดแนวคิดของรูปแบบการนําเสนอเปนกลุมของแหลงทองเที่ยว ทั่วพื้นที่จังหวัด (โดยเฉพาะทางตอนใต) เพื่อที่ ก. สรางความเขมแข็งและตอขยายแหลงทองเที่ยวออกไป ข. ปรับปรุงการประสานความรวมมือระหวางแหลงทองเที่ยวเพื่อแบงปนขอมูลรวมกันอยางเปนระบบ และรวมมือกันทําการตลาดที่สงเสริมซ่ึงกันและกัน 3. รวมการสรางโอกาสในดานคาปลีกสินคาหัตถกรรมในแผนการเชื่อมตอและขยายการเขาถึงการเดินทางขนสง เชน การจัดใหมีตลาดและแหลงขายและแหลงผลิตสินคา ซ่ึงจะทําใหเกิดการเดินทางทองเที่ยวในสวนตอขยายเพิ่มมากขึ้น (อางอิงถึงรายงานของกลุมทํางานที่สอง และกลุมทํางานยอยที่สอง) 4. ตองแนใจวาการพัฒนาแหลงทองเที่ยวทั้งหมดอยูบนพื้นฐานของการทําวิจัย รวมทั้งกาอนุรักษทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมและธรรมชาติ และศึกษาความตองการทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชนทองถิ่น 5.การวางแผนเพื่ออนาคต เชนเดียวกับในทุกที่ เรื่องสําคัญคือสุโขทัยตองใชประโยชนจากผลิตภัณฑทองเที่ยวเพื่อเปนฐานหรือตัวกระตุนใหเกิดการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจที่ไปไกลเกินกวาเร่ืองผลิตภัณฑและบริการทองเท่ียว สิ่งนี้จะสรางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระยะยาวที่ซ่ึงการทองเที่ยวสามารถเติบโตเปนสวนหนึ่งไดอยางเหมาะสม 6.3 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะตอไปนี้เพื่อสงเสริมกิจกรรมและความคิดริเริ่มที่จะสนับสนุนการพัฒนาการทองเท่ียวยั่งยืนและสรางผลประโยชนทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม

Page 80: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 77

1. Base any future planning on a sound research base that includes social surveys. 2. Enhance and nurture existing facilities and activities, including a. Support for small and start-up businesses b. Provision for capacity building for sector workers 3. Develop or facilitate the development of new facilities and services that support regional tourism aspirations, by a. Building on existing capacity and resources within the region b. Complementing existing visitor provision c. Maintaining awareness of cultural tradition and cultural practice as well as the need to protect and manage heritage assets. 4. Use tourism facilities and planning for longer term economic growth beyond tourism, through a. Education and vocational training facilities that are directly linked with the industry b. Developing the Sukhothai brand for organic local produce and crafts. c. Promoting of high end craft and food/agriculture products using Sukhothai brand to outside markets

1. ใหดําเนินการวางแผนในอนาคตทั้งหลายบนพื้นฐานการศึกษาวิจัยที่เหมาะสมซ่ึงรวมถึงการสํารวจขอมูลสังคม 2. เพิ่มพูนและดูแลบํารุงสาธารณูปโภคและกิจกรรมที่มีอยูเดิม รวมถึง ก.สนับสนุนธุรกิจขนาดเล็กและที่เพิ่งเริ่มตน ข.จัดใหมีการสรางเสริมขีดความสามารถกับผูทํางานในภาคสวนทองเท่ียว 3. พัฒนาหรือจัดใหมีการพัฒนาสาธารณูปโภคและบริการสิ่งอํานวยความสะดวกใหมเพื่อสนับสนุนโอกาสในการสงเสริมการทองเที่ยวระดับภูมิภาค โดย ก.เสริมสรางขีดความสามารถและทรัพยากรจากเดิมที่มีอยูแลวในภูมิภาค ข.สงเสริมสิ่งอํานวยความสะดวกนักทองเที่ยวที่มีอยูแลวใหประสานสอดคลองกัน ค.รักษาความตระหนักรูในคุณคาวิถีดั้งเดิมที่สืบทอดและรูปแบบประเพณีปฏิบัติตลอดจนสงวนรักษาและอนุรักษและจัดการทรัพยากรมรดกวัฒนธรรม 4. ใชสาธารณูปโภคเพื่อการทองเท่ียวและการวางแผนการจัดการทองเท่ียวเพื่อสรางการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวที่มากกวาแคการทองเที่ยว โดย ก.จัดใหมีสาธารณูปโภคเพื่อการฝกอบรมอาชีพและการศึกษาที่ เชื่อมโยงโดยตรงกับอุตสาหกรรมทองเท่ียว ข.พัฒนาตราสินคาสุโขทัยสําหรับผลิตผลทองถิ่นและงานหัตถกรรม ค.สงเสริมสินคาคุณภาพสูงทั้งงานหัตถกรรมและอาหาร สินคาเกษตร โดยใชตราสินคาสุโขทัยเพื่อนําเสนอสูตลาดภายนอก .

Page 81: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 78

SIDE GROUP 1: AGRARIAN HERITAGE EXPERIENCE

Introduction and Brief The main aim of this Group was “experiencing” and analyzing several tourist initiatives and spaces devoted to agriculture which might be included in the conceptual framework of active tourism: different farming communities of the Sukhothai countryside and the Organic Agriculture Project in Sukhothai Airport. We therefore mostly dealt with intangible heritage: the living and evolving agrarian heritage of these farming communities. However, the conclusions included in this report also regard agrarian heritage and agrarian activity in the wider context of Sukhothai World Heritage Site, which we also visited to have a comprehensive idea of the many dimensions of agrarian heritage in this area. Observations We noted that currently the archeological remains and temples included in the World Heritage Site do not preserve the values and features associated withagrarian heritage although:

x agriculture is historically and in the present the main economic activity of Sukhothai population; and

x Agricultural activity dominates the surroundings of the different sites inscribed on the WHL.

x The cultural landscape of the region is primarily agricultural, especially outside of the larger towns.

Given the importance of agriculture to the Sukhothai region, agrarian activities and their practitioners should be integrated and included into the design and management of tourism in this destination. This is especially important, considering that the model of tourism to be promoted in the area, the objectives of DASTA Thailand, and the ICTC, are all based on the principles of sustainable development (to which traditional agriculture is a great contributor) and community participation. Bearing this in mind these principles, we would like to make the following observations regarding the Sukhothai World Heritage Site area:

x This area does not currently illustrate the importance of farming activity that developed before the site became protected under national and international heritage legislation. However, agriculture has been a vital contributor to the maintenance of both the temples and its related landscape in the past. Future interpretive tools and valorization initiatives should also regard and

กลุมทํางานยอยที่ 1: ประสบการณมรดกวิถีเกษตร

เกริ่นนําและสรุปยอ เปาหมายหลักของกลุมนี้คือการสัมผัสประสบการณและวิเคราะหกิจกรรมกับพื้นที่สําหรับนักทองเที่ยวเพื่อการเกษตร ซ่ึงอาจรวมถึงกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงรุกดวยกิจกรรมในชุมชนเกษตรกรรมที่แตกตางกันไปของยานชนบทของสุโขทัยและในโครงการเกษตรอินทรียสนามบินสุโขทัย เราจึงไดมุงจัดการกับประเด็นมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดเปนสวนใหญ คือมรดกวิถีเกษตรของชุมชนเกษตรกรรมที่มีวิวัฒนาการและดํารงอยูมาจนถึงปจจุบัน อยางไรก็ดีขอสรุปรวมอยูในรายงานฉบับนี้เกี่ยวของกับเรื่องมรดกวิถีเกษตรและกิจกรรมการเกษตรในบริบทที่กวางขึ้นของแหลงมรดกโลกสุโขทัย ซ่ึงทางกลุมเราไดไปเยี่ยมชมและทําใหไดความคิดโดยรวมที่มีหลากหลายมิติของมรดกวิถีเกษตรในพื้นที่แหงนี้ การสังเกตการณ เราไดพบวาแหลงโบราณสถานและวัดเกาตลอดจนพื้นที่วางที่หลงเหลืออยูในแหลงมรดกโลกไมไดสงวนรักษาคุณคาและองคประกอบที่มีความเกี่ยวของกับมรดกวิถีเกษตรไว ถึงแมวา

x การเกษตรกรรมคือประวัติศาสตรและวิถีปจจุบันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของประชากรในสุโขทัย และ

x พื้นที่โดยรอบบริเวณแหลงมรดกโลกทั้งสามแหงมีการประกอบกิจกรรมการเกษตรบนพื้นที่เปนหลัก

x ภูมิทัศนวัฒนธรรมของภูมิภาคนี้อยูบนพื้นฐานแรกเริ่มในเรื่องการเกษตรกรรม โดยเฉพาะบริเวณนอกเมืองใหญ

เมื่อพิจารณาความสําคัญของการเกษตรกรรมในภูมิภาคสุโขทัย ทั้งตัวกิจกรรมดานการเกษตรและผูลงมือปฏิบัติควรถูกนํามาผสานรวมเขาในการออกแบบและจัดการแหลงทองเที่ยว สิ่งนี้สําคัญมากเมื่อพิ จารณาวาวัตถุประสงคของการทองเที่ยวที่ทาง อพท. และไอซีทีซี เลือกใชอยูบนพื้นฐานของหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน (ที่ซ่ึงเกษตรกรรมแบบวิถีดั้งเดิมนับวามีสวนในการสนับสนุนเปนอยางมาก) รวมกับกระบวนการมีสวนรวมโดยชุมชน โดยอาศัยหลักการเหลานี้เปนเครื่องเตือนใจ เราตองการนําเสนอการสังเกตการณตอไปนี้ในพื้นที่มรดกโลกสุโขทัย

x พื้นที่แหงนี้ไมไดแสดงใหเห็นภาพความสําคัญของกิจกรรมการทําไรนาสวนที่มีพัฒนาการมากอนที่พื้นที่แหงนี้ไดกลายเปนพื้นที่อนุรักษขึ้นทะเบียนเปนมรดกวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับสากล อยางไรก็ดีวิถีเกษตรกรรมไดกลายเปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการดํารงอยูของวัดและภูมิทัศนในอดีตของพื้นที่ เครื่องมือเพื่อสื่อความหมายและการริเร่ิมเพื่อสรางความภาคภูมิใจในคุณคาจึงควร

Page 82: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 79

recognize the role of ancient communities and farmers in the traditional local management and protection of the site.

x This site should recover and provide an active role for the local population. The local population living in Sukhothai and the nearby area should be the main beneficiary of its protection and enhancement. This engagement would contribute to the visitors’ understanding of the site. The participants of the Sukhothai International Cultural Tourism Expert Symposium strongly noted that today communities do not have an active role in the management of the site, nor feel it as part of their everyday live and identity. This is a challenge to be confronted by public administrators in charge of the site should its future promotion wish to comply with the principles mentioned above. Banana Leaf production as an example of local community production

Looking at agrarian activity in the wider context of Sukhothai countryside, the group was particularly impressed by Local farm communities devoted to the growing, preparation and process of banana leaf trees.

They represent a community based agricultural production, devoted to a “naturally” organic product (no need of garbage dumps and contributes to the fertility of the soil), and thus a type of farming system which is increasingly disappearing both in Sukhothai and many other agricultural areas of Thailand and other countries.

In this regard, it is very important to note the ability of an agrarian heritage concept to protect traditional farming practices which are threatened today, amongst other causes, by highly intensive and industrial agriculture, the uncontrolled urban and infrastructural sprawl, the des-agrarization of the rural world and the disappearance of traditional management skills and trades related to farming activity.

The local farms visited were mainly family businesses that have been established for several generations that help each with their crop production. They do not have visitor facilities, since farming is their main activity and their properties are family owned and not devoted to tourism. However, we wish to highlight the following:

ตระหนักถึงบทบาทของชุมชนแตดั้งเดิมและชาวไรนาสวนในการจัดการแบบทองถิ่นและการสงวนรักษาแบบดั้งเดิมของพื้นที่

x พื้นที่แหงนี้ควรฟนฟูและจัดใหมีบทบาทเชิงรุกแกประชาชนทองถิ่นที่อาศัยใชชีวิตอยูในสุโขทัยและพื้ นที่ ใกลเคียงซ่ึงควรไดรับผลประโยชนเปนหลักจากการอนุรักษและเพิ่มพูนคุณคาของพื้นที่ การจัดการดังกลาวควรสงเสริมความเขาใจของนักทองเที่ยวที่มีตอพื้นที่ ผู เขารวมในการประชุมเสวนาผู เชี่ยวชาญการทองเที่ยววัฒนธรรมสากลที่สุโขทัยในครั้งนี้ยังไดกลาวย้ําว าในขณะนี้ยังไมพบวาชุมชนมีบทบาทเชิงรุกในการจัดการพื้นที่หรือรูสึกวาวิถีดําเนินชีวิตในทุกวันและอัตลักษณของตนเองไดรับการยอมรับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการจัดการพื้นที่แหงนี้หนวยงานบริหารจัดการระดับทองถิ่นจําเปนตองเผชิญหนากับความทาทายนี้และตอสูเพื่อใหการสงเสริมพื้นที่ในอนาคตสอดคลองกับหลักการดังที่ไดกลาวไวขางตน แหลงผลิตใบตองกลวยในฐานะตัวอยางกระบวนการผลิตโดยชุมชนทองถิ่น

หากมองไปที่กิจกรรมการเกษตรในบริบทที่กวางขึ้นของยานชนบทสุโขทัย กลุมของเรามีความประทับใจมากเปนพิเศษกับแหลงชุมชนเกษตรกรรมที่ทุมเทใหกับการเพาะปลูกและกระบวนการจัดการเพื่อผลิตใบตองกลวย

แหลงชุมชนเหลานี้คือตัวแทนนําเสนอกระบวนการผลิตภาคเกษตรกรรมโดยชุมชนเองที่ทุมเทใหกับการสรางผลผลิตธรรมชาติแบบอินทรีย (โดยไมมีขยะเหลือทิ้งไรประโยชนเพราะสามารถนํามาทําเปนปุยในดินได) ซ่ึงเปนระบบการทําไรนาสวนที่เริ่มหายไปมากขึ้นเรื่อย ๆ จากสุโขทัยและพื้นที่เกษตรกรรมอื่น ๆ ทั้งในประเทศไทยและในอีกหลายประเทศทั่วโลก ดังนี้แลวจึงมีความสําคัญมากที่ตองระบุถึงความสามารถในการนําแนวคิดมรดกวิถีเกษตรมาใชเพื่อปกปองวิถีการทําไรนาสวนแบบดั้งเดิมซ่ึงกําลังถูกคุกคามเปนอยางมากในขณะนี้ ดวยการทําเกษตรในระบบอุตสาหกรรมอยางเขมขนมาก การขยายตัวของพื้นที่ชุมชนเมืองและโครงสรางพื้นฐานที่ลุกลามพื้นที่เกษตรอยางไมสามารถควบคุมได การลดพื้นที่ทําการเกษตรของชุมชนชนบททั่วโลก และการหายไปของทักษะการคาและจัดการแบบดั้งเดิมของกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการทําเกษตร ไรนาสวนแบบทองถิ่นที่กลุมเราไดไปเยี่ยมชมสวนใหญเปนธุรกิจแบบครอบครัวที่ไดรับการสืบทอดมาหลายรุนแลวซ่ึงมีบทบาทในกระบวนการผลิตที่พัฒนามาจากรุนสูรุน ธุรกิจเหลานี้ไมมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหนักทองเที่ยว เพราะมีการทําไรนาสวนเปนกิจกรรมหลักและบานเรือนที่ใชประกอบกิจการก็เปนที่อยูอาศัยสวนตัวของครอบครัวที่ไมไดทําขึ้นเพื่อการทองเที่ยว อยางไรก็ดีทางกลุมปรารถนาที่จะเนนย้ําประเด็นดังตอไปนี้

Page 83: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 80

x These communities are aware of the ability of active tourism to increase their living standards. This is important to them given their existing low revenue, so they will be willing to welcome more visitors if they contribute to a wider economic and social appreciation of agrarian products and the role of farmers. Currently the small farms mainly rely on visitors who arrive to the place through the Airport Organic Farm Project.

x Banana leaf production has a high heritage component. It includes many elements pertaining to intangible heritage (rice and all kind of offerings, flower bouquet, food wrapping and containers, toys, etc); to movable and immovable cultural heritage (growth utensils, transportation devices, storage units, landscape, country estates, orchards and agrarian transformation centres); and to natural and genetic heritage (local crops varieties, local livestock breeds, seeds, soils and vegetation).

x The farming communities are deeply linked to the local temples settled near the Yom River. These temples are at the core of their everyday social, cultural and spiritual life and are a hub of education for locals. These “everyday” temples should therefore be taken into account if farming and communities are promoted for tourist and educational purposes in the future, beyond the actual boundaries of the World Heritage site.

Organic Agriculture Project in Sukhothai Airport. Traditional and organic agriculture were also analyzed and “practiced” in the excellent and internationally awarded Organic Agriculture Project in Sukhothai Airport. The originator and promoter of this project is Bangkok Airways, a company which, to its credit, wanted to preserve the territory surrounding the airport and establish a sustainable organic agriculture in this area. This project is considered outstanding due to its educational, survival and experimental dimensions. It is not focused on tourism, but in the preservation of the landscape and the farming communities (in fact it has employed 70 workers which were also farmers before its launching). The goals of the project include, amongst others, an important research activity focused on developing different and very resilient rice species without using chemical and artificial products. Tourism and commercial selling of their products provide additional revenue to maintain these main activities and are not the key activity to their daily work:

x ชุมชนเหลานี้ตระหนักดีถึงศักยภาพความสามารถในการพัฒนาไปสูการทองเที่ยวเชิงรุกเพื่อยกระดับมาตรฐานการดํารงชีวิตของตนเอง ซ่ึงสิ่งนี้มีความสําคัญเพราะจะชวยใหพวกเขาไดมีรายไดเพิ่มขึ้นจากปจจุบันที่คอนขางต่ําเพื่อใหเขาสามารถตอนรับนักทองเที่ยวที่ชื่นชอบในการเรียนรูประสบการณและบทบาทของเกษตรกรในกระบวนการผลิตภาคการเกษตรซ่ึงจะชวยทําประโยชนเพิ่มเติมใหกับสังคมและเศรษฐกิจของพื้นที่ในวงกวาง ขณะนี้มีไรนาสวนเพียงไมกี่แหงและตองพึ่งพาจํานวนนักทองเที่ยวไมมากนักที่มาเยี่ยมชมผานทางโครงการเกษตรอินทรียสนามบินสุโขทัย

x กระบวนการผลิตใบตองกลวยมีองคประกอบทางมรดกวัฒนธรรมอยูสูง โดยรวมถึงองคประกอบที่เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได (การบูชาดวยขาวและพิธีกรรมอื่นที่เกี่ยวของ, การทําชอดอกไมและบายศรี, กระทงใสของและหออาหาร, การทําของเลน และอื่น ๆ อีก) และมรดกวัฒนธรรมที่เคลื่อนยายไดหรืออยูติดกับที่ (อุปกรณเครื่องมือเก็บเกี่ยวเพาะปลูก, พาหนะขนสงในพื้นที่ไรนา, ยุงฉางเก็บผลผลิต, ภูมิทัศนการเพาะปลูก, บานเรือนแบบชาวไรนาสวน, รองสวน และศูนยกลางที่ใชแปรสภาพผลผลิตเพื่อเตรียมขาย) และมรดกวัฒนธรรมทางพันธุกรรมและธรรมชาติ (ความหลากหลายของพันธุพืชที่ใชเพาะปลูกและของพันธุปศุสัตวเพาะเลี้ยงในทองถิ่น , การเก็บเพาะเมล็ดพันธุ, การเตรียมดินและการปลูกพืชผักอื่นผสม)

x ชุมชนเกษตรกรรมมีความเชื่อมโยงอยางลึกซึ้งกับวัดในทองถิ่นที่ตั้งอยูใกล แมน้ํ า ยม วั ด เหล านี้ เป น ศูนย กลา งของกิจกรรมในวิ ถีชีวิตประจําวันทางสังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณความเชื่อ ตลอดจนเปนแหลงเรียนรูใหการศึกษากับคนทองถิ่น วัดธรรมดาเหลานี้ควรถูกนํามาพิจารณาใหความสําคัญรวมกับชุมชนและกิจกรรมการเกษตรเพื่อสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวเชิงเรียนรูในอนาคตที่มีความลึกซ้ึงไปไกลกวาขอบเขตของแหลงมรดกโลก โครงการเกษตรอินทรียสนามบินสุโขทัย มีการศึกษาทดลองและปฏิบัติการเกี่ยวกับการเกษตรแบบอินทรียและรูปแบบดั้งเดิมในโครงการเกษตรอินทรียสนามบินสุโขทัยซ่ึงไดรับรางวัลในระดับนานาชาติมาแลว ผูริเริ่มและสงเสริมหลักของโครงการนี้คือบริษัทสายการบินกรุงเทพซ่ึงตองการสงวนรักษาพื้นที่รอบบริเวณสนามบินสุโขทัยและจึงไดจัดใหมีการทําเกษตรกรรมยั่งยืนแบบอินทรียขึ้นในพื้นที่ โครงการนี้ไดรับการพิจารณาวามีความเปนเลิศในดานการศึกษาเรียนรู ตลอดจนการทดลองและการอยูรอดของโครงการ โดยไมไดมีเปาหมายหลักที่การทองเที่ยวแตเพื่อสงวนรักษาภูมิทัศนและชุมชนเกษตรกรรมไว (ซ่ึงไดมีการจางแรงงานเกษตรกรไวกวา 70 ชีวิตนับแตชวงกอนเริ่มเปดตัวโครงการ) โดยมีเปาหมายหลักของโครงการที่รวมถึงกิจกรรมพัฒนาการวิจัยที่สําคัญเพื่อมุงเนนการพัฒนาสายพันธุขาวที่แตกตางอยางมีคุณภาพโดยไมใชสารเคมีหรือสิ่งแปลกปลอมอื่นเจือปนในกระบวนการผลิต การทองเท่ียวและการขายผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นชวยสรางรายไดเพิ่มเติมใหกับการดํารงกิจกรรมหลักไวคือการทําเกษตร โดยไมไดเปนกิจกรรมหลักและงานประจําวัน

Page 84: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 81

x The majority of existing visitors are from surrounding schools and Bangkok schools which learn about organic agriculture. This fact needs to be stressed since sustainable agriculture is disappearing from this territory very fast.

x Active tourism practiced by this group included: Collecting eggs, riding and feeding buffalo, visit to the orchids farm, visit to the lotus field, visit to the rice mill and packaging area, planting rice and enjoying wonderful Thai organic food.

The success of this very promising and encouraging project raises a fundamental question concerning our remarks on the diverse agrarian aspects of Sukhothai cultural and natural heritage: Should the heritage and tourist potential of farming activities and places be enhanced and promoted? The answer not only depends on the willingness of public officials and their actions, but primarily on the farmers themselves, since agrarian heritage is a living and evolving heritage, requiring communities to lead its tourist management and promotion. Conclusion Even considering that agrarian heritage might not be the main purpose of travels to Sukhothai, we would like to conclude by pointing out the diversity of new, sustainable and creative possible approaches provided by agrarian heritage to tourist activities within Sukhothai destination:

x The high variability and educational aspects of agrarian landscapes might help to adjust tourist seasonal demand, to enlarge and diversify the heritage properties open to the public and to encourage repeat visitation to particular sites and regions by diverse target groups.

x Agrarian heritage demands a relaxed, paused and continuous observation providing excellent opportunities to: o Attract the popular “slow movements” that

advocate for new, creative and relaxing ways for tourism and the local citizen’s enjoyment.

o Strengthen the economy of experience, which might be very helpful to foster many intangible manifestations of agrarian heritage (crafts, organic products, gastronomy, etc.) and the fair trade of their produce.

x ผูมาเยี่ยมชมสวนใหญที่มีอยูมาจากโรงเรียนที่ตั้งอยูรอบโครงการและโรงเรียนจากกรุงเทพมหานครเพื่อมาทัศนศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย ขอเท็จจริงที่ควรไดรับการเนนย้ํานี้คือการทําเกษตรอยางยั่งยืนไดสูญหายไปจากพื้นที่แหงนี้ในเวลาอันรวดเร็วมาก

x กิจกรรมทองเที่ยวเชิงรุกที่กลุมนี้ไดทดลองปฏิบัติรวมไปถึง การเก็บไขเปด ขี่และเลี้ยงควาย เยี่ยมชมฟารมกลวยไมและทุงดอกบัว เยี่ยมชมยุงขาวและกระบวนการบรรจุหีบหอ ทดลองปลูกขาวและเขาครัวอาหารไทยแบบเกษตรอินทรีย ความสําเร็จของโครงการที่ยอดเยี่ยมและนาสงเสริมแหงนี้ไดสรางประเด็นคําถามพื้นฐานที่สําคัญในประเด็นความหลากหลายของวิถีเกษตรกรรมของมรดกวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติในสุโขทัย สมควรหรือไมที่มรดกวิถี เกษตรและศักยภาพการทองเที่ยวที่เกี่ยวของกับแหลงชุมชนควรไดรับการสงเสริมและตอยอด ซ่ึงคําตอบไมควรขึ้นอยูกับแค เจตนาดีและการลงมือเพียงฝายเดียวของหนวยงานรัฐ แตเบื้องตนควรอยูที่ฝายเกษตรกรเอง เนื่องจากมรดกวิถีเกษตรมีชีวิตดํารงอยูและมีวิวัฒนาการอยูตลอดเวลาจึงจําเปนที่ชุมชนตองเปนผูมีบทบาทนําการสงเสริมและจัดการการทองเท่ียวนี้ ขอสรุป แมพิจารณาวามรดกวิถีเกษตรอาจไมใชเหตุผลหลักของการมาทองเที่ยวในสุโขทัย เรายังตองการสรุปประเด็นสําคัญในดานการสรางความหลากหลายของแนวทางที่ใหม ยั่งยืนและสรางสรรคที่มีความเปนไปไดโดยจัดใหมีกิจกรรมการทองเที่ยวมรดกวิถีเกษตรในแหลงทองเที่ยวของสุโขทัย

x ความหลากหลายที่มีอยูมากและประเด็นการเรียนรูศึกษาที่มากมายเกี่ยวกับภูมิทัศนเกษตรกรรมอาจชวยปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับความตองการของแตละฤดูการทองเที่ยว เพื่อขยายกลุมและสรางความหลากหลายของทรัพยากรมรดกวฒันธรรมใหเปดตัวสูสาธารณะและสงเสริมกระตุนใหเกิดการมาเที่ยวซํ้าในภูมิภาคและพื้นที่บางแหงโดยเนนกลุมเปาหมายที่หลากหลายไดมากขึ้น

x มรดกวิถีเกษตรตองการกระบวนการสังเกตการณที่ผอนคลาย หยุดพักเปนระยะและมีความตอเนื่องลื่นไหล จึงเปนโอกาสดีเยี่ยมสําหรับ o ดึงดูดแนวทางยอดนิยมในขณะนี้คือ “การทองเที่ยวแบบเนิบ

ชา” ที่ทุมเทใหกับการหาหนทางใหมที่สรางสรรคและผอนคลายในการทองเที่ยวและทําใหประชาชนทองถิ่นมีความสุขไปดวยพรอมกัน

o สรางความแข็งแรงในดานการสัมผัสประสบการณที่คุมคา ซ่ึงอาจชวยสงเสริมสนับสนุนการดํารงอยูของหลายคุณคาความสําคัญในมรดกวิถีเกษตร (เชน งานหัตถกรรม ผลผลิตเกษตรอินทรีย เมนูอาหารทองถิ่นและอื่น ๆ ) และตลอดจนการสรางรูปแบบการกําหนดราคาและวิธี การค าขายแลกเปลี่ยนที่ เปนธรรมตอผูผลิตเพื่อสินคาคุณภาพสูงสูผูบริโภค

Page 85: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 82

x There is an Increasing demand of active tourism, and particularly of experiences that participate in agricultural and livestock rearing practices. These initiatives should be encouraged since: o They are being very successful in diversifying some

traditional tourist destinations through a sustainable, educative and community based approach; and

o Might be very relevant to recognize and dignify the universal and essential role of farming activities worldwide.

SIDE GROUP 2: POTTERY HERITAGE EXPERIENCE

INTRODUCTION The Pottery Traditional Crafts Subcommittee conducted informal site visits to Sukhothai, Si Satchanalai, and formal visits to the Study Center of the Sangkhalok (Celadon) Ceramic Kilns, and Mothana Pottery Studio Center to evaluate the potential for cultural tourism development based upon a holistic and integrative approach of two forms of Sangkhalok (Celadon) pottery and ceramic arts through the comparison of two types of ceramic work and comparison of two craft practices: 1. Traditional large-scale mass production of traditional pottery around the Sukhothai World Heritage Site region, particularly centered around the historic kilns and ruins of Si Satchanalai, and, 2. A new and small-scale endeavor of artistic expression of traditional ceramics using new methods and designs for visitors and collectors particularly interested in fine art collecting, limited production for shipping outside the region, and participatory experiences at the studio with opportunities for classes, workshops, and potential in-residence programs. Observations Observations of Existing Conditions: Products were reviewed for each of four factors: style (traditional or modern); knowledge and skills of artists (traditional or modern); interaction with visitors (limited observation or participatory); and transfer, sales and market supply of products (mass production with limited offering to visitors or products specifically developed by and for visitors).

x มีความตองการเพิ่มมากขึ้นในดานการทองเท่ียวแบบมีกิจกรรมเชิงรุก และโดยเฉพาะกับประสบการณมีสวนรวมในวิถีปฏิบัติดานการทําเกษตรและปศุสัตวแนวคิดเหลานี้ควรไดรับการสงเสริมสนับสนุนเนื่องจาก o เปนแนวทางที่ประสบความสําเร็จอยางมากในการสรางความ

ห ล า ก ห ล า ย แ ก แ ห ล ง ท อ ง เ ที่ ย ว ดั้ ง เ ดิ ม บ า ง แ ห ง ดวยกระบวนการและแนวทางการพัฒนาเชิงเรียนรูโดยชุมชนอยางยั่งยืน

o อาจมีความเกี่ยวของอยางมากและควรไดรับการยอมรับและตระหนักในคุณคาและศักดิ์ศรีอันมีความเปนสากลเกี่ยวกับบทบาทที่สําคัญเพื่อดํารงความหลากหลายของวิถีเกษตร ทั่วโลก

กลุมทํางานยอยที่ 2: มรดกวัฒนธรรมเครื่องเคลือบดินเผา เกริ่นนํา กลุมของเราไดเยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยและศรีสัชนาลัยอยางไมเปนทางการ และเขาเยี่ยมชมโดยมีการนัดหมายกับศูนยศึกษาและอนุรักษเตาสังคโลก และรานโมทนาซ่ึงผลิตและจําหนายผลิตภัณฑเซรามิคที่ออกแบบขึ้นใหมเอง เพื่อประเมินศักยภาพของการพัฒนาการทองเที่ยววัฒนธรรมโดยใชพื้นฐานแนวทางแบบองครวมและบูรณาการของสองสิ่งคือสังคโลก (ศิลาดล) และศิลปะการออกแบบและผลิตเซรามิค ผานการเปรียบเทียบการผลิตเครื่องเคลือบดินเผาสองรูปแบบและสองตัวอยางผูประกอบการ ไดแก 1.การผลิตเครื่องเคลือบดินเผาดวยรูปแบบดั้งเดิมและเนนปริมาณการผลิตจํานวนมาก ในพื้นที่บริเวณแหลงมรดกโลกสุโขทัย โดยเฉพาะที่อยูโดยรอบเตาเผาโบราณและโบราณสถานในศรีสัชนาลัย และ 2.การผลิตรูปแบบใหมเปนธุรกิจขนาดเล็กที่แสดงการถายทอดอารมณแบบศิลปนบนงานเซรามิคโดยมีพื้นฐานแบบดั้งเดิมและใชวิธีการกับการออกแบบใหมเพื่อใหผูมาเยี่ยมชมสถานที่และนักสะสมที่ชื่นชอบการสะสมงานศิลปะที่มีการผลิตแบบจํานวนจํากัด และมีการสงออกไปจําหนายหางไกลจากภูมิภาค ตลอดจนมีการเปดโอกาสสําหรับผูตองการไดรับประสบการณชั้นเรียนฝกอบรมเพื่อการลงมือปฏิบัติดวยตนเองและโครงการจัดใหมีศิลปนเขาพักอาศัยใชสถานที่เพื่อผลิตผลงาน การสังเกตการณ สถานการณปจจุบันพบวาผลิตภัณฑอาจถูกพิจารณาไดดวยสี่องคประกอบคือ รูปแบบ (ดั้งเดิมหรือสมัยใหม) ความรูและทักษะของศิลปน (ดั้งเดิมหรือสมัยใหม) การมีปฏิสัมพันธกับผูมาเยี่ยมชม (จํากัดแคการเปนผูสังเกตการณหรือไดมีสวนรวม) และการถายทอด จําหนาย และการตลาดของผลิตภัณฑ (ผลิตจํานวนมากโดยมีขอจํากัดการเขาถึงกระบวนการของผูมาเยี่ยมชม หรือผลิตภัณฑที่มีการพัฒนาโดยผูมาเยี่ยมชมเพื่อผูมาเยี่ยมชมโดยเฉพาะ)

Page 86: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 83

Mothana Ceramics is a small, two-person studio that specializes in contemporary art pieces with an emphasis on “casual premium” functional and decorative objects. The methods are less traditional practices and more implementation of artistic, creative and inspirational platform. The métier is studio and workshop-based, with proactive participants and only 2 artists with limited capacity and limited market size.

Soothe and Karnes artisans provide traditional, industrial crafts, souvenirs, sacred and spiritual figures using traditional knowledge and design passed from masters to artisans, with incremental improvement. Production is through home factories with a number of artisans with semi-industrial tools and technology and a passive visitor experience. In general, Mothana Ceramics, provides modern representation of traditional art forms and represents the artists’ identities, while offering enhanced and well-developed creativity and international reach. Soothe and Karnes artisans represent the traditional regional identity and artistic expression, especially through patterns and colors, but tradition limits both the creativity and outreach as the market niche is being met with the traditional designs. Neither produces large inventories for the purpose of purchase by local visitors, due to either the undeveloped market for visitors, or the limited capacity for sales and transfer of products. Opportunities: Each of the two types of pottery creation and production hold significant opportunity to contribute to the cultural tourism-based economic and community development of the region. The traditional arts contribute greatly to the cultural identity and heritage of the Sukhothai World Heritage site and are celebrated through the extensive Sangkhalok historic kiln sites and traditional workshops. The expansion of economic opportunities can be made with a minimum of site, operational, and management steps designed to address the range of interests from causal visitors interested in the creation of the historic form of expression of traditions, to collectors of fine pottery. Next Steps: In order to develop a strategy, it is essential that artists meet and share their visions of further development with the business and tourism stakeholders of the arts in Sukhothai, including DASTA, the Fine Arts Department, and the tourism trade authorities.

รานโมทนาเซรามิคมีขนาดเล็กและบริหารจัดการแบบสตูดิโอโดยใชคนเพียงสองคนผูซ่ึงมีความเชี่ยวชาญพิเศษในงานศิลปะแบบรวมสมัยและเนนคุณลักษณะประโยชนใชสอยและการเปนของแตงบานที่ “หรูหราแบบเรียบงาย” วิธีการผลิตมีความเปนแบบดั้งเดิมนอยกวาและเนนการแสดงความศิลปะแบบสรางสรรคสรางแรงบันดาลใจมากกวา กิจการนี้เปนทั้งสตูดิโอออกแบบและโรงผลิตในตัวพรอมนําเสนอกิจกรรมแบบเนนการมีสวนรวมโดยตรงดวยการจัดการโดยศิลปนเพียงสองคนเทานั้ น และมีความสามารถในการผลิตเชิงปริมาณตลอดจนการตลาดอยูในวงจํากัด มีชางปนงานฝมือที่รานกะเณชาแกลอรี่ ซ่ึงนําเสนองานหัตถอุตสาหกรรมและของที่ระลึกรูปแบบดั้งเดิม และรูปเคารพทางจิตวิญญาณความเชื่อตาง ๆ โดยใชความรูแบบดั้งเดิมและการออกแบบที่สืบทอดมาจากชางฝมือรุนเกาผานการปรับปรุงเพิ่มขึ้นไปอีกระดับ กระบวนการผลิตทําขึ้นที่บานซ่ึงใชเปนโรงงานผลิตไปในตัวโดยมีชางปนงานฝมืออยูจํานวนหนึ่งพรอมเทคโนโลยีกับเครื่องมือแบบอุตสาหกรรมบางชนิดใหใชงาน โดยผูมาเยี่ยมชมทําไดเพียงสังเกตการณเทานั้น โดยทั่วไปแลว โมทนาเซรามิคไดนําเสนอรูปแบบสมัยใหมของศิลปะดั้งเดิมและนําเสนออัตลักษณของศิลปนไปดวยพรอมกัน ในขณะเดียวกันก็นําเสนอความคิดสรางสรรคที่ไดรับการตอยอดและพัฒนามาอยางดีเขาถึงความเปนสากลได กะเณชาแกลอรี่นําเสนออัตลักษณดั้งเดิมในระดับภูมิภาคพรอมการแสดงออกทางฝมือของชางปน โดยเฉพาะในดานรูปแบบและสีสัน แตขอจํากัดของรูปแบบดั้งเดิมคือในดานความสรางสรรคและการเขาถึงกลุมตลาดลูกคาทางเลือกบนฐานงานออกแบบดั้งเดิม ผูประกอบการทั้งสองรายไมไดผลิตผลงานจํานวนมากเพื่อมุงหวังการขายใหแกนักทองเที่ยวทองถิ่น โดยอาจเปนเพราะยังไมมีการตลาดที่ไดรับการพัฒนาเพื่อรองรับนักทองเที่ยว หรือมีขอจํากัดในการขายและการขนสงสินคา โอกาส ทั้งสองรูปแบบของการสรางสรรคและกระบวนการผลิตงานเครื่องเคลือบดินเผามีโอกาสสูงที่จะสรางประโยชนใหแกการพัฒนาชุมชนและเศรษฐกิจที่มีการทองเที่ยววัฒนธรรมเปนพื้นฐานในภูมิภาคนี้ ผลงานศิลปะแบบดั้งเดิมไดสรางประโยชนอยางมากใหกับอัตลักษณและมรดกวัฒนธรรมของแหลงมรดกโลกสุโขทัย โดยพบเห็นไดจากการมีชางปนงานฝมือแบบดั้งเดิมหลายรายอยูในบริเวณแหลงโบราณสถานเตาเผาสังคโลกที่มีอยูอยางหนาแนนเปนจํานวนมาก การขยายโอกาสทางเศรษฐกิจสามารถทําไดดวยพื้นที่มีอยูอยางจํากดัโดยใชการลงมือดําเนินงานและการจัดการที่ถูกออกแบบมาเพื่อทําความเขาใจกับความสนใจที่มีแตกตางกันไปของนักทองเที่ยวทั้งในกลุมทั่วไปที่มีความสนใจดานความสรางสรรคตอยอดจากงานฝมือดั้งเดิมไปจนถึงกลุมนักสะสมงานศิลปะเครื่องเคลือบดินเผาชั้นดี ขั้นตอนตอไป เพื่อการพัฒนายุทธศาสตรจึงเปนเรื่องสําคัญที่ศิลปนตองมาพบปะและแบงปนวิสัยทัศนของการพัฒนาขั้นตอไปของธุรกิจและการทองเที่ยวที่ซ่ึงผูมีสวนไดสวนเสียในงานแขนงนี้รวมไปถึง อพท. กรมศิลปากร และหนวยงานดานการคาและทองเที่ยว

Page 87: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 84

Meetings with other small traditional craft ventures to (a) discuss collaborative development through complementary and shared efforts and (b) develop a network of trade, supply, and marketing efforts would create ownership of the development process and willingness to participate collaboratively. It is in the best interest and ability of the artists to create a shared creative vision with visitors, the local and national Thai tourism industry leaders, and business partners that will successfully promote the pottery and ceramics industry, and provide avenues for sharing other Sukhothai traditional craft experience with visitors. “What if?” In addition to the traditional designs of the region, development of a modern art movement devoted to the creative expression of the traditional art form in a new and accessible manner has an important place in the development of creative tourism in the region. The unique factors of the ceramic traditions in Sukhothai - the clay, the technology of mixing materials for temper and beauty, the fuels for firing, the kilns, and the glazes are evolving to support both the continuation of the traditional art form and encourage development of a new creative industry by a group of artists and entrepreneurs. The group felt it was important to support an evolution in the creative process to showcase a living art form using education, new techniques and designs that would appeal to the traditional, yet modern collector. To create a broad palette of products and experiences the local artisans and craftspeople, and the visitors to the region should be surveyed. Each party would contribute greatly at the early stages of development in providing a basis for what the local industry and arts provides, and what the visitor expects and hopes to find in their experience. This can be done through informal personal outreach among the interested parties at the key sites, at festivals at the sites, through community dialogues and workshops with other craftspeople, and the professional sales, marketing, museum and arts professionals, and tourism companies. Recommendations for Local Stakeholder Input:

x Artists, potters, ceramicists, and supporting businesses (suppliers, distributors);

x Shop keepers in the region, tourism markets and craft centers; Elders and long-practicing craftspeople; Visitors: Casual and Pottery-collecting visitors

National and Large Scale Interests

ตองมีการพบปะกันของผูประกอบการขนาดเล็กที่ผลิตงานฝมือแบบดั้งเดิมเพื่อ ก) พูดคุยถกเถียงเกี่ยวกับการรวมมือกันเพื่อพัฒนาโดยการแบงบทบาทหนาที่และเสริมความแข็งแกรงใหกันและกัน และ ข) พัฒนาเครือขายการคา การบริหารทรัพยากรและสินคา และการตลาด ซ่ึงนาจะชวยสรางความเปนเจาของในกระบวนการพัฒนาและความตั้งใจที่จะเขามีสวนรวมในกระบวนการรวมมืออยางเต็มที่ โดยใชความสามารถของศิลปนเองเพื่อประโยชนที่ดีที่สุดศิลปนตองสรางสรรควิสัยทัศนในการทํางานรวมกับผูมาเยี่ยมชมทั้งคนทองถิ่นและกลุมผูนําอุตสาหกรรมทองเที่ยวในระดับชาติ ตลอดจนภาคีรวมทางธุรกิจที่จะชวยกันสงเสริมอุตสาหกรรมเซรามิคและเครื่องเคลือบดินเผาใหประสบผลสําเร็จและสรางชองทางที่หลากหลายในการแบงปนประสบการณรวมดานงานหัตถกรรมดั้งเดิมของสุโขทัยแบบอื่น ๆ อีกกับนักทองเที่ยว จะเปนอยางไรถาในการออกแบบดั้งเดิมของภูมิภาคนี้มีการพัฒนาความเคลื่อนไหวดานศิลปะสมัยใหมที่ทุมเทใหกับการถายทอดผลงานศิลปะดั้งเดิมอยางสรางสรรคดวยวิธีการใหมที่เขาถึงไดมากขึ้น ซ่ึงมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาการทองเที่ยวสรางสรรคในภูมิภาคนี้ องคประกอบที่โดดเดนไมเหมือนใครของงานเซรามิคแบบดั้งเดิมของสุโขทัย ทั้งดินที่ใช เทคโนโลยีการผสมมวลสารเพื่อความแข็งแกรงและสวยงาม เชื้อเพลิงที่ใชในการเผา เตาเผา และการเคลือบผิว ลวนมีสวนเกี่ยวของในการสนับสนุนทั้งความสืบทอดตอเนื่องของศิลปะแบบดั้งเดิมและสงเสริมกระตุนการพัฒนาอุตสาหกรรมสรางสรรคแบบใหมโดยกลุมศิลปนและผูประกอบการ ทางกลุมเรารูสึกวาเปนเรื่องสําคัญที่ตองสนับสนุนวิวัฒนาการของกระบวนการสรางสรรคเพื่อแสดงใหเห็นถึงศิลปะที่ยังมีชีวิตอยู โดยผานทางการศึกษาเรียนรู การออกแบบและใชเทคนิคใหม ๆ ซ่ึงดึงดูดนักสะสมทั้งที่ชื่นชอบผลงานแบบดั้งเดิมและแบบศิลปะสมัยใหมดวย เพื่อสรางสรรคกลุมผลิตภัณฑและประสบการณนําเสนอโดยภาพรวม ควรมีการสํารวจชางฝมือทองถิ่นและผูทํางานหัตถกรรมตลอดจนรูปแบบนักทองเที่ยวในภูมิภาคนี้ แตละภาคสวนนาจะมีสวนชวยเริ่มตนพัฒนาโดยนําเสนอวาอุตสาหกรรมและการผลิตผลงานศิลปะในทองถิ่นสามารถทําอะไรไดบาง และนักทองเที่ยวมีความคาดหวังอยางไรในประสบการณที่ควรไดรับกลับไป สิ่งนี้สามารถทําไดโดยผานกระบวนการทํางานสวนบุคคลแบบไมเปนทางการในกลุมภาคสวนผูมีความสนใจในพื้นที่ทองเที่ยวหลัก ที่ในงานเทศกาลของพื้นที่ ผานการพูดคุยกันเองในกลุมชุมชนและฝกปฏิบัติการรวมกับผูผลิตงานหัตถกรรมรายอื่น และกับมืออาชีพดานการขาย ดานการตลาด ผูเชี่ยวชาญดานศิลปะและพิพิธภัณฑ และบริษัททองเท่ียว ขอเสนอแนะเร่ืองกลุมผูมีสวนไดสวนเสียในทองถิ่นที่ควรเขารวม

x ศิลปน ชางปน ชางเซรามิค และธุรกิจสนับสนุนอื่น (ผูผลิตและรับซ้ือสินคาและจัดสง)

x รานคาในภูมิภาค ตลาดขายของนักทองเที่ยวและศูนยจําหนายงานหัตถกรรม ผูสูงอายแุละผูผลิตงานหัตถกรรมที่มีประสบการณปฏบิัติจริงมายาวนาน นกัทองเที่ยว ทั้งแบบทัว่ไปและผูชื่นชอบสะสมงานเครื่องเคลือบดินเผา กลุมผลประโยชนในระดับที่ใหญขึ้นและในระดับชาติ

Page 88: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 85

x DASTA, The Thai Department of International Trade Promotion, and Ministry of Commerce of the Royal Thai Government and other Tourism Industry interests;

x National and international non-profit arts associations and university programs related to the promotion of traditional arts in Thailand, such as the Queen Sirikit Foundation;

x International interests, collectors, and arts associations who have assisted in the development of the ceramic arts in other countries, including those that that promote locally produced arts.

Conclusions - A Holistic Approach: Each crafts company and entrepreneur develops their own products individually and the visitors’ experiences within the Sukhothai region reflect the individual and dispersed opportunity to celebrate the regions diverse options, from historic sites, hotels and lodging and dining, alternative visitor experiences, and shopping for traditional arts. To offer a simpler and more meaningful experience tied to the place and traditions, as well as maintaining the historical and cultural value of the crafts development, an integrated strategy for product development in relation to other tourism elements should be drawn from stakeholders and expertise within a holistic framework. A series of potential “next steps” is offered, from local dialogue and envisioning, to developing a unified and formalized process for marketing, product development and delivery. Paramount to the discussion is the need for a long-term vision for education and training of young artisans who will maintain the traditions and support creative evolution of the ceramics trade: 1. Promote both the traditional and modern arts to support local arts and develop a collective of a variety of art forms and artists: weaving and textiles, gold and silver smith, jewelry making, organic farming and cooking, tangible historical design 2. Develop new interpretative program materials to educate and inform visitors of the historical development and significance of pottery making and the ceramics industry; 3. Provide scheduled tours of the historic kilns with follow-up demonstration and shopping;

x อพท. กรมสงเสริมการคาและการสงออก และกระทรวงพาณิชย และภาคอุตสาหกรรมทองเท่ียวอื่น

x องคกรที่ไมแสวงหาผลกําไรดานศิลปะทั้งในระดับชาติและนานาชาติ และโครงการของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวของกับการสงเสริมศิลปะแบบดั้ ง เดิม ในประเทศไทย เชน มูลนิ ธิ ของสมเด็จพระนางเจ าพระบรมราชินีนาถ

x กลุมชาวตางชาติผูสนใจ นักสะสม สมาคมศิลปะ ซ่ึงมีการสงเสริมชวยเหลือการพัฒนาศิลปะเซรามิคในประเทศอื่น รวมทั้งที่สงเสริมศิลปะแบบผลิตขึ้นในทองถิ่น

ขอสรุป แนวทางแบบองครวม แตละบริษัทผูผลิตงานหัตถกรรมและผูประกอบการที่ไดพัฒนาผลิตภัณฑของตนเองขึ้นมาและนําเสนอประสบการณรวมใหกับนักทองเที่ยวในภูมิภาคสุโขทัย ไดสะทอนโอกาสตามแบบฉบับของแตละรายเพื่อสงเสริมทางเลือกอันหลากหลายที่มีในภูมิภาค ทั้งแหลงประวัติศาสตร โรงแรมและที่พัก อาหารการกิน ประสบการณทองเที่ยวแปลกใหม และการเลือกซ้ือผลงานศิลปะแบบดั้งเดิม เพื่อนําเสนอประสบการณที่เปยมความหมายและเรียบงายขึ้นโดยผูกพันกับสถานที่และรูปแบบดั้งเดิม และเพื่อดูแลรักษาคุณคาทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตรของการพัฒนางานหัตถกรรม จึงควรมียุทธศาสตรเชิงบูรณาการสําหรับการพัฒนาผลิตภัณฑที่เชื่อมโยงกับองคประกอบการทองเที่ยวอื่น โดยความรวมมือจากผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหลายและผูเชี่ยวชาญภายใตกรอบการทํางานแบบองครวม ชุดแนวทางศักยภาพในขั้นตอไปที่นําเสนอนี้ มีทั้งการพูดคุยและสรางวิสัยทัศนในระดับทองถิ่น เพื่อพัฒนาและรวมกันสรางแนวทางกระบวนการดานการตลาด การพัฒนาการผลิตและการขนสง โดยนอกเหนือจากการพูดคุยถกเถียงสิ่งสําคัญคือวิสัยทัศนในระยะยาวดานการศึกษาและการฝกอบรมสําหรับชางฝมือรุนเยาวชนและหนุมสาวผูซ่ึงจะดูแลรักษาสืบทอดและสนับสนุนวิวัฒนาการอยางสรางสรรคของการคาเซรามิคตอไป โดย 1.สงเสริมทั้งงานศิลปะสมัยใหมและแบบดั้งเดิมเพื่อสนับสนุนศิลปะทองถิ่นและพัฒนาความหลากหลายโดยรวมทั้งหมดของรูปแบบศิลปะและประเภทของศิลปน ทั้งการทอผาและตัดเย็บ งานเครื่องประดับเงินและทอง เกษตรอินทรียและศิลปะการประกอบอาหาร งานออกแบบและโครงสรางสถาปตยกรรม และประเพณีวัฒนธรรมที่จับตองไมได ดนตรี ศิลปะดานศาสนาความเชื่อ และอื่น ๆ 2.พัฒนาเครื่องมือเพื่อโครงการพัฒนาการส่ือความหมายคุณคารูปแบบใหม เพื่อสงเสริมการเรียนรูและใหขอูลนักทองเที่ยวเกี่ยวกับความสําคัญและพัฒนาการของการทํางานเครื่องเคลือบดินเผาและอุตสาหกรรมเซรามิค 3.จัดใหมีตารางการนําเที่ยวชมเตาเผาโบราณพรอมมีการสาธิตวิธีการทําและตอดวยการเลือกซ้ือสินคา

Page 89: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 86

4. Create relationships with museums, tour operators, travel writers, and businesses to promote the ceramics industry as part of the World Heritage Site traditional history and modern extension of the history, capitalizing on the impressive preserved ruins at the Sangkhalok Kilns and Pottery Workshop;

5. Offer opportunities for visitors to work alongside ceramicists to create and develop a piece of pottery, taking it through the production stages, and made available to package and deliver home;

6. Offer scheduled classes at the main sites and marketplace at Sukhothai, (e.g., Saturday and Tuesday mornings from 0800-1200) on an regular basis;

7. Present creative play activities for children to experiment with clay and play at the main marketplace at Sukhothai and offer follow-up onsite tours and workshops;

8. Develop school outings to the workshops to inform about the history and tradition and provide opportunities based on different age groups to work and play with the materials;

9. Create a portfolio of historic interpretation, specialty pieces, and specialty prices for shopping and shipping, along with a high quality photography book;

10. Provide hotel tours, scheduled demonstrations, and shopping for products at hotels;

11. At the Sukhothai site, develop a shopping and interpretative program with opportunities to combine with other arts programs;

12. Promote studio workshop stays and extended courses in studying and creating local ceramics;

13. Host international conferences and promote opportunities for local artists to attend national and international conferences;

14. Encourage Thai national tourism industry to promote both traditional and modern forms of ceramics.

15. Emphasize education, training, and business development skills to carry on the tradition for younger generations. Investigate the opportunity of creating an arts consortium and arts center, potentially at the new and underutilized university site, where the traditional and modern arts have could have demonstration areas, classes, workshops and creative play spaces, and a central shop for all regional traditional and modern arts.

4.สรางความสัมพันธที่ดีกับพิพิธภัณฑ ผูจัดนําเที่ยว นักเขียนดานการทองเที่ยว และธุรกิจที่เกี่ยวของเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรมเซรามิคในฐานะสวนหนึ่งของประวัติศาสตรดั้งเดิมและที่พัฒนาการตอเนื่องมาของแหลงมรดกโลก เพื่อตอยอดเพิ่มมูลคาใหกับแหลงเตาเผาสังคโลกโบราณที่ไดรับการอนุรักษไวอยางดีและผูผลิตเครื่องเคลือบดินเผาหลายรายในพื้นที่

5.นําเสนอโอกาสใหนักทองเที่ยวไดทํางานเคียงขางกันไปกับชางฝมือเพื่อสรางสรรคและพัฒนาชิ้นงานเครื่องเคลือบดินเผาสักหนึ่งชิ้น โดยเริ่มตนที่กระบวนการผลิตผานมายังการคิดเรื่องบรรจุภัณฑและขนสงใหถึงบาน

6.นําเสนอตารางการเรียนการฝกอบรมในพื้นที่การผลิตหลักและในยานตลาดของสุโขทัย (เชน วันเสารและวันอังคารเชา เวลาแปดโมงเชาถึงเที่ยง) เปนประจําสม่ําเสมอ

7.นําเสนอกิจกรรมเลนอยางสรางสรรคสําหรับเด็กเพื่อทดลองการปนดิน ที่ยานตลาดของสุโขทัย และจัดใหมีการนําเที่ยวและฝกอบรมปฏิบัติการตามมา

8.พัฒนาการทัศนศึกษาของโรงเรียนสูการฝกอบรมปฏิบัติการเพื่อนําเสนอประวัติศาสตรและประเพณีด้ังเดิม พรอมเปดโอกาสใหทํางานและเลนสนุกกับวัตถุดิบเครื่องมือโดยแยกตามความเหมาะสมของกลุมอายุ

9.สรางชุดคูมือแสดงรายละเอียดของการสื่อความหมายคุณคาเชิงประวัติศาสตร ชิ้นงานที่มีความพิเศษ และการกําหนดราคาพิเศษของสินคาและการจัดสง และจัดทําหนังสือภาพถายรวบรวมผลงานที่มีคุณภาพสูง

10.จัดใหมีการนําเที่ยวโดยโรงแรม มีกําหนดการสาธิตขั้นตอนการผลิต และการเลือกซ้ือสินคาไดจากโรงแรม

11.ในพื้นที่สุโขทัย ใหพัฒนาโครงการสื่อความหมายคุณคาไปพรอมการเลือกชมเลือกซ้ือ โดยสรางโอกาสในการรวมมือกับโครงการผลงานศิลปะชนิดอื่น ๆ ไดอีก

12.สงเสริมการพักอาศัยในสตูดิโอเพื่อผลิตผลงานและหลักสูตรตอขยายเพื่อการอยูเรียนรูและสรางเซรามิคในทองถิ่น

13.จัดเปนเจาภาพการประชุมสัมมนานานาชาติและสงเสริมโอกาสใหศิลปนทองถิ่นไดเขารวมในการจัดประชุมสัมมนาทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

14.สงเสริมกระตุนอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในประเทศไทยเพื่อสนับสนุนทั้งเซรามิคแบบสมัยใหมและรูปแบบดั้งเดิม

15.เพิ่มพูนโอกาสทางการศึกษา การฝกอบรม และการพัฒนาทักษะทางธุรกิจ เพื่อสืบทอดการปฏิบัตินี้ไปสูรุนเยาวชนและหนุมสาว สํารวจโอกาสในการสรางสรรคใหมีศูนยแสดงและจําหนายผลงานศิลปะ โดยอาจเปนไปไดใหใชบริเวณพื้นที่มหาวิทยาลัยที่สรางขึ้นใหมและยังไมมีการใชงาน ที่ซ่ึงทั้งผลงานศิลปะแบบดั้งเดิมและแบบรวมสมัยจะสามารถมีพื้นที่สาธิตการผลิต ชั้นเรียนและฝกอบรม หองปฏิบัติการ และพื้นที่การทดลองเลนอยางสรางสรรค และรานคาศูนยกลางสําหรับผลงานศิลปะทั้งแบบสมัยใหมและแบบดั้งเดิม

Page 90: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 87

SIDE GROUP 3: HERITAGE CYCLING EXPERIENCE

INTRODUCTION and Brief This report based on a two-day experience with Sukhothai Bicycle Tours. From that experience, the group make these more general observations. The Sukhothai Bicycle Tours owner has indicated that approximately 75% of his business is European bicyclists and that it has approximately a seven to eight month operating season. He also indicated that obtaining business loans to start up his bicycle touring businesses has been difficult. Our brief was to consider the 70 km ride between Sukhothai and Si Satchanalai as a tourist might, noting what was good about the route, what might be improved, the overall viability of this type of bicycle touring in our opinion and our overall reactions to the ride. Observations The Side Group 3 tour on the first day started in Thap Phueng and extended to Si Satchanalai Historical Park. The route followed a small road/path along the Yom River, mostly on the west side. Approximately three fourths of the ride was on concrete or asphalt, three to four meters wide. Most of the rest of the ride was on packed gravel of varying widths. The route took us through large towns, villages and rural areas. Overall, the Day 1 route was approximately 45 KM from start to end and flat the entire way. The route we took is an outstanding long distance route connecting Sukhothai Historical Park with Si Satchanalai Historical Park. Almost all of it is easily ridden by relatively inexperienced bicyclists. The most challenging aspect of the route would be knowing where to go if not with a guide; there are no directional markers or almost any type along the route. Even this is not that challenging because the route continually sticks close to the river, making most decision points easy to navigate. Our second day of bicycling started at the Sukhothai Bicycle Tour business on Thanon Charot Withi Thong (12) and headed west towards the Sukhothai Historic Park. After cycling on paths through rice paddies and Crossing 12, we followed a small concrete road, Soi Ban Nang Plian, along the north side of the canal to the edge of the old city. We then rode on smaller roads around the outside of the city walls, visiting temple sites as we went. Near the end of the ride, we entered the interior of the old city and stopped at several of the sites inside the city walls, finally stopping back at our hotel. The overall length of this ride was about 25 KM and again entirely flat.

กลุมทํางานยอยที่ 3: ประสบการณขี่จักรยานชมมรดกวัฒนธรรม

เกริ่นนําและสรุปยอ รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้นโดยใชประสบการณสองวันจากการขี่จักรยานทองเที่ยวในสุโขทัยกับสุโขทัยไบซิเคิลทัวร และทางกลุมไดมีขอมูลสังเกตการณเพิ่มเติมไปบนประสบการณตรงที่ไดรับนั้น เจาของกิจการสุโขทัยไบซิเคิลทัวร ไดประมาณวารอยละเจ็ดสิบหาของลูกคา คือนักทองเที่ยวขี่จักรยานชาวยุโรป และมีชวงเวลาประกอบการเฉลี่ยเจ็ดถึงแปดเดือนตอป และยังไดใหขอมูลเพิ่มเติมอีกวาการกูยืมเงินเพื่อประกอบธุรกิจในชวงระยะเวลาแรกของการเริ่มตนกิจการทัวรจักรยานเปนเรื่องที่ยากลําบาก ภารกิจของเราคือการพิจารณาวาระยะทางราวเจ็ดสิบกิโลเมตรระหวางสุโขทัยและศรีสัชนาลัยที่จะนําเสนอสูนักทองเที่ยว มีสิ่งใดที่ดีนาสนใจเกี่ยวกับเสนทางและสิ่งใดที่ควรไดรับการปรับปรุง ตลอดจนความมีชีวิตชีวาครบถวนของกิจกรรมทองเที่ยวโดยจักรยานบนเสนทางดังกลาวและปฏิกิริยาความคิดเห็นสวนตัวของกลุมที่มีตอการขี่จักรยานในครั้งนี้ การสังเกตการณ กลุมทํางานยอยที่สามไดเริ่มตนทัวรในวันแรกที่ตําบลทับผึ้ง อําเภอศรีสําโรง และตอเนื่องไปจนถึงอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย เสนทางที่ใชเดินทางไปตามถนนและทางขนาดเล็กตามแนวแมน้ํายมบนฝงทิศตะวันตกเปนสวนมาก ประมาณสามในสี่ของการขี่จักรยานใชเสนทางคอนกรีตหรือลาดยางขนาดความกวางสามถึงสี่เมตร สวนที่เหลือคือการขี่บนทางโรยกรวดที่มีขนาดกวางแตกตางกันไป เสนทางที่ใชนําเราผานเมืองขนาดใหญหลายแหงตลอดจนหมูบานและพื้นที่ชนบท โดยภาพรวมในวันที่หนึ่งใชเสนทางราวสี่สิบหากิโลเมตรจากจุดเริ่มตนถึงจุดสิ้นสุดบนเสนทางที่ไมมีความลาดชัน

เสนทางที่เราไดใชมีความยาวมากเปนพิเศษซ่ึงเชื่อมตอระหวางอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยและอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย เกือบทั้งหมดสามารถขับขี่ไดโดยงายแมกับผูที่แทบไมเคยมีประสบการณขี่จักรยานทองเที่ยวมากอน สิ่งที่ทาทายมากที่สุดคือการไมสามารถรูไดเลยวาจะมุงหนาไปที่ไหนตอไดบางหากปราศจากไกดนําทาง เนื่องจากไมมีปายบอกทางอยางใดทั้งสิ้นในระหวางเสนทางที่ใช แมความทาทายนี้อาจไมใชที่สุดนักเมื่อพิจารณาวาเสนทางที่ใชมีความตอเนื่องเลาะเลียบไปตามแมน้ําซ่ึงทําใหชวยจับทิศทางเพื่อตัดสินใจไดงายขึ้น

ในวันที่สองของการขี่จักรยานเริ่มตนที่บานซ่ึงเปนที่ทําการของสุโขทัยไบซิเคิลทัวรบนถนนจรดวิถีถอง (ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของทางหลวงหมายเลขสิบสอง) และมุงหนาทางทิศตะวันตกไปยังอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย หลังจากขี่จักรยานผานทุงนาและตัดขามทางหลวงหมายเลขสิบสอง เราไดไปตามถนนคอนกรีตเสนเล็ก ชื่อซอยบางนางเปลี่ยน เลาะเลียบดานทิศเหนือของคลองไปยังบริเวณชายขอบของเมืองเกา จากนั้นเราไดขี่บนถนนเสนที่เล็กกวาเดิมรอบนอกกําแพงเมืองเกาและแวะเยี่ยมชมวัดบางแหงในระหวางเดินทางดวย เมื่อใกลสิ้นสุดการขี่ เราไดเขาไปยังพื้นที่ชั้นในของเมืองเกาและหยุดแวะที่บริเวณโบราณสถานหลายแหงในเขตกําแพงเมือง จนในที่สุดไดขี่กลับมาถึงโรงแรมที่พัก โดยมีระยะทางรวมบนเสนทางนี้อยูที่ราวยี่สิบหากิโลเมตรและเปนพื้นทางเรียบไมมีความลาดชันโดยตลอด

Page 91: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 88

The second day's route is also a very interesting and enjoyable way to visit the Sukhothai Historical Park. Our group got to experience the various sites within the park at a relaxed pace mostly away from crowds and trolleys. There are small blue markers along the route that the municipality recently installed. One of the most stressing portions of the ride was Crossing 12, which we needed to do to reach the canal roads from our starting point. Another potentially stressing incident involved starling a herd of cows, which startled to stampede behind a portion of our bicycling group. While our encountered ended without mishap but many memories, it might not have been so fortunate in the future. An account of a bike ride between the three elements of the World Heritage Site has been published: World Heritage Bike Route Sukhothai – Si Satchanalai - Kamphaeng Phet. It highlights a route between and around the sites that is similar, but not the same as ours. This book can serve as the basis of creating a more permanent primary bicycle route between the three sites. Challenges While our rides were enjoyable and interesting, there appear to be challenges to providing a pleasurable, educational experience to riders. In particular:

x There appears to be no generally available orientation information for bicyclists unfamiliar with bicycling safety or general bicycling rules in Thailand.

x There is no way-finding system for bicyclists to use outside of the recently installed signs on the Canal Road between the Old City and the New City.

x There are no readily available restroom facilities along either route, other than those inside the Old City associated with the Historical Park.

x There is no information about the various communities, activities, cultural sites or other points of interest passed on the way on the ride between the two historic parks and communities, other than that provided in the World Heritage Bike Route Sukhothai - Si Satchanalai - Kamphaeng Phet, which does not always follow the same route.

x There are minimal opportunities for self-guided tours outside of the centre of the historical parks.

เสนทางในวันที่สองยังคงมีความนาสนใจมากและสนุกสนานในการขี่และแวะเยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย กลุมของเราไดรับประสบการณในการเยี่ยมชมหลายพื้นที่ของอุทยานประวัติศาสตรอยางผอนคลายและไกลหางจากกลุมนักทองเที่ยวแออัดและรถราตาง ๆ มีปายสัญลักษณบอกทางสีฟาขนาดเล็กอยูตามแนวเสนทางซ่ึงเพิ่งถูกติดตั้งโดยเทศบาลเมื่อไมนานมานี้ หนึ่งในจุดที่เครียดที่สุดของการขี่คือการขามทางหลวงหมายเลขสิบสอง ซ่ึงเราจําเปนตองขามเพื่อไปจากจุดเริ่มตนใหถึงบริเวณถนนเลียบคลอง อีกเหตุการณนาชวนเครียดเกิดจากฝูงวัวที่วิ่งไลจักรยานของกลุมเรามาติด ๆ ซ่ึงแมในครั้งนี้จะไมมีผูพลั้งพลาดไดรับบาดเจ็บแตมีเพียงความทรงจํามากมายไวบอกเลาตอ แตคราวตอ ๆ ไปในอนาคตอาจมีคนโชคไมดีเหมือนเราก็ได มีสิ่งพิมพของ อพท. เกี่ยวกับการขี่จักรยานบนเสนทางเชื่อมโยงระหวางสามพื้นที่ของมรดกโลกแหงนี้ คือ ปนตามฝนเสนทางมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กําแพงเพชร ซ่ึงไดเนนเสนทางระหวางและบริเวณโดยรอบพื้นที่ทั้งสามแหงในลักษณะใกลเคียงแตไมเหมือนกับประสบการณที่เราไดรับ หนังสือเลมนี้สามารถใชเพื่อเปนพื้นฐานในการสรางสรรคเสนทางถาวรที่ใชเปนเสนทางหลักไดดียิ่งขึ้นในการเช่ือมโยงระหวางทั้งสามพื้นที่ เร่ืองทาทาย ในระหวางที่เราไดขี่จักรยานอยางเบิกบานใจและมีความนาสนใจ ก็พบวามีเรื่องทาทายตอการนําเสนอประสบการณเชิงเรียนรูที่นาพึงพอใจแกผูขี่จักรยาน โดยเฉพาะ

x พบวาไมมีการใหขอมูลพื้นฐานทั่วไปแตอยางใดเลยแกผูขี่ จักรยานเกี่ยวกับความปลอดภัยและกฎระเบียบในทองถนนที่เกี่ยวของกับการขี่จักรยานในประเทศไทยซ่ึงพวกเขาไมคุนเคยมากอน

x พบวาไมมีระบบการบอกทางใหกับจักรยานที่ขี่นอกเสนทางริมคลองระหวางเมืองเกาและเมืองใหมซ่ึงเปนเสนทางเดียวที่มีปายบอกทางอยูบาง

x ไมมีสิ่ งอํานวยความสะดวกหองสุขาในระหวางเสนทางใดเลยนอกเหนือไปจากภายในเมืองเกาที่เปนของอุทยานประวัติศาสตร

x ไมมีการใหขอมูลเกี่ยวกับชุมชนที่หลากหลาย กิจกรรม และแหลงวัฒนธรรม หรือจุดที่นาสนใจอื่น ๆ บนเสนทางที่ผานระหวางอุทยานประวัติศาสตรทั้งสองแหงและยานชุมชนตาง ๆ นอกเหนือไปจากที่บรรยายไวในหนังสือ ปนตามฝนเสนทางมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัยและกําแพงเพชร ซ่ึงการขี่จักรยานไมไดเปนไปตามเสนทางเดียวกันทั้งหมดเสมอไป

x มีโอกาสเล็กนอยมากที่จะสามารถทําการขี่จักรยานแบบตัดสินใจไดเองโดยอาศัยการใหขอมูลลวงหนาที่ดีแบบไมตองมีไกดนําทางในบริเวณพื้นที่นอกเหนือจากอุทยานประวัติศาสตร

Page 92: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 89

Suggestions To turn the route that we took between the sites, as well as the smaller roads we took around the Sukhothai site into elements of a truly memorable bicycling and cultural experience, we offer the following ideas that could allow bicycle tourist to either travel the route on their own or bicycle them with a guide. Local governments, bicycle tour businesses, landowners and coalition of these groups would need take on the responsibility for implementing these recommendations. Table 1 presents the suggestions along with our thoughts on who might best implement them. We have listed the suggestions in roughly an order of when they should be implemented. The suggestions cover many different aspects of bicycle touring, so there is no specific order that is best for implementing the suggestions.

ขอเสนอแนะ เพื่อแปลงเสนทางที่เราใชเชื่อมโยงระหวางพื้นที่ตลอดจนถนนเสนเล็กที่ใชขี่รอบอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยมาเปนองคประกอบที่สําคัญของการขี่จักรยานสัมผัสประสบการณทางวัฒนธรรมที่นาจดจําอยางแทจริงเราขอนําเสนอขอคิดดังตอไปนี้ซ่ึงอาจชวยใหนักขี่จักรยานทองเที่ยวไดดวยตนเองหรือมีไกดนําทางก็ได โดยรัฐบาลทองถิ่นสวนตาง ๆ ผูประกอบการจักรยานนําเที่ยว เจาของที่ดิน และความรวมมือกันของกลุมเหลานี้นาจะเปนเรื่องจําเปนเพื่อรับผิดชอบการนําขอเสนอแนะเหลานี้ไปลงมือปฏิบัติ

ตารางที่ 1 แสดงขอเสนอแนะควบคูไปกับความคิดของกลุมเราวาใครควรมีบทบาทในการนําไปลงมือปฏิบัติมากที่สุด ขอเสนอแนะเหลานี้ไดรวมประเด็นตาง ๆ ที่หลากหลายเกี่ยวกับการขี่จักรยานทองเที่ยวไวโดยไมไดมีการจัดอันดับความสําคัญกอนหลังของการนําไปลงมือปฏิบัติแตอยางใด

Page 93: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 90

Suggestions (Table 1, Page 101) 1. Work with the communities along the spine to see if they have concerns about increased bicycle traffic on the roads that might be addressed by cooperation. 2. Work with Sukhothai and Si Satchanalai governments to gain their support in promoting bicycle tourism as an important economic development tool for the two communities. 3. Develop and install an easily understood signage system that can guide bicyclists along the route on their own while also pointing out the location of facilities, points of interest, side routes and distances to various destinations. 4. Create a series of available toilet facilities along the route that bicyclists can use. 5. Develop an alternate route between the two sites that could be used to create a loop route if bicycle tourists don't want to head back the same way. 6. Develop a series of side loops that provide access to special areas, food sources, natural features or other attractions that help the bicycle tourist learn and experience more about the culture. 7. Create a series of shorter destinations including restaurants, home stays, home meal opportunities, stores, shops, cultural sites, the national park and other points of interest that can expand the understanding of the culture around the World Heritage Sites and provide different ways to experience the area (hiking) and create additional economic development opportunities for the area. 8. Create maps for the various bicycle routes, either one comprehensive map or several more detailed, individual maps. 9. Develop more in depth interpretive information for those that would like to learn more about the culture around the World Heritage Sites, including some of the ancient support systems (water transportation, agriculture, pottery) used by those that lived and worked in these sites. 10. Integrate more options for different types of riding experiences, such as off road bicycling or on-road bicycling on the larger roads for those that would like to experience this type of bicycling. 11. Provide better on-road bicycling facilities when no other options are available for alternate routes.

ขอเสนอแนะ (จากตารางที่ 1, หนา102) 1. ทํางานรวมกับชุมชนตาง ๆ ตลอดเสนทางเพื่อดูวาพวกเขามีความกังวลใดบางเกี่ยวกับปริมาณการจราจรดวยจักรยานที่จะเพิ่มขึ้นบนทองถนน ซ่ึงอาจนํามาสูการสรางความรวมมือบางอยางในพื้นที่ได 2. ทํางานรวมกับรัฐบาลทองถิ่นของสุโขทัยและศรีสัชนาลัยเพื่อเพิ่มการสนับสนุนในดานการสงเสริมการทองเที่ยวโดยจักรยานในฐานะเครื่องมือการพัฒนาเศรษฐกิจที่สําคัญของชุมชนในทั้งสองพื้นที่ 3. พัฒนาและติดตั้งระบบปายบอกทางที่เขาใจไดงายซ่ึงสามารถนําทางผูขี่จักรยานไปตามเสนทางไดดวยตนเอง พรอมกับบงชี้ตําแหนงของสิ่งอํานวยความสะดวกและสถานที่นาสนใจ เสนทางยอยเพิ่มเติม และระยะทางไปสูสถานที่ทองเท่ียวตาง ๆ 4. สรางสุขาเปนระยะตลอดเสนทางเพื่อใหผูขี่จักรยานไดใชงานสะดวก 5. พัฒนาเสนทางเลือกที่เชื่อมโยงระหวางสองพื้นที่ซ่ึงสามารถใชเพื่อสรางเสนทางแบบวงแหวน สําหรับนักทองเที่ยวที่อาจไมตองการขี่จักรยานขากลับซํ้าเสนทางเดิม 6. พัฒนาเสนทางวงแหวนแยกยอยเปนระยะที่สามารถเชื่อมตอเขาไปสูพื้นที่ที่มีความพิเศษตาง ๆ ได ตลอดจนแหลงซ้ือหาอาหาร สภาพแวดลอมธรรมชาติที่สวยงาม หรือสถานที่ทองเท่ียวอื่นที่ชวยใหนักทองเที่ยวสามารถขี่จักรยานเพื่อเรียนรูและไดรับประสบการณที่มากขึ้นเกี่ยวกับวัฒนธรรมของพื้นที่ 7. สรางสถานที่ทองเที่ยวพักผอนเปนระยะ รวมทั้ง รานอาหาร โฮมสเตย การเตรียมมื้ออาหารทานในบานตามเสนทาง รานคา แหลงวัฒนธรรม อุทยานแหงชาติ และจุดที่นาสนใจอื่นอีกซ่ึงสามารถขยายขอบเขตความเขาใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมในบริเวณโดยรอบแหลงมรดกโลก และนําเสนอหนทางที่แตกตางเพื่อสัมผัสประสบการณของพื้นที่ (เชน การเดินปา) และสรางโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบสรางสรรคใหกับพื้นที่ 8. สรางสรรคแผนที่สําหรับการขี่จักรยานบนเสนทางที่หลากหลาย ดวยการใชแผนที่แบบรวมขอมูลในหนึ่งเดียว หรือมีแผนที่รายละเอียดแยกยอยอีกหลายรายการ 9. พัฒนาการสื่อความหมายคุณคาแบบใหขอมูลเชิงลึกสําหรับกลุมที่ตองการเรียนรูมากขึ้นเกี่ยวกับวัฒนธรรมในพื้นที่โดยรอบแหลงมรดกโลก รวมถึงระบบสาธารณูปโภครองรับในพื้นที่สมัยโบราณ (เชน การเดินทางขนสงทางน้ําและระบบชลประทาน การเกษตรและการทําเครื่องเคลือบดินเผา) ซ่ึงเคยมีการใชงานโดยผูอยูอาศัยในพื้นที่ 10. ผสานทางเลือกใหมากขึ้นเพื่อนําเสนอรูปแบบของประสบการณขี่จักรยานที่แตกตางกันออกไป เชน ขี่จักรยานบนทางวิบาก หรือบนถนนสายหลักที่กวางขึ้นสําหรับผูที่ตองการประสบการณรูปแบบทางเลือกเฉพาะ 11. พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการขี่จักรยานบนถนนสายหลักใหดียิ่งขึ้น เมื่อไมมีทางเลือกอื่นในการนําเสนอเสนทางจักรยานเพื่อเลี่ยงถนนใหญ

Page 94: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 91

12. Work with the Historical Parks to allow integration of the long distance routes with the local routes by the introduction of the coordinated signage system. 13. Create a small voluntary levy on bicycle rentals and guide services for a local fund to buy bicycles and safety equipment for local children. 14. Work with the National Park to create more challenging mountain bike routes that incorporate more grade changes and other off-road riding challenges. 15. Create a comprehensive set of contingency plans that could include a system of "safe houses" along the route that can provide traveler assistance in case of emergencies, a centralized phone number to call in emergencies, a minimum number of bicyclists for self guided tours and cell phone requirements for each self guided bicycling group. 16. Install kilometer markers along the route to make it easy for self guided bicyclists to understand or tell other in an emergency where there are on the route. 17. Create links from the Sukhothai bicycling network to other national cycling networks. 18. Work with banks to make it easier to finance locally based start up businesses. 19. Extend the bicycling network southward to the third component of the World Heritage Site, Kampheang Phat, including most of these recommendations. 20. At the time that a critical number of qualified bicycle tour operators exist in the area, create a Sukhothai/Si Satchanalai Bicycling Touring Association that can support the implementation of other suggestions. 21. Develop standards for tour guides, including such items as minimum levels of bicycle quality and equipment, basic levels of guide expertise, necessary levels of insurance and other similar concepts. 22. Distribute the information developed as part of this effort to as many hotels, guest houses, information areas and other distribution points as possible. 23. Check for compliance with the Association standards.

12. ทํางานรวมกับอุทยานประวัติศาสตรเพื่อสรางการผสานรวมเสนทางขี่จักรยานทางไกลเขาดวยกันกับเสนทางสายทองถิ่นสั้น ๆ โดยการจัดใหมีการทําระบบปายบอกทางที่สามารถใชงานรวมกันได 13. สรางสรรคกลุมอาสาสมัครกลุมเล็กจากธุรกิจใหเชาจักรยานและบริการนําเที่ยวเพื่อใหเกิดกองทุนทองถิ่นเพื่อซ้ือจักรยานและอุปกรณความปลอดภัยใหกับเด็กในทองถิ่น 14. ทํางานรวมกับอุทยานแหงชาติเพื่อสรางสรรคเสนทางจักรยานเสือภูเขาที่มีความทาทายมากยิ่งขึ้น โดยสามารถทํางานรวมกันไดดีกับผูที่ขี่จักรยานแบบเปลี่ยนแปลงรูปแบบเสนทางตลอดรวมจนถึงการขี่จักรยานบนเสนทางวิบาก 15. สรางแผนในภาพรวมของการเฝาระวังภัย โดยรวมถึงระบบการสรางจุดปฐมพยาบาลตามบานหรือรานคาตลอดเสนทางที่สามารถชวยเหลือนักเดินทางในกรณีฉุกเฉิน จัดใหมีหมายเลขโทรศัพทกลางสําหรับโทรหาในกรณีฉุกเฉิน กําหนดจํานวนนักขี่จักรยานในกลุมยอยที่สามารถเดินทางท อ ง เที่ ย ว ได ด ว ยตน เ อ ง แ ละ กํ า หน ด ให มี ก า ร ร ะบุ หม าย เล ขโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อสามารถติดตอกับคนในกลุมดังกลาวไดในระหวางการเดินทาง 16. ติดตั้งหลักกิโลเมตรตลอดเสนทางเพื่อใหนักทองเที่ยวขี่จักรยานเดินทางดวยตนเองสามารถทําความเขาใจหรือบอกคนอื่นถึงตําแหนงที่ตนเองอยูไดบนเสนทางในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน 17. สรางการเชื่อมตอโครงขายเสนทางขี่จักรยานทองเท่ียวของสุโขทัยไปยังโครงขายเสนทางจักรยานในระดับประเทศ 18. ทํางานรวมกับธนาคารพาณิชยเพื่อสรางโอกาสใหกับธุรกิจทองถิ่นที่เกี่ยวของกับการสงเสริมการขี่จักรยานทองเที่ยวไดเริ่มตนประกอบการไดงายขึ้น 19. ขยายโครงขายเสนทางขี่จักรยานมุงลงทิศใตไปยังกําแพงเพชรซ่ึงเปนหนึ่งในสามพื้นที่ของมรดกโลกสุโขทัย โดยรวมเอาขอเสนอแนะสวนใหญในนี้ไปปรับใชกับพื้นที่ดังกลาวดวย 20. ในสถานการณปจจุบันที่จํานวนผูใหบริการนําเที่ยวดวยจักรยานที่มีคุณภาพยังมีจํานวนจํากัดอยูในพื้นที่ ควรสรางสมาคมการทองเที่ยวโดยจักรยานของพื้นที่สุ โขทัยและศรีสัชนาลัยขึ้น เพื่อสนับสนุนการนําขอเสนอแนะเพิ่มเติมอื่นอีกไปลงมือปฏิบัติไดจริง 21. พัฒนามาตรฐานสําหรับการนําเที่ยวดวยจักรยาน โดยรวมถึงประเด็นเชน ระดับต่ําสุดของคุณภาพและอุปกรณประกอบในจักรยานที่นํามาใหบริการ ระดับความเชี่ยวชาญเบื้องตนในการเปนไกดนําเที่ยว ระดับบงชี้อื่นที่เกี่ยวของกับการประกันภัยและอื่น ๆ ในเรื่องใกลเคียงกันนี้ 22. กระจายขอมูลที่ไดรับการพัฒนาจัดทําขึ้นจากขอเสนอแนะนี้ไปยังโรงแรม เกสตเฮาส ศูนยขอมูลและจุดกระจายการสื่อสารขอมูลตาง ๆ ใหมากที่สุดเทาที่เปนไปได 23. ตรวจสอบมาตรฐานตาง ๆ ที่ใชในพื้นที่ใหเปนไปตามมาตรฐานของสมาคมจักรยานเพื่อการทองเท่ียว

Page 95: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

4. สรุปขอเสนอแนะ (รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร) Recommendation (Exclusive Summary)

Page 96: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 92

4. สรุปขอเสนอแนะ (รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร) Recommendation (Exclusive Summary) In this part of our report, recommendations from all working groups have been presented together for ease of reference. Recommendation 1 Protection: Overarching Objectives

OVERARCHING OBJECTIVES were proposed by working Group 1 and used by them to analyse their observations and devise strategies and community tools to help enhance the management and protection of the World Heritage Site. It is recommended that these overarching objectives be applied in all decision making about sustainable heritage and tourism management. Recommendation 2 Protection: Strategies to harness opportunity

Working Group 1 identified six key opportunities which could be harnessed to enhance the exceptional inherent qualities of Sukhothai World Heritage Site. It is Recommended that these observations be considered and preliminary strategies be actioned.

Observation Preliminary Strategies

1 Lack of a Buffer zone when first inscribed.

Æ

Include a buffer zone in the local Tourism Plan and Comprehensive Provincial Plan that addresses protection of the heritage resources

2 Ambiguous planning and management jurisdictions and lack of coordination.

Æ

Define responsibilities amongst different agencies based on skills and mission and improve coordination and collaboration

3 Limited community and stakeholders’ engagement.

Æ

Improve community engagement to become a key platform in the planning process.

4 The inventories of heritage assets are out-dated.

Æ

Harness community involvement and training as a tool to collaborate on updating the inventory of tangible and intangible heritage assets.

ขอเสนอแนะในรายงานสวนนี้มาจากการทํางานของทุกกลุมรวมกันซ่ึงไดถูกนํามาเรียบเรียงตอเนื่องเพื่อความเขาใจและงายตอการอางอิง ขอเสนอแนะที่ 1 การสงวนรักษา ใชวัตถุประสงคแบบครอบคลุม

กลุมที่หนึ่งเสนอใหมีการกําหนดวัตถุประสงคในการอนุรักษแบบครอบคลุม โดยใชวัฒนธรรมเปนเสมือนรมคลุมทุกมิติของการพัฒนาอยางยั่งยืน ซ่ึงมีที่มาจากการสังเกตการณและสรางยุทธศาสตรพรอมเครื่องมือเพื่อชุมชนไดมีสวนชวยเพิ่มพูนการจัดการและการสงวนรักษาแหลงมรดกโลกโดยเสนอแนะใหนําวัตถุประสงคแบบครอบคลุมนี้ไปใชกับกระบวนการตัดสินใจดานการจัดการมรดกวัฒนธรรมและการทองเท่ียวยั่งยืนทุกรูปแบบ ขอเสนอแนะที่ 2 การสงวนรักษา ยุทธศาสตรเพื่อการสรางโอกาส

กลุมที่หนึ่งไดระบุหกปจจัยหลักดานโอกาสซ่ึงสามารถนํามาสรางและเพิ่มพูนคุณภาพที่มีอยูของแหลงมรดกโลกสุ โขทัยใหดี เลิศได โดยขอเสนอแนะมาจากการสังเกตการณและถูกพิจารณาแยกเปนยุทธศาสตรเบื้องตนเพื่อการลงมือปฏิบัติที่มีความเกี่ยวของกัน 1. ขาดพื้นที่กันชนเมื่อแรกขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก ใหรวมพื้นที่กันชนไวในแผนจัดการการทองเที่ยวทองถิ่นและผังเมืองรวมจังหวัด โดยระบุประเด็นเพื่อการอนุรักษและสงวนรักษาทรัพยากรมรดกวัฒนธรรม 2. การวางแผนและผังตลอดจนการจัดการที่กํากวมในดานอํานาจการตัดสินใจและขาดการประสานความรวมมือกันใหระบุความรับผิดชอบของแตละหนวยงาน โดยพิจารณาพื้นฐานดานทักษะและภารกิจหลักขององคกร และปรับปรุงการรวมมือทํางานและการประสานงานในแตละโครงการ 3. ชุมชนถูกจํากัดบทบาทและขอจํากัดดานความรวมมือจากผูมีสวนไดสวนเสีย ปรับปรุงดานความรวมมือของชุมชนเพื่อใหเกิดพื้นที่ยืนอยางมีสวนรวมในกระบวนการวางแผน 4. การจัดเก็บขอมูลทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมที่ลาสมัย สรางการมีสวนรวมของชุมชนและฝกอบรมใหเปนเครื่องมือเพื่อชวยประสานความรวมมือในการปรับปรุงการจัดเก็บขอมูลทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมทั้งที่จับตองไดและจับตองไมไดใหมีความทันสมัยทันตอสถานการณ

Page 97: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 93

5 The interpretation of the monuments as isolated objects.

Æ

Understand global trends in heritage interpretation and curatorship that embrace the full range of tangible and intangible heritage resources.

6 Simplistic interpretation of monuments that does not appeal to a diverse crowd of visitors.

Æ

Encourage diversity and depth in historic documents and resource-based materials available to visitors

Recommendation 3 Protection: Apply Cultural Landscapes

Framework

Apply the UNESCO living cultural landscapes framework to the three related World Heritage sites to sustain, present and manage the entire tangible and intangible representation of Sukhothai’s political, religious and civic heritage holistically.

Recommendation 4 Protection: Benchmarking

Seek out and implement best practices for protection, tourism management and community engagement. Working Group 1 identified a few areas in which the exchange of best practices amongst regional and international historical sites would be useful. These include: 1. Establishing a community-driven inventory of heritage assets within the WHS that will capture information such as condition review and site monitoring. 2. Preparing short to long term maintenance and infrastructure development schedule with clearly-defined scopes of work managed by FAD, Municipal Office and the Provincial Office. 3. Encouraging continual research in the World Heritage Site and to apply cutting-edge technology in areas such as material conservation and 3D virtual reconstruction of ruins. 4. Fostering stronger cooperation among World Heritage Site staff, NGOs and volunteers by offering skill building workshops, knowledge sharing sessions and interesting projects such as carrying out surveys to document intangible cultural heritage.

5. การส่ือความหมายคุณคาของโบราณสถานเหมือนเปนวัตถุที่ตัดขาดจากบริบททําความเขาใจกับแนวทางของโลกในยุคปจจุบันที่เนนการสื่อความหมายคุณคามรดกวัฒนธรรมและนําเสนอทั้งในมิติที่จับตองไดและที่จับตองไมไดอยางเต็มที่ 6. การส่ือความหมายคุณคาของโบราณสถานแบบเรียบงายเกินไปที่ไมสรางความประทับใจใหกลุมผูมาเยี่ยมชมที่มีความสนใจที่หลากหลาย สงเสริมกระตุนความหลากหลายและมิติ เชิ งลึกของการจัดเก็บขอมูลทางประวัติศาสตรโดยสรางเครื่องมือเพื่อใชอางอิงจากทรัพยากรที่มีและสามารถนํามาใชเสนอตอผูมาเยี่ยมชมได

ขอเสนอแนะที่ 3 การสงวนรักษา ประยุกตใชกรอบแนวคิดการทํางานดานภูมิทัศนวัฒนธรรม

ประยุกตใชกรอบแนวคิดการทํางานดานภูมิทัศนวัฒนธรรมที่ยังมีชีวิตอยูของยูเนสโก กับพื้นที่ทั้งสามแหงที่เปนมรดกโลกสุโขทัย เพื่อความยั่งยืนและการนําเสนอกับการจัดการทั้งคุณคาที่จับตองไดและจับตองไมได ทั้งในดานการเมืองการปกครอง ศาสนาความเชื่อ และวัฒนธรรมชาวบาน อยางเปนองครวมของสุโขทัย ขอเสนอแนะที่ 4 การสงวนรักษา การเปรียบเทียบแนวคิดวิธีการอ่ืน

โดยการคนหาและลงมือปฏิบัติตามตัวอยางที่ดีที่สุดเพื่อการอนุรักษ การจัดการการทองเท่ียว และการสรางการมีสวนรวมของชุมชน กลุมทํางานที่หนึ่งไดระบุบางพื้นที่ ซ่ึงมีการแลกเปลี่ยนตัวอยางวิธีการทํางานที่ดีที่สุดในกลุมพื้นที่แหลงประวัติศาสตรระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติซ่ึงนาจะทําใหเกิดประโยชนขึ้นได รวมถึง 1.สรางรูปแบบการจัดเก็บขอมูลมรดกวัฒนธรรมที่ชุมชนเปนผูผลักดันขึ้นเองภายในพื้นที่มรดกโลกที่จะสามารถทําใหเก็บขอมูลเชน การทบทวนสภาพปจจุบันและการตรวจสอบดูความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ 2.เตรียมตารางการดําเนินงานดานพัฒนาและดูแลรักษาโครงสรางพื้นฐานทั้งในระยะสั้นและระยะยาวพรอมกรอบการทํางานที่มีความชัดเจนและจัดการโดยกรมศิลปากร สํานักงานเทศบาลในทองถิ่น และหนวยงานในระดับจังหวัด 3.สงเสริมกระตุนการทํางานวิจัยอยางตอเนื่องในพื้นที่มรดกโลก และเพื่อประยุกตใชเทคโนโลยีทันสมัยกับพื้นที่ เชน การอนุรักษดวยวัสดุสมัยใหมและการสรางภาพเสมือนจริงสามมิติขั้นสมบูรณจากซากโบราณสถาน 4.สนับสนุนใหมีการประสานความรวมมือที่เขมแข็งมากยิ่งขึ้นในกลุมเจาหนาที่ผูซ่ึงทํางานเกี่ยวของกับมรดกโลก กับองคกรภาคประชาชน และอาสาสมัคร โดยการสรางโครงการฝกอบรมทักษะและฝกปฏิบัติการ แบงปนความรูและความสนใจที่มี เชน การจัดใหมีการออกสํารวจในพื้นที่จริงเพื่อเก็บขอมูลมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได

Page 98: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 94

5. Creating knowledge sharing opportunities to link up regional and national sites with historical and geographical similarities to enhance knowledge and enrich interpretation 6. Enriching and diversifying the interpretation of the World Heritage Site to appeal to diverse groups of visitors with different interests and needs. Thematic tours, re-enactment and virtual reconstruction of the monuments not only enhance visitors’ experiences, they also play a key role in instilling national pride for locals. Recommendation 5 Intangible Cultural Heritage Research

Recommendations relating to intangible cultural heritage and handicrafts were made by two groups – Working Group 2 and Side Group Two. For ease of reference, their recommendations have been brought together here. A principle recommendation of both working groups was that participatory research be carried out with craftspeople, other community members and businesses. 5.1 Further in-depth field research on the intangible values and meanings of the sites to local populations. In keeping with the UNESCO Hoi An Protocols for Best conservation Practice in Asia and growing interest in moving beyond archaeological explanations to promote a more holistic, multidimensional experience of heritage (i.e. heritage and the senses, heritage and affect), Working Group 2 advocates recognition of the intangible values, narratives, stories, practices and beliefs of local communities alongside the Outstanding Universal Values of the site. The proposed research should explore what more could be done to support local museums and interpretation centres i.e. capacity-building for research and documentation of Intangible Cultural Heritage related to the sites and encouraging interpretation of intangible heritage along with physical heritage. 5.2 A scenario-building research with the communities to consider the impacts of tourist promotion of festivals and ritual practices, as these practices can be negatively impacted by mass tourism (as in the case of alms giving in Luang Prabang).

5.สรางสรรคโอกาสในการแบงปนความรูเพื่อเชื่อมโยงพื้นที่สูโครงขายในระดับชาติและระดับภูมิภาค กับพื้นที่ทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรที่มีความใกลเคียงกัน เพื่อชวยขยายความรูและเพิ่มพูนการสื่อความหมายคุณคาของพื้นที่ 6.เพิ่มพูนและสรางความหลากหลายใหกับการสื่อความหมายคุณคาของแหลงมรดกโลกใหมีความนาประทับใจตอกลุมผูมาเยี่ยมชมที่มีความหลากหลายซ่ึงมีความสนใจและความตองการที่แตกตางกัน จัดใหมีการนําเท่ียวแบบมีหัวเร่ืองนําเสนอเฉพาะทาง การสาธิตการแสดงวิถีชีวิต และการสรางโบราณสถานขึ้นใหมใหสมบูรณในโลกเสมือนจริง ซ่ึงไมเพียงแตจะเปนการเพิ่มพูนประสบการณใหนักทองเที่ยวแตยังมีบทบาทหลักในดานการสรางความภาคภูมิใจระดับชาติรวมถึงในทองถิ่นและตนเองอีกดวย ขอเสนอแนะที่ 5 การวิจัยดานมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได ขอเสนอแนะนี้ เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดและงานหัตถกรรมซ่ึงเปนผลงานของสองกลุมทํางาน คือ กลุมทํางานที่สอง และกลุมทํางานยอยที่สอง สําหรับการอางอิงโดยงายจึงไดนํามารวมกันเขาที่นี่โดยขอเสนอแนะเชิงหลักการอยางแรกของทั้งสองกลุมคือ การทํางานวิจัยอยางมีสวนรวมโดยรวมมือกับชางฝมือและสมาชิกในชุมชนกลุมอื่น ๆ ตลอดจนผูประกอบการ 5.1 ควรมีการวิจัยเชิงลึกศึกษาบนพื้นที่จริงเกี่ยวกับคุณคาที่จับตองไมไดและความหมายของแหลงมรดกในมุมมองความเขาใจของประชากรทองถิ่น โดยเปนไปตามแนวทางของยูเนสโกเร่ือง แนวทางโฮยอันเพื่อการอนุรักษที่ดีที่ สุ ดในเอ เชีย และเพื่ อตอบรับกับความสนใจที่ เพิ่ มมากขึ้ น ซ่ึ งนอกเหนือไปจากการอธิบายเรื่องโบราณคดีเพียงอยางเดียว โดยสงเสริมการรับรูประสบการณของมรดกวัฒนธรรมแบบองครวมและหลากมิติ (เชน มรดกกับการรับรูในมิติที่แตกตาง ความผูกพันที่มีตอมรดก) กลุมทํางานที่สองยังไดเนนยําเรื่องการรับรูตระหนักในคุณคาของมิติที่จับตองไมได ตํานานเรื่องเลา วิถีปฏิบัติและความเชื่อในกลุมชุมชนทองถิ่น ควบคูไปกับคุณคาอันเปนสากลที่ดีเยี่ยมของแหลงมรดกโลก งานวิจัยที่นําเสนอควรเปนไปเพื่อคนหาวาการสนับสนุนอยางใดสามารถทําไดมากขึ้นอีกเพื่อใหมีศูนยกลางของการสื่อความหมายคุณคาและพิพิธภัณฑชุมชนเกิดขึ้นไดในทองถิ่น เชน การวิจัยเพื่อสรางศักยภาพและเก็บขอมูลมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได ซ่ึงเชื่อมโยงกับพื้นที่และสงเสริมกระตุนการสื่อความหมายคุณคาของมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดควบคูไปกับมรดกทางกายภาพ 5.2 การวิจัยเพื่อสรางภาพรวมแนวทางในอนาคตกับชุมชนในพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบจากการสงเสริมการทองเท่ียวเทศกาลและวิถีปฏิบัติเชิงพิธีกรรม เนื่องจากวิถีปฏิบัติเหลานี้อาจไดรับผลกระทบในดานลบจากการทองเที่ยวเนนปริมาณ (เชนในกรณีที่เกิดขึ้นกับการตักบาตรเชาในเมืองหลวงพระบาง)

Page 99: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 95

5.3 The Intangible Cultural Heritage research should explore how to engage both the elders and young people, particularly through the arts and initiatives which encourage creative, imaginative engagement with the heritage sites. One example would be inviting children to draw their own roofs for the historic structures in the park, or photography or painting projects. 5.4 The in-depth, participatory research into Intangible cultural heritage and the scenario-building process would be essential to ensure community consultation and empowerment in anticipation of major changes in the near future due to the high-speed rail. Recommendation 6 Handicrafts Research

6.1 Further research with artisans in the Historical Park and vicinity to discuss scenarios and possible outcomes of their integration into cultural tourism was recommended by Working Group 2 (Intangible Heritage). Key questions this group identified were:

x If these crafts were integrated into tourism trails, what do the artisans think the impact would be?

x In what scenarios would it be desirable or undesirable? This kind of participatory, scenario-based research would be:

x a means to better understand the artisans’ resistance or acceptance of big changes due to tourism, and

x a means to help artisans envision and prepare for coming infrastructural changes, such as the rapid rail.

6.2 Developing a shared vision Side Group 2, which focussed on pottery, believed that it is essential that artists meet and share their visions of further development with the business and tourism stakeholders of the arts in Sukhothai, including DASTA, the Fine Arts Department, and the tourism trade authorities. It recommended that meetings be held with other small traditional craft ventures to (a) discuss collaborative development through complementary and shared efforts and (b) develop a network of trade, supply, and marketing efforts (c) create ownership of the development process and willingness to participate collaboratively.

งานวิจัยมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดควรคนหาวาจะเช่ือมโยงผูสูงอายุกับกลุมเยาวชนเขาดวยกันอยางไร โดยเฉพาะผานทางศิลปะและการริเริ่มสรางสรรคที่สนับสนุนการมีสวนรวมแบบเปยมจินตนาการและความคิดสรางสรรคบนแหลงมรดกวัฒนธรรม ตัวอยางหนึ่งคือการเชิญชวนใหเด็ก ๆ วาดรูปหลังคาและเสนขอบฟาของพื้นที่ประวัติศาสตรในอุทยานฯ หรือโครงการถายภาพหรือระบายสี

5.4 งานวิจัยอยางมีสวนรวมในเชิงลึกเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได และกระบวนการสรางแนวทางภาพรวมอนาคตซ่ึงนาจะมีความจําเปนตอการใชปรึกษาหารือรวมกับชุมชน และเพื่อสงเสริมความเขมแข็งของชุมชนในการเตรียมพรอมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงใหญที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกลรวมถึงการสรางเสนทางรถไฟความเร็วสูง

ขอเสนอแนะที่ 6 งานวิจัยดานหัตถกรรม

6.1 งานวิจัยโดยรวมมือกับชางฝมือทองถิ่นในอุทยานประวัติศาสตรและพื้นที่ใกลเคียง เพื่อพูดคุยถกเถียงกันถึงแนวทางภาพรวมอนาคตและความเปนไปไดของสิ่งที่จะเกิดขึ้นจากการผสานความรูเชิงหัตถกรรมเขากับการทองเที่ยววัฒนธรรม โดยเปนขอเสนอแนะของกลุมทํางานที่สอง และมีคําถามหลักของงานวิจัยที่ทางกลุมระบุไวดังนี้ x หากงานหัตถกรรมเหลานี้ถูกผสานรวมเขาสูเสนทางการทองเที่ยว

แลว ชางฝมือเหลานั้นคิดวาจะไดรับผลกระทบอยางไรบาง x ในภาพรวมแนวทางอนาคตอยางใดที่คิดวาตองการใหเกิดขึ้น หรือไม

ตองการใหเกิดขึ้น งานวิจัยโดยวิธีการสรางแนวทางภาพรวมอนาคตแบบมีสวนรวมนี้ นาจะ

x เปนหนทางสรางความเขาใจที่ดียิ่งขึ้นตอการตัดสินใจตอบรับหรือปฏิเสธโดยกลุมชางฝมือ ตอความเปลี่ยนแปลงใหญที่จะเกิดขึ้นโดยการทองเท่ียว และ

x เปนหนทางชวยเหลือชางฝมือในการปรับวิสัยทัศนและเตรียมตัวเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางพื้นฐานที่จะเกิดขึ้น เชน ทางรถไฟความเร็วสูง

6.2 การพัฒนาวิสัยทัศนรวม กลุมทํางานยอยที่สอง ซ่ึงมุงเนนความสนใจไปที่งานเครื่องเคลือบดินเผา เชื่อวาสิ่งนี้มีความสําคัญและจําเปนสําหรับศิลปนในการมาพบปะและแบงปนวิสัยทัศน เกี่ ยวกับการพัฒนาในอนาคต รวมกับกลุมธุรกิจผูประกอบการและผูมีสวนไดสวนเสียดานการทองเที่ยวและงานศิลปะในสุโขทัย รวมถึง อพท. กรมศิลปากร และหนวยงานดานการคาการทองเที่ยว มีขอเสนอวาการประชุมพบปะควรมีขึ้นรวมกับกลุมผูผลิตงานหัตถกรรมดั้งเดิมกลุมเล็ก ๆ ดวย เพื่อ ก) พูดคุยถกเถียงเกี่ยวกับการพัฒนาความรวมมือผานกระบวนการและความพยายามเพื่อเสริมคุณคาและแบงปนซึ่งกันและกัน และ ข) พัฒนาเครือขายการพัฒนาดานการขาย การขนสง และการตลาด ค) สรางความรูสึกเปนเจาของใหเกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนา ตลอดจนความตั้งใจจริงที่จะเขามีสวนรวมในกระบวนการความรวมมือ

Page 100: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 96

6.3 Recommendations for Local Stakeholder input

x Artists, potters, ceramicists, and supporting businesses (suppliers, distributors);

x Shop keepers in the region, tourism markets and craft centres;

x Elders and long-practicing craftspeople;

x Visitors: Casual and Pottery-collecting visitors National and Large Scale Interests

x DASTA, The Thai Department of International Trade Promotion, and Ministry of Commerce of the Royal Thai Government and other Tourism Industry interests;

x National and international non-profit arts associations and university programs related to the promotion of traditional arts in Thailand, such as the Queen Sirikit Foundation;

x International interests, collectors, and arts associations who have assisted in the development of the ceramic arts in other countries, including those that that promote locally produced arts.

Recommendation 7 Next Steps for Handicrafts

Side Group 2 recommended a series of steps to be taken to develop opportunities for handicrafts. 1. Promote both the traditional and modern arts to:

x support local arts and artists and

x develop a collective of a variety of art forms and artists: weaving and textiles, gold and silver smith, jewellery making, organic farming and cooking, tangible historical design and construction, and intangible traditions, music, and sacred arts;

2. Develop new interpretative program materials to educate and inform visitors of the historical development and significance of pottery making and the ceramics industry; 3. Provide scheduled tours of the historic kilns with follow-up demonstration and shopping; 4. Create relationships with museums, tour operators, travel writers, and businesses to promote the ceramics industry as part of the World Heritage Site traditional history and modern extension of the history, capitalizing on the impressive preserved ruins at the Sangkhalok Kilns and Pottery Workshop; 5. Offer opportunities for visitors to work alongside ceramicists to create and develop a piece of pottery, taking it through the production stages, and made available to package and deliver home;

6.3 ขอเสนอแนะดานกลุมผูมีสวนไดสวนเสียที่ควรเขารวม

x ศิลปน ชางปน ผูออกแบบและผลิตเซรามิค และธุรกิจที่สงเสริม (ผูซ้ือ ผูจัดจําหนาย)

x เจาของรานคาประกอบการในภูมิภาค ตลาดการทองเที่ยว และศูนยคางานหัตถกรรม

x ผูสูงอายุและผูผลิตงานหัตถกรรมที่มีประสบการณมายาวนาน

x นักทองเที่ยว ทั้งกลุมทั่วไปและกลุมนักสะสมงานศิลปะเครื่องปนความสนใจในกลุมที่ใหญขึ้นและในระดับชาติ

x อพท. หนวยงานดานการสงเสริมการคาระหวางประเทศของรัฐบาลไทย และกระทรวงพาณิชย ตลอดจนภาคสวนอุตสาหกรรมทองเที่ยวอื่น

x สมาคมดานศิลปะที่ไมแสวงหากําไรทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และโครงการของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวของกับการสงเสริมศิลปะดั้งเดิมในประเทศไทย เชน มูลนิธิของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ

x ความสนใจในระดับนานาชาติ จากนักสะสมงานศิลปะ และสมาคมดานศิลปะ ซ่ึงมีสวนชวยในการสงเสริมการพัฒนาสภาพแวดลอมเพื่อการสรางสรรคงานศิลปะเซรามิคในประเทศอื่น ๆ ตลอดจนที่เกี่ยวของกับการสงเสริมผลิตภัณฑงานศิลปะทองถิ่น

ขอเสนอแนะที่ 7 ขั้นตอนตอไปเพื่อสงเสริมงานหัตถกรรม

กลุมทํางานยอยที่สอง ไดเสนอขั้นตอนเพื่อนําไปสูการพัฒนาโอกาสใหกับการสรางงานหัตถกรรม 1. สงเสริมทั้งศิลปะสมัยใหมและแบบดั้งเดิม เพื่อ

x สนับสนุนศิลปะและศิลปนทองถิ่น

x พัฒนาการเก็บรวบรวมขอมูลความหลากหลายของศิลปนและผลงานศิลปะ ทั้งการทอและงานผา เครื่องทองและเงิน การทําเครื่องประดับ เกษตรอินทรียและการประกอบอาหาร การออกแบบและกอสรางในรูปแบบอางอิงประวัติศาสตร และวิถีปฏิบัติที่จับตองไมได ดนตรี และศิลปะในพิธีกรรมตาง ๆ

2. พัฒนาเครื่องมือแบบใหมเพื่อสงเสริมการสื่อความหมายคุณคา เพื่อการเรียนรูและใหขอมูลแกผูมาเยี่ยมชมการพัฒนาดานประวัติศาสตรและความสําคัญของผลิตภัณฑและอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผา 3. สรางตารางนําเที่ยวพื้นที่ซ่ึงพาชมเตาเผาโบราณและตามดวยการสาธิตการผลิตและนําซ้ือสินคา 4 สรางความสัมพันธระหวางพิพิธภัณฑ ผูประกอบการนําเที่ยว นักเขียนดานการทองเที่ยว และธุรกิจตาง ๆ เพื่อสงเสริมอุตสาหกรรมเซรามิคในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรดั้งเดิมของแหลงมรดกโลกพรอมการขยับขยายสูยุคสมัยใหมในปจจุบัน และเปนการลงทุนเพื่อสรางความนาประทับใจเพิ่มขึ้นใหกับเตาสังคโลกโบราณและโรงผลิตงานเครื่องเคลือบดินเผาในทองถิ่น 5 สรางโอกาสใหกับนักทองเที่ยวเพื่อทํางานรวมกับผูออกแบบและผลิตเซรามิค เพื่อสรางสรรคและพัฒนาชิ้นงานเครื่องเคลือบดินเผา โดยนําผานกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน และมีการบรรจุหีบหอพรอมใหนํากลับหรือจัดสงไปที่บานได

Page 101: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 97

6. Offer scheduled classes at the main sites and marketplace at Sukhothai, (e.g., Saturday and Tuesday mornings from 0800-1200) on an regular basis; 7. Present creative play activities for children to experiment with clay and play at the main marketplace at Sukhothai and offer follow-up onsite tours and workshops; 8. Develop school outings to the workshops to inform about the history and tradition and provide opportunities based on different age groups to work and play with the materials; 9. Create a portfolio of historic interpretation, specialty pieces, and specialty prices for shopping and shipping, along with a high quality photography book ; 10. Provide hotel tours, scheduled demonstrations, and shopping for products at hotels; 11. At the Sukhothai site, develop a shopping and interpretative program with opportunities to combine with other arts programs; 12. Promote studio workshop stays and extended courses in studying and creating local ceramics; 13. Host international conferences and promote opportunities for local artists to attend national and international conferences; 14. Encourage Thai national tourism industry to promote both traditional and modern forms of ceramics. Recommendation 8 Education and training for intangible

heritage and handicrafts

8.1 Emphasize education, training, and business development skills to carry on the tradition for younger generations. 8.2 Investigate the opportunity of creating an arts consortium and arts centre, potentially at the new and underutilised university site, where the traditional and modern arts have could have demonstration areas, classes, workshops and creative play spaces, and a central shop for all regional traditional and modern arts.

6. จัดใหมีตารางการเรียนการสอนเพื่ออบรมดานงานเซรามิคบนแหลงผลิตจริงและในยานตลาดของสุโขทัย (เชน เปนประจําทุกวันเสารและวันอังคารเชา แปดโมงเชาถึงเที่ยง) 7. นําเสนอกิจกรรมการเลนอยางสรางสรรคสําหรับเด็กเพื่อทดลองสนุกกับการปนดิน ในบริเวณยานตลาดสําคัญของสุโขทัย และนําเสนอการทัวรแหลงผลิตจริงพรอมการฝกอบรมปฏิบัติการ 8. พัฒนาการไปทัศนศึกษานอกโรงเรียนเพื่อทํากิจกรรมฝกปฏิบัติการใหไดเรียนรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรและวิถีดั้งเดิม เพื่อนําเสนอโอกาสใหกับคนในกลุมวัยที่แตกตางกันไดเรียนและเลนกับเครื่องมือที่แตกตางกัน 9. จัดทําผลงานรวมเลมงานฝมือ ในมิติการสื่อความหมายคุณคาเชิงประวัติศาสตร นําเสนอผลิตภัณฑชิ้นพิเศษ และราคาพิเศษสําหรับการเลือกซ้ือและจัดสง ควบคูไปกับภาพถายคุณภาพสูงของผลงานผลิตภัณฑทองถิ่น 10. จัดใหมีทัวรจากโรงแรมนําชมตามตารางการสาธิตกระบวนการผลิต และเลือกซ้ือสินคาไดที่โรงแรม 11. ในพื้นที่สุโขทัย ควรพัฒนาแหลงชอปปงและโครงการสื่อความหมายคุณคาโดยสรางโอกาสในการทํางานรวมกับโครงการศิลปะอื่น ๆ 12. สงเสริมการทํางานโดยใหศิลปนมาพักอยูอาศัยในโรงผลิตและออกแบบของชางฝมือทองถิ่น และมีการอบรมศึกษานําเสนอใหกับผูสนใจกระบวนการผลิตเซรามิคทองถิ่น 13. เปนเจาภาพจัดงานประชุมระดับนานาชาติและสงเสริมโอกาสในการเขารวมกิจกรรมการประชุมทั้งในและตางประเทศของศิลปนทองถิ่น 14. สงเสริมกระตุนอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในประเทศของไทยใหสงเสริมทั้งผลิตภัณฑเซรามิคแบบสมัยใหมและแบบดั้งเดิม ขอเสนอแนะที่ 8 การศึกษาและฝกอบรมดานมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดและงานหัตถกรรม

8.1 ขยายเพิ่มเติมดานการพัฒนาการศึกษา การฝกอบรมและทักษะในทางธุรกิจ เพื่อถายทอดวิถีดั้งเดิมสูคนรุนใหม 8.2 มุงสํารวจเพื่อสรางโอกาสดานการจัดตั้งกลุมชมรมหรือองคกรศูนยกลางดานศิลปะ โดยพิจารณาความเปนไปไดในพื้นที่แหงใหมในมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะที่ยังไมไดมีการใชงาน ซ่ึงควรเปนพื้นที่เปดโอกาสสาธิตกระบวนการทั้ งแบบดั้งเดิมและแบบใหม มีชั้นเรียน หองฝกปฏิบัติการ และพื้นที่เลนอยางสรางสรรค และรานคากลางสําหรับสินคาทั้งแบบดั้งเดิมและสมัยใหมจากทั่วภูมิภาค

Page 102: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 98

Recommendation 9 Improve Understanding of Visitors and

Markets

Working Group 3 made a number of recommendations designed to improve visitor experience within the region. To do this, improved understanding of the visitors to the region is essential. Recommendation: Improve the quality of visitor data with better profiling, year on year studies and visitor satisfaction surveys. Recommendation 10: Partnerships for focussed marketing

Develop partnerships with tourism providers to engage in focused marketing activities to attract high end and low impact tourism and longer visitor stay while retaining cultural integrity. Recommendation 11: Improving Connectivity – Transport

11.1 Improve information available to visitors on various transport options, by

x Providing bus transfer information to Sukhothai from Phitsanulok train station and bus stations in Thai and English (more languages if possible)

x Providing train timetables in English at train stations

x Providing train timetables for Chiang Mai and Bangkok at all area bus stations where tourists are likely to arrive

11.2 Coordinate with various transport providers to develop transport nodes and linked up timetables, including bus transfers from trains in Sukhothai and Phitsanulok that are at convenient times. 11.3 Expand on planned Sukhothai-SiSat bus service to include service to the airport, train station, bus stations, and concentrations of hotels-shops-restaurants. 11.4 Consider two-tiered pricing for international visitors separate from national residents, which would allow for an expanded service for touristic visitors by offering service that includes the needs local residents. 11.5 Provide coordinated directional road signs in both Thai and English (Latin alphabet) and signs to sites at key interchanges to encourage more self-guided travel across the province.

ขอเสนอแนะที่ 9 ปรับปรุงการสรางความเขาใจเกี่ยวกับนักทองเที่ยวและตลาดทองเที่ยว

กลุมทํางานที่สาม ไดใหขอเสนอแนะจํานวนมากเกี่ยวกับการออกแบบเพื่อปรับปรุงการนําเสนอประสบการณทองเที่ยวในภูมิภาคนี้ โดยตองปรับปรุงความรูความเขาใจที่นักทองเที่ยวมีตอพื้นที่ และเสนอแนะใหปรับปรุงคุณภาพของการเก็บขอมูลนักทองเที่ยว โดยใหมีมิติความลึกของขอมูลที่ดียิ่งขึ้น มีการศึกษาเปนประจําทุกปตอเนื่อง และมีการสํารวจความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ขอเสนอแนะที่ 10 การสรางความรวมมือแบบภาคีมุงสูตลาดที่เนนเปนลูกคา

พัฒนาการสรางภาคีกับกลุมผูประกอบการทองเที่ยว เพื่อสรางความรวมมือในกิจกรรมบนกลุมตลาดลูกคาที่มุงเปาไวดวยกัน เพื่อดึงดูดการทองเที่ยวที่สรางผลกระทบนอยสรางรายไดสูง และการทองเที่ยวแบบอยูยาว ในขณะที่ยังคงรักษาความดีงามของวัฒนธรรมในพื้นที่ไวได ขอเสนอแนะที่ 11 ปรับปรุงการเชื่อมตอการคมนาคมขนสง

11.1 ปรับปรุงขอมูลนําเสนอเพื่อใหนักทองเที่ยวสามารถใชในการเลือกระบบเดินทางขนสง โดย ก.จัดทําขอมูลเกี่ยวกับรถโดยสารขนสงมายังสุโขทัยจากสถานีรถไฟและสถานีรถโดยสารจังหวัดพิษณุโลก ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (และมีภาษาอื่น ๆ เพิ่มขึ้นอีกหากทําได) ข.จัดทําตารางการเดินรถไฟในภาษาอังกฤษที่สถานีรถไฟ ค.จัดทําตารางการเดินรถไฟไปเชียงใหมและกรุงเทพที่สถานีรถโดยสารทุกแหงซ่ึงนักทองเที่ยวมักใชเดินทาง 11.2 ทํางานประสานความรวมมือกับผูใหบริการเดินทางขนสงเพื่อพัฒนาศูนยกลางจุดเปลี่ยนถายการเดินทางตาง ๆ และเชื่อมโยงตารางการเดินทางทั้งหมดใหเปนระบบ รวมทั้งจัดหารถโดยสารขนสงจากสถานีรถไฟในสุโขทัยและพิษณุโลกในเวลาที่เหมาะสม 11.3 ตอขยายการวางแผนใหบริการรถโดยสารเชื่อมตอระหวางอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยและศรีสัชนาลัยใหวิ่งผานและใหบริการจากสนามบิน สถานีรถไฟ สถานีรถโดยสาร และที่จุดรวมโรงแรมรานคาและรานอาหาร 11.4 พิจารณากําหนดราคาคาโดยสารสองระดับสําหรับนักทองเที่ยวตางชาติแยกออกจากผูที่มีถิ่นพํานักในประเทศไทย ซ่ึงนาจะชวยเพิ่มการขยายบริการแกนักทองเที่ยวไดมากขึ้นในขณะที่ยังสามารถตอบสนองความตองการของคนทองถิ่นได 11.5 จัดทําปายบอกทางถนนซ่ึงมีการประสานขอมูลใหสอดคลองกันทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ดวยตัวอักษรที่เขาใจงายและเปนสากล) และปายบอกทางไปยังสถานที่ตรงบริเวณแยกการจราจรหลักเพื่อสงเสริมกระตุนใหเกิดการเดินทางไปทั่วบริเวณพื้นที่จังหวัดดวยตนเองใหมากขึ้น

Page 103: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 99

Recommendation 12 Cycling (see also Recommendation 18) Working Group 3 recommended: Continue to develop and promote cycling, by a. Providing signage on long-distance bicycle route, and signs pointing to the route from relevant locations. b. Enhancing the promotional information about bicycles within the Historical Parks. c. Bicycle rentals to enable visitors to reach the Historical Parks and to use within the parks. d. Improving safety along bicycle routes. Recommendation 13 Training for tourism and hospitality

Develop further education facilities for training in tourism a sector skill that is integrated with the sector (hotels, organic food producers, attractions) and is responsive to the local skill shortage; Recommendation 14 Support Ecotourism Principles and

Practice

Support eco-tourism activity, through training and awareness building as well as provision for networking and building synergies between providers of ecologically sensitive products. Recommendation 15 Attractions

15.1 Promote a diverse range of attractions across the province by strengthening existing attractions and developing new (or less well recognised) attractions 15.2 Identify geographic, thematic and complementary clusters of attractions across the province (especially in the south), in order to

x Strengthen and enhance the attractions

x Improve coordination amongst attractions to facilitate information sharing, joined up and complementary marketing.

15.3 Include handicraft retail opportunities in planning for transport accessibility enhancements, for instance facilitating visits to markets and retail outlets and to craft workshops that are interested in expanding visits (refer to reports of Working Group 2 and Side Group 2). 15.4 Ensure that the development of attractions is based on thorough research, including on the conservation of cultural and natural assets, and local social needs.

ขอเสนอแนะที่ 12 การขี่จักรยาน (ดูประกอบกับขอเสนอแนะที่ 18) กลุมทํางานที่สามเสนอแนะให พัฒนาและสงเสริมการขี่จักรยานอยางตอเนื่องตอไป โดย ก. จัดทําปายบอกทางบนเสนทางจักรยานทางไกล และปายชี้ไปยังเสนทางที่เชื่อมโยงกับตําแหนงที่เกี่ยวของ ข. ขยายเพิ่มเติมขอมูลการสงเสริมการใชจักรยานในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร ค. สงเสริมการใชจักรยานเชาเพื่อเขาถึงอุทยานประวัติศาสตรและเพื่อใชเดินทางภายในบริเวณอุทยานฯ ง. ปรับปรุงความปลอดภัยของการขี่จักรยานบนถนน ขอเสนอแนะที่ 13 การฝกอบรมดานการทองเที่ยวและการใหบริการ

พัฒนาสาธารณูปโภคดานการศึกษาและฝกอบรมทักษะในภาคสวนการทองเที่ยว (โรงแรม ผูผลิตอาหารเกษตรอินทรีย แหลงทองเที่ยว) และใหตอบสนองกับการขาดแคลนทักษะดานนั้น ๆ ในทองถิ่น ขอเสนอแนะที่ 14 สนับสนุนหลักการและการลงมือปฏิบัติดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

สนับสนุนกิจกรรมการทองเท่ียวที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผานกระบวนการฝกอบรมและสรางความตระหนัก พรอมสรางเครือขายการทํางานไปในทิศทางเดียวกันรวมกับผูผลิตอาหารและผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ขอเสนอแนะที่ 15 แหลงทองเที่ยว

15.1 สงเสริมความหลากหลายของแหลงทองเที่ยวทั่วพื้นที่จังหวัด โดยเพิ่มความเขมแข็งใหกับแหลงทองเที่ยวที่มีอยูแลวและพัฒนาแหลงทองเที่ยวใหม ๆ (หรือที่ยังไมมีคนรูจักมากนัก) 15.2 อัตลักษณทางภูมิศาสตรที่ตั้ง การกําหนดแนวคิดของรูปแบบการนําเสนอเปนกลุมของแหลงทองเที่ยว ทั่วพื้นที่จังหวัด (โดยเฉพาะทางตอนใต) เพื่อที่ x สรางความเขมแข็งและตอขยายแหลงทองเที่ยวออกไป

x ปรับปรุงการประสานความรวมมือระหวางแหลงทองเที่ยวเพื่อแบงปนขอมูลรวมกันอยางเปนระบบ และรวมมือกันทําการตลาดที่สงเสริมซ่ึงกันและกัน

15.3 รวมการสรางโอกาสในดานคาปลีกสินคาหัตถกรรมในแผนการเช่ือมตอและขยายการเขาถึงการเดินทางขนสง เชน การจัดใหมีตลาดและแหลงขายและแหลงผลิตสินคา ซ่ึงจะทําใหเกิดการเดินทางทองเที่ยวในสวนตอขยายเพิ่มมากขึ้น (อางอิงถึงรายงานของกลุมทํางานที่สอง และกลุมทํางานยอยที่สอง) 15.4 ตองแนใจวาการพัฒนาแหลงทองเที่ยวทั้งหมดอยูบนพื้นฐานของการทําวิจัย รวมทั้งกาอนุรักษทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมและธรรมชาติ และศึกษาความตองการทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชนทองถิ่น

Page 104: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 100

Recommendation 16 Future Planning for Sustainable

Tourism

The following recommendations are for overarching activities and initiatives that will support sustainable tourism development and deliver social and economic benefits. 16.1 Base any future planning on a sound research base that includes social surveys. 16.2 Enhance and nurture existing facilities and activities, including

x Support for small and start-up businesses

x Provision for capacity building for sector workers 16.3 Develop or facilitate the development of new facilities and services that support regional tourism aspirations, by

x Building on existing capacity and resources within the region

x Complementing existing visitor provision

x Maintaining awareness of cultural tradition and cultural practice as well as the need to protect and manage heritage assets.

16.4 Use tourism facilities and planning for longer term economic growth beyond tourism, through

x Education and vocational training facilities that are directly linked with the industry

x Developing the Sukhothai brand for organic local produce and crafts.

x Promoting of high end craft and food/agriculture products using Sukhothai brand to outside markets

Recommendation 17 Agrarian Heritage Experience

Many aspects of agrarian heritage can complement visitor experience and have potential for rural enterprises of many types to earn extra income from tourism. It is recommended that this potential be explored as part of regional participatory planning processes for business development. Recommendation 18 Cycling Experience

Side Group 3 made specific recommendations on bicycle touring, set out in the following table, together with their thoughts on who might implement their suggestions. The suggestions are listed roughly in the order of when they might be implemented and have taken the needs of individual cyclists as well as guided groups into account.

ขอเสนอแนะที่ 16 การวางแผนการทองเที่ยวยั่งยืนเพื่ออนาคต

ขอเสนอแนะตอไปนี้เพื่อสงเสริมกิจกรรมและความคิดริเริ่มที่จะสนับสนุนการพัฒนาการทองเท่ียวยั่งยืนและสรางผลประโยชนทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม 16.1 ใหดําเนินการวางแผนในอนาคตทั้งหลายบนพื้นฐานการศึกษาวิจัยที่เหมาะสมซ่ึงรวมถึงการสํารวจขอมูลสังคม 16.2 เพิ่มพูนและดูแลบํารุงสาธารณูปโภคและกิจกรรมที่มีอยูเดิม รวมถึง

x สนับสนุนธุรกิจขนาดเล็กและที่เพิ่งเริ่มตน

x จัดใหมีการสรางเสริมขีดความสามารถกับผูทํางานในภาคสวนทองเที่ยว

16.3 พัฒนาหรือจัดใหมีการพัฒนาสาธารณูปโภคและบริการสิ่งอํานวยความสะดวกใหมเพื่อสนับสนุนโอกาสในการสงเสริมการทองเที่ยวระดับภูมิภาค โดย

x เสริมสรางขีดความสามารถและทรัพยากรจากเดิมที่มีอยูแลวในภูมิภาค

x สงเสริมสิ่งอํานวยความสะดวกนักทองเที่ยวที่มีอยูแลวใหประสานสอดคลองกัน

x รักษาความตระหนักรูในคุณคาวิถีดั้งเดิมที่สืบทอดและรูปแบบประเพณีปฏิบัติตลอดจนสงวนรักษาและอนุรักษและจัดการทรัพยากรมรดกวัฒนธรรม

16.4 ใชสาธารณูปโภคเพื่อการทองเที่ยวและการวางแผนการจัดการทองเที่ยวเพื่อสรางการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวที่มากกวาแคการทองเที่ยว โดย

x จัดใหมีสาธารณูปโภคเพื่อการฝกอบรมอาชีพและการศึกษาที่เช่ือมโยงโดยตรงกับอุตสาหกรรมทองเท่ียว

x พัฒนาตราสินคาสุโขทัยสําหรับผลิตผลทองถิ่นและงานหัตถกรรม

x สงเสริมสินคาคุณภาพสูงทั้งงานหัตถกรรมและอาหาร สินคาเกษตร โดยใชตราสินคาสุโขทัยเพื่อนําเสนอสูตลาดภายนอก

ขอเสนอแนะที่ 17 ประสบการณมรดกวิถีเกษตร

มีหลายประเด็นเกี่ยวกับมรดกวิถีเกษตรซ่ึงสามารถเติมเต็มประสบการณทองเที่ยวและสรางศักยภาพใหกับผูประกอบการในชนบทไดหลากหลายแนวทางเพื่อเพิ่มพูนรายไดจากการทองเที่ยว มีขอเสนอแนะวาควรมีการศึกษาคนควาเพิ่มเติมในศักยภาพสวนนี้ในฐานะเปนสวนหนึ่งของกระบวนการวางแผนอยางมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาธุรกิจในพื้นที่

ขอเสนอแนะที่ 18 ประสบการณขี่จักรยานชมมรดกโลก

กลุมทํางานยอยที่สามไดเสนอแนะอยางชัดเจนเจาะจงเกี่ยวกับการจัดใหมีการนําเที่ยวดวยจักรยานในพื้นที่ ดังแสดงในตาราง รวมกับแนวคิดวาภาคสวนใดนาจะดําเนินการไดตามขอเสนอแนะนั้น ขอแนะนําเหลานี้ถูกนําเสนอไวโดยคราววาควรมีการลงมือปฏิบัติโดยมีกลุมใดสามารถรวมมือกันไดบางเพื่อตอบสนองความจําเปนขั้นพื้นฐานและความตองการของผูขี่จักรยานทองเท่ียวในพื้นที่ (ดังแสดงในตาราง)

Page 105: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 101

Recommendation 18: Cycling Experience

Bic

ycle

Tour

Opera

tor

Local

Govern

ment

Coalition o

f Local

Govern

ments

Bic

ycle

Tour

Opera

tor

Associa

tion

Pro

vin

cia

l or

National

Govern

ment

1 Work with the communities along the spine to see if they have concerns about increased bicycle

traffic on the roads that might be addressed by cooperation.

2 Work with Sukhothai and Si Satchanalai governments to gain their support in promoting bicycle

tourism as an important economic development tool for the two communities.

3 Develop and install an easily understood signage system that can guide bicyclists along the route on

their own while also pointing out the location of facilities, points of interest, side routes and distances

to various destinations.

4 Create a series of available toilet facilities along the route that bicyclists can use.

5 Develop an alternate route between the two sites that could be used to create a loop route if

bicycle tourists don't want to head back the same way.

6 Develop a series of side loops that provide access to special areas, food sources, natural features or

other attractions that help the bicycle tourist learn and experience more about the culture.

7 Create a series of shorter destinations including restaurants, home stays, home meal opportunities,

stores, shops, cultural sites, the national park and other points of interest that can expand the

understanding of the culture around the World Heritage Sites and provide different ways to

experience the area (hiking) and create additional economic development opportunities for the area.

8 Create maps for the various bicycle routes, either one comprehensive map or several more detailed,

individual maps.

9 Develop more in depth interpretive information for those that would like to learn more about the

culture around the World Heritage Sites, including some of the ancient support systems (water

transportation, agriculture, pottery) used by those that lived and worked in these sites.

10 Integrate more options for different types of riding experiences, such as off road bicycling or on-road

bicycling on the larger roads for those that would like to experience this type of bicycling.

11 Provide better on-road bicycling facilities when no other options are available for alternate routes.

12 Work with the Historical Parks to allow integration of the long distance routes with the local routes

by the introduction of the coordinated signage system.

13 Create a small voluntary levy on bicycle rentals and guide services for a local fund to buy bicycles

and safety equipment for local children.

14 Work with the National Park to create more challenging mountain bike routes that incorporate more

grade changes and other off-road riding challenges.

15 Create a comprehensive set of contingency plans that could include a system of "safe houses" along

the route that can provide traveler assistance in case of emergencies, a centralized phone number

to call in emergencies, a minimum number of bicyclists for self guided tours and cell phone

requirements for each self guided bicycling group.

16 Install kilometer markers along the route to make it easy for self guided bicyclists to understand or

tell other in an emergency where there are on the route.

17 Create links from the Sukhothai bicycling network to other national cycling networks.

18 Work with banks to make it easier to finance locally based start up businesses.

19 Extend the bicycling network southward to the third component of the World Heritage Site,

Kampheang Phat, including most of these recommendations.

20 At the time that a critical number of qualified bicycle tour operators exist in the area, create a

Sukhothai/Si Satchanalai Bicycling Touring Association that can support the implementation of other

suggestions.

21 Develop standards for tour guides, including such items as minimum levels of bicycle quality and

equipment, basic levels of guide expertise, necessary levels of insurance and other similar concepts.

22 Distribute the information developed as part of this effort to as many hotels, guest houses,

information areas and other distribution points as possible.

23 Check for compliance with the Association standards.

Responsibility

Page 106: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสรางสรรคและมรดกวฒันธรรมเพ่ือการทองเท่ียวยั่งยืน ระยะที่สอง พ.ศ.2556

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 102

ขอเสนอแนะที ่18: ประสบการณข่ีจกัรยานชมมรดกโลก

ผูประ

กอบก

ารนํา

เทีย่ว

ดวยจ

ักรยา

รัฐบา

ลทอง

ถิ่น

ความ

รวมมื

อระห

วาง

หนวย

งานท

องถิ่น

สมาค

มนําเ

ที่ยวด

วย

จักรย

าน

หนวย

งานร

ะดับจ

ังหวดั

และ

ระดับ

ชาติ

1 ทํางานรวมกบัชุมชนตาง ๆ ตลอดเสนทางเพือ่ดูวาพวกเขามคีวามกงัวลใดบางเกีย่วกบัปริมาณการจราจรดวยจักรยานทีจ่ะเพิม่ขึ้นบนทองถนน ซ่ึง

อาจนํามาสูการสรางความรวมมอืบางอยางในพืน้ท่ีได

2 ทํางานรวมกบัรัฐบาลทองถิ่นของสุโขทัยและศรีสัชนาลัยเพือ่เพิม่การสนับสนุนในดานการสงเสริมการทองเทีย่วโดยจักรยานในฐานะเคร่ืองมอืการ

พฒันาเศรษฐกจิทีสํ่าคัญของชุมชนในท้ังสองพืน้ที่

3 พฒันาและติดต้ังระบบปายบอกทางทีเ่ขาใจไดงายซ่ึงสามารถนําทางผูขี่จักรยานไปตามเสนทางไดดวยตนเอง พรอมกบับงชี้ตําแหนงของส่ิงอํานวย

ความสะดวกและสถานทีน่าสนใจ เสนทางยอยเพิม่เติม และระยะทางไปสูสถานทีท่องเทีย่วตาง ๆ

4 สรางสุขาเปนระยะตลอดเสนทางเพือ่ใหผูขี่จักรยานไดใชงานสะดวก

5 พฒันาเสนทางเลือกทีเ่ชื่อมโยงระหวางสองพืน้ทีซ่ึ่งสามารถใชเพือ่สรางเสนทางแบบวงแหวน สําหรับนักทองเทีย่วทีอ่าจไมตองการขี่จักรยานขา

กลับซํ้าเสนทางเดิม

6 พฒันาเสนทางวงแหวนแยกยอยเปนระยะทีส่ามารถเชื่อมตอเขาไปสูพืน้ทีท่ีม่คีวามพเิศษตาง ๆ ไดตลอดจนแหลงซ้ือหาอาหาร สภาพแวดลอม

ธรรมชาติทีส่วยงาม หรือสถานทีท่องเท่ียวอืน่ทีช่วยใหนักทองเทีย่วสามารถขี่จักรยานเพือ่เรียนรูและไดรับประสบการณทีม่ากขึ้นเกีย่วกบั

วฒันธรรมของพืน้ที่

7 สรางสถานทีท่องเทีย่วพกัผอนเปนระยะ รวมทัง้ รานอาหาร โฮมสเตย การเตรียมมือ้อาหารทานในบานตามเสนทาง รานคา แหลงวฒันธรรม

อทุยานแหงชาติ และจุดทีน่าสนใจอืน่อกีซ่ึงสามารถขยายขอบเขตความเขาใจเกีย่วกบัวฒันธรรมในบริเวณโดยรอบแหลงมรดกโลก และนําเสนอ

หนทางทีแ่ตกตางเพือ่สัมผัสประสบการณของพืน้ท่ี (เชน การเดินปา) และสรางโอกาสในการพฒันาเศรษฐกจิแบบสรางสรรคใหกบัพืน้ท่ี

8 สรางสรรคแผนทีสํ่าหรับการขี่จักรยานบนเสนทางท่ีหลากหลาย ดวยการใชแผนทีแ่บบรวมขอมลูในหนึ่งเดียว หรือมแีผนทีร่ายละเอยีดแยกยอย

อกีหลายรายการ

9 พฒันาการส่ือความหมายคุณคาแบบใหขอมลูเชิงลึกสําหรับกลุมทีต่องการเรียนรูมากขึ้นเกีย่วกบัวฒันธรรมในพืน้ทีโ่ดยรอบแหลงมรดกโลก รวมถึง

ระบบสาธารณูปโภครองรับในพืน้ทีส่มยัโบราณ (เชน การเดินทางขนสงทางน้ําและระบบชลประทาน การเกษตรและการทําเคร่ืองเคลือบดินเผา )

ซ่ึงเคยมกีารใชงานโดยผูอยูอาศัยในพืน้ที่

10 ผสานทางเลือกใหมากขึ้นเพือ่นําเสนอรูปแบบของประสบการณขี่จักรยานทีแ่ตกตางกนัออกไป เชน ขี่จักรยานบนทางวบิาก หรือบนถนนสาย

หลักทีก่วางขึ้นสําหรับผูทีต่องการประสบการณรูปแบบทางเลือกเฉพาะ

11 พฒันาส่ิงอํานวยความสะดวกเพือ่การขี่จักรยานบนถนนสายหลักใหดีย่ิงขึ้น เมือ่ไมมทีางเลือกอืน่ในการนําเสนอเสนทางจักรยานเพือ่เล่ียงถนนใหญ

12 ทํางานรวมกบัอทุยานประวติัศาสตรเพือ่สรางการผสานรวมเสนทางขี่จักรยานทางไกลเขาดวยกนักบัเสนทางสายทองถิ่นส้ัน ๆ โดยการจัดใหมี

การทําระบบปายบอกทางท่ีสามารถใชงานรวมกนัได

13 สรางสรรคกลุมอาสาสมคัรกลุมเล็กจากธรุกจิใหเชาจักรยานและบริการนําเทีย่วเพือ่ใหเกดิกองทุนทองถิ่นเพือ่ซ้ือจักรยานและอปุกรณความ

ปลอดภัยใหกบัเด็กในทองถิ่น

14 ทํางานรวมกบัอทุยานแหงชาติเพือ่สรางสรรคเสนทางจักรยานเสือภูเขาทีม่คีวามทาทายมากย่ิงขึ้น โดยสามารถทํางานรวมกนัไดดีกบัผูทีข่ี่

จักรยานแบบเปล่ียนแปลงรูปแบบเสนทางตลอดรวมจนถึงการขี่จักรยานบนเสนทางวบิาก

15 สรางแผนในภาพรวมของการเฝาระวงัภัย โดยรวมถึงระบบการสรางจุดปฐมพยาบาลตามบานหรือรานคาตลอดเสนทางทีส่ามารถชวยเหลือนัก

เดินทางในกรณีฉุกเฉิน จัดใหมหีมายเลขโทรศัพทกลางสําหรับโทรหาในกรณีฉุกเฉิน กําหนดจํานวนนักขี่จักรยานในกลุมยอยท่ีสามารถเดินทาง

ทองเทีย่วไดดวยตนเอง และกําหนดใหมกีารระบุหมายเลขโทรศัพทเคล่ือนทีเ่พือ่สามารถติดตอกบัคนในกลุมดังกลาวไดในระหวางการเดินทาง

16 ติดต้ังหลักกโิลเมตรตลอดเสนทางเพือ่ใหนักทองเทีย่วขี่จักรยานเดินทางดวยตนเองสามารถทําความเขาใจหรือบอกคนอืน่ถึงตําแหนงทีต่นเองอยู

ไดบนเสนทางในกรณีเกดิเหตุฉุกเฉิน

17 สรางการเชื่อมตอโครงขายเสนทางขี่จักรยานทองเทีย่วของสุโขทัยไปยังโครงขายเสนทางจักรยานในระดับประเทศ

18 ทํางานรวมกบัธนาคารพาณิชยเพือ่สรางโอกาสใหกบัธรุกจิทองถิ่นทีเ่กีย่วของกบัการสงเสริมการขี่จักรยานทองเทีย่วไดเร่ิมตนประกอบการไดงาย

ขึ้น

19 ขยายโครงขายเสนทางขี่จักรยานมุงลงทิศใตไปยังกําแพงเพชรซ่ึงเปนหนึ่งในสามพืน้ทีข่องมรดกโลกสุโขทัย โดยรวมเอาขอเสนอแนะสวนใหญในนี้

ไปปรับใชกบัพืน้ทีดั่งกลาวดวย

20 ในสถานการณปจจุบันทีจ่ํานวนผูใหบริการนําเทีย่วดวยจักรยานทีม่คุีณภาพยังมจีํานวนจํากดัอยูในพืน้ทีค่วรสรางสมาคมการทองเท่ียวโดย

จักรยานของพืน้ทีสุ่โขทัยและศรีสัชนาลัยขึ้น เพือ่สนับสนุนการนําขอเสนอแนะเพิม่เติมอืน่อกีไปลงมอืปฏิบัติไดจริง

21 พฒันามาตรฐานสําหรับการนําเท่ียวดวยจักรยาน โดยรวมถึงประเด็นเชน ระดับตํ่าสุดของคุณภาพและอปุกรณประกอบในจักรยานท่ีนํามา

ใหบริการ ระดับความเชี่ยวชาญเบือ้งตนในการเปนไกดนําเทีย่ว ระดับบงชี้อืน่ทีเ่กีย่วของกบัการประกนัภัยและอืน่ ๆ ในเร่ืองใกลเคียงกนันี้

22 กระจายขอมูลทีไ่ดรับการพฒันาจัดทําขึ้นจากขอเสนอแนะนี้ไปยังโรงแรม เกสตเฮาส ศูนยขอมลูและจุดกระจายการส่ือสารขอมลูตาง ๆ ใหมาก

ทีสุ่ดเทาทีเ่ปนไปได

23 ตรวจสอบมาตรฐานตาง ๆ ทีใ่ชในพืน้ทีใ่หเปนไปตามมาตรฐานของสมาคมจักรยานเพือ่การทองเทีย่ว

ความรับผิดชอบ

Page 107: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

เอกสารแนบ 1 กําหนดการประชุมเชงิปฏิบัติการ ผูเชี่ยวชาญนานาชาติฯ ไอซีทีซี 2013

Attachment 1 Workshop and Symposium programme (English)

Page 108: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  103

Sukhothai ICTC 2013 Workshop and Symposium

ICOMOS International Cultural Tourism Committee Workshop &

Sukhothai International Cultural Tourism Expert Symposium 2013

Living Heritage: Creative Tourism and Sustainable Communities Education, Interpretation, and Management

Sukhothai, Thailand (October 7-11, 2013)

ICOMOS International Cultural Tourism Committee (ICTC) Workshop and Sukhothai International Cultural Tourism

Expert Symposium 2013 will be held at Sukhothai, Thailand, October 7-11, 2013. This ICOMOS ICTC event is co-

organized by ICOMOS Thailand, Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University (APTU) Thailand; and

the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (DASTA) Thailand.

The ‘Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns’ were inscribed on the list of UNESCO World Heritage in 1991. An ancient kingdom, during the 13th and 14th centuries Sukhothai was located at a strategic

crossroad and prospered as a centre of trade. The civilization which evolved in the Kingdom of Sukhothai rapidly

absorbed numerous external influences and by incorporating them with ancient local traditions forged what is

known as the 'Sukhothai style'. Its art, culture and history are linked to Bagan, Angkor, Ayutthaya and Lanna.

Today Sukhothai still has historic monuments illustrating this glorious era of Thai religious art and architecture.

The settlements attached to the Sukhothai - Si Satchanalai – Kamphaeng Phet Historical Parks were recently

designated a special area for sustainable tourism development. One key priority has been identified: ensuring the

continuation and integrity of cultural values alongside - and integral to – the earliest stages of tourism

development. And an urgent need for researchers and experts to work with the local communities has been

recognized.

Apart from a number of historic monuments and archeological sites, Sukhothai also produces fine quality and

prominent ceramics, goldsmith-silversmith crafts and ethnic textile works, among other living traditions and

intangible heritages. Policy planning for the sustainable development and the integration of cultural heritage

education, interpretation and management processes is currently non-existent.

Living heritage is the main theme of this ICOMOS ICTC Workshop. There will be a focus on the integration of the

multi-dimensional cultural values of different places and people within the designated area; and the cultural

heritage knowledge, skills and learning processes required to achieve the mutually dependent goals of the

successful empowerment of local people and growth of creative tourism in the context of sustainable

community and cultural tourism development.

ICOMOS International Cultural Tourism Committee Workshop and Sukhothai International Cultural Tourism Expert Symposium 2013 Sukhothai, Thailand, October 7-11, 2013

Page 109: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  104

ICOMOS ICTC cultural tourism and heritage management experts are invited - with other international delegates -

to observe and work on the cultural sites attached to the Sukhothai - Si Satchanalai – Kamphaeng Phet Historical

Parks as part of a continuing research project to promote the creative economy. ICTC will also lead the dialogue

and discussion at the International Cultural Tourism Expert Symposium which will include various stakeholders

of the Sukhothai World Heritage Site.

Organizing Committee Honorary Chairpersons Yongtanit Pimonsathean, Ph.D. (President, ICOMOS Thailand)

Susan M. Millar (President, ICOMOSICTC)

Sitisak Pathomwaree (Sukhothai Site Manager, DASTA Thailand)

Chairperson Jaturong Pokharatsiri, Ph.D. (APTU and ICOMOS Thailand)

Co-chairperson Pornthum Thumvimol, Ph.D. (Fine Arts Department and ICOMOS Thailand)

Contact Email [email protected]

About ICOMOS The International Council on Monuments and Sites (ICOMOS) is an international non-governmental organization,

a formal advisory body of UNESCO and the World Heritage Committee, dedicated to the conservation of the

world’s historic monuments and sites. Its work is based on the principles enshrined in the 1964 International Charter on the Conservation and Restoration of Monuments and Sites (the Venice Charter), promoting the

application of theory, methodology and scientific techniques to the conservation of cultural heritage places.

ICOMOS is a network of professionals and experts that benefits from the interdisciplinary exchange of its

members, among which are architects, historians, archeologists, anthropologists, engineers and town planners.

The members of ICOMOS contribute to the improving of conservation methods and techniques for various

aspects of cultural heritage, including historic building, archeological site, cultural landscape and cultural

tourism.

About ICOMOS Thailand ICOMOS Thailand was established in 1985as part of ICOMOS National Committees that are created worldwide at

the national level in the countries which are members of UNESCO. ICOMOS National Committees provide a

forum where members, individuals and representatives of institutions can exchange information on principles

and practices in the field of conservation and safeguarding of cultural heritage.

Previous involvements and activities of ICOMOS Thailand include the Fine Arts Department’s regulations on monuments and sites preservation since 1985, followed the Venice Charter, and international conference

participations by the representatives of scientific committees such as vernacular architecture, cultural landscape

and cultural tourism. ICOMOS Thailand frequently organizes open lectures and heritage field trips in Thailand

and abroad, sometimes coordinated with other National Committees. It has also hosted a number of

international conferences on heritage conservation and published proceedings that are useful resources for

academic institutions as well as conservation societies.

About ICOMOS International Cultural Tourism Committee ICOMOS has established international scientific committees on various cultural heritage themes and issues. The

International Cultural Tourism Committee (ICTC) is one of those committees, consisting of international experts

Page 110: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  105

and specialists in cultural tourism, in which many of them are endorsed by their own National Committees and

thus become voting members of ICTC. The international scientific committees are ICOMOS technical bodies,

undertaking researches and projects and developing conservation theories, guidelines and charters, as well as

training programs. They can elaborate their own programs, such as conducting workshops with local communities

to promote international exchange of scientific information, submitted to the Executive Committee for approval

and in their annual report of activities.

Excerpt from ICOMOS International Cultural Tourism Charter Heritage is a broad concept and includes the natural as well as the cultural environment. It encompasses

landscapes, historic places, sites and built environments, as well as biodiversity, collections, past and continuing

cultural practices, knowledge and living experiences. It records and expresses the long processes of historic

development, forming the essence of diverse national, regional, indigenous and local identities and is an integral

part of modern life. It is a dynamic reference point and positive instrument for growth and change. The particular

heritage and collective memory of each locality or community is irreplaceable and an important foundation for

development, both now and into the future.

At a time of increasing globalization, the protection, conservation, interpretation and presentation of the heritage

and cultural diversity of any particular place or region is an important challenge for people everywhere.

However, management of that heritage, within a framework of internationally recognized and appropriately

applied standards, is usually the responsibility of the particular community or custodian group.

A primary objective for managing heritage is to communicate its significance and need for its conservation to its

host community and to visitors. Reasonable and well managed physical, intellectual and/or emotive access to

heritage and cultural development is both a right and a privilege. It brings with it a duty of respect for the

heritage values, interests and equity of the present-day host community, indigenous custodians or owners of

historic property and for the landscapes and cultures from which that heritage evolved.

Domestic and international tourism continues to be among the foremost vehicles for cultural exchange,

providing a personal experience, not only of that which has survived from the past, but of the contemporary life

and society of others. It is increasingly appreciated as a positive force for natural and cultural conservation.

Tourism can capture the economic characteristics of the heritage and harness these for conservation by

generating funding, educating the community and influencing policy. It is an essential part of many national and

regional economies and can be an important factor in development, when managed successfully.

Tourism should bring benefits to host communities and provide an important means and motivation for them to

care for and maintain their heritage and cultural practices. The involvement and co-operation of local and/or

indigenous community representatives, conservationists, tourism operators, property owners, policy makers,

those preparing national development plans and site managers is necessary to achieve a sustainable tourism

industry and enhance the protection of heritage resources for future generations.

ICOMOS, the International Council on Monuments and Sites, as the author of this Charter, and other

international organizations and the tourism industry, are dedicated to this challenge.

(http://www.icomos.org/tourism/charter.html)

Page 111: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  106

Workshop and Symposium programme (English)

October 7, 2013 (Monday)

Whole Day Arrival of ICTC delegates at Sukhothai Airport and hotel check-in

Bangkok Airways PG211 07.00-08.15 and PG213 15.15-16.30

18.00-21.00 Reception by ICOMOS Thailand and Working Group Dinner at The Legendha

Introduction to Sukhothai, geographical information, sub-themes and cases

October 8, 2013 (Tuesday)

8.30-9.00 Group meeting and preparation for field trip

Group 1: ‘Protection Zone’ historical parks and gov. agencies, communities

Group 2: ‘Eco-museum’ (community) museums, craft villages, art institutes

Group 3: ‘Tourism facility’ tour operators, hoteliers, logistic providers

+3 sub-groups for 24-hour ‘Exploring the Tourist Experience’ at 1) Organic Agriculture Project at Sukhothai Airport, or 2) Pottery Artist Residency, or 3) Sukhothai Bicycle Tour

9.00-12.00 Site visit by 3 vans for Group 1-3, each group consists of 5 ICTC+3 ICOMOS Thailand (+1DASTA

or 1APTU as group coordinator)

12.00-13.00 Lunch

13.00-17.00 Continue site visit and meet the communities

17.00-18.00 Refreshment

18.00-21.00 Group Working Dinner at The Legendha

October 9, 2013 (Wednesday)

(Same as October 8, 2013)

October 10, 2013 (Thursday)

8.30-9.00 Registration for ICTC 2013 Workshop Living Heritage: Creative Tourism and Sustainable Communities (Education, Interpretation, and Management) at Sukhothai Treasure Hotel

9.00-10.00 Opening of Sukhothai Cultural Tourism Roundtable Discussions (4 x 15 minutes)

Introduction: ICOMOS ICTC ICOMOS Thailand Roundtable Discussions

by Dr. Jaturong Pokharatsiri (ICOMOS Thailand)

Creative Tourism and Cultural Heritage by Sue Millar, ICOMOS ICTC President (UK)

Page 112: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  107

World Heritage, Tourism and Local Community by Dr.Tim Curtis, Head of the Culture Unit,

UNESCO Bangkok Office (Thailand)

Heritage Protection and Local Empowerment by Mr.Paolo Del Bianco, Life Beyond Tourism

(Italy)

11.00-12.00 Three sub-themes group presentations by ICTC/ICOMOS Thailand rapporteurs & groups

‘Exploring the Tourist Experience’

12.00-13.00 Lunch

13.00-14.30 First Session of Roundtable Talk (8 experts+1moderator)

Managing the Cultural Environment at a World Heritage destination Introduced by Tim Curtis,

UNESCO Bangkok (Thailand) & Dr.Yongtanit Pimonsathean (ICOMOS Thailand)

14.30-15.00 Tea Break

15.00-16.30 Second Session of Roundtable Talk (8 experts+1moderator)

Community Development for Conservation and Tourism: Interpretation Strategies &Creative Learning Introduced by Dr.Hilary du Cros (ICTC) & Mr.Punto Wijayanto,

(Centre for Heritage Conservation Indonesia)

16.30-17.30 Conclusion & Recommendations ICTC/Conclusion Remarks ICOMOS Thailand

17.30-18.00 Refreshment

18.00-21.00 Closing Ceremony and Dinner at Sukhothai Treasure Hotel by DASTA's Board of Directors

October 11, 2013 (Friday)

8:00-11:00 ICOMOS-ICTC Annual Meeting 2013 at Legendha Hotel

11:00-12:00 Check-out and Lunch at The Legendha

12:00-17.00 Departing to Chiang Mai (site visit in Lamphang)

17.00-19.00 Arriving in Chiang Mai and refreshment

19:00-21.00 Lanna Style Dinner

October 12-13, 2013 (Saturday-Sunday) Excursion Tour – Chiang Mai: From Ancient to Creative City of Crafts and Folk Art

Page 113: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

เอกสารแนบ 2 รายชือ่ผูเชี่ยวชาญที่เขารวมกิจกรรม Attachment 2 List of Expert Participants

Page 114: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  108

List of Expert Participants

Center – Central Administration

1) Dr. Jaturong POKHARATSIRI ICOMOS Thailand [email protected]

2) Ms. Alexandra G. DALFERRO ICOMOS Thailand [email protected]

3) Ms. Susan Mary MILLAR ICTC (UK) [email protected]

4) Mr. Paolo DEL BIANCO Life Beyond Tourism (Italy) [email protected]

5) Mr. Simone GIOMETTI Life Beyond Tourism (Italy) [email protected]

Workshop Group 1 - Protection Zone:

6) Dr. Yongtanit PIMONSATHEAN ICOMOS Thailand [email protected]

7) Mr. Parinya CHUKAEW ICOMOS Thailand [email protected]

8) Dr. Pornthum THUMWIMOL ICOMOS Thailand [email protected]

9) Mr. Yuk Hong Ian TAN ICTC (Singapore) [email protected]

10) Ms. Patricia Marie O’DONNELL ICTC (USA) [email protected]

11) Dr. Maria GRAVARI-BARBAS ICTC (France-Greece) [email protected]

12) Ms. Agnieshka Gabryjela KIERA ICTC (Australia) [email protected]

Workshop Group 2 – Eco Museum:

13) Dr. Alexandra DENES ICOMOS Thailand [email protected]

14) Dr. Nattawut USAVAGOVITWONG ICOMOS Thailand [email protected]

15) Mrs. Michele Hermine PRATS ICTC (France) [email protected]

16) Mr. Torbjorn EGGEN ICTC (Finland) [email protected]

17) Dr. Russell STAIFF ICTC (Australia) [email protected]

18) Dr. Robyn BUSHELL ICTC (Australia) [email protected]

19) Ms. Potjana SUANSRI CBT-I (Thailand) [email protected]

Workshop Group 3 - Tourism Facility:

20) Ms. Peeraya BOONPRASONG ICOMOS Thailand [email protected]

21) Dr. Sakkarin SAPU ICOMOS Thailand [email protected]

22) Ms. Pobsook TADTONG ICOMOS Thailand [email protected]

23) Dr. Aylin ORBASLI ICTC (UK) [email protected]

24) Mr. Randall Edwin DURBAND ICTC (USA) [email protected]

25) Mrs. Lynette Frances LEADER-ELLIOT ICTC (Australia) [email protected]

Side Group 1 - Agrarian Heritage Experience:

26) Ms. Jarunee PIMONSATHEAN APTU (Thailand) [email protected]

27) Mrs. Woranooch CHUENRUDEEMOL ICOMOS Thailand [email protected]

28) Dr. Celia MARTINEZ YANEZ ICTC (Spain) [email protected]

29) Mr. Ahmed Abul –Rahman AL-JOWDER ICTC (Bahrain) [email protected]

30) Mr. Paul Anthony DIGNAM ICTC (Australia) [email protected]

Page 115: รายงานสรุปโครงการเศรษฐกิจส ...icomos-ictc.org/wp-content/uploads/2017/11/Publications... · 2019. 6. 20. · Notes from ICTC 2013

เศรษฐกิจสร้างสรรค์และมรดกวัฒนธรรมเพือการท่องเทยีวยงัยนื  ระยะทสีอง พ.ศ.2556

           คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง  มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ หน้า  109

Side Group 2 - Pottery Heritage Experience:

31) Mrs. Nanthana BOONLAOR ICOMOS Thailand [email protected]

32) Dr. Vipakorn THUMWIMOL ICOMOS Thailand [email protected]

33) Ms. Luisa Ferreira AMBROSIO ICTC (Portugal) [email protected]

34) Dr. Suzanne Elizabeth BOTT ICTC (USA) [email protected]

35) Mrs. Mariam Elizabeth BOTT ICTC (USA) [email protected]

Side Group 3 - Heritage Cycling Experience:

36) Mr. Ivan Anthony Santos HENARES ICTC (Philippines) [email protected]

37) Mr. Ivan Homer U. MAN DY ICTC (Philippines) [email protected]

38) Mr. Ian LEADER-ELLIOT ICTC (Australia) [email protected]

39) Mr. Prittiporn LOPKERD APTU Cycling Club (Thailand) [email protected]

40) Mr. Varodom SUKSAWASDI APTU Cycling Club (Thailand) [email protected]

41) Dr. Chawee BUSAYARAT APTU Cycling Club (Thailand) [email protected]

42) Mr. James Joseph DONOVAN ICTC (USA) [email protected]

Roundtable Session 1 - World Heritage, Tourism and Local Community:

1) Dr. Yongtanit PIMONSATHEAN (Chair)

2) Mr. Yuk Hong Ian TAN

3) Dr. Tim CURTIS

4) Mr. Torbjørn Eggen

5) Mr. Randall Edwin DURBAND

6) Mr. James Joseph DONOVAN

7) Ms. Patricia Marie O'DONNELL

Roundtable Session 2 - Heritage Interpretation and Local Empowerment:

1) Ms. Susan Mary MILLAR (Chair)

2) Mr. Punto WIJAYANTO

3) Ms. Agnieshka Gabryjela KIERA

4) Dr. Potjana SUANSRI

5) Mr. Ahmed Abul-Rahman AL-JOWDER

6) Mr. Parinya CHUKAEW

7) Mrs. Michele Hermine PRATS


Top Related