ecohealth manual (th) pdf

80

Upload: doanxuyen

Post on 08-Feb-2017

224 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: EcoHealth Manual (TH) pdf
Page 2: EcoHealth Manual (TH) pdf
Page 3: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

จัดพิมพ�โดย ศูนย� EcoHealth−One Health Resource Centre (EHRC) มหาวิทยาลัยเชียงใหม� คณะสัตวแพทยศาสตร� มหาวิทยาลัยเชียงใหม� หมู�ท่ี 4 ตําบลแม�เหียะ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม� 50100 ประเทศไทย โทรศัพท� 0-5394-8026 อีเมล�: [email protected]

http://ehrc.vet.cmu.ac.th

พิมพ�ท่ี บริษัท บ๊ิกแอด จํากัด, 2556 www.bigad1999.com จังหวัดเชียงใหม� ประเทศไทย

79 หนWา สัตวแพทยศาสตร� ขWอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห�งชาติ ISBN 978-974-672-839-3

Page 4: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

ศูนย� EcoHealth−One Health Resource Centre (EHRC) มหาวิทยาลัยเชียงใหม�

ผู1แต�ง รศ.ดร. อะเค้ือ อุณหเลขกะ ผศ.สพ.ญ.ดร. ดวงพร พิชผล อ.สพ.ญ.ดร. ทองกร มีแย1ม ผศ.น.สพ. สุวิทย3 โชตินันท3 ดร. ลามาร3 โรเบิร3ต รศ.ดร. จงจิต ศรีพรรณ โรเบิร3ต

บรรณาธิการ ดร. ลามาร3 โรเบิร3ต สพ.ญ. ชลติา ใจนนถีย3

Page 5: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

สารจากคณบดี

ขอต�อนรับอย�างอบอุ�นสู�ศูนย� EcoHealth − One Health Resource Centre (EHRC) มหาวิทยาลัยเชียงใหม�

ในนามของศูนย� EHRC มหาวิทยาลัยเชียงใหม� เป*นท่ีน�ายินดีท่ีได-เห็นคู�มือ EcoHealth ในประเทศไทยเล�มน้ีเสร็จสมบูรณ� และขอช่ืนชมคณะผู-เขียนของศูนย� EHRC มหาวิทยาลัย เชียงใหม�ทุกท�าน ในการทํางานร�วมกันอย�างหนักเพ่ือแต�งคู�มือเล�มน้ีออกมา คู�มือเล�มน้ีมีไว-สําหรับอาจารย� พนักงาน นักศึกษา และผู-ท่ีมีความสนใจใน EcoHealth ประกอบด-วยข-อมูลการปฏิบัติท่ีสําคัญเกี่ยวกับระบบ EcoHealth คู�มือน้ีจัดทําขึ้นเพ่ือเป*นคู�มือในการเรียนการสอนความคิดรวบยอดของ EcoHealth และวิธีการ EcoHealth แก�นักศึกษาจากหลายๆ สาขาวิชา

คู�มือน้ีมีจุดมุ�งหมายท่ีจะแนะนําตัวอย�างด-านท่ีสําคัญของ EcoHealth โดยให-ตัวอย�างจริงในแต�ละด-าน และช้ีให-เห็นว�าการศึกษาแบบ EcoHealth เพ่ือการวิจัยสามารถนํามาประยุกต�ใช-เพ่ือปรับปรุงคุณภาพของสุขภาพมนุษย� สุขภาพสัตว� และส่ิงแวดล-อม การศึกษาแบบ EcoHealth เกี่ยวข-องกับความพยายามของสหวิชาชีพในการรวบรวมผู-เช่ียวชาญจากหลากหลายสาขาเพ่ือทํางานร�วมกันเป*นทีม เรียนรู-ท่ีจะพูดภาษาเดียวกัน ซ่ึงจุดแข็งของแต�ละสาขาวิชาจะสนับสนุนซ่ึงกันและกัน นอกจากน้ี EcoHealth ยังส�งเสริมให-นักวิจัยพิจารณาปDญหาท่ีเป*นรูปธรรมในบริบทท่ีกว-างท่ีสุด ซ่ึงผู-ใช-คู�มือเล�มน้ีสามารถนําวิธีการข-ามพรมแดนความรู-มาใช- ขอแนะนําให-ใช-คู�มือเล�มน้ีให-เป*นประโยชน�อย�างเต็มท่ี และสนุกกับการประยุกต�ใช-การศึกษาแบบ EcoHealth ในการทํางานในชีวิตประจําวัน

รศ.น.สพ.ดร. เลิศรัก ศรีกิจการ ประธานศูนย� EHRC มหาวิทยาลัยเชียงใหม�

คณบดี คณะสัตวแพทยศาสตร� มหาวิทยาลัยเชียงใหม�

Page 6: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

สารจากบรรณาธิการ

การหาอาหารเพื่อเล้ียงประชากรท่ีเพิ่มขึ้น ขณะท่ีมีการส�งเสริมสุขภาพและส่ิงแวดล1อมท่ีดี และโอกาสในการดํารงชีวิตท่ียั่งยืน ส่ิงเหล�าน้ีเป6นความท1าทายระดับโลกท่ีเรามีส�วนรับผิดชอบร�วมกัน การศึกษาแบบ EcoHealth จัดการกับบางส�วนของความท1าทายเหล�าน้ี โดยม่ันใจได1ว�าสุขภาพมนุษย: สัตว: และส่ิงแวดล1อมจะดีขึ้น

ศูนย: International Development Research Center (IDRC) ได1สนับสนุนโครงการ EcoZEID (Ecosystem Approaches to Better Management of Zoonotic Emerging Infectious Diseases) ซ่ึงเป6นโครงการท่ีเกี่ยวกับการศึกษาโดยอาศัยหลักการของระบบนิเวศ เพื่อการบริหารจัดการโรคติดเช้ืออุบัติใหม�ท่ีติดต�อระหว�างสัตว:และคนให1ดีขึ้น ดําเนินการโดยสถาบันวิจัยปศุสัตว:นานาชาติ (International Livestock Research Institute; ILRI) ต้ังแต�ปU พ.ศ. 2552 ใน 5 ประเทศ แถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต1 โครงการน้ีทํางานร�วมกับผู1มีส�วนได1ส�วนเสียในระดับภูมิภาคจํานวนมาก เพื่อให1พวกเขามีความสามารถในการทําความเข1าใจและร�วมกันฝZกปฏิบัติเกี่ยวกับ EcoHealth ส�วนหน่ึงของโครงการได1มีการจัดต้ังศูนย: EcoHealth−One Health Resource Centre (EHRC) ขึ้นท่ีมหาวิทยาลัย ช้ันนําในประเทศอินโดนีเซีย (Gadjah Mada University) และประเทศไทย (มหาวิทยาลัยเชียงใหม�)

คู�มือน้ีจัดทําขึ้นเพื่อเป6นแหล�งสําหรับการสร1างความรู1ความเข1าใจเกี่ยวกับ EcoHealth ไปยังกลุ�มตัวอย�างท่ีเป6นผู1มีส�วนได1ส�วนเสีย โดยเฉพาะอย�างยิ่งมหาวิทยาลัย ได1มีการใช1วิธีการแบบมีส�วนร�วมในการจัดทําคู�มือเล�มน้ี มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการหลายคร้ังเกี่ยวกับการแต�งคู�มือเล�มน้ี ซ่ึงดําเนินการโดย ILRI ในการออกแบบเน้ือหา รูปแบบ และขั้นตอนในการจัดทํา โดยการบูรณาการประสบการณ:และคําแนะนําแก�ผู1เขียน ซ่ึงเป6นผู1ท่ีมีประสบการณ:อย�างกว1างขวางในการทํางานในระดับภูมิภาค วิธีการแบบมีส�วนร�วมเช�นน้ี มีส�วนทําให1คู�มือน้ีเน1นการปฏิบัติและความต1องการขับเคล่ือน

ขอแสดงความขอบคุณคณะผู1เขียนจากศูนย: EcoHealth−One Health Resource Centre

มหาวิทยาลัยเชียงใหม� ด1วยความจริงใจ โดยเฉพาะอย�างยิ่ง อ.สพ.ญ.ดร. ทองกร มีแย1ม ดร. ลามาร: และ รศ.ดร. จงจิต ศรีพรรณ โรเบิร:ต ขอแสดงความซาบซ้ึงใจในความเป6นผู1นําของมหาวิทยาลัยเชียงใหม� รวมถึง รศ.น.สพ.ดร. เลิศรัก ศรีกิจการ คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร: การรวมตัวกันของหลายคณะ โดยเฉพาะอย�างยิ่งคณะสัตวแพทยศาสตร:และพยาบาลศาสตร: ในการทําให1คู�มือเล�มน้ีมีประสิทธิภาพในการข1ามพรมแดนความรู1

ขอแสดงความขอบคุณต�อศูนย: International Development Research Center (IDRC) ประเทศแคนาดา สําหรับการสนับสนุนและความพยายามในการส�งเสริม EcoHealth อย�างต�อเน่ือง และขอขอบคุณคณะทํางานจาก ILRI และท่ีปรึกษาทุกท�านท่ีมีส�วนร�วมในการทบทวนคู�มือเล�มน้ี

Purvi Mehta-Bhatt, Fred Unger, Jeffry Gilbert, Delia Grace

Page 7: EcoHealth Manual (TH) pdf

1

สารบัญ

หนา

วัตถุประสงคของคูมือ EcoHealth 3

บทท่ี 1 บทนํา 1.1 จุดเริ่มตนของการศึกษาแบบ EcoHealth

1.2 สามเสาหลักและหกองคประกอบของ EcoHealth

4 4 6

บทท่ี 2 สุขภาพของมนุษยและสัตว และโรคท่ีมาจากอาหาร

2.1 สุขภาพของมนุษยและสัตว 2.1.1 ทุกสิ่งทุกอยางมีการเช่ือมตอซึ่งกันและกัน

2.1.2 โรคและการเกิดโรค

2.1.3 โรคติดเช้ืออุบัตใิหม 2.1.4 โรคติดตอระหวางสัตวและคน 2.1.5 การดื้อยาปฏิชีวนะของเช้ือแบคทีเรียกอโรคในอาหาร

2.2 โรคท่ีมาจากอาหาร

9 9 9 9 11 12 15 16

บทท่ี 3 สุขภาพของสิ่งแวดลอม 3.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ 3.2 จํานวนประชากรท่ีเพ่ิมข้ึนและทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัด 3.3 การเปลีย่นแปลงสภาพภูมิอากาศ 3.4 การใชท่ีดินและการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมหนาดิน 3.4.1 ลักษณะสังคมเมือง 3.4.2 ระบบการเกษตรแบบเขมขน 3.5 คุณภาพอากาศ 3.6 คุณภาพนํ้า 3.7 การจัดการของเสีย 3.8 ปญหาท่ีเก่ียวของกับการเกษตร

19 19 20 21 23 23 25 26 27 29 32

บทท่ี 4 ความเขาใจในดานสังคมและเศรษฐกิจของ EcoHealth

4.1 ความเขาใจในดานสังคมของ EcoHealth 4.1.1 ภาพรวมของปจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจท่ีเก่ียวของกับ EcoHealth

37 37 37

คูมือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

Page 8: EcoHealth Manual (TH) pdf

2

4.1.2 ผลกระทบทางสังคมจากปญหาสุขภาพ 4.1.3 วิธีการทางสังคมศาสตรสําหรับการศึกษาแบบ EcoHealth 4.2 ความเขาใจในทางเศรษฐศาสตรของ EcoHealth 4.2.1 มุมมองของการศึกษาแบบ EcoHealth ผานเลนสเศรษฐกิจ

4.2.2 อรรถประโยชนและการศึกษาแบบ EcoHealth 4.2.3 ความไมเสมอภาคทางเศรษฐกิจและการศึกษาแบบ EcoHealth

4.2.4 ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจของความลมเหลวของ EcoHealth

37 38 44 44 45 46

46

บทท่ี 5 ความทาทายของ EcoHealth ในประเทศไทย 5.1 บทนํา 5.2 หมวดหมูท่ี 1 – การเปลี่ยนแปลงประชากรมนุษยและสตัว 5.3 หมวดหมูท่ี 2 – การติดตามและปองกันการแพรระบาดของโรคใน กรณีฉุกเฉิน 5.4 หมวดหมูท่ี 3 – ผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมจากการเลี้ยงปศุสตัว

50 50 50 55

56

บทท่ี 6 การศึกษาแบบ EcoHealth มีสวนทําใหสิ่งตางๆ ดีขึ้นไดอยางไร 6.1 การใชการศึกษาแบบ EcoHealth ในการแกปญหา 6.2 การวิจัยขามพรมแดนความรู (Transdisciplinary research) 6.2.1 การเปรียบเทียบการวิจัยแบบดั้งเดิมและการวิจัยขาม พรมแดนความรู 6.2.2 ประเภทของการวิจัยท่ีเก่ียวของกับหลายสาขาวิชา 6.3 การศึกษาแบบ EcoHealth ในการปฏบัิต ิ 6.4 สิ่งท่ีฉันสามารถทําได 6.4.1 ความทาทายสําหรับนักวิจัย 6.4.2 ความทาทายสําหรับผูวางนโยบาย

59 59 60 60

61 62 69 69 70

คูมือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

Page 9: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

3

วัตถุประสงค�ของคู�มือ EcoHealth

คู�มือน้ีจัดทําข้ึนเพ่ือเป&นคู�มือในการเรียนการสอนแนวคิด EcoHealth แก�นักศึกษามหาวิทยาลัยท่ีมาจากหลากหลายสาขาวิชา ซ่ึงมีจุดมุ�งหมายท่ีจะแนะนําตัวอย�างด7านท่ีสําคัญของ EcoHealth โดยให7ตัวอย�างจริงในแต�ละด7าน และช้ีให7เห็นว�าการศึกษาแบบ EcoHealth เพ่ือการวิจัยสามารถนํามาประยุกต<ใช7เพ่ือปรับปรุงคุณภาพของสุขภาพมนุษย< สุขภาพสัตว< และสิ่งแวดล7อม การศึกษาแบบ EcoHealth เก่ียวข7องกับความพยายามของสหวิชาชีพ ในการรวบรวมผู7เช่ียวชาญจากหลากหลายสาขาเพ่ือทํางานร�วมกันเป&นทีม เรียนรู7ท่ีจะพูดภาษาเดียวกัน ซ่ึงจุดแข็งของแต�ละสาขาวิชาจะสนับสนุนซ่ึงกันและกัน นอกจากน้ี EcoHealth ยังส�งเสริมให7นักวิจัยพิจารณาป?ญหาท่ีเป&นรูปธรรมในบริบทท่ีกว7างท่ีสุด

ผู7ใช7คู�มือเล�มน้ีสามารถนําวิธีการข7ามพรมแดนความรู7มาใช7 บุคคลท่ีมีความเช่ียวชาญในพ้ืนการศึกษาใดการศึกษาหน่ึง (เช�น สังคมศาสตร<) สามารถช�วยเหลือผู7อ่ืนท่ีมีประสบการณ<น7อยในสาขาวิชาน้ันๆ โดยการสร7างความเข7าใจความคิดรวบยอดและวิธีการวิจัยท่ีใช7ในสาขาอ่ืน นักศึกษาสามารถร�วมมือกันในการพัฒนาความสามารถในการประยุกต<ใช7การศึกษาแบบ EcoHealth ได7อย�างมีประสิทธิภาพในฐานะสมาชิกทีมวิจัย สหวิทยาการ

Page 10: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

บทที่ 1 บทนํา

1.1 จุดเร่ิมต นของการศึกษาแบบ EcoHealth

การเริ่มต นของแนวคิด EcoHealth น้ันยากท่ีจะระบุเวลาและสถานท่ีได อย�างแน�ชัด ซ่ึง จอห3น เจ แฮนลอน (John J. Hanlon) อดีตประธานสมาคมสาธารณสุขของอเมริกัน เป=นหน่ึงในบุคคลท่ีเห็นถึงความสําคัญในการบูรณาการระหว�างสุขภาพและสิ่งแวดล อม โดยในปD ค.ศ. 1969 เขาได บอกกับสมาชิกในสมาคมว�า “ความสําคัญและการนิยามวิธีการท่ีเก่ียวกับนิเวศวิทยามนุษย3 เป=นความพยายามร�วมกันของสหวิทยาการ ซ่ึงได แก� วิทยาศาสตร3ธรรมชาติ ฟKสิกส3 สังคมศาสตร3 ร�วมกับวิศวกรรมศาสตร3 เพ่ือทําการศึกษาในด านการตอบสนองต�อการปรับตัวของมนุษย3 โดยเฉพาะผลกระทบต�อการปรับตัวทางด านสุขภาพท่ีไม�ประสบผลสําเร็จ” จากน้ันเขาได นําไปสู�การเรียกร องโดยกล�าวว�า “เราต องเรียกชายและหญิงท่ีมีความกล าหาญและมองการณ3ไกล ท่ีจะยอมรับฐานของปรัชญาท่ีใหม�และกว างข้ึนของนิเวศวิทยามนุษย3 และนําไปประยุกต3กับสวัสดิภาพของมนุษย3ในการยอมรับและปฏิบัติตาม ซ่ึงเราเป=นวิชาชีพท่ีอาจทําให เกิดการสร างศักยภาพท่ีแท จริงในการพัฒนาสังคมใหม�และโลกท่ีดีกว�าเดิม”1 ซ่ึงคู�มือเล�มน้ีเป=นหน่ึงในความพยายามท่ีจะนําคําแนะนําของ ดร. แฮนลอน ไปสู�การปฏิบัติ

ในหนังสือสัตวแพทยศาสตร3และสุขภาพมนุษย3 (Veterinary Medicine and Human Health) ของคาลวิน ชเว็บ (Calvin Schwabe) ในปD ค.ศ. 1984 ได แสดงมุมมองท่ีคล ายกัน โดยกล�าวไว ว�า “ความต องการท่ีสําคัญของมนุษย3 รวมถึงการต�อสู กับโรค ต องมีความมั่นใจว�ามีอาหารเพียงพอ คุณภาพของสิ่งแวดล อมเหมาะสม และสังคมท่ีมนุษยธรรมมีคุณค�าเหนือกว�า”2 นอกจากน้ี ดร. ชเว็บ ได ขยายความถึงการสังเกตของ รูดอล3ฟ เวอร3ชอว แพทย3ชาวเยอรมันในศตวรรษท่ี 19 ซ่ึงได รับการขนานนามว�าเป=นบิดาแห�งพยาธิวิทยาเซลล3ว�า “ไม�มีเส นแบ�งแยกระหว�างยาท่ีใช รักษาโรคในมนุษย3และในสัตว3 และไม�ควรจะมี”3 และท้ังหมดน้ีเป=นไปไม�ได ท่ีจะระบุได ในครั้งเดียวหรือเจาะจงไปยังคนใดคนหน่ึงว�าใครเป=นผู ริเริ่มแนวคิด EcoHealth แต�ห�วงโซ�ของความคิดซ่ึงนําไปสู�แนวคิด EcoHealth อีกครั้ง จากคํากล�าวของไอแซค นิวตัน ซ่ึงเกิดข้ึนในปD ค.ศ. 1676 เมื่อเขาได รับการยกย�องให เป=นผู ท่ีมีความก าวหน าทางด านวิทยาศาสตร3 กับคํากล�าวท่ีว�า “ฉันจะเห็นได ไกลข้ึนโดยการยืนอยู�บนไหล�ของยักษ3”4 ซ่ึงหมายถึง เราเปรียบเหมือนคนแคระท่ีเกาะอยู�บนไหล�ของยักษ3 ทําให เราสามารถมองเห็นได มากข้ึนและไกลข้ึนกว�าเดิม และ

Page 11: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

5

ท้ังหมดน้ีไม�ใช�ความเก�งจากสายตาหรือความสูงของร�างกายของเรา แต�เป=นเพราะเราถูกยกให สูงข้ึนด วยขนาดของยักษ3

คําว�า EcoHealth ได มีการใช อย�างแพร�หลายในหลายๆ องค3กร หน่ึงในกิจกรรมสาธารณะท่ีเก�าแก�ท่ีสุดท่ีใช คําว�า EcoHealth คือ การประชุมประจํา 2 ปD ครั้งแรก ซ่ึงต�อมาได มีการก�อตั้งสมาคม EcoHealth ระหว�างประเทศข้ึนใหม� โดยก�อตั้งข้ึนท่ีมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน-แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปD ค.ศ. 2006 และในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012 ได มีการจัดการประชุม EcoHealth ครั้งท่ี 4 ข้ึนท่ีเมืองคุนหมิง ประเทศจีน โดยมีตัวแทน 450 คน จาก 62 ประเทศ รวมถึงตัวแทน 8 คน จาก EcoHealth−One Health Resource Center มหาวิทยาลัยเชียงใหม�เข าร�วมการประชุมในครั้งน้ีด วย

“One Health” หรือ “สุขภาพหน่ึงเดียว” เป=นคําศัพท3ท่ีคล ายกัน ท่ีได รับการคัดเลือกจากองค3กรท่ีสําคัญอ่ืนๆ รวมไปถึงสมาคมแพทย3อเมริกัน และสมาคมสัตวแพทย3อเมริกัน ซ่ึงในปD 2007 ได มีมติใช คําว�า “One Health”5 ตามมติของสมาคมแพทย3อเมริกัน และสมาคมสัตวแพทย3อเมริกัน ได มีการกําหนดความหมายของ One Health ว�าหมายถึง การส�งเสริมความร�วมมือระหว�างแพทย3ของคนและแพทย3ของสัตว3 แต�ก็ไม�ได ปฏิเสธความสําคัญของวิธีการสหวิทยาการหรือการมุ�งเน นระบบนิเวศของ EcoHealth

ปnจจุบัน ยังคงมีการพัฒนาแนวคิดเก่ียวกับ EcoHealth และ One Health และคํานิยามของคําว�า “One Health” หรือ “EcoHealth” ยังไม�มีคํานิยามใดท่ีได รับการยอมรับอย�างกว างขวาง (แม แต�การสะกดคําในปnจจุบันก็ยังไม�มีมาตรฐานท่ีเป=นท่ียอมรับแน�นอน ซ่ึงบางคนนิยมเขียนคําว�า EcoHealth เป=นตัวพิมพ3เล็กท้ังหมด) จากท่ีกล�าวข างต น คําศัพท3ท้ังสองคําได ถูกรวบรวมคํานิยามและสาระสําคัญไว ดังต�อไปน้ี

� OneHealth คือ ความพยายามร�วมกันของหลายสาขาวิชา ในการทํางานร�วมกันท้ังในระดับท องถ่ิน ประเทศ และท่ัวโลก เพ่ือให บรรลุถึงสุขภาพท่ีเหมาะสมของมนุษย3 สัตว3 และสิ่งแวดล อม

� EcoHealth คือ การศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล อมทางชีวภาพ กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ และความสัมพันธ3ของการเปลี่ยนแปลงเหล�าน้ีต�อสุขภาพของมนุษย3

Page 12: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

6

1.2 สามเสาหลักและหกองค)ประกอบของ EcoHealth

ตามท่ีฌอง เลเบล (Jean Lebel)6 หน่ึงในผู สนับสนุนแนวคิด EcoHealth แรกเริ่ม ศูนย3 International Development Research Center (IDRC) ซ่ึงเป=นบริษัทมหาชนสัญชาติแคนาดาท่ีได อุทิศตนเพ่ือการสนับสนุนประเทศกําลังพัฒนา ผ�านทางการระดมทุนและการพัฒนานักวิจัยของบริษัท ซ่ึงในปD 1994 ได ตัดสินใจให การสนับสนุนหลักต�อการศึกษาแบบ EcoHealth โครงการ EcoHealth7 ได ริเริ่มข้ึนบนพ้ืนฐานของสามเสาหลักวิธีการ ได แก� การแลกเปลี่ยนความคิดและทํางานร�วมกันของหลายสาขาวิชา (transdisciplinarity) การมีส�วนร�วม (participation) และความเสมอภาค (equity) เลเบลได กําหนดนิยามของสามเสาหลัก ดังต�อไปน้ี8

� เสาหลักท่ี 1 การแลกเปลี่ยนความคิดและทํางานร�วมกันของหลายสาขาวิชา (transdisciplinarity) หมายถึง วิสัยทัศน3อย�างกว างๆ ของระบบนิเวศท่ีเก่ียวข องกับปnญหาทางด านสุขภาพ ซ่ึงต องใช การสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความคิด และการทํางานร�วมกันของหลายสาขาวิชา ระหว�างกลุ�มนักวิจัย ผู แทนชุมชน และผู มีอํานาจตัดสินใจ

� เสาหลักท่ี 2 การมีส�วนร�วม (participation) หมายถึง จุดมุ�งหมายของการบรรลุฉันทามติและความร�วมมือ ไม�เพียงแต�ภายในกลุ�มคนในชุมชน นักวิจัย และผู มีอํานาจตัดสินใจ แต�ยังรวมถึงความร�วมมือระหว�างกลุ�มเหล�าน้ีด วย

� เสาหลักท่ี 3 ความเสมอภาค (equity) เก่ียวข องกับบทบาททางสังคมระหว�างชายและหญิง และกลุ�มต�างๆ ทางสังคมท่ีมีความหลากหลาย

เมื่อไม�นานมาน้ี ดอมินิค ชาร3รอน (Dominique Charron) หัวหน าโครงการ EcoHealth คนปnจจุบันของ IDRC ในงานวิจัยท่ีตีพิมพ3ในปD 2012 เธอได เป=นบรรณาธิการในหนังสือ การวิจัย EcoHealth ในการปฏิบัติงาน: การประยุกต3ใช นวัตกรรมของวิธีการระบบนิเวศต�อสุขภาพ (Ecohealth Research in Practice: Innovative applications of an ecosystem approach to health)9 ซ่ึงได ขยายความสามเสาหลักของเลเบล โดยการแนะนํา 6 องค3ประกอบท่ีสําคัญของ EcoHealth ซ่ึงสามองค3ประกอบของ ชาร3รอน มีส�วนคล ายกับหน่ึงในสามเสาหลักท่ีกําหนดโดยเลเบล ซ่ึง 6 องค3ประกอบ รวมถึงคําอธิบายได กล�าวไว ดังน้ี

Page 13: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

7

� องค3ประกอบท่ี 1 การคิดเชิงระบบ (Systems thinking) เป=นส�วน ประกอบส�วนหน่ึงของระบบ สามารถทําความเข าใจได ในบริบทของความสัมพันธ3ซ่ึงกันและกัน และกับระบบอ่ืนๆ การคิดเชิงระบบมุ�งเน นไปท่ีการคิดแบบเป=นวัฏจักรมากกว�าการคิดแบบเส นตรงท่ีมุ�งเน นไปท่ีสาเหตุและผลท่ีตามมา รูปแบบของความคิดชนิดน้ีจะตรงข ามแนวคิดแยกส�วน ซ่ึงเกิดจากความคิดความเข าใจทางวิทยาศาสตร3ตามแบบของเดสคาร3เทส หรือ reductionism โดยท่ีแนวคิดแยกส�วนจะพยายามทําความเข าใจกับระบบโดยมองท่ีรายละเอียดปลีกย�อยแต�ละส�วน การคิดเชิงระบบจะแสดงเห็นว�า วิ ธี ท่ีจะเข า ใจระบบคือการตรวจสอบความเ ช่ือมโยงและความสัมพันธ3ระหว�างส�วนประกอบซ่ึงประกอบข้ึนเป=นระบบ (หมายเหตุ การใช การคิดเชิงระบบไม�ได ลบล างความจําเป=นในการศึกษารายละเอียดส�วนย�อยของระบบ ท้ังการคิดเชิงระบบและการคิดแยกส�วน ต�างก็มีความจําเป=นเพ่ือให บรรลุความเข าใจอย�างสมบูรณ3)

� องค3ประกอบท่ี 2 การวิจัยท่ีเกิดจากความร�วมมือของหลายสาขา (ดูรายละเอียดได ในเสาหลักท่ี 1)

� องค3ประกอบท่ี 3 การมีส�วนร�วม (ดูรายละเอียดได ในเสาหลักท่ี 2) � องค3ประกอบท่ี 4 การพัฒนาอย�างย่ังยืน (Sustainability) หลักการของ

การพัฒนาอย�างย่ังยืน หมายถึง งานวิจัย EcoHealth ควรมีจุดมุ�งหมายเพ่ือท่ีจะสร างจริยธรรม การเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกอย�างย่ังยืน ซ่ึงเป=นมิตรต�อสิ่งแวดล อมและเป=นท่ียอมรับของสังคม จุดท่ีสําคัญคือจริยธรรม การเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก และการเป=นมิตรต�อสิ่งแวดล อมจะไม�ย่ังยืนหากไม�ได รับการยอมรับทางสังคมจากกลุ�มชุมชนเปyาหมายซ่ึงต องดํารงชีวิตอยู�ภายใต การเปลี่ยนแปลงน้ันๆ

� องค3ประกอบท่ี 5 ความเสมอภาคทางสังคมและเพศ (Gender and social equality) (ดูรายละเอียดได ในเสาหลักท่ี 3)

� องค3ประกอบท่ี 6 ความรู ซ่ึงนําไปสู�การปฏิบัติ (Knowledge to action) หมายถึง ความคิดท่ีว�าความรู สามารถสร างได โดยการวิจัย ใช ในการปรับปรุงสุขภาพและความเป=นอยู� ให ดี ข้ึน ผ�านทางการปรับปรุ งสภาพแวดล อม

3 เสาหลักของเลเบล และ 6 องค3ประกอบของชาร3รอน ไม�เพียงแต�ต องอาศัยความร�วมมือข ามสาขาวิชา แต�ยังต องอาศัยการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพระหว�างนักวิจัย

Page 14: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

8

และผู มีส�วนได ส�วนเสียท่ีมีภูมิหลังท่ีแตกต�างกัน คู�มือเล�มน้ีให แนวทางปฏิบัติเก่ียวกับวิธีในการใช ความร�วมมือและการสื่อสารระหว�างสาขาวิชา จะช�วยให เราสามารถนํา 3 เสาหลักและ 6 องค3ประกอบของ EcoHealth ไปสู�การปฏิบัติ

อ�างอิง

1. Hanlon JJ. An ecological view of public health. Am J Publ Health 1969;59(1):4-11. 2. UCDAVIS Veterinary Medicine. Who is Calvin Schwabe?. Available at

http://www.vetmed.ucdavis.edu/onehealth/about/schwabe.cfm. Accessed April 7, 2013.

3. World Veterinary Association. Who coined the term “One Medicine”?. Available at http://www.worldvet.org/node/8333. Accessed April 7, 2013.

4. Wikipedia. Standing on the shoulders of giants. Available at http://en.wikipedia.org/wiki/Standing_on_the_shoulders_of_giants. Accessed April 7, 2013.

5. American Medical Association House of Delegates. Collaboration between human and veterinary medicine. Available at http://www.onehealthinitiative.com/publications/AMA%20Resolution%20530%20a-07-One%20Health-Final%206%2025 %2007.pdf. Accessed April 7, 2013.

6. International Development Research Centre [IDRC]. Jean Lebel. Available at http://www.idrc.ca/EN/AboutUs/Governance/Pages/DetailedSeniorManagement Committee.aspx?ProfileID=27. Accessed April 7, 2013.

7. Lebel J. Health: an ecosystem approach. IDRC, 2003. Available at http://idl-bnc.idrc.ca/dspace/bitstream/10625/30918/14/118480.pdf. Accessed April 7, 2013.

8. Lebel J. Ecohealth and the developing world. EcoHealth 2004;1:325-6. 9. Charron DF, editor. Ecohealth research in practice: innovative applications of an

ecosystem approach to health. IDRC, 2012. Available at http://idl-bnc.idrc.ca/dspace/bitstream/10625/47809/1/IDL-47809.pdf. Accessed April 7, 2013.

Page 15: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

บทที ่2 สุขภาพของมนุษย�และสัตว� และโรคท่ีมาจากอาหาร

2.1 สุขภาพของมนุษย�และสัตว�

2.1.1 ทุกสิง่ทุกอย�างมีการเชื่อมต�อซ่ึงกันและกนั

สิ่งมีชีวิตและไม�มีชีวิตทุกชนิดในโลกล+วนย�อมมีความสัมพันธ.ซ่ึงกันและกัน เมื่อบางสิ่งมีการเปลี่ยนแปลงย�อมจะส�งผลกระทบต�อสิ่งอ่ืนๆ ตามมา ซ่ึงไม�ว�าผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจะเป9นไปในทางบวกหรือลบก็ไม�สามารถหลีกเลี่ยงได+ มนุษย.ก็เช�นกันย�อมมีความสัมพันธ.กับสิ่งต�างๆ ท่ีอยู�รอบตัว สุขภาพของมนุษย.ท้ังสุขภาพและกายและสุขภาพจิต มักจะเช่ือมโยงกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล+อมท่ีอยู�รอบๆ ตัว เช�น การเกิดโรคภัยไข+เจ็บมักจะเกิดจากการสัมผัสกับเช้ือก�อโรค เช้ือก�อโรค ยกตัวอย�างเช�นเช้ือแบคทีเรียและไวรัสบางชนิด สามารถติดต�อจากคนหน่ึงสู�อีกคนหน่ึงได+ผ�านทางอากาศ หรือแม+แต�การสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งท่ีมาจากร�างกาย นอกจากน้ี เช้ือก�อโรคบางชนิดยังสามารถติดต�อระหว�างมนุษย.และสัตว.ได+ ไม�ว�าจะเป9นจากการเลี้ยงปศุสัตว.หรือจากสัตว.ป>า

2.1.2 โรคและการเกิดโรค

ป?จจัยสําคัญท่ีเก่ียวข+องกับการเกิดโรค ได+แก� มนุษย.หรือสัตว. สิ่งก�อโรค และสิ่งแวดล+อม เมื่อป?จจัยเหล�าน้ีอยู�ในภาวะท่ีสมดุล การเกิดโรคหรือการแพร�กระจายของโรคจะเกิดข้ึนน+อยมาก แต�หากมีการเปลี่ยนแปลงของป?จจัยใดป?จจัยหน่ึง และทําให+เกิดความไม�สมดุลของท้ัง 3 ป?จจัยข้ึน จะส�งผลให+มีการเกิดโรคหรือมีการแพร�ระบาดของโรคข้ึน

การเกิดโรค สามารถเกิดได+จากท้ังสิ่งก�อโรคท่ีมีชีวิตและไม�มีชีวิต ซ่ึงสามารถแบ�งประเภทของสิ่งก�อโรคได+เป9น สิ่งก�อโรคทางชีวภาพ ทางเคมี ทางกายภาพ และทางจิตสังคม สิ่งก�อโรคทางชีวภาพ ได+แก� สิ่งมีชีวิต เช�น เช้ือแบคทีเรีย เช้ือไวรัส เช้ือรา และปรสิต สิ่งก�อโรคทางเคมี ได+แก� สารประกอบทางเคมีซ่ึงสามารถทําให+เกิดโรคหรือการแพร�กระจายของโรคได+ สารเคมีบางชนิดเป9นสิ่งท่ีใช+ในบ+านและเป9นส�วนหน่ึงในชีวิตประจําวัน เช�น สารทําความสะอาดต�างๆ ดีดีที และยาฆ�าแมลงชนิดอ่ืนๆ นอกจากน้ียังรวมถึงสารเคมีบางชนิดท่ีใช+ในการเกษตรและอุตสาหกรรม สิ่งก�อโรคทางกายภาพ ได+แก� ความร+อน ความเย็น แสง เสียง และรังสี ความร+อนสามารถทําให+เกิดป?ญหาสุขภาพ

Page 16: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

10

ได+ เช�น โรคลมแดดและผิวหนังเกิดการไหม+ รังสีจากดวงอาทิตย.สามารถก�อให+เกิดโรคมะเร็งผิวหนัง เสียงท่ีมีความถ่ีเกิน 85 เดซิเบล หากได+ยินติดต�อกันนานเกิน 1 ช่ัวโมง สามารถทําให+หูหนวกได+ สิ่งก�อโรคทางจิตสังคม ได+แก� ป?ญหาความเครียดท่ีเกิดจากภาวะเศรษฐกิจและสังคม และการขัดแย+งระหว�างบุคคล ป?ญหาความเครียดท่ีเกิดจากสาเหตุดังกล�าว ทําให+เกิดอารมณ.แปรปรวน วิตกกังวล ความเครียดทางจิต และการเจ็บป>วยทางจิตอ่ืนๆ รวมท้ังการเจ็บป>วยทางร�างกาย เช�น โรคความดันโลหิตสูง แผลในกระเพาะอาหาร และหอบหืด เป9นต+น

ป?จจัยบางอย�างท่ีอาจมีผลต�อการเกิดโรค เป9นผลมาจากภาวะท่ีอยู�นอกเหนือการควบคุมของแต�ละบุคคล เช�น อายุ เพศ เช้ือชาติ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และอาชีพ ตัวอย�างเช�น ในเด็กทารกท่ีระบบภูมิคุ+มกันยังไม�สามารถพัฒนาได+เต็มท่ีน้ัน จะมีความเสี่ยงต�อการเกิดโรคติดเช้ือได+สูงกว�ากลุ�มอายุอ่ืนๆ

ในผู+สูงอายุ ร�างกายจะเกิดความเสื่อมตามอายุท่ีเพ่ิมมากข้ึน จึงมีความเสี่ยงเพ่ิมมากข้ึนท่ีจะเกิดโรค โดยเฉพาะโรคท่ีเป9นแบบเรื้อรัง เช�น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ต+อกระจก ภาวะสมองเสื่อม และมะเร็ง

เพศมีความสัมพันธ.กับการเกิดโรคบางชนิด ซ่ึงอาจเน่ืองมาจากระดับฮอร.โมนและลักษณะบุคลิกภาพท่ีแตกต�างกันของเพศหญิงและชาย บางโรคพบได+บ�อยในเพศชาย ซ่ึงสัมพันธ.กับพฤติกรรมหรือการใช+ชีวิต เช�น การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล.เป9นประจํา สามารถส�งผลให+เกิดโรคพิษสุราเรื้อรัง ตับแข็ง แผลในกระเพาะอาหาร และอุบัติเหตุอันเน่ืองมาจากการขับรถขณะมึนเมา การสูบบุหรี่ทําให+เกิดโรคถุงลมโป>งพอง มะเร็งปอด เป9นต+น

นอกจากน้ี ยังมีโรคทางพันธุกรรม ซ่ึงสามารถถ�ายทอดลักษณะท่ีผิดปกติไปยังลูกหลานและทําให+ เกิดการเจ็บป>วยได+ เช�น โรคเลือดจางหรือธาลัสซีเมีย และโรคเบาหวาน โรคบางโรคพบว�ามีความสัมพันธ.กับสถานภาพสมรส เช�น ในผู+หญิงโสดจะมีโอกาสเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต+านมสูงกว�าผู+หญิงท่ีแต�งงานแล+ว

โดยท่ัวไป คนท่ีมีระดับการศึกษาสูงจะมีความรู+เก่ียวกับการดูแลสุขภาพมากกว�าคนท่ีมีระดับการศึกษาต่ํากว�า นอกจากน้ี การศึกษายังมีความสัมพันธ.กับรายได+ ซ่ึงผู+ท่ีมีระดับการศึกษาท่ีสูงมักจะมีความสามารถในการดูแลสุขภาพได+ดีกว�าคนท่ีมีระดับการศึกษาต่ํากว�า

Page 17: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

11

อาชีพ เป9นอีกป?จจัยหน่ึงท่ีส�งผลต�อการเกิดโรคบางชนิด บางคนมีความเสี่ยงต�อการเกิดโรคเน่ืองมาจากการสมัผสักับสิง่ก�อโรคจากการประกอบอาชีพ เช�น คนท่ีทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมมักจะสัมผัสกับผงฝุ>นมากกว�าคนปกติ ซ่ึงทําให+เกิดความเสี่ยงต�อการเกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ

เหตุการณ.ต�างๆ ท่ีเกิดข้ึนรอบตัวเรา ไม�ว�าจะเป9นเหตุการณ.ท่ีก�อให+เกิดป?ญหาหรือไม�ก็ตาม มักจะมีความซับซ+อนท้ังสําหรับบุคคลท่ีมีส�วนเก่ียวข+องโดยตรงและสําหรับบุคคลอ่ืนท่ีได+รับผลกระทบจากเหตุการณ.ท่ีเกิดข้ึน ในการประยุกต.ใช+การศึกษาแบบ EcoHealth ต�อเหตุการณ.หรือสถานการณ.ท่ีจําเพาะ โดยเฉพาะอย�างย่ิงป?ญหาท่ีมีความเก่ียวข+องกับสุขภาพ ควรจะระลึกไว+เสมอว�าป?ญหาหรือเหตุการณ.เหล�าน้ีจะไม�เกิดข้ึนในมิติเดียวเท�าน้ัน ตามทฤษฎีของการเกิดโรค จะต+องมีความสมดุลระหว�างโรค โฮสต.ท่ีเป9นมนุษย.หรือสัตว. และสิ่งแวดล+อม ซ่ึงป?จจัยเหล�าน้ีมีท้ังส�วนประกอบภายนอกและส�วนประกอบภายใน การแก+ป?ญหาโดยมุ�งเน+นเฉพาะโรค โฮสต. และสิ่งแวดล+อม อาจจะไม�สามารถบรรลุผลในเชิงบวกหรือย่ังยืนได+ จึงมีความจําเป9นท่ีจะประยุกต.ใช+การคิดเชิงระบบ ซ่ึงหมายถึงการรวมความรู+ความสามารถจากหลากหลายสาขา เพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการจัดการกับป?ญหาได+อย�างมีประสิทธิภาพ

รูป 2-1 แสดงป?จจัยท่ีมีผลกระทบต�อสุขภาพและความเป9นอยู� ซ่ึงมีความเช่ือมโยงกันในหลายมิติ

2.1.3 โรคติดเชื้ออุบัติใหม�

โรคติดเช้ืออุบัติใหม� (Emerging infectious diseases) คือ “โรคติดเช้ือท่ีเกิดข้ึนใหม�ในกลุ�มประชากร หรือโรคท่ีเคยเกิดข้ึนแล+ว แต�มีอัตราการเกิดโรคท่ีเพ่ิมข้ึน หรือมีการ

Page 18: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

12

เกิดโรคแพร�เป9นวงกว+างอย�างรวดเร็ว”1 ในทศวรรษท่ีผ�านมา มีโรคติดเช้ืออุบัติใหม�เกิดข้ึนในหลายภูมิภาคท่ัวโลก ซ่ึงส�งผลกระทบสําคัญต�อคุณภาพชีวิต ภาวะเศรษฐกิจและสังคมในหลายๆ ประเทศ เช�น โรคอีโบล�า (Ebola) กลุ�มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรือซาร.ส (severe acute respiratory syndrome; SARS) โรคไข+หวัดนก (H5N1 และ H7N9) และจุลินทรีย.หลายประเภทท่ีดื้อต�อยา หน่ึงในความท+าทายท่ีสําคัญคือ การนําการศึกษาแบบ Ecohealth มาใช+อย�างมีประสิทธิภาพ เพ่ือการตอบสนองต�อโรคติดเช้ืออุบัติใหม�ท่ีเกิดข้ึนได+อย�างเหมาะสม การตอบสนองของ EcoHealth ต�อสถานการณ.ไข+หวัดนกในประเทศไทยได+อธิบายไว+ในรายละเอียดในบทถัดไปของคู�มือเล�มน้ี

2.1.4 โรคติดต�อระหว�างสัตว�และคน

คําว�า zoonotic diseases หรือ zoonoses ถูกกําหนดโดยองค.การอนามัยโลก หรือ World Health Organization ไว+ว�าหมายถึง “โรคและการติดเช้ือซ่ึงติดต�อตามธรรมชาติระหว�างสัตว.มีกระดูกสันหลังและมนุษย.”2 หรือหมายถึง โรคท่ีมีการติดต�อระหว�างมนุษย.และสัตว.มีกระดูกสันหลังชนิดอ่ืนๆ ท้ังท่ีเป9นปศุสัตว.และสัตว.ป>า ซ่ึงโรคชนิดน้ีสามารถติดต�อจากสัตว.สู�มนุษย. หรือจากมนุษย.ไปยังสัตว.ก็ได+

โรคใดๆ ท่ีมีการติดต�อระหว�างสัตว.และมนุษย. จะเรียกว�า โรคติดต�อระหว�างสัตว.และคน ซ่ึงในความเป9นจริง เกือบทุกรายงานการเกิดโรคได+แสดงให+เห็นว�า การแพร�ของโรคสามารถเกิดได+ 2 ทาง คือ มนุษย.ท่ีติดเช้ือท่ีเป9นโรคติดต�อระหว�างสัตว.และคน จะสามารถแพร�เช้ือไปยังสัตว.ท่ีมีความไวต�อโรคได+ เมื่อเช้ือน้ีติดไปยังปศุสัตว.ซ่ึงถูกเลี้ยงเพ่ือการบริโภคของมนุษย. ซ่ึงนอกจากจะส�งผลกระทบต�อสุขภาพของมนุษย.และสัตว.แล+ว ผลกระทบท่ีค�อนข+างจะรุนแรงท่ีเกิดข้ึนก็คือผลกระทบทางด+านเศรษฐกิจ เช�น กรณีท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทย เมื่อปk พ.ศ. 2552 เมื่อเช้ือไวรัสไข+หวัดนก ชนิด A สายพันธุ. H1N1 ซ่ึงเป9นโรคติดต�อจากสัตว.สู�คนสายพันธุ.ใหม� ทําให+เกิดการระบาดไปท่ัวประเทศ ผลกระทบทางด+านเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนได+อธิบายไว+ในหัวข+อ 4.2 ในบทท่ี 4

การติดต�อของโรคจากปศุสัตว.สู�มนุษย.เกิดได+หลายช�องทาง ซ่ึงอาจเกิดได+จากการสัมผัสโดยตรงกับสตัว.ท่ีป>วย การรับประทานเน้ือหรือผลิตภัณฑ.อ่ืนๆ จากสัตว.ท่ีติดเช้ือ ตัวอย�างเช�น การรับประทานเน้ือสุกรท่ีมีตัวอ�อนทริคิเนลล�า ซ่ึงก�อให+เกิดโรคทริคิโนซิส (Trichinosis) การรับประทานเน้ือจากสัตว.ท่ีติดโรคแอนแทรกซ. (Anthrax) หรือการดื่มนํ้านมดิบจากโคท่ีมีเช้ือวัณโรค (tuberculosis) นอกจากน้ี การติดต�อของโรคยังสามารถเกิดได+จากการหายใจเอาสปอร.ของเช้ือเข+าไป เช�น โรคแอนแทรกซ. โรคคริปโตคอกโคซิส (Cryptococcosis) หรือ โรคแอสเปอร.จิลโลซิส (Aspergillosis) หรือเกิดจากการกัดของ

Page 19: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

13

แมลงซ่ึงเป9นพาหะนําโรค เช�น ยุงซ่ึงเป9นสาเหตุของโรคไข+สมองอักเสบ (Japanese encephalitis; JE) เห็บหนูซ่ึงเป9นพาหะของกาฬโรค (plague) ในกรณีของโรคพิษสุนัขบ+า (rabies) เช้ือไวรัสจะอยู�ในนํ้าลายของสุนัขท่ีมีเช้ือ และแพร�เช้ือสู�สัตว.ชนิดอ่ืนผ�านทางการกัดของสุนัขท่ีมีเช้ือพิษสุนัขบ+าน้ัน

รูป 2-2 แสดงโรคไข+หวัดหมูซ่ึงเป9นโรคติดต�อระหว�างสัตว.และคน ท่ีเกิดการแพร�เช้ือจากสุกรไปยังมนุษย.

รูป 2-3 แสดงตัวอย�างของโรคติดต�อระหว�างสัตว.และคน

และกลุ�มประชากรท่ีได+รับผลกระทบจากโรค3

Page 20: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

14

โรคแอนแทรกซ. เป9นหน่ึงในโรคติดเช้ือแบคทีเรียจากสัตว.สู�คนท่ีพบบ�อยในการเลี้ยงปศุสัตว.ในประเทศไทย ซ่ึงเกิดจากเช้ือแบคทีเรีย Bacillus anthracis สัตว.ส�วนใหญ�ท่ีติดเช้ือน้ีจะได+รับเช้ือผ�านทางการหายใจเอาสปอร.ของเช้ือแบคทีเรียท่ีอยู�ในดินหรือบนหญ+า หรือติดผ�านทางการกินนํ้าหรืออาหารซ่ึงมีเช้ือชนิดน้ีเข+าไป นอกจากน้ี เช้ือสามารถเข+าสู�ร�างกายของสัตว.ผ�านทางบาดแผล เมื่อเช้ือแบคทีเข+าไปในร�างกายของสัตว. จะเกิดการเพ่ิมจํานวนและแพร�ไปยังอวัยวะต�างๆ ในร�างกาย ซ่ึงเช้ือจะมีการสร+างสารท่ีทําให+เกิดพิษทําให+สัตว.แสดงอาการป>วย โค กระบือ และแกะท่ีมีการติดเช้ือแอนแทรกซ.อย�างฉับพลันจะแสดงอาการท่ีคล+ายกัน คือ เลือดจะมีสีเข+มหรือสีดําและมีการซึมออกมาตามทวารต�างๆ สัตว.ท่ีติดเช้ือจะตายภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว และซากของสัตว.ท่ีตายแล+วจะไม�แสดงลักษณะแข็งเกร็ง (rigor mortis) ก�อนท่ีสัตว.ท่ีติดเช้ือจะตาย เช้ือแบคทีเรียจะถูกขับออกมาผ�านทางอุจจาระ ป?สสาวะ และนํ้านม เมื่อเช้ือออกมาภายนอกร�างกายสัตว.แล+ว จะมีการสร+างสปอร.ซึ่งสามารถทนต�อความร+อนและความแห+งแล+งได+สูง และสามารถอยู� ในดินได+นาน 10-20 ปk ดัง น้ัน จึงทําให+ เ กิดการอุบัติของโรคข้ึนอีกครั้ ง เมื่อสภาพแวดล+อมเหมาะสมต�อการเจริญเติบโตของเช้ือ

รูป 2-4 แสดงลักษณะของสัตว.ท่ีตายด+วยโรคแอนแทรกซ. ซ่ึงเป9นโรคติดเช้ือ ในปศุสัตว.และเป9นโรคประจําถิ่นในประเทศไทย

มนุษย.สามารถติดเช้ือแอนแทรกซ.จากสัตว.ได+หลายช�องทาง ท้ังการสัมผัสโดยตรงกับสัตว.ท่ีติดเช้ือหรือผลิตภัณฑ.จากสัตว.ท่ีติดเช้ือ เช�น การเลี้ยงสัตว. การชําแหละเน้ือสัตว. การตรวจสัตว. การกินเน้ือของสัตว.ท่ีติดเช้ือ และการหายใจเอาสปอร.ของเช้ือแอนแทรกซ.เข+าไป ในกรณีท่ีติดเช้ือผ�านทางการขูดขีด รอยถลอก หรือบาดแผลท่ีผิวหนัง จะเกิดเป9นตุ�มพุพองข้ึนภายหลังจากติดเช้ือ 2-5 วัน และภายหลังจากน้ัน 2 หรือ 3 วัน ตุ�มนํ้าน้ันจะ

Page 21: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

15

เกิดการบวมและแตกออก เกิดเป9นสะเก็ดสีดําตรงกลางแผล บริเวณรอบๆ แผลจะกลายเป9นสีแดงและติดเช้ือ

รูป 2-5 แสดงวงจรการติดเช้ือแอนแทรกซ.4

รูป 2-6 แสดงลักษณะบาดแผลท่ีผิวหนังของคนท่ีติดเช้ือแอนแทรกซ.5

2.1.5 การด้ือยาปฏิชีวนะของเชือ้แบคทีเรียก�อโรคในอาหาร

คําว�า “ยาต+านจุลชีพ” หรือ antimicrobial เป9นคําท่ีใช+อย�างกว+างๆ หมายถึง สารท่ีทําหน+าท่ีต�อต+านจุลชีพหลายชนิด ได+แก� แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต และเช้ือรา คําว�า “ยาปฏิชีวนะ” หรือ antibiotic เป9นคําท่ีมีความหมายแคบกว�า หมายถึง สารท่ีใช+ในการรักษาการติดเช้ือแบคทีเรีย ซ่ึงป?ญหาท่ีสําคัญในการใช+ยาต+านจุลชีพในการเกษตรคือการดื้อยาของเช้ือแบคทีเรีย ดังน้ัน คําว�า “ยาปฏิชีวนะ” จะใช+ในการอธิบายในหัวข+อน้ี6

การใช+ยาปฏิชีวะย�อมทําให+เกิดการดื้อยาของเช้ืออย�างหลีกเลี่ยงไม�ได+ ซ่ึงหมายถึง ย่ิงมีการใช+ยาปฏิชีวนะเป9นจํานวนมาก ก็จะย่ิงเกิดการดื้อยาของเช้ือแบคทีเรียจํานวนมากเช�นกัน การดื้อยาของเช้ือแบคทีเรียเริ่มมีการพัฒนารวดเร็วข้ึนเมื่อไม�ก่ีปkท่ีผ�านมาน้ี ซ่ึงสิ่ง

Page 22: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

16

เหล�าน้ีบ�งช้ีถึงป?ญหาท่ีสําคัญในการท่ีจะต+องพัฒนายาปฏิชีวนะท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือท่ีจะใช+ในการรักษาอาการเจ็บป>วยของมนุษย.และสัตว. มีหลายการศึกษารายงานว�าการดื้อยาของเช้ือแบคทีเรียมีการส�งผ�านโดยตรงจากสัตว.สู�มนุษย.ผ�านทางอาหารท่ีมีต+นกําเนิดมาจากสัตว. หลังจากท่ีมีการใช+ยาปฏิชีวนะในสัตว. (ซ่ึงใช+เพ่ือการรักษาโรค การปwองกันโรค และใช+เพ่ือส�งเสริมการเจริญเติบโต) ทําให+ความชุกของเช้ือแบคทีเรียดื้อยาในมนุษย.เพ่ิมข้ึน (เช�น เช้ือ อี.โคไล และแคมไพโลแบคเตอร.)7,8,9 เช้ือดื้อยาเหล�าน้ีส�งผลต�อสุขภาพของมนุษย. ทําให+เกิดการติดเช้ือท่ีมีความรุนแรงมากข้ึน และเกิดความล+มเหลวในการรักษาเพ่ิมมากข้ึน ผู+ป>วยจะแสดงอาการป>วยยาวนานกว�าปกติ และเพ่ิมความถ่ีในการเกิดโลหิตเป9นพิษ (ติดเช้ือในกระแสเลือด) มีผู+ป>วยรักษาตัวในโรงพยาบาลเพ่ิมมากข้ึน และอัตราการตายสูงข้ึน10 เมื่อยาหลักท่ีใช+ในการรักษาอาการติดเช้ือใช+ไม�ได+ผล อาจจะต+องเลือกใช+ยาตัวอ่ืนในการรักษา ส�งผลให+ประสิทธิภาพในการรักษาลดลง เกิดอันตรายจากผลข+างเคียงของยาเพ่ิมมากข้ึน และเสียค�าใช+จ�ายในการรักษาท่ีสูงข้ึน11

2.2 โรคท่ีมาจากอาหาร

โรคท่ีมาจากอาหาร หมายถึง โรคท่ีเกิดจากการรับประทานอาหารหรือนํ้าท่ีมีการปนเปyzอน12 เช้ือก�อโรคท่ีสามารถปนเปyzอนในอาหารหรือนํ้า ได+แก� แบคทีเรีย รา ไวรัส โปรโตซัว และพริออน ซ่ึงการปwองกันการปนเปyzอนของเช้ือเหล�าน้ีในอาหารเป9นส�วนหน่ึงท่ี EcoHealth ให+ความสนใจ

วัตถุดิบท่ีใช+ในการผลิตอาหารของมนุษย. มาจากปศุสัตว. สัตว.นํ้า และพืชผัก ซ่ึงผ�านการเก็บเก่ียวและผ�านกระบวนการต�างๆ กระบวนการในการประกอบอาหารจะต+องทําเพ่ือให+เกิดความปลอดภัยสูงสุดใน 3 ด+าน คือ ทางด+านชีวภาพ เคมี และกายภาพ ซ่ึงเน้ือหาในส�วนน้ีจะเน+นไปท่ีความปลอดภัยทางด+านชีวภาพ หัวใจสําคัญของการปwองกันโรคท่ีมาจากอาหารคือการลดและปwองกันการปนเปyzอนท้ังก�อนและขณะผ�านกระบวนการผลิต รวมไปถึงการปwองกันการปนเปyzอนจากร�างกายของผู+ประกอบอาหาร เครื่องมือและอุปกรณ.ในการประกอบอาหาร และการให+คําแนะนําท่ีเหมาะสมแก�ผู+บริโภค ซ่ึงป?จจัยท้ังหลายเหล�าน้ีล+วนมีผลต�อความปลอดภัยของอาหารสําหรับผู+บริโภค

Page 23: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

17

รูป 2-7 แสดงนํ้าในกระชังเล้ียงปลาและกุ+งซ่ึงเป9นแหล�งท่ีสามารถปนเปyzอนเช้ือได+ และเช้ือโรคสามารถเจริญเติบโตได+อย�างรวดเร็วในอาหารทะเล

ท่ีผ�านการแช�เย็นท่ีไม�เหมาะสม

นอกจากข้ันตอนในการแปรรูปอาหาร วัฒนธรรมในการกินของแต�ละท+องถ่ินก็เป9นป?จจัยท่ีมีบทบาทต�อการเกิดโรคอาหารเป9นพิษ เช�น การรับประทานอาหารดิบหรืออาหารท่ีปรุงไม�สุก ซ่ึงนําไปสู�ความเสี่ยงในการเกิดโรคติดเช้ือ เช�น สเตรปโตคอคคัส ซูอิส (Streptococcus suis) ทริคิโนซิส และปรสิตต�างๆ

รูป 2-7 แสดงป?จจัยทางวัฒนธรรม เช�น การรับประทานเน้ือดิบ จะมีผลต�ออุบัติการณ.ของการเกิดโรคท่ีมาจากอาหาร

Page 24: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

18

อ(างอิง 1. MedicineNet. Definition of emerging infectious disease. Available at

http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=22801. Accessed April 9, 2013.

2. WHO. Neglected zoonotic diseases. Available at http://www.who.int/neglected_diseases/diseases/zoonoses/en/index.html. Accessed April 9, 2013.

3. United States Government Accountability Office [GAO]. Biosurveillance: nonfederal capabilities should be considered in creating a national biosurveillance strategy. Available at http://www.gao.gov/new.items/d1255.pdf. Accessed April 9, 2013.

4. Obringer LA. How Anthrax works. HowStuffWorks. Available at http://science.howstuffworks.com/anthrax1.htm. Accessed July 5, 2012.

5. Wikipedia. Anthrax. Available at http://en.wikipedia.org/wiki/Anthrax. Accessed April 9, 2013.

6. DeWaal CS, Roberts C, Catella C. Antibiotic resistance in foodborne pathogens: evidence of the need for a risk management strategy. Center for Science in the Public Interest [CSPI], 2011. Available at http://cspinet.org/new/pdf/abrfoodbornepathogenswhitepaper.pdf. Accessed April 3, 2013.

7. Padungtod P, Kadohira M, Hill G. Livestock production and foodborne diseases from food animals in Thailand. J Vet Med Sci 2008;70(9):873–9.

8. Kilonzo-Nthenge A, Rotich E, Nahashon SN. Evaluation of drug-resistant Enterobacteriaceae in retail poultry and beef. PoultSci 2013;92(4):1098-107.

9. Cummings KJ, Perkins GA, Khatibzadeh SM, Warnick LD, Altier C. Antimicrobial resistance trends among Salmonella isolates obtained from dairy cattle in the Northeastern United States, 2004-2011. Foodborne Pathog Dis 2013;10(4):353-61.

10. Angulo FJ, Nargund VN, Chiller TC. Evidence of an association between use of anti-microbial agents in food animals and anti-microbial resistance among bacteria isolated from humans and the human health consequences of such resistance. J Vet Med B Infect Dis Vet Public Health 2004;51:374-9.

11. Centers for Disease Control and Prevention [CDC]. About antimicrobial resistance: a brief overview. Available at http://www.cdc.gov/drugresistance/about.html. Accessed April 9, 2013.

12. Medicine Net. Definition of foodborne disease. Available at http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=25399. Accessed April 9, 2013.

Page 25: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

บทที่ 3 สุขภาพของส่ิงแวดล�อม

3.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ

อนุสัญญาว�าด วยความหลากหลายทางชีวภาพได ให คํานิยามอย�างเป-นทางการของความหลากหลายทางชีวภาพในบทความท่ี 2 ว�า “ความผันแปรระหว�างสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู�ในระบบนิเวศอันเป-นแหล�งท่ีอยู�อาศัย ซ่ึงได แก� บนบก ทะเล และระบบนิเวศนํ้าอ่ืนๆ และความซับซ อนของระบบนิเวศซ่ึงสิ่งมีชีวิตเหล�าน้ีเป-นส�วนหน่ึงในระบบนิเวศน้ันๆ รวมไปถึงความหลากหลายภายในสายพันธุ> (species) เดียวกัน ระหว�างสายพันธุ> และความหลากหลายของระบบนิเวศน้ันๆ” หากจะอธิบายง�ายๆ คําว�าความหลากหลายทางชีวภาพ มาจากการรวมกันของคําว�า “ชีวภาพ” (biological) และ “ความหลากหลาย” (diversity) ซ่ึงหมายถึงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตท่ีสามารถพบได ในโลก (พืช สัตว> รา และจุลินทรีย>) รวมถึงชุมชนท่ีสิ่งมีชีวิตเหล�าน้ันสร างข้ึน และถ่ินท่ีอยู�อาศัยท่ีสิ่งมีชีวิตเหล�าน้ันอาศัยอยู�1 หน�วยนับของความหลากหลายทางชีวภาพ คือ จํานวนของสายพันธุ>ท่ีแตกต�างกันในพ้ืนท่ีท่ีกําหนด ตัวอย�างเช�น ความหลากหลายทางชีวภาพของสายพันธุ>ต นไม ในอุทยานแห�งชาติดอยสุเทพ-ปุย มีประมาณ 90 สายพันธุ>ต�อพ้ืนท่ี 10,000 ตารางเมตร การวัดความหลากหลายทางชีวภาพสามารถนํามาใช เพ่ือเปรียบเทียบระหว�างพ้ืนท่ี เช�น จํานวนสายพันธุ>ของไม ดอกและเฟTร>นกว�า 2,000 สายพันธุ>ท่ีอยู�บนดอยสุเทพ มีจํานวนเกินกว�าจํานวนรวมของสายพันธุ>ท่ีอยู�บนเกาะอังกฤษท้ังหมด ซ่ึงมีพ้ืนท่ีใหญ�กว�า 1,000 เท�า2

อย�างไรก็ตาม ระดับของความหลากหลายทางชีวภาพไม�จําเป-นต องคงท่ีเสมอเมื่อระยะเวลาผ�านไป เช�น อุทยานแห�งชาติดอยสุเทพ-ปุยเคยเป-นแหล�งท่ีอยู�อาศัยของชะนีมือขาว (Hylobates lar) แต�เมื่อประชากรมนุษย>ท่ีอาศัยอยู�บนภูเขามีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน การล�าสัตว>อย�างเข มข นในพ้ืนท่ีทําให เกิดการสูญพันธุ>ของชะนีและสัตว>ท องถ่ินขนาดใหญ�ไปจากอุทยานเมื่อหลายทศวรรษท่ีผ�านมา นอกจากน้ี ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในอุทยานก็มีการเปลี่ยนแปลงเช�นกัน กว�าสองถึงสามทศวรรษท่ีผ�านมา ต นกําเนิดของแม�นํ้าลําธารบางแห�ง มีการไหลของสายนํ้าท่ีช าลง บ�งช้ีได ว�าความแห งแล งท่ีค�อยๆ เกิดข้ึนมีสาเหตุเน่ืองมาจากการเผาปWาของมนุษย> ทําให เกิดการเผาไหม พ้ืนท่ีปWาขนาดใหญ�ในแต�ละฤดูแล ง ซ่ึงความร อนน้ีถึงแม จะสูงไม�เพียงพอท่ีจะทําลายต นไม ใหญ�ในปWา แต�ก็ทําลายพืชต นอ�อนท่ีไม�ทนไฟหลายๆ ชนิด เมื่อระยะเวลาผ�านไป ความชุกของต นไม สายพันธุ>ท่ี

Page 26: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

20

ทนไฟได เพ่ิมข้ึนเป-นระยะ ในขณะท่ีความชุกของต นไม สายพันธุ>ท่ีไม�ทนไฟได ลดจํานวนลง ชะนีซ่ึงในอดีตเคยทําหน าท่ีเป-นตัวกระจายเมล็ดพันธุ>ต นไม ท่ีพวกมันหาอาหาร ก็ไม�สามารถท่ีจะทําเช�นน้ันได อีกต�อไป ผลกระทบอย�างเต็มรูปแบบต�อการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพของอุทยานแห�งชาติดอยสุเทพ-ปุย และผลกระทบทางสุขภาพท่ีเกิดข้ึนของประชากรในจังหวัดเชียงใหม�จากการเปลี่ยนแปลงเหล�าน้ัน ยังไม�ได รับการประเมินอย�างเต็มท่ี

การเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพท้ังหมดไม�ใช�เพียงแต�มนุษย>เท�าน้ัน ในยุคแคมเบรียนเมื่อ 540 ล านปZท่ีผ�านมา ก�อนท่ีจะมีมนุษย>เกิดข้ึนบนโลก เป-นยุคท่ีมีการขยายเผ�าพันธุ>ใหม�ข้ึนอย�างรวดเร็ว หลังจากน้ันในอีกหลายๆ ยุคต�อมาได มีการลดการขยายของเผ�าพันธุ>ลง ซ่ึงความหลากหลายทางชีวภาพได ลดลงมากท่ีสุดในช�วง 250 ล านปZท่ีผ�านมา3 ป\จจุบัน คนบางกลุ�มเช่ือว�าเรากําลังอยู�ในช�วงกลางของยุคใหม� เหตุการณ>การสูญเสียต�างๆ ท่ีเกิดจากการกระทําของมนุษย> เกิดเน่ืองมาจากการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพในป\จจุบันซ่ึงเกิดข้ึนท่ัวโลก4 ไม�ว�าแท ท่ีจริงแล วเราจะมุ�งไปสู�จุดต่ําสุดของความหลากหลายทางชีวภาพหรือไม� แต�ก็ไม�สามารถปฏิเสธได ว�าการลดจํานวนลงของสายพันธุ>พืชและสัตว> และบางชนิดก็ใกล ท่ีจะสูญพันธุ> เกิดเน่ืองมาจากการกระทําของมนุษย> ซ่ึงขอบเขตของผลกระทบต�อสุขภาพของมนุษย>และสัตว>ท่ีเกิดจากการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพยังคงถูกประเมินอยู�

3.2 จํานวนประชากรท่ีเพ่ิมขึ้นและทรัพยากรท่ีมีอยู$อย$างจํากัด

ป\จจุบัน มีการเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากรอย�างรวดเร็ว จากช�วงเริ่มต นท่ีมีมนุษย>เกิดข้ึนบนโลก ใช ระยะเวลาจนถึงปZ 1800 จึงมีประชากรท้ังหมดในโลกหน่ึงพันล านคน ตั้งแต�ปZ 1987 ใช ระยะเวลาเพียง 11 ปZ มีจํานวนประชากรเพ่ิมข้ึนจากเดิมถึง 1 พันล านคน และในปZ 2011 มีจํานวนประชากรในโลกท้ังหมด 7 พันล านคน5 การเพ่ิมข้ึนของประชากรท่ีเกิดอย�างรวดเร็วน้ี ส�งผลกระทบสําคัญหลายด านต�อสุขภาพมนุษย> สุขภาพสัตว> และสิ่งแวดล อม ตัวอย�างเช�น ปฏิสัมพันธ>ระหว�างมนุษย>กับสัตว>ปWาเพ่ิมสูงข้ึน ความต องการโปรตีนจากเน้ือสัตว>เพ่ิมสูงข้ึนท้ังจากขนาดประชากรท่ีเพ่ิมข้ึน และจากการพัฒนาของเศรษฐกิจ ซ่ึงสถานการณ>ท่ีเกิดข้ึนน้ีมีแนวโน มท่ีจะเพ่ิมความเสี่ยงของการเกิดโรคและการแพร�ของโรคติดต�อระหว�างสัตว>และคน6 การเตรียมความพร อมในการรับมือกับป\ญหาสุขภาพและความเป-นอยู�ท่ีเกิดจากความหนาแน�นของประชากรท่ีคาดไม�ถึงในอนาคต เป-นหน่ึงในความท าทายท่ีสําคัญของ EcoHealth

Page 27: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

21

3.3 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอากาศในระยะยาวในภูมิภาคท่ีจําเพาะหรือท่ัวโลก นักวิทยาศาสตร>ได ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในโลกมาเป-นเวลากว�าศตวรรษ แต�แนวคิดเก่ียวกับผลกระทบและผลลบท่ีจะเกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได กลายเป-นท่ียอมรับอย�างกว างขวางว�าเป-นความเป-นจริงในช�วงทศวรรษท่ีผ�านมา หน่ึงในแรงผลักดันท่ีสําคัญท่ีทําให การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป-นประเด็นท่ีถูกให ความสนใจอย�างแพร�หลายก็คือ ภาพยนตร>สารคดีในปZ 2006 เรื่อง “An Inconvenient Truth” โดยรองประธานาธิบดีสหรัฐอัลกอร> ป\ญหาหน่ึงท่ีสําคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ ภาวะโลกร อน กว�า 100 ปZท่ีผ�านมา อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกได เพ่ิมสูงข้ึน 0.74±0.18 องศาเซลเซียส ตามแบบจําลองบรรยากาศ สามารถคาดการณ>ได ว�าในช�วงปZ 2001 ถึง 2100 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพ่ิมสูงข้ึนอีก 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส7 แม ว�าการเปลี่ยนแปลงน้ีจะไม�ได เป-นไปในรูปแบบเดียวกัน โดยในบางพ้ืนท่ีของโลกจะมีอากาศหนาวเย็นลง ในขณะท่ีบางพ้ืนท่ีอากาศอบอุ�นข้ึน รูปแบบของปริมาณนํ้าฝนและความแห งแล งยังคงมีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ พ้ืนท่ี อย�างน อยบางส�วนของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบปริมาณนํ้าฝน สามารถนํามาสู�การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของนํ้าทะเลได 8 ซ่ึงระดับการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศต�อมนุษย>ยังคงเป-นท่ีถกเถียงกันอยู�ในป\จจุบัน9

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและปริมาณนํ้าฝน สามารถนําไปสู�การเพ่ิมข้ึนของอุบัติการณ>การเกิดโรคได โดยตรง ซ่ึงตัวอย�างโรคท่ีสําคัญ ได แก� มาลาเรีย และไข เลือดออก มาลาเรียเกิดจากปรสิตในสกุลพลาสโมเดียม โดยมีพาหะของโรคคือยุงก นปล�อง (Anopheles) ในขณะท่ีพาหะของเช้ือไวรัสไข เลือดออกคือยุงลาย (Aedes) โรคท้ังสองโรคน้ี อุณหภูมิท่ีอุ�นข้ึนทําให ยุงขยายขอบเขตเข าไปยังพ้ืนท่ีท่ีเคยมีอากาศเย็นมาก�อน ในขณะท่ีฝนท่ีตกหนักกว�าปกติจะเป-นการเพ่ิมปริมาณของแหล�งนํ้าน่ิง ซ่ึงเป-นแหล�งเพาะพันธุ>ของยุง ทําให ยุงเพ่ิมจํานวนมากข้ึน อุณหภูมิของนํ้าท่ีอุ�นข้ึนยังช�วยเพ่ิมปริมาณของกkาซคาร>บอนไดออกไซด>ท่ีละลายในนํ้า ปริมาณคาร>บอนไดออกไซด>ท่ีเพ่ิมข้ึนจะช�วยให ตัวอ�อนของยุงเจริญเติบโตเป-นตัวเต็มวัยได อย�างรวดเร็ว จากวงจรชีวิตของยุงลายท่ีต องใช ระยะเวลา 7 วันในการเจริญเติบโตเป-นตัวเต็มวัย ได ลดระยะเวลาเหลือเพียง 5 วัน ส�งผลให จํานวนยุงเพ่ิมข้ึนอย�างรวดเร็ว นอกจากน้ี ยุงลายซ่ึงเป-นยุงท่ีหากินในเวลากลางวัน ป\จจุบันสามารถหากินในเวลากลางคืนได เช�นกัน เน่ืองมาจากอุณหภูมิของสิ่งแวดล อมท่ีอุ�นข้ึน อีกตัวอย�างหน่ึงคือ การเพ่ิมจํานวนของพยาธิใบไม ในเลือดท่ีทําให เกิด

Page 28: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

22

โรค Schistosomiasis ในประเทศจีน ซ่ึงเป-นโรคท่ีมาจากหอยทาก10 องค>การอนามัยโลกได สรุปว�าภาวะโลกร อนท่ีเกิดข้ึนตั้งแต�ประมาณปZ 1970 ได ก�อให เกิดการเสียชีวิตของประชากรเกินกว�า 140,000 รายต�อปZ ในปZ 20049

รูป 3-1 แสดงการแพร�กระจายของเช้ือไวรัสไข เลือดออก จากคนท่ีติดเช้ือไปสู�ยุงลาย และจากยุงลายมายังคน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังมีผลกระทบต�อสุขภาพของมนุษย>และสัตว> จากการเพ่ิมความรุนแรงของภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช�น พายุ และนํ้าท�วม ทําให อุบัติการณ>การเกิดโรคท่ีมากับนํ้าเพ่ิมข้ึน ผลท่ีเกิดข้ึนคือโรคท่ีเคยหายไปแล วหรือโรคท่ีสามารถควบคุมได แล วในอดีตได เกิดข้ึนอีกครั้ง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได เกิดความเลวร ายมากข้ึน จากการท่ีคนมีการเดินทางท่ัวโลกมากข้ึนในป\จจุบัน ซ่ึงอาจทําให เกิดการส�งผ�านโรคจากพ้ืนท่ีหน่ึงไปยังอีกพ้ืนท่ีหน่ึง

รูป 3-2 แสดงผลท่ีเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศทําให เกิด ความรุนแรงของพายุท่ีเพ่ิมขึ้นและเกิดนํ้าท�วม เกิดอุบัติการณ>ของโรคท่ีมากับนํ้าเพ่ิมขึ้น

Page 29: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

23

นอกจากน้ี ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนกับสภาพอากาศท่ัวโลก การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของนํ้าทะเลส�งผลกระทบต�อสุขภาพของสัตว>นํ้า โดยเฉพาะอย�างย่ิงในพ้ืนท่ีนํ้าตื้นหรือบริเวณชายฝ\nงทะเล ซ่ึงมีสัตว>นํ้า เช�น หอยนางรม หอยกาบ หอยสองฝา และกุ งอาศัยอยู� อุณหภูมินํ้าทะเลท่ีอุ�นข้ึนส�งผลให เช้ือวิบริโอ (Vibrio spp.) เจริญเติบโตได ดีข้ึน ซ่ึงเช้ือน้ีเป-นเช้ือแบคทีเรียท่ีพบได ในสัตว>ทะเล หอยสองฝาเป-นสัตว>ทะเลชนิดหน่ึงท่ีมีการปนเปopอนของเช้ือวิบริโอ พาราเฮโมไลติคัส (V. parahaemolyticus) ผ�านทางการกินอาหาร ซ่ึงหอยชนิดน้ีจะกินอาหารโดยการกรองเอานํ้าทะเลเข าไป เพ่ือกินแพลงก>ตอนพืชและสัตว> ซ่ึงหากนํ้าทะเลมีเช้ือวิบริโออยู� เช้ือจะเข าไปในเน้ือและอวัยวะภายในของหอยสองฝา เช�นเดียวกับกุ งท่ีหาอาหารโดยใช ปากซ่ึงอยู�ด านล�างของลําตัว พวกมันจะหาอาหารจากโคลนท่ีอยู�ใต บ�อซ่ึงเป-นบริเวณท่ีมีเช้ือวิบริโออยู�เป-นจํานวนมาก11 อาหารทะเลท่ีติดเช้ือ หากผ�านวิธีการปรุงท่ีไม�เหมาะสม สามารถทําให เกิดโรคอาหารเป-นพิษในมนุษย>ได 12 ป\ญหาน้ีเกิดข้ึนโดยเฉพาะอย�างย่ิง ในพ้ืนท่ีท่ีนิยมบริโภคอาหารทะเลดิบ เช�น หอยนางรม หอยแมลงภู� และกุ งแช�นํ้าปลา ซ่ึงบางคนมีความเข าใจท่ีผิดๆ ว�าการแช�อาหารทะเลในนํ้าปลาน้ันจะสามารถฆ�าเช้ือโรคได ซ่ึงอาการของการติดเช้ือวิบริโอ ได แก� ท องเสีย อาเจียน และปวดเกร็งท อง

จากตัวอย�างข างต น แสดงให เห็นชัดเจนว�าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบท่ีมีต�อสุขภาพและสิ่งแวดล อมน้ัน เก่ียวข องกับการมีปฏิสัมพันธ>ท่ีซับซ อนของหลายๆ ป\จจัยทางด านกายภาพ ภูมิศาสตร> สังคมและการเมือง13

แผนภาพด านล�าง ซ่ึงจัดทําโดยแมคไมเคิลและวิลคอกซ> แสดงให เห็นถึงภาพรวมของระบบใหญ�ๆ ท่ีเก่ียวข องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและปฏิสัมพันธ>ระหว�างระบบน้ันๆ การวิจัยร�วมกันของหลากหลายสาขา หรือ Transdisciplinary research โดยใช การศึกษาแบบ EcoHealth สามารถช�วยคลี่คลายป\ญหาปฏิสัมพันธ>ท่ีซับซ อนน้ีได

3.4 การใช*ท่ีดินและการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมหน*าดิน

3.4.1 ลักษณะสังคมเมือง

ความเป-นไปได ในการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร>ท่ีสําคัญท่ีสุด ในการกระจายของประชากรซ่ึงเพ่ิมมากข้ึนในสังคมเมือง ในปZ 1800 มีประชากรในโลกเพียง 2 เปอร>เซ็นต>เท�าน้ันท่ีอาศัยอยู�ในเขตชุมชนเมือง15 ซ่ึงสัดส�วนของประชากรท่ีอาศัยอยู�ในเขตชุมชนเมืองได เติบโตข้ึนเป-น 50 เปอร>เซ็นต> ในปZ 200816 ประชากรในเขตชุมชนเมืองของประเทศไทยในปZ พ.ศ. 2553 คิดเป-น 34 เปอร>เซ็นต>ของประชากรท้ังหมด โดยมีอัตราการ

Page 30: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

24

เจริญเติบโต 1.8 เปอร>เซ็นต>ต�อปZ17 ซ่ึงหากอัตราการเจริญเติบโตของชุมชนเมืองไม�มีการเปลี่ยนแปลง จํานวนประชากรท่ีอาศัยอยู�ในเขตชุมชนเมืองในประเทศไทยจะเพ่ิมข้ึนเป-น เท�าตัว โดยจะเท�ากับ 68 เปอร>เซ็นต>ในปZ พ.ศ. 2591

รูป 3-3 แสดงปฏิสัมพันธ>ของระบบท่ีเกี่ยวข องกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ14

ความหนาแน�นของประชากรท่ีค�อนข างสูงในเขตชุมชนเมือง ทําให เกิดความหลากหลายของป\ญหาสุขภาพและสิ่งแวดล อมท่ีอาจเกิดข้ึน รวมท้ังการขาดแคลนนํ้าและการสุขาภิบาล ขาดการกําจัดขยะท่ีเหมาะสม และมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม องค>การอนามัยโลกอ างอิงถึงความท าทายอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข องกับสุขภาพของประชากรท่ีอาศัยอยู�ในชุมชนเมือง รวมท้ัง “ความรุนแรงและการบาดเจ็บ โรคไม�ติดต�อ (โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน และโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง) อาหารท่ีไม�มีประโยชน>ต�อสุขภาพและการไม�ออกกําลังกาย อันตรายจากการดื่มเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล> และความเสี่ยงท่ีเก่ียวข องกับการระบาดของโรค” การใช ชีวิตในเมือง และความกดดันท่ีเพ่ิมข้ึนของการตลาดมวลชน การเลือกบริโภคอาหารท่ีไม�มีประโยชน>ต�อร�างกาย การเข าถึงการใช เครื่องจักรกลและการขนส�ง สิ่งเหล�าน้ีล วนมีผลต�อการดําเนินชีวิตซ่ึงส�งผลโดยตรงต�อสุขภาพ18 จากข อมูลของสํานักอ างอิงประชากร กรุงวอชิงตัน ดีซี ได เพ่ิมการติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ และโรคพยาธิในรายการของป\ญหาสุขภาพท่ีพบได ในชุมชนเมือง15

Page 31: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

25

3.4.2 ระบบการเกษตรแบบเข*มข*น

การเจริญเติบโตของประชากรโลกและระดับรายได เฉลี่ยท่ีสูงข้ึน ส�งผลให เกิดความต องการทางด านอาหารท่ีเพ่ิมข้ึน จากการท่ีท่ีดินท่ีใช ในการเพาะปลูกในโลกมีอยู�อย�างจํากัด การเพ่ิมการผลิตอาหารจะสามารถทําได โดยการเพ่ิมการผลิตโดยวิธีการเกษตรแบบเข มข น โดยมีสัดส�วนของท่ีดินรกร างต่ํา การใช ป\จจัยการผลิตท่ีสูงในด านทุนและแรงงานต�อหน�วยพ้ืนท่ี และมีการใช ยาฆ�าแมลงและปุsยเคมีเป-นปริมาณมาก การใช ระบบการเกษตรแบบเข มข นท่ีมากเกินไปในบางพ้ืนท่ี ส�งผลต�อคุณภาพในการย�อยสลายของดิน การสะสมความเค็มในพ้ืนท่ีชลประทาน การสกัดท่ีมากเกินไปและมลพิษจากนํ้าบาดาล การดื้อต�อยากําจัดศัตรูพืชท่ีเพ่ิมมากข้ึนของศัตรูพืชท่ีทําลายผลผลิตทางการเกษตร ผลท่ีเกิดข้ึนเป-นป\ญหาสําคัญในการลดกําลังการผลิตอาหาร ผลกระทบเหล�าน้ี จะรุนแรงข้ึนหากเกษตรกรเปลี่ยนมาทําการเกษตรแบบเชิงเดี่ยวแทนการทําเกษตรแบบหมุนเวียน

รูป 3-4 แสดงการใช ยากําจัดศัตรูพืชท่ีมากขึ้นทําให ศัตรูพืช เกิดการด้ือต�อยาเพ่ิมมากขึ้น

การผลิตปศุสัตว>เป-นส�วนหน่ึงท่ีสําคัญของระบบการเกษตรแบบเข มข น จากการท่ีรายได ของประชากรท่ัวโลกเพ่ิมสูงข้ึน ความต องการต�อหัวสําหรับผลิตภัณฑ>จากสัตว>ได เพ่ิมสูงข้ึน โดยเฉพาะเน้ือสัตว>และนม ความต องการน้ีทําให เกิดภาระท่ีเพ่ิมข้ึนของท่ีดินเกษตรกรรม 68 เปอร>เซ็นต> ซ่ึงเป-นทุ�งหญ าถาวรท่ีใช ในการผลิตปศุสัตว>19 เมื่อมีการเลี้ยงสัตว>ต�อหน�วยพ้ืนท่ีหนาแน�นข้ึน ความเสี่ยงต�อการติดเช้ือ รวมถึงโรคติดต�อระหว�างสัตว>และคนก็เพ่ิมมากข้ึน

Page 32: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

26

3.5 คุณภาพอากาศ

คุณภาพอากาศถูกกําหนดให เป-นตัวช้ีวัดของสภาพอากาศ ซ่ึงมีความสัมพันธ>กับความต องการของสิ่งมีชีวิตหน่ึงหรือมากกว�าหน่ึงสายพันธุ> หรือความต องการใดๆ ของมนุษย> หรือวัตถุประสงค>20 คุณภาพของอากาศมักจะหมายถึงคุณภาพของอากาศกลางแจ ง รวมถึงอากาศในร�ม คุณภาพของอากาศในพ้ืนท่ีปTด เช�น บ าน โรงเรียน หรือท่ีทํางาน เป-นสิ่งจําเป-นสําหรับสุขภาพท่ีดี ความใส�ใจต�อคุณภาพอากาศไม�ใช�แนวคิดใหม� ในปZ ค.ศ. 61 จากคําพูดของเซเนก าซ่ึงเป-นนักปราชญ>โรมันท่ีว�า “ทันทีท่ีฉันหนีออกมาจากอากาศท่ีเลวร ายในกรุงโรมและกลิ่นเหม็นจากปล�องควัน ซ่ึงเมื่อไอระเหยและเขม�าอะไรก็ตามท่ีเป-นพิษถูกกวนออกมาและถูกล อมรอบเอาไว ฉันรู สึกถึงการเปลี่ยนแปลงในอารมณ>ของฉัน”21

ป\ญหามลพิษทางอากาศในวันเซเนก า เป-นผลมาจากการเผาไหม ฟoนสําหรับการปรุงอาหารและการให ความร อน นํ้ามันสําหรับการจุดไฟให แสงสว�าง และกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการผลิตโลหะและอิฐ แม ว�าการเผาไหม เช้ือเพลิงมีการเปลี่ยนแปลงนับตั้งแต�น้ันเป-นต นมา การเผาไหม ยังคงเป-นสาเหตุใหญ�ของการเกิดมลพิษทางอากาศ เช�น กระบวนการผลิตกระแสไฟฟuา ยานยนต> และอุตสาหกรรม ยกตัวอย�างเช�น โรงงานผลิตไฟฟuาแม�เมาะ จังหวัดลําปาง มีการเผาไหม ถ�านหินและลิกไนต>ซ่ึงมีส�วนประกอบของกํามะถันสูง ทําให มีการปล�อยกkาซซัลเฟอร>ต�อวันประมาณ 1.6 ล านตัน และมีการปล�อยบางส�วนของกkาซคาร>บอนไดออกไซด>ออกสู�บรรยากาศประมาณ 4 ล านตันต�อปZ22 กํามะถันท่ีอยู�ในรูปของซัลเฟอร>ไดออกไซด> มีส�วนเก่ียวข องกับป\ญหาการหายใจ เช�น โรคหอบหืด การหายใจลําบาก และหายใจถ่ี กkาซซัลเฟอร>ไดออกไซด>เป-นหน่ึงในสารตั้งต นท่ีสําคัญของการเกิดฝนกรด ซ่ึงทําให ดิน ทะเลสาป และลําธารมีความเป-นกรด23

ในพ้ืนท่ีชนบทของประเทศไทย (และเมืองท่ีอยู�ข างเคียงกับพ้ืนท่ีชนบท เช�น เชียงใหม�) คุณภาพของอากาศได รับผลกระทบจากการเผาพ้ืนท่ีการเกษตรแบบดั้งเดิมในช�วงฤดูแล ง ซ่ึงเกษตรกรบางคนเช่ือว�า การเผาเศษพืชจากการทําการเกษตรจะช�วยปuองกันความเสียหายจากแมลงในการทําการเพาะปลูกในปZถัดไป โดยการทําลายไข�และตัวอ�อนของแมลงศัตรูพืชเหล�าน้ัน ในขณะท่ีมันเป-นความจริงท่ีศัตรูพืชบางชนิดถูกทําลายได ด วยการเผา มีการปฏิบัติทางวัฒนธรรมหลายๆ อย�างท่ีจะช�วยให บรรลุเปuาหมายโดยท่ีไม�ก�อให เกิดผลกระทบทางลบจากการเผาไหม 24 เหตุผลอ่ืนในการเผาพ้ืนท่ีการเกษตรเกิดเน่ืองมาจากความเช่ือท่ีผิดท่ีเช่ือว�าเถ าจากการเผาไหม จะช�วยให ดินมีคุณภาพดีข้ึน25

Page 33: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

27

การเกิดข้ึนของเหตุการณ>ซ่ึงมีผลกระทบต�อต�อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล อม จากการรั่วของบ�อนํ้ามันในอ�าวเม็กซิโก ทําให มีการกระจายของนํ้ามันไปยังบริเวณโดยรอบ ซ่ึงเหตุการณ>น้ันส�งผลกระทบต�อนกกระทุงท่ีอาศัยอยู�บนเกาะแรคคูนกว�า 60,000 ตัว ในรัฐหลุยเซียน�าในประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเกาะน้ีเป-นแหล�งผสมพันธุ>ของนกกระทุงท่ีใหญ�ท่ีสุด ทําให มีนกล มตายเป-นจํานวนมาก ภายหลังจากภัยพิบัติทางระบบนิเวศในครั้งน้ัน แทบจะไม�พบนกกระทุงอาศัยอยู�บนเกาะแห�งน้ันอีกเลย

รูป 3-5 แสดงการปล�อยควันพิษของโรงงานอุตสาหกรรมและยานพาหนะ ทําให เกิดมลพิษทางอากาศและภาวะโลกร อน

3.6 คุณภาพน้ํา

คําจํากัดความของคุณภาพนํ้า มีความหมายใกล เคียงไปในทางเดียวกับคุณภาพอากาศ คือ ตัวช้ีวัดสภาวะของนํ้า ซ่ึงมีความสัมพันธ>กับความต องการของสิ่งมีชีวิตหน่ึงหรือมากกว�าหน่ึงสายพันธุ> หรือความต องการใดๆ ของมนุษย> หรือวัตถุประสงค> ตัวช้ีวัดคุณภาพนํ้าบางตัวง�ายต�อการตรวจวัด หน่ึงในตัวช้ีวัดท่ีง�ายต�อการตรวจสอบ คือ อุณหภูมิของนํ้า ซ่ึงสามารถวัดได โดยการใช เทอร>มอมิเตอร>อย�างง�าย อุณหภูมิของนํ้ามีผลกระทบต�อสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู�ในนํ้า สิ่งมีชีวิตบางชนิดเจริญเติบโตได ในนํ้าอุ�น ในขณะท่ีสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืนเจริญได ในนํ้าเย็น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของนํ้าย�อมจะมีผลร ายต�อสิ่งมีชีวิตเหล�าน้ัน นอกจากน้ี การวัดความขุ�นของนํ้าเป-นอีกตัวช้ีวัดหน่ึงท่ีสามารถทําได ง�าย โดยใช เครื่องมือท่ีเรียกว�า เครื่องมือวัดความโปร�งแสง หรือ เซคิดิสก> (Secchi disk)26 โดยการหย�อนจานเซคิดิสก>ลงไปในนํ้าจนถึงระดับท่ีไม�สามารถมองเห็นจาน ทําการบันทึกความลึกระดับท่ีไม�สามารถมองเห็นจานวัดน้ัน และนํามาเทียบกับค�าดัชนีความขุ�น สิ่งมีชีวิตบางชนิดเจริญได ในนํ้าท่ีค�อนข างใส ในขณะท่ีสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืนต องอาศัยอยู�ในนํ้าขุ�นเพ่ือซ�อนตัวเองจากผู ล�า เช�นเดียวกับอุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงความขุ�นของนํ้าทําให เกิดผล

Page 34: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

28

กระทบต�อสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู�ในนํ้า การปล�อยนํ้าท้ิงจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู�แหล�งนํ้าเป-นสาเหตุหน่ึงท่ีทําให นํ้ามีความขุ�นเพ่ิมมากข้ึน

การวัดค�าตัวช้ีวัดคุณภาพนํ้าอ่ืนๆ ต องอาศัยเครื่องมือพิเศษในห องปฏิบัติการ เช�น การระบุหาเช้ือท่ีก�อให เกิดโรค หน่ึงในเช้ือก�อโรคน้ันคือ เช้ือวิบริโอ คอเลอเร (Vibrio cholera) ซ่ึงทําให เกิดอหิวาตกโรคและท องร�วงอย�างรุนแรง27 การแพร�กระจายของโรคน้ีมักจะเกิดจากการรับประทานอาหารและนํ้าท่ีไม�ถูกสุขลักษณะ เช้ือวิบริโอ คอเลอเรจะอยู�ในลําไส และอุจจาระของคนและสัตว>ท่ีติดเช้ือ อุจจาระท่ีขับออกมาสามารถติดไปยังแหล�งนํ้าธรรมชาติหรือนํ้าเสีย ส�งผลให เกิดการแพร�กระจายของโรค โรคน้ีมักจะเกิดในชุมชนท่ีมีผู ปWวย และชุมชนท่ีใช แหล�งนํ้าตามธรรมชาติในการอุปโภคบริโภค หรือในพ้ืนท่ีท่ีไม�มีโครงสร างพ้ืนฐาน เช�น ห องนํ้า

รูป 3-6 แสดงจานวัดความโปร�งแสง (Secchi disk) ซ่ึงใช ในการวัดความขุ�นของนํ้า การปล�อยนํ้าท้ิงลงในแหล�งนํ้าธรรมชาติทําให ความขุ�นของนํ้าเพ่ิมขึ้น

แหล�งหน่ึงของเช้ือโรคเกิดจากนํ้าท่ีไหลมาจากพ้ืนท่ีการเกษตรของชาวนาท่ีมีการใช ปุsยจากมูลสัตว> ซ่ึงเป-นป\ญหาท่ีร ายแรง โดยเฉพาะอย�างย่ิงเมื่อสิ่งปฏิกูลถูกสูบลงสู�ทะเลโดยตรง ถึงแม นํ้าท่ีมีความเค็มจะสามารถปนเปopอนกับเช้ือแบคทีเรียในอุจจาระก็ตาม

การติดเช้ือสามารถเกิดภายหลังจากการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช�น การเกิดแผ�นดินไหวครั้งล�าสุดท่ีเฮติ ในกรณีท่ีเกิดข้ึน เกิดการแพร�ระบาดของโรคอหิวาต>เน่ืองจากหลังจากท่ีบ านของประชาชนเกิดความเสียหายจากแผ�นดินไหว ผู คนจํานวนมากต องอาศัยอยู�รวมกันในศูนย>พักพิงผู ประสบภัย ทําให ยากต�อการจัดการของเสียและขยะ รวมท้ังร�างกายของมนุษย>และสัตว> ผลท่ีเกิดข้ึนคือศูนย>อพยพได กลายเป-นท่ีสะสมของโรค

Page 35: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

29

ต�างๆ รวมไปถึงอหิวาต> นอกจากน้ี ความเสียหายท่ีเกิดกับระบบสาธารณูปโภค ทําให ประชาชนต องใช นํ้าจากแหล�งธรรมชาติซ่ึงปนเปopอนไปด วยสิ่งปฏิกูล และกลายเป-นแหล�งกักเก็บโรค

3.7 การจัดการของเสีย

รูปแบบการดําเนินชีวิตของมนุษย>สามารถส�งผลกระทบโดยตรงต�อสิ่งแวดล อม ซ่ึงผลกระทบน้ันจะกลับมาส�งผลต�อสุขภาพของมนุษย>และสัตว> ขยะท่ีเกิดจากการกระทําของมนุษย>เป-นตัวอย�างท่ีดีในด านน้ี ปริมาณของขยะท่ีเกิดจากมนุษย>เพ่ิมข้ึนอย�างรวดเร็ว และส�วนใหญ�ขยะเหล�าน้ันไม�สามารถย�อยสลายได ตามธรรมชาติ หรือใช ระยะเวลานานกว�าทศวรรษในการย�อยสลาย การสะสมของขยะเหล�าน้ีส�งผลให เกิดการเพ่ิมจํานวนประชากรสัตว>และแมลงซ่ึงเป-นพาหะนําโรค หากใช วิธีเผาขยะเหล�าน้ี ก็จะทําให เกิดการปล�อยกkาซซ่ึงเป-นมลพิษต�ออากาศ และส�งผลกระทบในด านลบต�อคุณภาพชีวิตของมนุษย>และสัตว> การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย>สามารถช�วยปรับปรุงให สุขภาพของมนุษย>และสัตว>ดีข้ึน และช�วยรักษาสิ่งแวดล อมให น�าอยู� เช�น การใช ถุงผ าแทนถุงพลาสติกท่ีใช แล วท้ิง (ไม�สามารถย�อยสลายตามธรรมชาติได ) หรือการบรรจุอาหารลงในภาชนะบรรจุท่ีสามารถนํากลับมาใช ซ้ําได แทนการใช กล�องโฟม ซ่ึงสิ่งเหล�าน้ีสามารถลดปริมาณขยะหรือของเสียซ่ึงเป-นตัวแพร�กระจายของโรคได และสามารถช�วยพัฒนาคุณภาพอากาศให ดีข้ึน (รายละเอียดของสุขภาพสิ่งแวดล อมได กล�าวไว ในบทท่ี 3)

รูป 3-7 แสดงถุงพลาสติกและกล�องโฟมบรรจุอาหารซ่ึงถูกนํามาเทกองไว ในท่ีท้ิงขยะ ทําให กลายเป-นแหล�งของพาหะนําโรค และการเผาขยะทําให เกิดมลพิษทางอากาศ

การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช�น แผ�นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด พายุท่ีรุนแรง และนํ้าท�วม มักจะส�งผลกระทบต�อสุขภาพของมนุษย>และสัตว> นอกจากน้ี การสูญเสียชีวิตโดยตรงจากเหตุการณ>ต�างๆ สถานการณ>เหล�าน้ีย�อมจะส�งผลให เกิดป\ญหาสุขภาพอ่ืนๆ ต�อมนุษย>และสัตว> เกิดความเสียหายของทรัพย>สิน ทําให คนจํานวนมากไม�สามารถเข าถึง

Page 36: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

30

นํ้าสะอาดได การสัมผัสกับนํ้าท่ีปนเปopอนสามารถแพร�กระจายโรคได อย�างรวดเร็ว บรรดาผู ถูกทอดท้ิงท่ีไม�มีท่ีอยู�อาศัยมักจะอยู�กันอย�างหนาแน�นในค�ายผู ลี้ภัย ซ่ึงการสุขาภิบาลอาจจะไม�เพียงพอ ทําให เป-นอีกแหล�งหน่ึงท่ีมักจะพบการแพร�กระจายของโรค เช�น โรคอุจจาระร�วง โรคทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง และป\ญหาสุขภาพจิตท่ีเกิดจากความเครียด สัตว>เลี้ยงและปศุสัตว>ของคนอพยพมักจะตายเป-นจํานวนมาก และทําให มีการแพร� กระจายของโรคไปยังสัตว>ท่ีรอดชีวิต และอาจถูกส�งต�อไปยังมนุษย>

ขยะมูลฝอย หรือท่ีเรียกว�า “ขยะ” หรือ “มูลฝอย” โดยศูนย>สําหรับระบบท่ียั่งยืนได นิยามไว ว�าหมายถึง “ของเสีย เช�น สินค าท่ีทนทาน ได แก� ยางรถยนต> เฟอร>นิเจอร> และสินค าท่ีไม�ทนทาน ได แก� หนังสือพิมพ> จานหรือแก วพลาสติก ภาชนะและบรรจุภัณฑ> เช�น กล�องนม ห�อพลาสติก และของเสียอ่ืนๆ เช�น ของเสียจากคอกปศุสัตว> อาหาร ประเภทของของเสียเหล�าน้ีโดยท่ัวไปหมายถึงของเสียท่ัวไปจากครัวเรือนและสํานักงาน และของเสียจากการค าปลีก แต�ไม�รวมถึงของเสียจากอุตสาหกรรม ของเสียท่ีเป-นอันตราย และของเสียจากการก�อสร าง”28

ขยะมูลฝอยเหล�าน้ีสามารถสร างความเสี่ยงท่ีอาจร ายแรงต�อสุขภาพและสิ่งแวดล อม และกลายเป-นแหล�งสะสมโรค โดยเฉพาะอย�างย่ิงโรคติดต�อระหว�างสัตว>และคนท่ีแพร�กระจายเช้ือโดยหนูและแมลง โดยท่ัวไปความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึนจากขยะมูลฝอยมีความสัมพันธ>อย�างใกล ชิดกับวงจรการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ประเทศท่ียากจนจะมีการสร างขยะค�อนข างน อยเมื่อคิดเป-นสัดส�วนต�อหัว ดังน้ันการกําจัดของเสียท่ีเกิดข้ึนจึงไม�ใช�ป\ญหาใหญ� ในประเทศท่ีกําลังพัฒนาด านเศรษฐกิจ จํานวนขยะต�อหัวจะเพ่ิมสูงข้ึน แต�มักจะมีความพยายามจากเจ าหน าท่ีเทศบาลในการจัดการกับปริมาณของเสียท่ีเพ่ิมข้ึนได ไม�เพียงพอและไม�มีประสิทธิภาพ เมื่อเวลาผ�านไป หากความเจริญทางด านเศรษฐกิจของประเทศยังคงเจริญเติบโตอย�างต�อเน่ือง อาจจะมีเงินทุนท่ีจะนํามาใช ในข้ันตอนการกําจัดขยะมูลฝอยอย�างเหมาะสม ดังน้ัน ประเทศท่ีกําลังมีการเจริญเติบโต แต�ยังค�อนข างจํากัดทางด านเศรษฐกิจ จะเผชิญกับความเสี่ยงทางด านสุขภาพและสิ่งแวดล อมท่ีใหญ�ท่ีสุดจากขยะมูลฝอย

การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การพัฒนาอย�างย่ังยืนของการจัดการขยะมูลฝอยในประเทศไทย” จัดข้ึนท่ีกรุงเทพมหานคร เมื่อวันท่ี 11 ตุลาคม 2553 สรุปสถานการณ>ซ่ึงเป-นส�วนหน่ึงของโลกน้ีว�า “การจัดการขยะมูลฝอยกลายเป-นป\ญหาสิ่งแวดล อมท่ีสําคัญสําหรับหลายประเทศในเอเชีย ของเสียท่ีเป-นขยะเกิดข้ึนกว�า 12,000 ล านตันท่ัวโลก ซ่ึงรวมถึงของเสียจากอุตสาหกรรมกว�า 11,000 ล านตัน และขยะมูลฝอย 1,600 ล านตัน

Page 37: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

31

พบว�า 4,400 ล านตันเป-นขยะท่ีเกิดข้ึนในทวีปเอเชีย (เป-นขยะมูลฝอย 790 ล านตัน) การจัดการขยะมูลฝอยในทวีปเอเชียใช งบประมาณกว�า 25,000 ล านดอลลาร>สหรัฐต�อปZ” ซ่ึงจะสังเกตได ว�า “สถานการณ>จะเลวร ายลง โดยเฉพาะอย�างย่ิงประเทศท่ีมีการพัฒนาทางด านเศรษฐกิจอย�างรวดเร็ว เช�น ประเทศไทย ซ่ึงปริมาณของเสียได เพ่ิมข้ึนในอัตราท่ีรวดเร็ว”29

การรีไซเคิลเป-นวิธีหน่ึงท่ีมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณขยะมูลฝอย ในขณะท่ีกระตุ นเศรษฐกิจก�อให เกิดรายได ตัวอย�างท่ีพบมากท่ีสุดคือการรีไซเคิลพลาสติก แก ว และภาชนะอลูมิเนียม อย�างไรก็ตาม การรีไซเคิลต องอาศัยการเปลี่ยนแปลงค�านิยมทางวัฒนธรรมและการปฏิบัติเพ่ือให เกิดประสิทธิภาพ ซ่ึงมักจะอธิบายโดยใช KAP คือ ความรู (Knowledge) ทัศนคติ (Attitude) และการปฏิบัติ (Practice) ส�วนท่ีเหลือน อยกว�าผลรวมของความพยายามท่ีมีประสิทธิภาพท่ีจะเปลี่ยน KAP ในเรื่องของการรีไซเคิลในประเทศไทยยังคงเห็นได อยู� หลายปZท่ีผ�านมา ทางรัฐบาลได จัดสรรงบประมาณในการซ้ือถังขยะท่ีมีสีต�างกันเพ่ือแยกชนิดของขยะ ซ่ึงจะพบได ในสถานท่ีสาธารณะท่ัวประเทศ

ในสวนสาธารณะจะมีการใช ถังขยะในการแยกประเภทของขยะท่ีแตกต�างกัน โดยจะมีท้ังหมด 5 สี30 แต�น�าเสียดายท่ีความพยายามท่ีจะให ความรู แก�ประชาชนท่ัวไปเก่ียวกับแนวคิดของการรีไซเคิล และประเภทของขยะท่ีเหมาะสมกับถังขยะแต�ละสีน้ันเกิดประสิทธิภาพต่ํา มีบริการประกาศของชุมชนเก่ียวกับชนิดของขยะท่ีจะใส�ลงไปในถังขยะแต�ละสี และมีการกระตุ นประชาชนด วย คําขวัญท่ีว�า “พลเมืองดีต องมีการแยกขยะ” ซ่ึงคล ายกับการรณรงค>ในโครงการ “ตาวิเศษ” เพ่ือท่ีจะลดป\ญหาการท้ิงขยะเรี่ยราด ผลลัพธ>ท่ีได จากโครงการน้ีคือ ประชาชนท้ิงขยะลงในถังขยะสีต�างๆ โดยท่ีไม�แยกประเภทของขยะ มีการท้ิงขวดนํ้าพลาสติกลงในถังขยะเดียวกับเศษอาหาร อีกด านหน่ึงของระบบ การจัดการของเสียโดยรถเก็บขยะไม�มีการจัดตารางเวลาในการเก็บขยะแยกประเภท โดยขยะทุกประเภทจะถูกเก็บรวมกันไว ในรถเก็บขยะคันเดียวกัน

คนเก็บขยะท่ีไปตามท่ีต�างๆ จะหาขยะท่ีสามารถนํามารีไซเคิลจากในถังขยะ และเป-นวัสดุท่ีทํารายได คนงานเก็บขยะของเทศบาลจะเลือกขยะก�อนท่ีจะเทรวมลงในรถเก็บขยะ โดยจะแยกเก็บขยะท่ีสามารถรีไซเคิลได ลงในถุงพลาสติก เพ่ือนําไปขายท่ีร านรับซ้ือของเก�าในภายหลัง

Page 38: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

32

รูป 3-8 แสดงถังขยะรีไซเคิลซ่ึงวางอยู�บนถนนทางขึ้นวัดในอุทยานแห�งชาติดอยสุเทพ ตัวหนังสือท่ีบอกหมวดหมู�ของขยะแทบจะไม�สามารถมองเห็นได ชัดเจน จากซ ายไปขวา คือ ขยะเปZยก กระปsอง พลาสติก ขยะท่ัวไป และแก ว

3.8 ป5ญหาท่ีเกี่ยวข*องกับการเกษตร

ป\ญหาท่ีเก่ียวข องกับการเกษตรหลายๆ ป\ญหาส�งผลกระทบต�อมนุษย> สัตว> และสิ่งแวดล อมซ่ึงอยู�ห�างไกลออกไปจากพ้ืนท่ีการเกษตร ตัวอย�างหน่ึงคือปุsยท่ีใช เพ่ือเพ่ิมผลผลิตในการเพาะปลูก เมื่อฝนตกจะเกิดการชะล างเอาปุsยบางส�วนจากพ้ืนดินลงสู�แม�นํ้าลําธาร โดยท่ัวไปปุsยจะมีส�วนประกอบของฟอสเฟต โพแทสเซียม และไนโตรเจนซ่ึงเป-นสารเคมีท่ีมักพบได ในระยะเวลาสั้นๆ ในแม�นํ้า ลําธาร และพ้ืนท่ีชายฝ\nงทะเล ไนโตรเจนและสารอาหารชนิดอ่ืนๆ ในนํ้าท่ีเพ่ิมข้ึน ทําให เกิดการเพ่ิมจํานวนของแพลงก>ตอนพืชข้ึนอย�างรวดเร็ว ส�งผลให เกิดการขยายตัวแบบผิดปกติของสาหร�ายทะเลท่ีเป-นอันตราย หรือท่ีเรียกว�า harmful algal blooms (HABs) สาหร�ายจะถูกกินโดยแบคทีเรียท่ีอาศัยออกซิเจน ทําให ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในนํ้าลดลง ส�งผลกระทบต�อปลาและสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืนท่ีอาศัยออกซิเจนในการดํารงชีวิต จากรายงานของกรีนพีซเก่ียวกับการศึกษาล�าสุดพบว�า HABs สามารถพบได บ�อยในสัตว>นํ้าท่ีอาศัยอยู�ในอ�างเก็บนํ้าในประเทศไทย ซ่ึงรวมถึงอ�างเก็บนํ้าบางพระในจังหวัดนครปฐม และเข่ือนแม�กวงอุดมธาราในจังหวัดเชียงใหม�31 การชะล างของปุsยลงสู�แหล�งนํ้า ทําให เกิดเขตมรณะ หรือ “Dead zone” ในอ�าวเม็กซิโก32 และอ�าวไทย33

Page 39: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

33

สารกําจัดศัตรูพืชเป-นอีกแหล�งหน่ึงท่ีนําไปสู�ป\ญหาสุขภาพท่ีเก่ียวข องกับการเกษตร ในประเทศกําลังพัฒนาหลายๆ ประเทศ มักจะไม�มีการประกาศหรือเผยแพร�เก่ียวกับอันตรายของสารกําจัดศัตรูพืช ในประเทศไทย ในช�วงปZ พ.ศ. 2523 พนักงานขายได แนะนําให เกษตรกรใช ยากําจัดศัตรูพืช โดยเฉพาะอย�างย่ิงในบริเวณท่ีราบสูงซ่ึงเพ่ิงเริ่มมีการใช ยากําจัดศัตรูพืช จึงถูกตั้งข อสังเกตว�า พนักงานขายไม�มีการแนะนําให เกษตรกรใส�รองเท าบูkต ถุงมือ และหน ากากเพ่ือปuองกัน ในขณะทําการสาธิตการใช ผลิตภัณฑ> เมื่อมีการสอบถามพนักงานขายว�าเหตุใดจึงไม�ใช อุปกรณ>ในการปuองกันอันตรายต�อร�างกาย จึงได คําตอบท่ีว�า เกษตรกรในฐานะท่ีเป-นลูกค าอาจจะมีความกังวลต�ออันตรายท่ีเกิดจากการใช สารเคมีได

ผู บริโภคเมื่อได รับสารตกค างจากยากําจัดศัตรูพืช อาจทําให เกิดป\ญหาต�อสุขภาพเน่ืองมาจากสารเคมีเหล�าน้ัน สารเคมีท่ีใช ในการเกษตรสามารถปนเปopอนหรือตกค างในอาหารตั้งแต�ข้ันตอนแรกของการผลิต น่ันคือ วัตถุดิบอาหารสัตว>ซ่ึงสะสมตามห�วงโซ�อาหารจะถูกส�งต�อมายังอาหารท่ีมนุษย>บริโภค สารเคมีเหล�าน้ันอาจจะมาจากระบบการผลิตทางการเกษตร และจากโรงงานอุตสาหกรรมท่ีเพ่ิมมากข้ึนจากการตอบสนองต�อความต องการด านอาหาร ตัวอย�างเช�น ยาฆ�าแมลงสามารถสะสมในดินและในแหล�งนํ้าธรรมชาติ จากการท้ิงขยะใกล แหล�งนํ้า หรือแหล�งท่ีมาของวัตถุดิบสําหรับอาหารของมนุษย> มนุษย>ท่ีบริโภคสัตว>ทะเลจากพ้ืนท่ีชายฝ\nงเป-นอาหาร ใกล พ้ืนท่ีชายฝ\nง จะมีการระบายตะกอนจากแม�นํ้าซ่ึงชะหน าดินออกมา ตะกอนเหล�าน้ันประกอบด วยแร�ธาตุซ่ึงมีประโยชน>ต�อพืชและสัตว>ทะเล ซ่ึงนอกจากสารท่ีมีประโยชน>แล ว ย�อมมีสารบางชนิดส�งผลกระทบในแง�ลบต�อสิ่งแวดล อมและแหล�งอาหารของมนุษย> สารเหล�าน้ีมาจากสารเคมีท่ีใช ในการเกษตรและขยะจากชุมชน ซ่ึงพืช สัตว>บก และสัตว>นํ้าเหล�าน้ีเป-นวัตถุดิบสําหรับอาหารมนุษย>

ถึงแม ว�าการผลิตอาหารเองสามารถก�อให เกิดความเสี่ยงได โดยตรง เช�น ยากําจัดศัตรูพืชท่ีอยู�ในกลุ�มนีโอนิโคตินอยด> ในขนาดท่ีไม�ก�อให เกิดอันตรายถึงข้ันเสียชีวิต เมื่อไม�นานมาน้ี พบว�าทําให เกิดการลดขนาดของรังผึ้ง (Bombus terrestris) ลง 8 ถึง 12 เปอร>เซ็นต> และลดจํานวนการผลิตผึ้งราชินีต�อรังจากประมาณ 14 ตัว เหลือ 2 ตัว34 ซ่ึงหากอัตราการเจริญพันธุ>ของแมลงผสมเกสรท่ีสําคัญเหล�าน้ีลดลง อาจหมายถึงการผลิตอาหารสําหรับมนุษย>จะลดลงอย�างมีนัยสําคัญ

Page 40: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

34

อ�างอิง 1. Conventional on Biological Diversity. What is biodiversity?. Available at

http://www.biodiv.be/biodiversity/about_biodiv/biodiv-what/. Accessed April 7, 2013.

2. Elliott S. The effects of urbanization on DoiSuthep-Pui National Park. Biology section, the science society of Thailand, 1994. Available at http://www.forru.org/PDF_Files/Publications/2007%20added%20publications/Elliot%20The%20Effects%20of%20Urbanization%201994.pdf. Accessed April 7, 2013.

3. National Geographic. Mass extinctions: what causes animal die-offs?. Available at http://science.nationalgeographic.com/science/prehistoric-world/mass-extinction/. Accessed April 7, 2013.

4. Subcommission on Quaternary Stratigraphy. Working group on the ‘Anthropocene’. Available at http://quaternary.stratigraphy.org/working groups/anthropocene/. Accessed April 7, 2013.

5. Worldometers. Current world population. Available at http://www.worldometers.info/world-population/. Accessed April 7, 2013.

6. Coker R, et al. Towards a conceptual framework to support one-health research for policy on emerging zoonoses. Lancet Infect Dis 2011;11:326–31.

7. National Aeronautics and Space Administration. GISS surface temperature analysis. Available at http://data.giss.nasa.gov/gistemp/graphs_v3/. Accessed April 7, 2013.

8. Union of Concerned Scientists. How Does Climate Change Contribute to Heavy Rain and Flooding?. Available at http://www.ucsusa.org/news/press_release/climate-change-heavy-rain-flooding-0540.html. Accessed April 7, 2013.

9. WHO. Climate change and health. Available at http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs266/en/. Accessed April 7, 2013.

10. Zhou XN, et al. Potential impact of climate change on Schistosomiasis transmission in China. Am J Trop Med Hyg 2008;78:188-94.

11. Koralage MS, Alter T, Pichpol D, Strauch E, Zessin KH, Huehn S. Prevalence and molecular characteristics of Vibrio spp. isolated from preharvest shrimp of the North Western province of Sri Lanka. J Food Prot 2012;75(10):1846-50.

12. DePaola A, Hopkins LH, Peeler JT, Wentz B, McPhearson RM. Incidence of Vibrio parahaemolyticus in U.S. coastal waters and oysters. Appl Environ Microbiol 1990;56(8):2299-302.

Page 41: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

35

Kaspar CW, Tamplin ML. Effects of temperature and salinity on the survival of Vibrio vulnificus in seawater and shellfish. Appl Environ Microbiol 1993;59(8):2425-9.

13. Ecohealth. EcoHealth 101. Available at http://www.ecohealth101.org/index.php. Accessed April 7, 2013.

14. McMichael AJ, Wilcox BA. Climate change, human health, and integrative research: a transformative imperative. EcoHealth 2009;6:163-4.

15. Population Reference Bureau [PRB]. Urbanization: an environmental force to be reckoned with. Available at http://www.prb.org/Articles/2004/UrbanizationAnEnvironmentalForcetoBeReckonedWith.aspx. Accessed April 7, 2013.

16. United Nations Population Fund. State of world population 2007: unleashing the potential of urban growth. Available at http://www.unfpa.org/webdav/site/global/shared/documents/publications/2007/695_filename_sowp2007_eng.pdf. Accessed April 7, 2013.

17. Index Mundi. Thailand urbanization. Available at http://www.indexmundi.com/thailand/urbanization.html. Accessed April 7, 2013.

18. WHO. Bulletin of the World Health Organization (BLT). Available at http://www.who.int/bulletin/volumes/88/4/10-010410/en/. Accessed April 7, 2013.

19. FAO Newsroom. Livestock a major threat to environment. Available at http://www.fao.org/newsroom/en/news/2006/1000448/index.html. Accessed April 7, 2013.

20. Johnson DL, Ambrose SH, Bassett TJ, Bowen ML, Crummey DE, Isaacson JS, et al. Meanings of environmental terms. J Environ Qual 1997;26:581-9.

21. WHO. Outdoor air pollution: children’s health and the environment. Available at http://www.who.int/ceh/capacity/Outdoor_air_pollution.pdf. Accessed April 7, 2013.

22. ADB – Development Debacles. The grievous Mae Moh coal power plant. Available at http://developmentdebacles.blogspot.com/2008/02/grievous-mae-moh-coal-power-plant.html. Accessed April 7, 2013.

23. Clean Air Trust. Sulfur dioxide. Available at http://www.cleanairtrust.org/sulfurdioxide.html. Accessed April 7, 2013.

24. Hill SB. Cultural methods of pest, primarily insect, control. Ecological Agriculture Projects. Available at http://eap.mcgill.ca/publications/eap58.htm. Accessed April 7, 2013.

Page 42: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

36

25. Cereal Knowledge Bank. Crop residue management. Available at http://www.knowledgebank.irri.org/ckb/agronomy-wheat/crop-residue-management.html. Accessed April 7, 2013.

26. Great North American Secchi Dip-In. The SecchiDisk. Available at http://www.secchidipin.org/secchi.htm. Accessed April 7, 2013.

27. Supawat K. General knowledge about infectious diseases and disease vectors: Vibrio cholera. National Institute of Health of Thailand, Department of Medical Sciences. Available at http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp? info_id=1086. Accessed April 7, 2013.

28. Center for Sustainable Systems. Municipal solid waste. Available at http://css.snre.umich.edu/css_doc/CSS04-15.pdf. Accessed April 7, 2013.

29. Sustainability of solid waste management in Thailand. Available at http://www.jgsee.kmutt.ac.th/seminar_programme/seminar.html. Accessed April 7, 2013.

30. 123RF. Stock Photo - five colors recycle bins in national park, Thailand. Available at http://www.123rf.com/photo_10932961_five-colors-recycle-bins-in-national-park-thailand.html. Accessed April 7, 2013.

31. Greenpeace. Dead zones: how agricultural fertilizers kill our rivers, lakes and oceans. Available at http://www.greenpeace.to/publications/dead-zones.pdf. Accessed April 7, 2013.

32. Science Daily. Fertilizer run-off from agricultural activities blamed for gulf dead zone in Gulf of Mexico. Available at http://www.sciencedaily.com/releases/2008/04/080421143836.htm. Accessed April 7, 2013.

33. Ibid. 34. Milius S. Pesticide-dosed bees lose future royalty, way home. Science News, 5 May

2012;181(9):8.

Page 43: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

บทที่ 4 ความเข าใจในด านสังคมและเศรษฐกิจของ EcoHealth

4.1 ความเข�าใจในด�านสังคมของ EcoHealth

4.1.1 ภาพรวมของป!จจัยทางสังคมและเศรษฐกิจท่ีเกี่ยวข�องกับ EcoHealth

EcoHealth เป�นนวัตกรรมของวิธีการวิจัย ท่ีรวมเอาสาขาวิชาสังคมศาสตร, เศรษฐศาสตร, และสาขาวิชาท่ีเก่ียวข1องกับสุขภาพแบบดั้งเดิม อย�างไรก็ตาม ยังมีงานวิจัยท่ีต1องทําอีกมากในด1านสังคมและเศรษฐกิจ ตามท่ีชาร,รอนได1กล�าวไว1ในป9 2012 ว�า “ในป>จจุบัน ยังไม�มีงานตีพิมพ,ใดท่ีมีประสิทธิภาพครอบคลุมผลการวิจัย EcoHealth อย�างเต็มรูปแบบ รวมถึงบริบททางด1านสังคมและเศรษฐกิจ และระบบนิเวศ”1 ผู1เขียนได1กล�าวต�อว�า “การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล1อม ซ่ึงได1แก� การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โลกาภิวัตน, การพัฒนาสู�สังคมเมือง การตัดไม1ทําลายปFา และการทําการเกษตรแบบเข1มข1น มีผลกระทบต�อสุขภาพของมนุษย,ร�วมกับความไม�เสมอภาคทางด1านเศรษฐกิจและสังคมระหว�างคนรวยและคนจนท่ัวโลก”2

ท้ังสังคมศาสตร,และเศรษฐศาสตร,มองหารูปแบบท่ีแตกต�างกันทางด1านพฤติกรรมของมนุษย, เช�นเดียวกับท่ีผู1เช่ียวชาญทางด1านการแพทย,มองหารูปแบบการทํางานทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต สังคมศาสตร,มุ�งเน1นไปท่ีสังคมมนุษย, และความสัมพันธ,ทางสังคม ส�วนเศรษฐศาสตร,เป�นการศึกษาวิธีการเลือกใช1ทรัพยากรของมนุษย, งานวิจัยทางสังคมศาสตร,ท่ีมีประสิทธิภาพ ต1องอาศัยการคิดเชิงระบบเช�นเดียวกับงานวิจัยทางด1านการแพทย,และสิ่งแวดล1อม การศึกษาแบบ EcoHealth เป�นเวทีสําหรับการรวบรวมความรู1ของรูปแบบพฤติกรรมทางสังคมและเศรษฐศาสตร,ของมนุษย, กับความรู1ในการดําเนินงานของระบบชีวภาพ

4.1.2 ผลกระทบทางสังคมจากป!ญหาสุขภาพ

ตัวช้ีวัดหลายตัวแสดงให1เห็นว�า ความเหลื่อมล้ําระหว�างคนรวยและคนจนท่ัวโลกจะเพ่ิมมากข้ึน จากความคิดเห็นของนักวิเคราะห,บางคนเช่ือว�าช�องว�างน้ีได1เพ่ิมมากข้ึนตั้งแต�ป9 19673 ช�องว�างระหว�างคนรวยและคนจนท่ีกว1าง หมายถึง คนท่ีมีฐานะจนมากๆ อาจจะไม�ได1รับประโยชน,จากการพัฒนาของเศรษฐกิจมากเท�าท่ีควร ตามท่ีชาร,รอนได1อธิบายถึงสถานการณ, “ช�องว�างระหว�างคนรวยและคนจนท่ีกว1าง หมายถึง คนท่ีมีฐานะจนมากๆ อาจจะไม�ได1รับประโยชน,จากการพัฒนาของเศรษฐกิจมากเท�าท่ีควร กิจกรรม

Page 44: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

38

การพัฒนาอาจมีการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ ในทางท่ีเป�นภัยคุกคามต�อความสามารถของคนในการหาอาหาร นํ้า และเช้ือเพลิง การแสวงผลประโยชน,จากระบบนิเวศท่ีมากเกินไม�สามารถทําให1มีวิถีชีวิตท่ีมีสุขภาพดียั่งยืนได1 และเป�นอันตรายต�อสุขภาพของมนุษย, ในหลายภูมิภาคท่ีกําลังพัฒนา คนท่ีมีชีวิตอยู�รอดไปวันๆ อาจจะไม�มีทางเลือกต�อกิจกรรมท่ีทําให1สภาพแวดล1อมเสื่อมเสียมากข้ึน และเป�นอันตรายต�อสุขภาพของพวกเขามากข้ึน4 “สถานการณ,ท่ียากลําบากและซับซ1อนเช�นน้ี มักจะถูกเรียกว�าเป�น “ป>ญหาท่ีเลวร1าย” น่ันคือ ป>ญหาซับซ1อนท่ีไม�สามารถแก1ป>ญหาได1ง�ายโดยใช1ความรู1เพียงแขนงเดียว”5

เพ่ือท่ีจะเตรียมความพร1อมในการตอบสนองต�อผลกระทบทางด1านสุขภาพและความเป�นอยู�ท่ีเหมาะสม ของช�องว�างทางเศรษฐกิจระหว�างคนรวยและคนจน จึงมีความจําเป�นท่ีจะต1องเริ่มพัฒนาความเข1าใจบริบททางสังคมท่ีเก่ียวข1อง การปรับปรุงตัวกําหนดทางสังคมของสุขภาพ ต1องอาศัยความเข1าใจของตัวกําหนดเหล�าน้ัน เน้ือหาในบทน้ีจะให1ภาพรวมของสิ่งท่ีเก่ียวข1องกับการวิจัยในทางสังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงการอธิบายแนวคิด KAP ซ่ึงได1แก� ความรู1 (knowledge) ทัศนคติ (attitude) และการปฏิบัติ (practice) ซ่ึงเป�นศูนย,กลางของการวิจัยทางด1านสังคมและเศรษฐกิจ โดยใช1การศึกษาแบบ EcoHealth

4.1.3 วิธีการทางสังคมศาสตร7สําหรับการศึกษาแบบ EcoHealth

การประยุกต,การวิจัยทางสังคมศาสตร,มักจะมุ�งเน1นไปท่ีการทําความเข1าใจกลุ�มท่ีทําการศึกษา ใน 3 ด1าน คือ ความรู1 ทัศนคติ และการปฏิบัติท่ีสัมพันธ,กับหัวข1อของงานวิจัย ป>จจัยท้ัง 3 ด1านน้ีมักจะถูกนํามาใช1ร�วมกันในทางสังคมศาสตร, และเรียกเป�นช่ือย�อท่ัวไปว�า KAP การสํารวจ KAP ดั้งเดิมเริ่มต1นข้ึนในการวางแผนครอบครัวและการศึกษาประชากรประมาณช�วงป9 1950 (พ.ศ. 2493) เพ่ือช�วยให1ผู1เช่ียวชาญทางด1านสาธารณสุขพัฒนาแผนการวางแผนครอบครัวท่ีเหมาะสม สําหรับภูมิภาคต�างๆ ท่ัวโลก6 สันนิษฐานได1ว�าแนวคิดท้ังสามมีความเก่ียวข1องในลักษณะท่ีเป�นเหตุเป�นผลซ่ึงกันและกัน ความรู1อยู�ภายใต1การสร1างสรรค,ของทัศนคติ ในทางกลับกัน ความรู1ส�งผลต�อการปฏิบัติของบุคคล ชุมชน และสังคม การพัฒนาความรู1ความเข1าใจของ KAP ในป>จจุบันของกลุ�มเปbาหมาย รวมท้ังบริบทของแนวคิดเหล�าน้ี เป�นข้ันตอนแรกในการวางแผนวิธีการเปลี่ยนมุมมองของ KAP ท่ีเลือก เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ�มเปbาหมาย

ในทางปฏิบัติ การวิจัยท่ีอยู�บนหลักการของ KAP มักจะใช1วิธีการท่ีหลากหลายแตกต�างกัน ท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ การใช1วิธีวิจัยท่ีหลากหลายในการศึกษาเดียวกัน เรียกว�า “วิธีวิจัยเชิงผสมผสาน” การใช1วิธีท่ีหลากหลายมากกว�าหน่ึงวิธีในการได1มาซ่ึง

Page 45: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

39

ข1อมูลเดียวกัน จะช�วยในการตรวจสอบสามเส1า (triangulation) ของสิ่งท่ีค1นพบ น่ันคือ การเปรียบเทียบผลท่ีได1จากบุคคลสองคนหรือมากกว�าจากการรวบรวมข1อมูลอิสระ ทําให1มั่นใจในความถูกต1องของข1อมูลและผลของการศึกษา แนวคิดวิธีวิจัยเชิงผสมผสานในการบูรณาการหลายๆ วิธีการในการศึกษาหน่ึงๆ ในการร�วมมือกันของศาสตร,หลายแขนงในทิศทางคู�ขนานของการศึกษาแบบ EcoHealth

ตัวอย�างการใช1 KAP ในโครงการวิจัยเมื่อไม�นานมาน้ี ซ่ึงใช1การศึกษาแบบ EcoHealth ในโครงการป9 2005 ดําเนินการโดยทีมนักวิจัยร�วมจากหลายสาขา จากศูนย, EcoHealth−One Health Resource Centre ในช�วงท่ีมีการระบาดของเช้ือไขหวัดนกชนิดก�อโรครุนแรง หรือ Highly Pathogenic Avian Influenza (HPAI) ในประเทศไทย โดยกลุ�มเปbาหมายในการใช1แนวคิด KAP ท่ีน�าสนใจคือ กลุ�มเกษตรกรผู1เลี้ยงสัตว,ป9ก ซ่ึงกลุ�มเหล�าน้ีเป�นกลุ�มท่ีกว1างและมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ เกษตรกรรายย�อยท่ีเลี้ยงสัตว,ป9กจํานวนน1อยเพ่ือส�งขายตลาดในปลายสายธุรกิจการผลิตขนาดเล็ก จะมีการเลี้ยงสัตว,ป9กแบบปล�อยอิสระภายในบริเวณบ1าน ส�วนใหญ�เกษตรกรรายย�อยจะขายส�งสัตว,ป9กไปยังตลาดในพ้ืนท่ี เพ่ือเป�นแหล�งของรายได1เสริม ผู1เลี้ยงรายใหญ�ท่ีปลายสายธุรกิจการผลิตเป�นธุรกิจขนาดใหญ�เพ่ือการค1า มีการเลี้ยงสัตว,ป9กจํานวนกว�าแสนตัว ผู1ผลิตรายใหญ�เหล�าน้ีมีการเลี้ยงสัตว,ป9กไว1ในโรงเรือนแบบปmด ซ่ึงสามารถควบคุมสภาพแวดล1อมภายนอกได1 นอกจากน้ี ยังมีผู1ผลิตขนาดกลาง ซ่ึงถูกกําหนดในแง�ของจํานวนสัตว,ป9กท่ีเลี้ยง และในแง�ของการควบคุมสภาพแวดล1อมท่ีใช1ในการเลี้ยงสัตว,ป9ก

รูป 4-1 แสดงสัตว,ป9กท่ีเป�นโรคไข1หวัดนกซ่ึงเป�นโรคอุบัติใหม�ท่ีมีความรุนแรง

ผู1ผลิตแต�ละกลุ�มมีมุมมองท่ีแตกต�างกันเก่ียวกับความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึนจากโรคไข1หวัดนก ดังน้ันจึงต1องพัฒนาวิธีท่ีแตกต�างกันสําหรับแต�ละกลุ�ม ในการพัฒนาความเข1าใจของ KAP ท่ีสัมพันธ,กับการเลี้ยงสัตว,ป9ก7 ในบรรดาวิธีหลักท่ีใช1ในการวิจัยทาง

Page 46: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

40

สังคมศาสตร, ในการศึกษาน้ี คือ การสนทนากลุ�ม การสัมภาษณ,เชิงลึก และการใช1แบบสอบถาม รายละเอียดของแต�ละวิธีได1อธิบายไว1ดังน้ี

การสนทนากลุ-ม คือ การดําเนินการสัมภาษณ,ภายใต1การนําของผู1ดําเนินการสนทนาหรือผู1ดําเนินรายการ กลุ�มเปbาหมายมักจะมีลักษณะบางอย�างท่ีเหมือนกัน เช�น เลี้ยงสัตว,ป9ก ข้ันตอนในการสัมภาษณ,ผู1ท่ีเข1าร�วมในการสนทนากลุ�มเกิดข้ึนในการวิจัยด1านการตลาด แต�ในป>จจุบันมีการประยุกต,ใช1อย�างแพร�หลายในทางสังคมศาสตร,8 แต�ครูเกอร, ซ่ึงเป�นผู1ท่ีมีแนวคิดแตกต�างจากคนอ่ืน ได1กล�าวไว1ว�า “ความคุ1นเคยมีแนวโน1มท่ีจะขัดขวางการเปmดเผยข1อมูล”9 ในหมู�นักวิจัย ไม�มีความคิดเห็นท่ีสอดคล1องกันเก่ียวกับขนาดของการสนทนากลุ�ม ถึงแม1ว�าจํานวนผู1เข1าร�วมท่ีสูงสุดท่ีแนะนําไว1มักจะน1อยกว�าหรือเท�ากับ 12 คน

นอกจากน้ี ยังไม�มีกฎท่ีตายตัวในเรื่องของสถานการณ,ท่ีแนะนําให1ใช1วิธีการสนทนากลุ�ม ถึงแม1ว�าเครสเวลล,จะแนะนําไว1ว�า “วิธีการสนทนากลุ�มจะได1ประโยชน,ก็ต�อเมื่อปฏิสัมพันธ,ระหว�างผู1 ถูกสัมภาษณ,มีแนวโน1มท่ีจะให1ข1อมูลท่ีดีท่ีสุด เมื่อผู1 ถูกสัมภาษณ,มีความคล1ายคลึงกันและให1ความร�วมมือซ่ึงกันและกัน เมื่อเวลาในการเก็บรวบรวมข1อมูลมีจํากัด และเมื่อการสัมภาษณ,บุคคลแบบตัวต�อตัวอาจจะทําให1เกิดความลังเลใจในการให1ข1อมูล”10

ในทํานองเดียวกัน ไม�มีกฎเกณฑ,ข1อบังคับในเรื่องหลักสูตรของความพยายามในการวิจัยของการสนทนากลุ�มซ่ึงควรได1รับการพิจารณา ถึงแม1ว�าการใช1วิธีสนทนากลุ�มท้ังตอนเริ่มต1น และใช1อีกครั้งเมื่อสิ้นสุดโครงการวิจัยจะเป�นประโยชน,อย�างมาก

ในตอนเริ่มต1นของความพยายามในการวิจัย วิธีการสนทนากลุ�มจะช�วยในการสร1างข1อมูลเพ่ือรวมเข1าไปในแบบสอบถาม ซ่ึงหมายถึงวิธีการสนทนากลุ�มจะทําให1ได1รับข1อมูลภูมิหลังเก่ียวกับเรื่องท่ีสนใจ11 “การนําร�องก�อนการสนทนากลุ�ม อาจถูกนํามาใช1เป�นทางเลือกในการสัมภาษณ,เชิงลึกในระยะแรกของการศึกษาเชิงสํารวจขนาดใหญ� การสนทนากลุ�มอาจจะใช1ในวันแรกๆ ของการศึกษาเพ่ือวัตถุประสงค,ในการสํารวจ ก�อนท่ีจะมีการร�างและการนําร�องของเครื่องมือสํารวจ เพ่ือรายงานการพัฒนาในข้ันตอนต�อมาของการศึกษา”12

ประโยชน,หน่ึงของการใช1การสนทนากลุ�มก�อนการเริ่มโครงการวิจัยคือ การท่ีนักวิจัยสามารถพัฒนาความเข1าใจต�อคําศัพท,ท่ีเก่ียวข1องกับหัวข1อท่ีสนใจ ท่ีใช1ในกลุ�มเปbาหมาย ดังคํากล�าวของบลอร,ท่ีว�า “การสนทนากลุ�มสามารถใช1ในการเข1าถึงภาษา

Page 47: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

41

ท่ีใช1ในชีวิตประจําวันของหัวข1องานวิจัย ซ่ึงเป�นข้ันตอนแรกไปสู�การรวบรวมอนุกรมวิธานของข1อตกลงท1องถ่ิน... หรือเพ่ือรับรองว�าคําศัพท,ท่ีใช1ในการสํารวจท่ีตามมาเป�นสิ่งท่ีเข1าใจตรงกันกับผู1ตอบแบบสอบถาม”13

การเรียนรู1คําศัพท,ของกลุ�มเปbาหมาย และบริบทของคําศัพท,ท่ีใช1 จะมีประโยชน,อย�างมาก ผู1ตอบแบบสอบถามมักจะไม�คุ1นเคยหรือรู1สึกอึดอัดเมื่อใช1คําศัพท,พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร,หรือคําศัพท,ทางการแพทย, กรณีตัวอย�างท่ีเน1นการศึกษา KAP ท่ีสัมพันธ,กับอุบัติการณ,ของโรคอุจจาระร�วง ชาวบ1านในชนบทอาจจะใช1คําศัพท,ท่ีเป�นทางการสําหรับโรคอุจจาระร�วงน1อยกว�าผู1เช่ียวชาญทางการแพทย, แม1ว�าการจําแนกประเภทของความรุนแรงของโรคอุจจาระร�วงอาจจะค�อนข1างแตกต�างกัน เช�น การจําแนกประเภทของความสม่ําเสมอ ความเป�นนํ้า หรือสีของอุจจาระ ในทํานองเดียวกัน สิ่งท่ีผู1เช่ียวชาญทางการแพทย,มองว�าเป�นกรณีร1ายแรงของโรคอุจจาระร�วง อาจจะค�อนข1างแตกต�างจากคนท่ีอยู�ในชนบท การสนทนากลุ�มสามารถช�วยให1นักวิจัยเรียนรู1 ท่ีจะคิดและมองโลกในฐานะชาวบ1าน นักวิจัยสามารถเรียนรู1ท่ีจะ “พูดคุยวัฒนธรรม” ของกลุ�มเปbาหมายผ�านการสนทนากลุ�ม

การสิ้นสุดการศึกษาของการสนทนากลุ�ม เพ่ือหารือเก่ียวกับผลการวิจัยแรกเริ่ม สามารถช�วยพัฒนาคุณภาพของงานวิจัยทางสังคมศาสตร,ได1 3 วิธี คือ 1) การสิ้นสุดการศึกษาของการสนทนากลุ�ม ทําให1ได1รับข1อมูลเพ่ิมเติมซ่ึงสามารถช�วยให1เกิดความเหมาะสม ความลึกและการขยายความของการวิเคราะห,แรกเริ่ม 2) การจัดการสนทนากลุ�มกับบุคคลท่ีเข1าร�วมในงานวิจัยสามารถเป�นแหล�งสะท1อนข้ันต1นของงานวิจัย 3) สัญญาหรือข1อตกลงของกลุ�มดังกล�าวในตอนสิ้นสุดโครงการ (และโอกาสท่ีจะแสดงความคิดเห็นในสิ่งท่ีค1นพบ) อาจช�วยอํานวยความสะดวกในการเข1าถึงข1อมูลในระหว�างการศึกษา14

ในกรณีของโครงการซ่ึงมีวัตถุประสงค,ท่ีจะเปลี่ยน KAP ของกลุ�มเปbาหมาย การการสนทนากลุ�ม สามารถเป�นหน่ึงในเครื่องมือในการประเมินความสําเร็จของโครงการ ซ่ึงก็คือการกําหนดระดับการเปลี่ยนแปลงใน KAP ของกลุ�มเปbาหมาย

ถึงแม1ว�าจะไม�มีข1อกําหนดในการใช1วิธีการสนทนากลุ�ม แต�มีแนวทางท่ีชัดเจนท่ีจะช�วยให1มั่นใจได1ว�าประสบความสําเร็จจากการสนทนากลุ�ม คือ 1) การกําหนดคําถามไว1ล�วงหน1าก�อนช�วงการสนทนากลุ�ม 2) การบอกกลุ�มสัมภาษณ,ล�วงหน1าเก่ียวกับระยะเวลาโดยประมาณในการทําการสัมภาษณ, และทําการสัมภาษณ,ให1แล1วเสร็จภายในระยะเวลาท่ีกําหนด (ถ1าเป�นไปได1) 3) ในระหว�างทําการสนทนากลุ�ม ต1องให1ความเคารพและมี

Page 48: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

42

มารยาทต�อผู1มีส�วนร�วมทุกคน และเสนอคําถามและคําแนะนํา 2-3 ข1อ15 ดังท่ีบลอร,สรุปไว1ว�า “การสนทนากลุ�มท่ีประสบความสําเร็จ ส�วนใหญ�จะมีการวางแผนไว1ล�วงหน1า”16

การสัมภาษณ2 การสัมภาษณ,รายบุคคลเป�นอีกวิธีหน่ึงท่ีจะได1มาซ่ึงข1อมูลท่ีมีความเก่ียวข1องทางสังคมศาสตร,ท่ีเก่ียวกับกลุ�มท่ีสนใจของนักวิจัย EcoHealth มีหนังสือหลายเล�มท่ีอธิบายถึงเทคนิคสําหรับการสัมภาษณ,หลายรูปแบบท่ีแตกต�างกัน ซ่ึงจะยกตัวอย�างวิธีการสัมภาษณ, 2-3 วิธี ดังน้ี

การกําหนดว�าใครจะเป�นผู1ท่ีถูกสัมภาษณ, เป�นหน่ึงในคําถามท่ีนักวิจัยจะต1องตอบให1ได1 มีจํานวนวิธีการสุ�มตัวอย�างท่ีแตกต�างกันให1เลือกใช1 ซ่ึงแต�ละวิธีก็มีท้ังจุดแข็งและจุดอ�อน17 การสัมภาษณ,ในทางสังคมศาสตร, มักมีการใช1สองวิธีในการเลือกคนท่ีจะสัมภาษณ, วิธีแรกคือ การสุ�มตัวอย�างตามความสะดวก ด1วยการเลือกตัวอย�างตามความสะดวก นักวิจัยจะเลือกบุคคลท่ีจะทําการสัมภาษณ,จากประชากรท่ัวไปท่ีสะดวกจะสัมภาษณ,ในเวลาน้ัน ซ่ึงไม�มีเกณฑ,เฉพาะท่ีใช1ในการเลือก ซ่ึงน่ีเป�นวิธีหน่ึงท่ีดีท่ีจะเริ่มต1นการสัมภาษณ,ในส�วนของความพยายามในการวิจัย บ�อยครั้งมักจะมีการใช1วิธีสุ�มตัวอย�าง ตามด1วยวิธีการเลือกตัวอย�างแบบสโนว,บอลหรือแบบลูกโซ� การใช1วิธีสโนว,บอล เมื่อผู1วิจัยสัมภาษณ,บุคคลหน่ึงเก่ียวกับหัวข1อของการศึกษา พวกเขาจะให1บุคคลท่ีถูกสัมภาษณ,แนะนําบุคคลอ่ืนท่ีมีแนวโน1มว�าจะมีข1อมูลท่ีผู1วิจัยต1องการ จากน้ันผู1วิจัยจะค1นหาบุคคลเหล�าน้ัน และให1พวกเขาแนะนําผู1ให1สัมภาษณ,เพ่ิมเติม จนได1ขนาดตัวอย�างตามท่ีผู1วิจัยต1องการ

การสัมภาษณ,บางอย�างใช1ระยะเวลาค�อนข1างสั้น เพียง 2-3 นาที ในบางการศึกษา จําเป�นจะต1องได1รับข1อมูลเชิงลึกในหัวข1อท่ีต1องการศึกษา จึงต1องใช1ระยะเวลาในการสัมภาษณ,นานกว�าการศึกษาท่ัวไป ในกรณีน้ี การสัมภาษณ,ท่ีใช1ระยะเวลายาวนานออกไปจะเรียกว�าการสัมภาษณ,เชิงลึก การสัมภาษณ,เชิงลึกสามารถใช1เวลานานถึง 1 ช่ัวโมง หรือมากกว�าน้ันเล็กน1อย บางครั้งผู1วิจัยจะถามในเรื่องท่ีต1องนัดหมายเพ่ือการสัมภาษณ,ครั้งท่ีสองหรือแม1กระท่ังครั้งท่ีสาม การสัมภาษณ,เชิงลึกมักจะดําเนินการเพียงกลุ�มเล็กๆ ของผู1ให1ข1อมูล ซ่ึงมีระดับความสําคัญของความรู1ท่ีเก่ียวข1องกับหัวข1อท่ีทําการวิจัยในขณะท่ีวิธีการสุ�มสัมภาษณ,มักจะดําเนินการโดยใช1กลุ�มตัวอย�างค�อนข1างใหญ�

เซดิ เมนได1ให1ข1อสรุปท่ีดีของวัตถุประสงค,ของการสัมภาษณ,เ ชิงลึกไว1ว� า “วัตถุประสงค,ของการสัมภาษณ,เชิงลึกไม�ใช�การได1รับคําตอบจากคําถาม หรือเพ่ือการทดสอบสมมุติฐาน และไม�ใช�เพ่ือ ‘ประเมิน’ เช�นเดียวกับคําท่ีใช1ท่ัวไป... รากศัพท,ของการสัมภาษณ,เชิงลึก คือ ความสนใจในการทําความเข1าใจเก่ียวกับประสบการณ,ชีวิตของ

Page 49: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

43

บุคคลอ่ืน และจุดประสงค,ท่ีพวกเขาสร1างประสบการณ,เหล�าน้ัน”18 นอกจากน้ีเขายังได1ให1คําแนะนําท่ีดีบางอย�างเก่ียวกับการสัมภาษณ,โดยท่ัวไป โดยแนะนําว�าผู1วิจัยควรจะ “ฟ>งให1มากข้ึนและพูดให1น1อยลง” สังเกตว�า “การฟ>งเป�นทักษะท่ีสําคัญท่ีสุดในการสัมภาษณ, งานท่ียากท่ีสุดสําหรับผู1สัมภาษณ,หลายๆ คนก็คือการรักษาความสงบ และการฟ>งอย�างตั้งใจ”19

“หลีกเลี่ยงการรบกวนผู1เข1าร�วมขณะท่ีพวกเขากําลังพูดอยู� บ�อยครั้งท่ีผู1สัมภาษณ,รู1สึกสนใจในสิ่งท่ีผู1เข1าร�วมกล�าวมากกว�าท่ีควรจะเป�น ขณะท่ีผู1เข1าร�วมกําลังพูดอยู�น้ัน ผู1สัมภาษณ,สามารถจดคําสําคัญและสอบถามได1ในภายหลัง”

แบบสอบถาม ในการดําเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร, แบบสอบถามเป�นสิ่งท่ีใช1บ�อยท่ีสุดเพ่ือให1ได1ข1อมูลพ้ืนฐานในเชิงปริมาณ ท้ังการสนทนากลุ�มและการสัมภาษณ,เป�นเครื่องมือท่ีดีเย่ียมสําหรับการช�วยให1นักวิจัยออกแบบแบบสอบถามได1อย�างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลท่ีได1จากการสนทนากลุ�มและการสัมภาษณ,ทําให1ผู1วิจัยสามารถตั้งคําถามในลักษณะท่ีกลุ�มเปbาหมายสามารถเข1าใจได1ง�าย

การเขียนตั้งคําถามท่ีสําคัญท่ีผู1วิจัยต1องการคําตอบ เป�นแนวคิดท่ีดีก�อนท่ีจะมีการเตรียมแบบสอบถาม เพ่ือให1มั่นใจว�าแบบสอบถามจะให1ข1อมูลท่ีจําเป�นท้ังหมดแก�ผู1วิจัย ซ่ึงวิธีการน้ีผู1วิจัยสามารถมั่นใจได1ว�า แบบสอบถามน้ันรวมประเด็นท่ีเก่ียวข1องกับ แต�ละคําถามวิจัยท่ีสําคัญไว1แล1ว

การเพ่ิมความสมบูรณ,และประสิทธิภาพของแบบสอบถามสามารถทําได1โดยการเตรียม “ตารางจําลอง” (dummy table) เมื่อได1รับข1อมูลเชิงปริมาณ ตารางจําลองคือตารางท่ีประกอบด1วยตัวแปรท้ังหมดท่ีผู1วิจัยต1องการรวมไว1ในรายงานการวิจัย เช�น ปbายช่ือสําหรับแถวและคอลัมน, (ตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ) สําหรับแต�ละตาราง รวมท้ังหน�วยวัดท่ีจะใช1 สิ่งหน่ึงท่ีหายไปจากตารางจําลองน่ันคือการท่ีไม�มีข1อมูลจริงซ่ึงมาจากแบบสอบถาม

ในข้ันตอนสุดท1ายหลังจากเตรียมตารางจําลอง คือ การเขียนแบบสอบถาม คําถามแต�ละข1อจะต1องให1ข1อมูลท่ีเฉพาะเจาะจงสําหรับรวมอยู�ในตารางจําลองหน่ึงหรือมากกว�าหน่ึงตาราง ด1วยวิธีการน้ีผู1วิจัยสามารถมัน่ใจได1ว�าจะได1รับข1อมลูจากแต�ละเซลล,ในแต�ละตาราง และไม�มีข1อมูลสําคัญหลดุรอดออกไป วิธีน้ียังช�วยให1แน�ใจว�าแบบสอบถามจะไม�รวมคําถามท่ีไม�จําเป�นใดๆ ท่ีไม�สําคัญในการวิเคราะห,ข1อมูล

Page 50: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

44

4.2 ความเข�าใจในทางเศรษฐศาสตร7ของ EcoHealth

4.2.1 มุมมองของการศึกษาแบบ EcoHealth ผ:านเลนส7เศรษฐกจิ

ในทางเศรษฐศาสตร,มักจะแบ�งออกเป�นสองสาขาหลัก คือ เศรษฐศาสตร,มหภาค (macroeconomics) และเศรษฐศาสตร,จุลภาค (microeconomics) เศรษฐศาสตร,มหภาคเป�นสาขาของเศรษฐศาสตร,ท่ีศึกษาพฤติกรรมของเศรษฐกิจโดยรวม สาขาน้ีจะตรวจสอบปรากฏการณ,ทางเศรษฐกิจในวงกว1าง เช�น การเปลี่ยนแปลงการว�างงาน รายได1ประชาชาติ อัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ,มวลรวมภายในประเทศ เงินเฟbอ และระดับราคา เศรษฐศาสตร,มหภาคมุ�งเน1นไปท่ีการเคลื่อนไหวและแนวโน1มของเศรษฐกิจโดยรวม ในอีกด1านหน่ึง เศรษฐศาสตร,จุลภาคมุ�งเน1นไปท่ีป>จจัยท่ีมีผลต�อการตัดสินใจของบริษัท ห1างร1าน และบุคคล ในทางปฏิบัติ ป>จจัยท่ีถูกศึกษาโดยมหภาคและจุลภาคมักจะมีอิทธิพลต�อกัน เช�น ระดับการว�างงานในระบบเศรษฐกิจโดยรวมในป>จจุบันจะมีผลต�ออุปทานแรงงานท่ีบริษัทนํ้ามันสามารถจ1างงานได120

การศึกษาแบบ EcoHealth มีโครงสร1างคู�ขนานอย�างใกล1ชิดกับท้ังส�วนประกอบมหภาคและจุลภาค ด1วยเหตุน้ี ความรู1เก่ียวกับทฤษฎีและการปฏิบัติของท้ังเศรษฐศาสตร,มหภาคและจุลภาคจะช�วยให1แนวทางสําหรับกิจกรรม EcoHealth สิ่งตีพิมพ,ล�าสุดของธนาคารโลก “เศรษฐศาสตร,ของสุขภาพหน่ึงเดียว” (Economics of One Health) ได1อธิบายถึงด1านมหภาคของ EcoHealth ตามท่ีบทสรุปของผู1บริหารกล�าวไว1ว�า “รายงานน้ีวิเคราะห,และประเมินผลประโยชน,และต1นทุนของการควบคุมกลุ�มโรคติดต�อท่ีสําคัญ . . . กรณีท่ีน�าสนใจคือการควบคุมโรคติดต�อระหว�างสัตว,และคน การสูญเสียทางเศรษฐกิจจาก 6 โรคระบาดระหว�างสัตว,และคนท่ีสําคัญ ท่ีมีความรุนแรงสูงทําให1ถึงข้ันเสียชีวิต ระหว�างป9 1997 ถึง 2009 มีจํานวนไม�น1อยกว�า 80,000 ล1านดอลลาร,สหรัฐ”21 จากกราฟแสดงให1เห็นถึงวงจรของโรคติดต�อระหว�างสัตว,และคนท่ีอุบัติใหม� โดยเน1นไปท่ีผลประโยชน,ทางเศรษฐกิจของการควบคุมตั้งแต�ต1นในแง�เศรษฐกิจ

ตามท่ีสิ่งพิมพ,ของธนาคารโลกได1บ�งช้ีว�า การตัดสินใจเก่ียวกับการตอบสนองต�อการระบาดของโรคได1รับการประเมินในระดับชาติหรือระดับภูมิภาค เช�น EcoHealth ในระดับมหภาค ตัวอย�างท่ีเห็นได1จากประเทศไทยคือการตัดสินใจของรัฐบาลในการดําเนินการควบคุมการระบาดของโรคไข1หวัดนก ซ่ึงได1กล�าวถึงในรายละเอียดในคู�มือฉบับน้ี

Page 51: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

45

รูป 4-2 แสดงผลประโยชน,ทางเศรษฐกิจและสุขภาพจากการ ควบคุมโรคติดต�อระหว�างสัตว,และคนต้ังแต�ต1น22

เมื่อประเทศได1มีการตัดสินใจในการตอบสนองต�อภัยคุกคามท่ีแพร�ระบาด ได1มีการนํา EcoHealth ในระดับจุลภาคมาใช1 ในกรณีของโรคไข1หวัดนกในประเทศไทย ทันทีท่ีกระทรวงสาธารณสุขได1กําหนดว�าการทําการควบคุมมีความเหมาะสม ได1มีความพยายามในระดับจุลภาคในการลดอุบัติการณ,ของโรคท่ีได1ออกแบบและดําเนินการในระดับชุมชน รวมท้ังการวิจัยท่ีดําเนินการโดยศูนย, EcoHealth−One Health Resource Center ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม�23

4.2.2 อรรถประโยชน7และการศึกษาแบบ EcoHealth

คนส�วนใหญ�ต1องการท่ีจะหลีกเลี่ยงอาการท1องเสีย น่ันคือการหลีกเลี่ยงการเจ็บปFวยด1วยโรคอุจจาระร�วงเป�นสิ่งท่ีมีความสําคัญสําหรับพวกเขา แต�บางคนยังคงรับประทาน ผลิตภัณฑ,เน้ือสัตว,ท่ีปรุงไม�สุกหรือดิบซ่ึงทําให1เกิดโรคอุจจาระร�วงได1 ส�วนหน่ึงเป�นเพราะคนบางกลุ�มช่ืนชอบในรสชาติของอาหารดิบ และส�วนหน่ึงเน่ืองมาจากการรับประทานอาหารดิบเป�นวัฒนธรรมของพวกเขา คุณค�าเชิงบวกของการรับประทานอาหารมีค�ามากกว�าคุณค�าเชิงลบจากความเสี่ยงของโรคอุจจาระร�วงในกลุ�มคนเหล�าน้ี สามารถมองได1ว�าการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ อรรถประโยชน,ของการหลีกเลี่ยงความเป�นไปได1ของการเกิดโรคอุจจาระร�วงสมดุลกับการต�อต1านความสุขจากการได1รับประทานอาหารท่ีพิเศษ น่ีคือตัวอย�างของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร,ของอรรถประโยชน, ซ่ึงมักจะนิยามว�าเป�นความพึงพอใจของบุคลท่ีได1รับจากผลิตภัณฑ,ท่ีซ้ือ (ไม�ว�าสินค1าหรือบริการ)24 ในความเป�นจริง อรรถประโยชน,ไม�สามารถวัดได1โดยตรงในรูปของตัวเงิน แต�จะถูกวัดจากความคิดเห็นของผู1บริโภคแต�ละคน มีความต1องการท่ีจะเข1าใจการรับรู1อรรถประโยชน,ของการกระทําทางเลือกท่ีดูได1โดยประชากรเหล�าน้ัน เพ่ือให1เกิดผลต�อ KAP ของประชากร

Page 52: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

46

เปbาหมายได1อย�างมีประสิทธิภาพ วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร,ท่ีได1อธิบายไว1ในหัวข1อ 4.1 และในงานตีพิมพ,ของ IDRC ของชาร,รอนในป9 2012 เรื่อง “งานวิจัย EcoHealth ในการปฏิบัติ: การประยุกต,ใช1นวัตกรรมของวิธีระบบนิเวศ”25 เป�นเครื่องมือท่ีสามารถใช1เพ่ือให1ได1รับความเข1าใจในการรับรู1อรรถประโยชน,ของสมาชิกในประชากรเปbาหมาย

4.2.3 ความไม:เสมอภาคทางเศรษฐกิจและการศึกษาแบบ EcoHealth

ป>ญหาท่ีเก่ียวข1องกับการเกษตรส�วนใหญ� สามารถจัดกลุ�มเข1าด1วยกันโดยใช1คําว�า “ผลกระทบภายนอก” ในเศรษฐศาสตร,จุลภาค (และเศรษฐศาสตร,สิ่งแวดล1อม) ได�นิยามถึงผลกระทบภายนอกโดยท่ัวไปว�าหมายถึง “ผลกระทบต�อกลุ�มบุคคลท่ีไม�ได1เก่ียวข1องโดยตรงกับธุรกรรมทางเศรษฐศาสตร,” แนวคิดของผลกระทบภายนอกได1อธิบายรายละเอียดไว1ในบทท่ี 3

4.2.4 ผลกระทบทางด�านเศรษฐกิจของความล�มเหลวของ EcoHealth

ผลิตภัณฑ,อาหารท่ีมีการปนเปz{อน นอกจากจะทําให1มนุษย,และสัตว,เป�นโรคแล1ว ยังก�อให1เกิดต1นทุนทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญเช�นกัน การตรวจสอบต1นทุนเหล�าน้ันเป�นส�วนสําคัญสําหรับงานวิจัยท่ีใช1การศึกษาแบบ EcoHealth ตัวอย�างท่ีดีในการศึกษาน้ี ได1แก� อะฟลาท็อกซิน ซ่ึงตามธรรมชาติเกิดจากสารพิษท่ีผลิตโดยเช้ือราแอสเปอร,จิลลัส (Aspergillus) หลายสายพันธุ, อะฟลาท็อกซินมีความเป�นพิษและเป�นสารก�อมะเร็งท่ีรู1จักกันดีท่ีสุด26 ซ่ึงอาจพบได1ในสินค1าอาหารหลากหลายชนิด โดยเฉพาะธัญพืช พืชนํ้ามัน เครื่องเทศ ต1นถ่ัว และในปศุสัตว,27 องค,การอาหารและการเกษตร หรือ Food and Agriculture Organization (FAO) ได1มีการประมาณการว�าพืชผลในโลกท่ีได1รับผลกระทบจากสารพิษจากเช้ือราในแต�ละป9มีถึง 25 เปอร,เซ็นต, ทําให1เกิดการสูญเสียอาหารและผลิตภัณฑ,อาหารประมาณ 1 พันล1านเมตริกตันต�อป9 การสูญเสียทางเศรษฐกิจเกิดข้ึนเน่ืองมาจาก 1) การสูญเสียผลผลิตเน่ืองจากโรคท่ีเกิดข้ึนจากเช้ือราท่ีสร1างสารพิษ 2) การลดลงของมูลค�าพืชผลจากการปนเปz{อนของสารพิษจากเช้ือรา 3) การสูญเสียในการผลิตสัตว,จากป>ญหาสุขภาพท่ีเก่ียวข1องกับสารพิษจากเช้ือรา และ 4) ค�าใช1จ�ายด1านสุขภาพของมนุษย, ผลกระทบทางเศรษฐกิจเหล�าน้ีกระทบกับผู1เก่ียวข1องท้ังหมดในห�วงโซ�อาหารและการกินอาหาร ซ่ึงได1แก� ผู1ผลิตพืช ผู1ผลิตสัตว, ผู1จัดจําหน�ายข1าว ผู1แปรรูป ผู1บริโภค และสังคมโดยรวม (เน่ืองมาจากผลกระทบต�อการดูแลสุขภาพและการสูญเสียผลผลิต)28 ในประเทศไทย อัตราการปนเปz{อนอะฟลาท็อกซินสูงท่ีสุดพบในถ่ัวลิสงและผลิตภัณฑ,จากถ่ัวลิสง29 และในข1าวโพด30 ในป9 พ.ศ. 2532 ประวัติ ตันบุญเอก ได1ประมาณว�า ส�วนลด 5 เปอร,เซ็นต,ของราคาขายข1าวโพด ณ จุดผลิต เน่ืองมาจากการปนเปz{อนอะฟลาท็อกซินจะมี

Page 53: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

47

การสูญเสียรายได1การส�งออกมากกว�า 25 ล1านดอลลาร,สหรัฐต�อป9 เน่ืองจากประเทศไทยส�งออกผลผลิตข1าวโพดมากกว�า 70 เปอร,เซ็นต,ของท่ีผลิตได1ในประเทศ31

แม1ว�าข�าวลือของป>ญหาท่ีเก่ียวข1องกับสุขภาพมีความสําคัญต�อผลกระทบทางด1านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย�างย่ิงในประเทศอย�างประเทศไทยท่ีอุตสาหกรรมการท�องเท่ียวเป�นแหล�งสําคัญของรายได1และการจ1างงาน ในป9 พ.ศ. 2552 เครือข�ายข�าว CNN ได1รายงานว�า “นักท�องเท่ียวท่ีเกาะพีพีสองรายเสียชีวิตโดยคาดว�าเกิดจากอาหารเป�นพิษ”32 เมื่อไม�นานมาน้ี ในเดือนธันวาคม ป9 พ.ศ. 2555 เว็บไซต,รายงานข�าวท�องเท่ียวออนไลน,ได1รายงานข�าวการเสียชีวิตของนักศึกษาปริญญาโทคณะเศรษฐศาสตร, จากมหาวิทยาลัย เชียงใหม� ด1วยพาดหัวข�าว “การตรวจสอบการตายจากการกินหมูกะทะในเชียงใหม�”33 ไม�ว�าการเสียชีวิตในครั้งน้ีความจริงแล1วเกิดเน่ืองจากอาหารท่ีปนเปz{อนหรือไม� การเผยแพร�ข�าวท่ีเป�นผลเสียดังกล�าวสามารถมีแนวโน1มในทางลบอย�างรุนแรงต�อการท�องเท่ียวในประเทศไทย การลดการเจ็บปFวยท่ีเกิดเน่ืองมาจากอาหาร จะช�วยลดการประชาสัมพันธ,ในเชิงลบและผลกระทบทางเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนได1อย�างมีนัยสําคัญ

อ างอิง 1. Charron DF, editor. Ecohealth research in practice: innovative applications of an

ecosystem approach to health. IDRC, 2012. p.2. Available at http://idl-bnc.idrc.ca/dspace/bitstream/10625/47809/1/IDL-47809.pdf. Accessed April 7, 2013.

2. Ibid. 3. Bloomberg. Rich-poor gap widens to most since 1967 as income falls. Available at

http://www.bloomberg.com/news/2012-09-12/u-s-poverty-rate-stays-at-almost-two-decade-high-income-falls.html. Accessed April 7, 2013.

4. Charron DF, editor. Ecohealth research in practice: innovative applications of an ecosystem approach to health. IDRC, 2012. p.3. Available at http://idl-bnc.idrc.ca/dspace/bitstream/10625/47809/1/IDL-47809.pdf. Accessed April 7, 2013.

5. Charron DF, editor. Ecohealth research in practice: innovative applications of an ecosystem approach to health. IDRC, 2012. p.6. Available at http://idl-bnc.idrc.ca/dspace/bitstream/10625/47809/1/IDL-47809.pdf. Accessed April 7, 2013.

Page 54: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

48

6. Launiala A. How much can a KAP survey tell us about people's knowledge, attitudes and practices? Some observations from medical anthropology research on malaria in pregnancy in Malawi. Anthropology Matters 2009;11(1). Available at http://www.anthropologymatters.com/index.php?journal=anth_matters&page= article&op=viewArticle&path[]=31&path[]=53. Accessed April 7, 2013.

7. EcoHealth Resource Center, Chiang Mai University. The Avian Flu project report. 8. Marshall C, Rossman GB. Designing qualitative research. 4th ed. Thousand Oaks:

Sage Publications, 2006. p. 114. 9. Krueger RA. Focus groups: a practical guide for applied research. Thousand Oaks:

Sage Publications, 1988. p. 28. 10. Cresswell JW. Quantitative inquiry & research design: choosing among five

approaches. 2nd ed. Thousand Oaks: Sage Publications, 2007. p. 133. 11. Krueger RA. op. cit., 1988. p. 32. 12. Bloor M, et al. Focus groups in social research. Thousand Oaks: Sage Publications,

2001. p. 9. 13. Ibid, p. 10. 14. Ibid, p. 15. 15. Cresswell JW. op. cit., 2007. p. 134. 16. Bloor M, et al. op. cit., 2001. p. vii. 17. Cresswell JW. op. cit., 2007. p. 127. 18. Seidman I. Interviewing as qualitative research: a guide for researchers in education

and the social sciences. New York: Teachers College, Columbia University, 2006. p. 9.

19. Ibid. p. 78. 20. Investopedia. Macroeconomics. Available at

http://www.investopedia.com/terms/ m/macroeconomics.asp#axzz2M9u3afJL. Accessed April 7, 2013.

21. Ibid. 22. The National Academies Press. Sustaining global surveillance and response to

emerging zoonotic diseases, 2009. Available at http://www.nap.edu/openbook.php?record_id=12625&page=175. Accessed April 7, 2013.

23. Srikitjakarn L, et al. A model for Avian Influenza control using participatory tools suitable for village conditions in rural areas of Thailand. Participatory Epidemiology Network for Animal and Public Health Technical Workshop, Chiang Mai, Thailand; 2012 December 11-13.

Page 55: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

49

24. Moneyterms. Utility. Available at http://moneyterms.co.uk/utility/. Accessed April 7, 2013.

25. Charron DF, editor. Ecohealth research in practice: innovative applications of an ecosystem approach to health. IDRC, 2012. Available at http://idl-bnc.idrc.ca/dspace/bitstream/10625/47809/1/IDL-47809.pdf. Accessed April 7, 2013.

26. Hudler GW. Magical mushrooms, mischievous molds: the remarkable story of the fungus kingdom and its impact on human affairs. Princeton: Princeton University Press, 1998.

27. Lawley R. Aflatoxins. Food Safety Watch, 2007. Available at http://www.foodsafetywatch.com/public/482.cfm. Accessed April 7, 2013.

28. Schmale III DG, Munkvold GP. Mycotoxins in crops: a threat to human and domestic animal health. ASP net. Available at http://www.apsnet.org/edcenter/intropp/topics/Mycotoxins/Pages/EconomicImpact.aspx. Accessed April 7, 2013.

29. Waenlor W, Wiwanitkit V. Aflatoxin contamination of food and food products in Thailand: an overview. Southeast Asian J Trop Med Publ Health 2003;34(Suppl 2):184-90.

30. FAO Corporate Document Repository. Control of aflatoxin in maize. Available at http://www.fao.org/docrep/x5036e/x5036E0s.htm. Accessed April 7, 2013.

31. Ibid. 32. CNN. Mystery Thai resort deaths from food?.Available at

http://edition.cnn.com/2009/US/05/11/thailand.mystery.deaths/index.html. Accessed April 7, 2013.

33. Thailand News. Barbecue death probed in Chiang Mai. Available at http://www.thailandnews.co/2012/12/barbecue-death-probed-in-chiang-mai/. Accessed April 7, 2013.

Page 56: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

บทที่ 5

ความท�าทายของ EcoHealth ในประเทศไทย

5.1 บทนํา

เน้ือหาในบทน้ีมีวัตถุประสงค)เพ่ือบูรณาการข/อมูลท่ีให/ไว/ในบทท่ี 1-4 และเพ่ือสร/างความเข/าใจเก่ียวกับการประยุกต)ใช/เน้ือหาน้ันกับสถานการณ)ท่ีเกิดข้ึนจริงในประเทศไทย ผู/ใช/งานคู�มือน้ีควร:

1. เข/าใจและตระหนักถึงความสําคัญและการเช่ือมโยงของ EcoHealth ต�อปAญหาท่ีอยู�รอบตัว โดยการเรียนรู/จากสถานการณ)ในปAจจุบัน รวมท้ังปAญหาสําคัญในระดับชาติ

2. เตรียมพร/อมในการใช/ประสบการณ)ท่ีได/รับจากกรณีศึกษาในประเทศไทย เพ่ือใช/หลักการของ EcoHealth ในการตรวจสอบส�วนประกอบต�างๆ ของปAญหา และเพ่ือพัฒนาและสร/างความเข/าใจในความสัมพันธ)ระหว�างผู/มีส�วนได/ส�วนเสียต�างๆ

เน้ือหาท่ีรวมอยู�ในบทน้ีเปFนตัวอย�างของปAญหาท่ีแท/จริงในระดับท/องถ่ินและระดับชาติ โดยจะให/ความสําคัญเก่ียวกับการใช/การคิดเชิงระบบในการประยุกต)ใช/การศึกษาแบบ EcoHealth เพ่ือวิเคราะห)ปAญหาท่ีเกิดข้ึน โดยเฉพาะปAญหาท่ีมีผลกระทบต�อสุขภาพของมนุษย)และสัตว) และเพ่ือดําเนินการอย�างเหมาะสมในการท่ีจะบรรเทาปAญหาเหล�าน้ัน ประเด็นอภิปรายท่ีได/ให/ไว/ด/านล�างประกอบด/วยสามสถานการณ)ท่ีแตกต�างกัน รวมถึงข/อมูลทางสถิติ รายงานข�าวประจําวัน และผลการวิจัย ตามคําอธิบายในแต�ละสถานการณ) จะมีคําถามปรากฏอยู�ซ่ึงออกแบบมาเพ่ือกระตุ/นการคิดเชิงระบบ และการประยุกต)ใช/การศึกษาแบบ EcoHealth ในการตอบสนองต�อสถานการณ)น้ัน โดยจะเน/นไปท่ีกระบวนการคิดและการพิจารณาในมุมมองของอาชีพต�างๆ

5.2 หมวดหมู�ท่ี 1 – การเปลี่ยนแปลงประชากรมนษุย และสัตว

วัตถุประสงค)หลักในการใช/การศึกษาแบบ EcoHealth คือการให/ความสนใจปAญหาท่ีเก่ียวข/องกับสุขภาพ โดยเฉพาะอย�างย่ิงปAญหาสุขภาพของมนุษย) รวมท้ังการรักษาความย่ังยืน ความสัมพันธ)ท่ีเปFนมิตรกับสิ่งแวดล/อม จากท่ีได/กล�าวไว/ในบทท่ีแล/วเก่ียวกับความต/องการของมนุษย)ท่ีมีต�อทรัพยากรจะเพ่ิมข้ึน เน่ืองจากการเติบโตของ

Page 57: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

51

ประชากร จํานวนประชากรในประเทศไทยยังคงเพ่ิมข้ึน แม/ว�าอัตราการเจริญเติบโตของจํานวนประชากรมีการชะลอตัวลงในช�วงไม�ก่ีทศวรรษท่ีผ�านมา หน่ึงในผลท่ีตามมาคือการเปลี่ยนแปลงการกระจายอายุของประชากร โดยอายุเฉลี่ยของประชากรไทยเพ่ิมสูงข้ึน

ประเด็นอภิปราย 1: ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในการกระจายอายุ

ในปJ พ.ศ. 2503 ประชากรส�วนใหญ�ของประเทศไทยอยู�ในกลุ�มอายุ 1-10 ปJ ในปJ 2553 ประชากรกลุ�มท่ีใหญ�ท่ีสุดน้ันได/ขยับข้ึนไปท่ีกลุ�มอายุ 40-50 ปJ ช�วงระยะเวลามากกว�า 50 ปJท่ีผ�านมา อัตราส�วนของเพศชายและเพศหญิงมีความแตกต�างกันเล็กน/อย อายุเฉลี่ยของประชากรไทยมีแนวโน/มเพ่ิมสูงข้ึนกับประชากรส�วนใหญ�ท่ีเปFนผู/สูงอายุ (อายุ 60 ปJข้ึนไป)

ใช/ข/อมูลท่ีให/ไว/ดังกล�าวและข/อมูลท่ีมีอยู�จากแหล�งอ่ืนๆ ในการอภิปรายเก่ียวกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงทางด/านประชากร อภิปรายถึงผลกระทบในอนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนต�อเศรษฐกิจ สังคม ความต/องการทางด/านพลังงาน สุขภาพ และความต/องการทางด/านการรักษาพยาบาล การศึกษาแบบ EcoHealth สามารถช�วยให/นักวางแผนนโยบายและชุมชนเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนได/อย�างไร?

รูป 5-1 แสดงพีระมิดประชากรของประเทศไทยในปJ พ.ศ. 2503 และ 25531

Page 58: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

52

ประเด็นอภิปราย 2: ความหนาแน�นของประชากรในสงัคมเมืองและชนบท

แผนท่ีต�อไปน้ีแสดงความหนาแน�นของประชากรโดยรวมของประเทศไทย โดยแสดงร/อยละของประชากรในเขตเทศบาล และร/อยละของประชากรนอกเขตเทศบาลแบ�งตามจังหวัด ประชากรส�วนใหญ�ในเขตเทศบาลจะอยู�ในจังหวัดท�องเท่ียว หรือจังหวัดท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจ เขตเทศบาลเหล�าน้ันเปFนเพียงส�วนเล็กๆ ของประชากร ในหลายจังหวัดประชากรส�วนใหญ�จะอาศัยอยู�นอกเขตเทศบาล ดังน้ันการดําเนินชีวิตของประชาชนท่ีอาศัยอยู�ในพ้ืนท่ีเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลจึงมีความแตกต�างกัน

อภิปรายถึงความแตกต�างระหว�างประชากรท่ีอาศัยอยู�ในเมืองและชนบท ในขอบเขตของการจัดการด/านสุขภาพ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภาพรวมของวิถีชีวิต และความสามารถท่ีจะตามทันหรือปรับตัวให/เข/ากับการเปลี่ยนแปลง และอภิปรายเก่ียวกับปAจจัยท่ีมีอิทธิพลต�อการกระจายของประชากรในเขตเมือง-ชนบทท่ีแตกต�างกันในจังหวัดต�างๆ แนวโน/มความหนาแน�นของประชากร และผลกระทบของแนวโน/มเหล�าน้ัน

รูป 5-2 แสดงความหนาแน�นของประชากร ร/อยละของประชากรในพ้ืนท่ีเขตเทศบาล และพ้ืนท่ีนอกเขตเทศบาลของประเทศไทย แบ�งตามจังหวัด2

Page 59: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

53

รูป 5-2 แสดงความหนาแน�นของประชากร ร/อยละของประชากรในพ้ืนท่ีเขตเทศบาล และพ้ืนท่ีนอกเขตเทศบาลของประเทศไทย แบ�งตามจังหวัด2 (ต�อ)

ประเด็นอภิปราย 3: ความหนาแน�นของการเลี้ยงปศุสัตว ตามขนาดของ ฟาร ม

การเลี้ยงปศุสัตว)ขนาดใหญ�มีจํานวนและความหนาแน�นมากในบางพ้ืนท่ี และอาจจะเปFนกิจกรรมหลักทางการเกษตรของจังหวัดน้ันๆ การกําหนดสถานท่ีในการดําเนินการเลี้ยงปศุสตัว) โดยเฉพาะการเลี้ยงขนาดใหญ�จะคํานึงถึงการเข/าถึงบริเวณท่ีเลี้ยง โดยเฉพาะอย�างย่ิงระบบการขนส�งสําหรับการลําเลียงผลิตภัณฑ)เพ่ือการแปรรูป หรือเพ่ือการส�งออก

อภิปรายถึงผลกระทบของการดําเนินการเลี้ยงปศุสัตว)ท่ีมีต�อสุขภาพของคนในชุมชน เปรียบเทียบความแตกต�างในด/านบวกและด/านลบของการดําเนินการเลี้ยงปศุสัตว)ขนาดเล็กเมื่อเทียบกับขนาดใหญ� ในแง�ของสุขภาพมนุษย) สุขภาพสัตว) เศรษฐกิจ และสังคม

Page 60: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

54

รูป 5-3 แสดงจํานวนผู/ถือครองท่ีเล้ียงไก� สุกร และโค แบ�งตามขนาดของฟาร)ม3

Page 61: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

55

5.3 หมวดหมู�ท่ี 2 – การติดตามและป3องกันการแพร�ระบาดของโรคในกรณีฉุกเฉิน

ประเด็นอภิปราย 4: สถานการณ การเกิดโรคในช�วงน้ําท�วม

เมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม 2554 นายแพทย)พรเทพ ศิริวนารังสรรค) อธิบดีกรมควบคุมโรค กล�าวภายหลังการประชุมศูนย)บัญชาการกรมควบคุมโรค ว�ามีความพยายามในการเร�งแก/ปAญหาและปVองกันการแพร�กระจายของโรคติดเช้ือในพ้ืนท่ีท่ีได/รับผลกระทบจากนํ้าท�วมผ�านการประชุมทางไกล หรือ video conference ไปยังสํานักงานปVองกันควบคุมโรคท่ัวประเทศ นายแพทย)พรเทพได/สั่งการเจ/าหน/าท่ีให/ไปยังสํานักงานปVองกันควบคุมโรคท่ีอยู�ในพ้ืนท่ีนํ้าท�วม โดยมีทีมเฝVาระวังสอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว (Surveillance and Rapid Response Teams; SRRT) 1 กรุงเทพฯ SRRT 2 สระบุรี SRRT 8 นครสวรรค) และ SRRT 9 พิษณุโลก เจ/าหน/าท่ีเหล�าน้ีรับผิดชอบพ้ืนท่ีประสบภัยนํ้าท�วมในภาคกลางและภาคเหนือตอนล�าง รวมถึงการเฝVาติดตามการระบาดของโรคติดต�อในศูนย)ผู/ประสบภัยนํ้าท�วม โดยให/ความสนใจ 7 โรคหลักท่ีมีความสําคัญ คือ โรคไข/หวัดใหญ� โรคปอดบวม โรคมือเท/าปาก โรคอุจจาระร�วง โรคตาแดง โรคฉ่ีหนู และโรคไข/เลือดออก เจ/าหน/าท่ีได/รับมอบหมายให/ติดตามการเกิดและการปVองกันการแพร�ระบาดของโรค รวมท้ังดําเนินการสนับสนุนในเรื่องของการจัดหาอาหารและนํ้าดื่ม การสุขาภิบาล และการปVองกันแมลงท่ีเปFนพาหะนําโรค สํานักงานปVองกันควบคุมโรคแต�ละแห�งจะได/รับมอบหมายให/เก็บข/อมูลจํานวนประชาชนท่ีได/รับผลกระทบจากนํ้าท�วมและจํานวนผู/อพยพในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ4

ได/มีการเผยแพร�ข�าวในช�วงท่ีประเทศไทยประสบปAญหาอุทกภัยอย�างรุนแรงในปJ 2554 โดยมีการกําหนด 7 โรคท่ีต/องมีการติดตามเปFนพิเศษ คือ โรคไข/หวัดใหญ� โรคปอดบวม โรคมือเท/าปาก โรคอุจจาระร�วง โรคตาแดง โรคฉ่ีหนู และโรคไข/เลือดออก จากข/อมูลน้ี อภิปรายเก่ียวกับวงจรการเกิดโรคแต�ละโรค และความสัมพันธ)ระหว�างนํ้าท�วมและวงจรของการเกิดโรคในพ้ืนท่ี

Page 62: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

56

ประเด็นอภิปราย 5: การติดตามและการสอบสวนโรคโดยทีมเฝ3าระวัง สอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว (SRRT)4

ในปJ พ.ศ. 2554 กรมควบคุมโรคได/จัดตั้งทีมเฝVาระวังสอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว (SRRT) จํานวน 58 ทีม จากสํานักงานควบคุมปVองกันโรคในพ้ืนท่ีประสบอุทกภัย ทีม SRRT ได/ถูกจัดให/ลงไปยังพ้ืนท่ีศูนย)พักพิงผู/ประสบภัยนํ้าท�วมทุกแห�ง ซ่ึงมีประชากรอาศัยอยู�อย�างหนาแน�น และมีการสุขาภิบาลท่ีไม�ดีซ่ึงอาจจะส�งผลให/การเกิดการแพร�กระจายของโรคต�างๆ ได/ง�าย กรมควบคุมโรคได/จัดเตรียมอุปกรณ)และเวชภัณฑ)ทางการแพทย)เพ่ิมเติมส�งไปยังพ้ืนท่ีท่ีได/รับผลกระทบ เช�น แอลกอฮอล)เจลล/างมือ 15,000 หลอด รองเท/าบูkต 6,000 คู� ยาทากันยุง 20,000 ซอง และถุงมือยาง และให/สํานักงานปVองกันควบคุมโรคสํารวจความต/องการในพ้ืนท่ีเพ่ือจัดหาสิ่งของท่ีจําเปFนสําหรับการปVองกันโรคจัดส�งให/โดยเร็วต�อไป

อภิปรายเก่ียวกับบทบาทหน/าท่ีของผู/ท่ีมีส�วนเก่ียวข/องท้ังหมดในการดําเนินการน้ี ไม�ว�าโดยตรงหรือทางอ/อม รวมถึงสมาชิกแต�ละคนในทีมงานและหน�วยสนับสนุน ใช/แผนภาพหากต/องการแสดงให/เห็นถึงความสัมพันธ)ของเหตุการณ)และผู/ท่ีมีส�วนเก่ียวข/อง รวมท้ังสถานการณ)เฉพาะกิจและระยะยาวท่ีเปFนไปได/สําหรับปAญหาทางด/านสุขภาพและเศรษฐกิจประเภทน้ี

5.4 หมวดหมู�ท่ี 3 – ผลกระทบทางด@านสิง่แวดล@อมจากการเลี้ยงปศุสัตว

สถานการณ*ท่ี 3: ผลกระทบต�อสุขภาพของประชาชนท่ีได/รับจากมลภาวะของฟาร)มไข�ไก� ในพ้ืนท่ีบ/านแพะแม�แฝกใหม�และบ/านเจดีย)พัฒนา ตําบลแม�แฝกใหม� อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม�5

การศึกษาผลกระทบต�อสุขภาพของประชาชนท่ีได/รับจากมลภาวะของฟาร)มไข�ไก� ในพ้ืนท่ีบ/านแพะแม�แฝกใหม�และบ/านเจดีย)พัฒนา ตําบลแม�แฝกใหม� อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม� ได/ดําเนินการโดยใช/แบบสอบถาม โดย จะศึกษาถึงผลกระทบใน 4 ด/าน คือ ร�างกาย สังคม จิตวิญญาณ และจิตใจ ใช/

Page 63: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

57

ตัวอย�างในการศึกษาท้ังหมด 196 ครัวเรือน โดยมีตัวแทน 1 คนจากแต�ละครัวเรือน การเลือกครัวเรือนในการสัมภาษณ)ใช/วิธีการสุ�มอย�างง�าย จากผู/ตอบแบบสอบถามท้ังหมด 196 คน พบว�า 146 คน (74.49%) อาศัยอยู�ในชุมชนก�อนท่ีจะมีฟาร)มไก�ไข�เกิดข้ึน และ 50 คน (25.51%) ได/ย/ายเข/ามาในชุมชนภายหลังจากท่ีได/มีการก�อตั้งฟาร)มไก�ไข�ข้ึน

พบว�า ผลกระทบทางด/านจิตใจเปFนผลกระทบท่ีใหญ�ท่ีสุด ชาวบ/านท่ีอาศัยอยู�ในชุมชนก�อนท่ีจะมีการก�อตั้งฟาร)มไก�ไข�อ/างว�า ส�วนใหญ�ถูกแมลงวันรบกวน (80.82%) ตามมาด/วยความกังวลเก่ียวกับความเสี่ยงของโรคติดเช้ือจากสัตว)ปJก (63.01%) ผู/ตอบแบบสอบถามท่ีได/มีการย/ายเข/ามาในชุมชนภายหลังจากท่ีมีการก�อตั้งฟาร)มไก�ไข� ส�วนใหญ�ถูกแมลงวันรบกวน (88%) และกังวลเก่ียวกับความเสี่ยงของโรคติดเช้ือ (58%) ในเรื่องของความกังวลเก่ียวกับความเสี่ยงของโรคติดเช้ือจากสัตว)ปJก กลิ่นท่ีไม�พึงประสงค) และเสียงรบกวน สุขภาพจิตระหว�างกลุ�มคนท่ีอาศัยอยู�ในชุมชนก�อนจะมีการก�อตั้งฟาร)มและกลุ�มท่ีย/ายเข/ามาในชุมชนภายหลังการก�อตั้งฟาร)ม แตกต�างกันอย�างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P < 0.05) สําหรับผลกระทบทางด/านร�างกาย การศึกษาพบว�ามีความแตกต�างอย�างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ของโรคในระบบทางเดินหายใจ โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ/ และโรคผิวหนัง ฟาร)มไก�ไข�มีผลกระทบต�อสุขภาพของบุคคลท่ีอาศัยอยู�ในพ้ืนท่ีโดยรอบฟาร)มใน 4 ด/าน ดังท่ีกล�าวมาแล/ว จากเหตุผลเหล�าน้ี หน�วยงานท่ีรับผิดชอบควรกําหนดแนวทางในการควบคุมมลพิษ หรือมาตรฐานฟาร)ม เพ่ือปVองกันผลกระทบในทางลบต�อสุขภาพของสมาชิกในชุมชน

หากคุณเปFนสมาชิกขององค)กรท่ีมีหน/าท่ีรับผิดชอบชุมชนเหล�าน้ี อภิปรายเก่ียวกับผู/ท่ีมีส�วนร�วม และแนวทางในการแก/ไขปAญหาผ�านความร�วมมือของทุกภาคส�วน

Page 64: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

58

อ�างอิง

1. Australian Bureau of Statistics. Thailand age-sex structure. Available at http://popcensus.nso.go.th/en/ABSPopulationPyramid_eng.swf. Accessed April 7, 2013.

2. National Statistical Office. Demographic map: population density, percentage of population in the municipality, percentage of population outside the municipality. Census program, 2000. Available at http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service /serv_poph43-map.html. Accessed April 7, 2013.

3. Ibid. Agricultural census: number of poultry holdings (cases), number of pig holdings (cases), number of cattle holdings (cases). Available at http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/agri_map/04/07.htm. Accessed April 7, 2013.

4. Department of Disease Control. The department of Disease Control established 58 mobile Surveillance and Rapid Response Teams (SRRT) at Disease Prevention and Control offices in shelter flooded areas. Available at http://www.ddc.moph.go.th/pnews/showimgdetil.php?id=380. Accessed April 7, 2013.

5. Kongapirug A. Impact of laying hen farm pollution on health status of people in Ban Phae Mae Fak Mai village and Ban Che Di Pat Tha Nar village, Mae Fak Mai Sub-district, San Sai District, Chiang Mai [independent study]. Chiang Mai: Chiang Mai University; 2012.

Page 65: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

บทที่ 6 การศึกษาแบบ EcoHealth มีส�วนทําให�ส่ิงต�างๆ ดีข้ึนได�อย�างไร

6.1 การใชการศึกษาแบบ EcoHealth ในการแกป�ญหา

การคิดเชิงระบบ: การคิดเชิงระบบเก่ียวข&องกับการวิเคราะห(องค(ประกอบต�างๆ ของระบบ รวมถึงความสัมพันธ(ระหว�างส�วนประกอบย�อย ตัวอย�างท่ีดีคือการวิเคราะห(การทํางานของระบบ และระบบย�อยต�างๆ ท่ีรวมกันเป5นร�างกายมนุษย( ผลประโยชน(โดยตรงท่ีเกิดข้ึนจากการคิดเชิงระบบ ได&แก�

� การคิดเชิงระบบช�วยให&เข&าใจหน�วยระบบ เรามองเห็นสิ่งท่ีอยู�รอบๆ ตัวเราเป5นสิ่งท่ีมีความสัมพันธ(ซ่ึงกันและกัน มากกว�าท่ีจะมองว�าเป5นสิ่งท่ีแยกต�างหากจากกัน สิ่งน้ีจะช�วยให&เราเข&าใจหน�วยของความสนใจได&ชัดเจนย่ิงข้ึน

� การคิดเชิงระบบช�วยให&เราสามารถสังเกตผลกระทบของความยุ�งเหยิงต�างๆ เราจะสังเกตเห็นและตระหนักในวิธีการทํางานของส�วนย�อยของระบบ เราจะสามารถเห็นผลกระทบในภาพรวมได&หากส�วนย�อยน้ันหยุดทํางาน หรือไม�สามารถทํางานได&อย�างถูกต&อง

� การคิดเชิงระบบช�วยให&เราเข&าใจได&ชัดเจนย่ิงข้ึน เราเห็นความสัมพันธ(ระหว�างส�วนประกอบย�อยๆ ซ่ึงเป5นส�วนหน่ึงของระบบ และผลกระทบของส�วนย�อยเหล�าน้ันต�อรูปแบบของพฤติกรรม

� เรามองเห็นการเคลื่อนย&ายและการเปลี่ยนแปลงของทุกสิ่งทุกอย�าง เราได&รับความเข&าใจในระบบการดําเนินชีวิต ซ่ึงมีการเคลื่อนย&ายและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ชีวิตไม�ได&คงรูปแบบอยู�กับท่ีในตําแหน�งเดิม ความคิดของเราก็เป5นไปในรูปแบบท่ีคล&ายกัน

Page 66: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

60

รูป 6-1 แสดงตัวอย�างของการคิดเชิงระบบท่ีเกี่ยวข&องกับสังคม1

6.2 การวิจัยขามพรมแดนความรู (Transdisciplinary research)*

6.2.1 การเปรียบเทียบการวิจัยแบบด้ังเดิมและการวิจัยขามพรมแดนความรู

การวิจัยแบบดั้งเดิมส�วนใหญ�เก่ียวข&องกับการศึกษาเชิงลึก ภายในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหน่ึง ซ่ึงมีนักวิจัยเป5นศูนย(กลาง โดยองค(ความรู&อยู�กับนักวิจัย มีการดําเนินการวิจัยเพ่ือให&เข&าใจปDญหาของบุคคลอ่ืน ดังน้ัน ผลของการวิจัยจึงไม�ได&ใช&ในการแก&ปDญหาโดยรวม

การวิจัยข&ามพรมแดนความรู& (transdisciplinary research) หรือการวิจัยแบบ สหวิทยาการ (interdisciplinary research) เป5นการวิจัยท่ีส�งผลให&เกิดการเปลี่ยนแปลงท่ีสําคัญในวิธีการวิจัย ซ่ึงมีผลกระทบต�อการพัฒนาของประเทศไทยผ�านหลักการดังต�อไปน้ี ผลของการวิจัยข&ามพรมแดนความรู&ต&องสามารถประยุกต(ใช&ได&ในทันใด ประชาชนและชุมชนจะต&องมีบทบาทในกระบวนการวิจัย และต&องมีวิสัยทัศน(ท่ีก&าวไกลหรือวิสัยทัศน(แบบบูรณาการท่ีเป5นการบูรณาการมากกว�า 3 หรือ 4 สาขาวิชาการ2

* การวิจัยทีน่ักวิจัยจากหลายสาขามาทําวิจัยร�วมกันในเรือ่งใดเรื่องหนึ่ง

Page 67: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

61

รูป 6-1 แสดงการเปรียบเทียบการคิดแบบด้ังเดิม (ซ&าย) และการคิดเชิงระบบ (ขวา)3

6.2.2 ประเภทของการวิจัยท่ีเกี่ยวของกับหลายสาขาวิชา

งานวิจัยท่ีเก่ียวข&องกับสาขาวิชาการท่ีมากกว�า 1 สาขาวิชา สามารถแบ�งออกได&เป5น 3 ประเภท คือ ความหลากหลายทางวิชาการ (multidisciplinary) สหวิทยาการ (interdisciplinary) และการข&ามพรมแดนความรู& (transdisciplinary)

ความหลากหลายทางวิชาการ: ด&วยวิธีการน้ี นักวิจัยจากหลากหลายสาขาจะร�วมกันวิจัยในหัวข&อหน่ึงๆ พวกเขาจะแบ�งงานกันอย�างชัดเจนตามความสามารถของแต�ละบุคคล ตัวอย�างเช�น วิศวกรหรือนักวิทยาศาสตร(จะทําการศึกษาในส�วนของผลกระทบทางด&านเทคนิค นักเศรษฐศาสตร(จะศึกษาเก่ียวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ นักสังคมศาสตร(จะศึกษาเก่ียวกับผลกระทบทางสังคม และทนายความจะศึกษาในด&านของกฎหมายท่ีเก่ียวข&อง โดยผลของการวิจัยจะเขียนแยกกันในแต�ละบท และนํามารวมกันเพ่ือตีพิมพ(เป5นงานวิจัยหน่ึงงาน ปDญหาท่ีเกิดกับสถานการณ(น้ีคือการท่ีนักวิจัยจากแต�ละสาขาวิชาท่ีแตกต�างกันเขียนถึงผลการวิจัยของพวกเขาในทิศทางท่ีแตกต�างกัน ผู&อ�านรายงานวิจัยจะไม�สามารถระบุทิศทางนโยบายท่ีเหมาะสมได&

สหวิทยาการ: การใช&วิธีการน้ี นักวิจัยจากหลายสาขาวิชาจะดําเนินการวิจัยร�วมกันในหัวข&อหน่ึงๆ ในช�วงแรก นักวิจัยแต�ละคนจะทํางานแยกกันและดําเนินการศึกษาในขอบเขตวิชาของตนเอง จากน้ันจะมีการนําเสนอผลการวิจัยเบ้ืองต&นภายในกลุ�ม แต�แทนท่ีจะเป5นการรวบรวมเน้ือหาของแต�ละบทเข&าไว&ด&วยกันในหนังสือ นักวิจัยจะมีการประชุมร�วมกันในข้ันตอนท่ีสองของการวิจัย (หรืออาจเป5นข้ันตอนอ่ืนๆ ตามมา) เพ่ือท่ีจะวิเคราะห(ผลกระทบของผลการวิจัยท่ีสาขาวิชาหน่ึงมีผลต�อสาขาวิชาอ่ืนๆ ตัวอย�างเช�น หากวิศวกรระบุผลกระทบทางด&านเทคนิคว�า จะมีผลกระทบเชิงลบทางเศรษฐกิจและสังคมในบางส�วนของสังคม นักวิจัยทางด&านสังคมจะต&องออกแบบกลยุทธ(และแผนทาง

ชุมชน สิ่งแวดล�อม

เศรษฐกิจ

ชุมชน สิ่งแวดล�อม

เศรษฐกิจ

สุขภาพ

Page 68: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

62

กฎหมายเพ่ือท่ีจะช�วยลดทอนผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมเหล�าน้ัน น่ันคือ จะต&องมีการอภิปรายระหว�างสมาชิกในกลุ�มวิจัย ซ่ึงมีความพยายามท่ีจะประยุกต(ผลของการศึกษาในแต�ละขอบเขตสาขาวิชา ผลการศึกษาจะไม�ออกมาในรูปแบบของรายบุคคลท่ีเป5นไปตามแต�ละทิศทางของนักวิจัยแต�ละคน กระบวนการในการอภิปรายซํ้าจะทําให&ผลการวิจัยให&ทิศทางท่ีชัดเจนข้ึน สําหรับการใช&ในการกําหนดทิศทางท่ีเหมาะสมสําหรับการพัฒนานโยบาย

การข�ามพรมแดนความรู�: การใช&วิธีการน้ี นักวิจัยจากหลายสาขาวิชาจะดําเนินการวิจัยร�วมกันในหัวข&อหน่ึงๆ ไม�เพียงแต�อภิปรายถึงสถานการณ(โดยรวมท่ีจะทําการตรวจสอบ แต�พวกเขาทํางานร�วมกันตั้งแต�เริ่มแรกเพ่ือท่ีจะสร&างคําถามวิจัย จากน้ันนักวิจัยจะดําเนินการวิจัยร�วมกัน ซ่ึงหมายความว�าเมื่อพวกเขาดําเนินการวิจัย พวกเขาจะทํางานร�วมกันเป5นทีม ได&รับข&อมูลท่ีเหมือนๆ กัน และมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย�างต�อเน่ือง กลุ�มนักวิจัยจะทํางานร�วมกันคล&ายกับเป5นคนๆ เดียวกัน พวกเขาช�วยกันคิด และมีคําถามใหม�ๆ ท่ีท&าทายอยู�เสมอ พวกเขาพยายามท่ีจะตอบคําถามการวิจัยเหล�าน้ันจากความเช่ียวชาญในสาขาของตนเอง จากน้ันทําการรวบรวมคําตอบท้ังหมดเข&าด&วยกัน และพวกเขายังต&องฝYาฟDนอุปสรรคจากคําถามหรือข&อสงสัยของผู&วิจัยร�วมจากสาขาอ่ืนๆ เมื่อถึงจุดท่ีทีมงานท้ังหมดมีความพึงพอใจร�วมกัน พวกเขาก็จะมีคําตอบท่ีสมบูรณ(ในการตอบคําถามวิจัย ไม�ใช�เป5นเพียงการโต&แย&งกันไปมาซ่ึงสามารถเกิดข้ึนได&กับการวิจัยแบบสหวิทยาการ วิธีน้ีเป5นการกลั่นกรองของหลายๆ สาขาวิชาท่ีทํางานร�วมกันอย�างใกล&ชิด ในช�วงระยะเวลาท้ังหมดของความพยายามในการวิจัย

6.3 การศึกษาแบบ EcoHealth ในการปฏิบัติ

การวิจัยข&ามพรมแดนความรู& เป5นคุณลักษณะท่ีสําคัญของการศึกษาแบบ EcoHealth การวิจัยข&ามพรมแดนมีคุณสมบัตท่ีิดีกว�าการวิจัยแบบบูรณาการประเภทอ่ืนๆ น่ันคือทุกๆ สาขาจะทํางานร�วมกันตั้งแต�เริ่มต&น รวมท้ังการวิเคราะห(ปDญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการทํางานร�วมกันเป5นทีมตลอดกระบวนการวิจัย ซ่ึงหมายถึง ทุกๆ สาขามีบทบาทในการแก&ไขปDญหาอย�างแท&จริง และวิธีการในการแก&ปDญหาจะได&รับการยอมรับจากทุกสาขาท่ีเข&าร�วม ความท&าทายสําหรับการประยุกต(ใช&วิธีน้ีในงานวิจัยตามความเป5นจริงในสถานการณ(ท่ีได&รับ คือ ต&องอาศัยทักษะความเป5นผู&นําอย�างสูง ซ่ึงสามารถดึงดูดผู&เช่ียวชาญจากสาขาอ่ืนๆ เพ่ือเข&าร�วมทีมวิจัย และเพ่ือกระตุ&นทีมให&เกิดการผสานองค(ความรู&จากหลากหลายสาขาวิชา ลักษณะท่ีสําคัญของทีมวิจัยข&ามพรมแดนความรู&ท่ีมีประสิทธิภาพ คือ บุคคลท่ีมาจากต�างสาขาวิชาเป[ดใจ พร&อมท่ีจะ

Page 69: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

63

เรียนรู&ร�วมกัน และยินดีท่ีจะรับและบูรณาการความรู&จากการศึกษาอ่ืนท่ีนอกเหนือขอบเขตความเช่ียวชาญของตนเอง

ตัวอย�างของกิจกรรมบูรณาการในการควบคุมโรคไข�หวัดนก

การระบาดของโรคไข&หวัดนกในประเทศไทย เกิดข้ึนครั้งแรกในช�วงครึ่งป\แรกของ พ.ศ. 2547 กรมปศุสัตว(มีบทบาทในฐานะท่ีเป5นหน�วยงานช้ันนําของรัฐบาลในการตัดสินใจท่ีจะควบคุมการระบาดของโรค โดยปฏิบัติตามแนวทางสากล โดยทําการประกาศคัดท้ิงสัตว(ป\กทุกชนิดท่ีอยู�ในรัศมี 5 กิโลเมตรจากจุดท่ีมีการระบาด และไม�อนุญาตให&มีการขนส�งสัตว(ป\กเข&าออกจากจุดท่ีมีการระบาดของโรคในรัศมี 50 กิโลเมตร การควบคุมเหล�าน้ีมีผลกระทบในทางลบต�อความสมัครใจของเกษตรกรผู&เลี้ยงสัตว(ป\กท่ีจะยินยอมปฏิบัติตาม พวกเขารู&สึกว�าการควบคุมเหล�าน้ีไม�ได&ไปในทางเดียวกับการเลี้ยงสัตว(ป\กในประเทศไทย และคนในชุมชนท่ีไม�มีบทบาทในการดําเนินการตามการควบคุมเหล�าน้ัน ผลก็คือเกษตรกรมีการลักลอบย&ายสัตว(ป\กออกจากเขตควบคุม จากประสบการณ(ในการตอบสนองต�อการควบคุมเหล�าน้ัน กรมปศุสัตว(ได&มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการในการควบคุมการแพร�ระบาดของโรค โดยการทําลายสัตว(ป\กเฉพาะในพ้ืนท่ีท่ีมีการติดเช้ือเกิดข้ึน และทําการฝDงซากสัตว(ป\กในบริเวณใกล&เคียง กรมปศุสัตว(ยังได&เผยแพร�โครงการต�อเกษตรกรและคนในชุมชน เพ่ือให&พวกเขาเข&าใจสถานการณ(ของโรค และเพ่ือส�งเสริมให&พวกเขามีการทํางานร�วมกับเจ&าหน&าท่ีสาธารณสุข นอกจากน้ี ได&มีการจัดสรรเงินชดเชยให&แก�เกษตรกรผู&ได&รับความเสียหาย เน&นการสร&างความเข&าใจในหมู�เกษตรกรและคนในชุมชน และทําให&พวกเขาตระหนักถึงอันตรายของไข&หวัดนก รวมท้ังความสามารถในการติดต�อสู�มนุษย( กรมปศุสัตว(ได&รับความร�วมมือจากเกษตรกรและคนในชุมชนเพ่ิมมากข้ึนภายหลังจากความพยายามในการแก&ปDญหาเหล�าน้ี ผลสําเร็จท่ีได&รับทําให&ประเทศไทยไม�มีรายงานของโรคไข&หวัดนกตั้งแต�ป\ พ.ศ. 2551

Page 70: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

64

การมีส�วนร�วม: ด&วยวิธีการวิจัยแบบดั้งเดิม นักวิจัยจะเป5นท้ังผู&ระบุปDญหาและผู&ค&นหาวิธีการในการแก&ปDญหาน้ัน ในบางครั้งแนวทางท่ีนักวิจัยได&ระบุสําหรับการแก&ไขปDญหาน้ันไม�เป5นผลสําเร็จ เน่ืองจากผู&มีส�วนได&ส�วนเสียได&รับผลกระทบจากปDญหาท่ียังไม�ได&เข&ามามีบทบาทในกระบวนการน้ัน ด&วยการศึกษาแบบ EcoHealth ทําให&ผู&มีส�วนได&ส�วนเสียท้ังหมด โดยเฉพาะอย�างย่ิงผู&ท่ีได&รับผลกระทบจากปDญหา เช�น สมาชิกในชุมชน มีบทบาทในการดําเนินการวิจัย รวมท้ังการวิเคราะห(ปDญหา การเก็บรวบรวมข&อมูล การวิเคราะห(ผล และการสรุปผลการวิจัย น่ันคือ ผู&มีส�วนได&ส�วนเสียได&เข&ามามีบทบาทและให&ทิศทางในทุกข้ันตอนของการวิจัย ผลลัพธ(ท่ีได&คือวิธีการแก&ปDญหาจะไม�เป5นเพียงการแก&ปDญหาทางเทคนิค แต�ยังจะเป5นสิ่งท่ีเหมาะสมกับบริบทของผู&ท่ีได&รับผลกระทบจากปDญหา การแก&ปDญหาวิจัยท่ีผู&มีส�วนได&ส�วนเสียท้ังหมดเข&ามามีบทบาทสําคัญ เป5นท่ีรู&จักกันในช่ือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส�วนร�วม (Participatory Action Research; PAR)

การวิจัยแบบดั้งเดิมคือการวิจัยท่ีเน&นผู&วิจัยเป5นศูนย(กลาง องค(ความรู&เป5นของนักวิจัย ซ่ึงโดยท่ัวไปแล&วนักวิจัยจะเป5นบุคคลจากภายนอกชุมชนท่ีมีปDญหาอยู� การวิจัยจะดําเนินการเพ่ือให&ได&รับความรู&เก่ียวกับปDญหาของบุคคลอ่ืน บ�อยครั้งท่ีผลการวิจัยไม�ได&นํามาใช&แก&ปDญหา ในทางตรงกันข&าม การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส�วนร�วมจะเน&นให&ชุมชนเป5นศูนย(กลาง นักวิจัยและสมาชิกในชุมชนจะทํางานร�วมกันเพ่ือให&เข&าใจปDญหาของชุมชน มีการระบุและกําหนดปDญหาโดยชุมชน ในทํานองเดียวกัน วิธีการแก&ปDญหาของชุมชนจะถูกพัฒนาร�วมกัน สมาชิกทุกคนในชุมชนจะทํางานร�วมกันเพ่ือแก&ปDญหาและแบ�งปDนประโยชน(ท้ังหมดในการแก&ปDญหาร�วมกัน วิธีน้ีจะมีประสิทธิภาพมากข้ึนอย�างมีนัยสําคัญกว�าวิธีวิจัยแบบดั้งเดิม

หลักการท่ีสําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส�วนร�วม มี 5 ประการ คือ (1) ตระหนักถึงความสําคัญและเคารพในความรู&ของบุคคลท่ีได&รับผลกระทบจากปDญหา โดยเฉพาะบุคคลท่ีอยู�ในชุมชน ยอมรับความรู&ของคนในชุมชน รวมท้ังวิธีการในการได&รับความรู&และการใช&ความรู& น้ันในสาขาอ่ืนๆ ท่ีมีความแตกต�างจากขอบเขตความรู&ของนักวิจัย (2) ปรับปรุงความสามารถและศักยภาพของสมาชิกในชุมชน ผ�านการส�งเสริมการยกระดับและพัฒนาความสามารถในการวิเคราะห(และสังเคราะห(ธรรมชาติของปDญหาของตนเอง (3) ให&ความรู&ท่ีเหมาะสมกับแต�ละบุคคลในระดับชุมชน โดยการทําให&พวกเขามีความเป5นไปได&ท่ีจะได&รับความรู&ซ่ึงออกมาจากในสังคมของพวกเขาเอง เพ่ือท่ีจะเข&าใจความหมายของความรู&น้ัน และใช&ความรู&ได&อย�างเหมาะสม (4) ให&ความสนใจในการวิพากษ(วิจารณ(จากสมาชิกในชุมชน การนําวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส�วนร�วมมาใช&

Page 71: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

65

จะช�วยแสดงให&เห็นคําถามท่ีเก่ียวข&องกับปDญหาของคนในชุมชน (5) ปลดปล�อยความคิดโดยการใช&การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส�วนร�วมจะช�วยให&สมาชิกทุกระดับในชุมชนสามารถท่ีจะแสดงความคิดเห็นของพวกเขาได&อย�างอิสระ4

การพัฒนาอย�างย่ังยืน: การดําเนินการวิจัยโดยใช&การศึกษาแบบ EcoHealth มุ�งหวังว�าจะเกิดการเปลี่ยนแปลง และเป5นการเปลี่ยนแปลงท่ีย่ังยืน โดยเฉพาะอย�างย่ิงในด&านสิ่งแวดล&อม สังคม และเศรษฐกิจ ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติอย�างต�อเน่ือง ด&วยเหตุผลน้ี การแก&ปDญหาต&องอาศัยความตระหนักว�าแต�ละสิ่งมีความสัมพันธ(กันและมีผลกระทบต�อกันและกัน ตัวอย�างเช�น แผนการลดความยากจนในพ้ืนท่ีห�างไกล โดยการส�งเสริมการเลี้ยงปศุสัตว( เช�น ไก�หรือสุกร จะต&องพิจารณาถึงผลกระทบต�อสภาพแวดล&อมของการเลี้ยงสัตว(ชนิดน้ันๆ ด&วย เช�น กลิ่นเหม็นท่ีรบกวนชุมชน หรือสิ่งปฏิกูลจากสัตว(ท่ีสะสมในท่ีตั้งของชุมชน การพิจารณาจํานวนเงินท่ีเกษตรกรจะต&องลงทุนในระยะเริ่มแรก นอกจากน้ี มีความจําเป5นท่ีจะต&องพิจารณาถึงสถานท่ีตั้งและขนาดของตลาดท่ีเป5นไปได&ท่ีเกษตรกรจะสามารถจําหน�ายสินค&าของพวกเขา น่ันคือ จําเป5นต&องประเมินปDจจัยท่ีเก่ียวข&องกับการเลี้ยงปศุสัตว(ในทุกๆ ด&าน หากเกษตรกรเลี้ยงสัตว(แต�ไม�สามารถจําหน�ายได& หรือหากราคาขายไม�ครอบคลุมต&นทุนในการผลิตแล&ว การส�งเสริมการเลี้ยงปศุสัตว(จะไม�เป5นการลดปDญหาความยากจนอย�างย่ังยืน

ความเสมอภาคทางสังคมและเพศ: ในข้ันตอนของการดําเนินการวิจัยโดยใช&การศึกษาแบบ EcoHealth สมาชิกในชุมชนมีบทบาทในการแก&ปDญหาของพวกเขา ซ่ึงควรจะเกิดจากความตั้งใจ แต�อย�างไรก็ตาม สมาชิกในชุมชนมีความหลากหลาย ตัวอย�างเช�น พวกเขาแตกต�างกันในแง�ของอาชีพ สถานการณ(ทางสังคม และเพศ ความหลากหลายเหล�าน้ีจะต&องได&รับการแก&ไข หากการแก&ปDญหาทําให&เกิดความสําเร็จและความย่ังยืน

ตัวอยCางของป�ญหาท่ีเกิดขึ้นจากความไมCเทCาเทียมกันในสงัคม5

ปDญหาสุขภาพสามารถเกิดได&จากความแตกต�างทางเพศและฐานะทางสังคม ในกรณีของชุมชนกะเหรี่ยงบ&านคลิตี้ล�าง อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี หมู�บ&านได&รับผลกระทบจากเหมืองตะก่ัว ซ่ึงปล�อยนํ้าเสียลงสู� แม�นํ้าคลิตี้ ทําให&ชาวบ&านท่ีใช&นํ้าในแม�นํ้าเจ็บปYวย นอกจากน้ี ปศุสัตว( รวมถึงโคและกระบือตายในแบบท่ีไม�เคยพบมาก�อน เน่ืองจากกินนํ้าในแม�นํ้าท่ีมีสาร

Page 72: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

66

ปนเปfgอน พบว�ามีการปนเปfgอนของสารตะก่ัวในแม�นํ้าในระดับสูง ชาวบ&านไม�สามารถท่ีจะใช&นํ้าเพ่ือการเกษตร เพ่ือการเลี้ยงปศุสัตว( หรือเพ่ือการบริโภคได& กะเหรี่ยงในหมู�บ&านคลิตี้ล�างได&ทําการย่ืนเรื่องร&องเรียนกับรัฐบาล และฟhองศาลเพ่ือให&เหมืองแร�หยุดการดําเนินการ และจ�ายค�าชดเชยให&แก�คนในชุมชนสําหรับความเสียหายท่ีเกิดข้ึน จนในท่ีสุดเหมืองแร�ได&หยุดการดําเนินงานและจ�ายเงินค�าชดเชยให&แก�ชาวบ&าน อย�างไรก็ตาม มลพิษของตะก่ัวในแม�นํ้าและสภาพ แวดล&อมโดยรอบยังคงส�งผลกระทบต�อสุขภาพอย�างต�อเน่ือง นอกจากน้ียังมีความกดดันในการเป[ดเหมือง โดยไม�คํานึงถึงผลกระทบต�อชาวบ&าน สถานการณ(น้ีสะท&อนให&เห็นถึงปDญหาของคนท่ีอยู�ชายขอบของสังคม ซ่ึงอาจจะไม�ได&รับการเอาใจใส�ท่ีเหมาะสมจากรัฐบาล

ความรู�ท่ีนําไปสู�การปฏิบัติ: กิจกรรมท่ีทําให&เกิดผลเพ่ือปรับปรุงสุขภาพและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในชุมชน โดยการบูรณาการความรู&จากหลายสาขาวิชาท่ีแตกต�างกันคือเปhาหมายของการศึกษาแบบ EcoHealth เพ่ือการวิจัย การใช&ความรู&ท่ีได&รับจากการวิจัยเพ่ือส�งเสริมให&เกิดการเปลี่ยนแปลง รู&จักกันในช่ือของ การวิจัยเพ่ือประยุกต(ใช&ความรู& (Knowledge Translation; KT) การบูรณาการความรู&ควรจะเกิดข้ึนในทุกระดับและควรเก่ียวข&องกับสมาชิกในชุมชน ตั้งแต�ระดับนโยบายไปสู�กลุ�มคนทํางาน เมื่อสิ่งเหล�าน้ีเกิดข้ึนก็จะส�งผลให&เกิดการเปลี่ยนแปลงท้ังระบบ

แนวทางในการวิจัยเพ่ือประยุกต(ใช&ความรู& ได&แก� (1) การระบุสิ่งท่ีต&องการหรือช�องว�าง (หรือโอกาส) (2) ระบุผลลัพธ(สุดท&ายของสิ่งท่ีสนใจ (3) ประเมินสถานะปDจจุบันของความรู&ในพ้ืนท่ีท่ีสนใจ (4) อธิบายบริบทภายในท่ีจะนําความรู&มาใช& (5) ระบุกลไกท่ีเป5นไปได& และโอกาสท่ีจะทําให&ไปยังผลลัพธ(เปhาหมายได& (6) ระบุผลในข้ันกลางท่ีจะช�วยเคลื่อนย&ายระบบความรู&ไปสู�ผลลัพธ(เปhาหมาย (7) เลือกและใช&กลยุทธ(เพ่ือความก&าวหน&าของการใช&ความรู&วิจัย และ (8) ประเมินความคืบหน&าและปรับปรุงวิธีการตามความจําเป5น6

Page 73: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

67

รูป 6-3 แสดงการเปล่ียนความรู&ไปสู�การปฏิบัติในการศึกษาแบบ EcoHealth7

สรุปได&ว�า EcoHealth ใช&วิธีการท่ีแตกต�างจากการวิจัยและการแก&ปDญหาดั้งเดิม อาจกล�าวได&ว�า EcoHealth ละท้ิงหลายๆ วิธีวิจัยแบบดั้งเดิม และแสดงให&เห็นถึงวิธีใหม�ในการวิจัยท่ีรวบรวมเอาหลายสาขาวิชามาทํางานร�วมกัน ตั้งแต�แรกเริ่มของโครงการวิจัย และรวบรวมบุคคลท่ีเก่ียวข&องเข&าไว&ด&วยกันท้ังจากระดับบน (เช�น ผู&วางนโยบายของรัฐหรือองค(กร) และเจ&าของปDญหา (เช�น คนในชุมชนท่ีมีปDญหาอยู�) ท้ังหมดจะทํางานร�วมกันในทุกแง�มุมของการวิจัย ท้ังการประเมินปDญหา การระบุวัตถุประสงค(ท่ีต&องการ การกําหนดวิธีการในการแก&ไขปDญหา และการดําเนินการแก&ไขปDญหา ตลอดกระบวนการในการวิจัย จะมีการตรวจสอบเป5นระยะ เพ่ือรับรองว�าทิศทางในการแก&ไขปDญหามีความเหมาะสมและย่ังยืน

Page 74: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

68

การศึกษาแบบ EcoHealth ต&องการการได&มาซ่ึงความรู&ซ่ึงจะต&องพิจารณาในภาพรวม ต&องใช&การคิดเชิงระบบ ต&องมองปDญหาจากมุมมองร�วมกันเพ่ือให&เห็นการเช่ือมต�อระหว�างส�วนประกอบต�างๆ ในระบบ ต&องใช&วิธีการทํางานแบบบูรณาการและการทํางานข&ามสาขาวิชาจากจุดเริ่มต&น และจะต&องให&ผู&มีส�วนได&ส�วนเสียท่ีเก่ียวข&องมีบทบาทและความสําคัญเท�าเทียมกัน การวิจัยไม�ได&ทําเฉพาะเพ่ือให&เข&าใจปDญหา แต�มีจุดมุ�งหมายท่ีจะนําไปสู�การแก&ปDญหาผ�านการประยุกต(ใช&ความรู&ใหม�ท่ีได&รับมา การแก&ปDญหาควรจะมุ�งเน&นการพัฒนาอย�างย่ังยืน ผ�านการใช&มุมมองท่ีมีความสําคัญของการศึกษาแบบ EcoHealth อย�างมีประสิทธิภาพ

ตัวอยCางของการแกป�ญหาชมุชนโดยใชการศึกษาแบบ EcoHealth

ในป\ พ.ศ. 2537 เมื่อรัฐบาลได&เริ่มโครงการสําหรับการก�อสร&างเข่ือนกักเก็บนํ้า เข่ือนราศีไศลทําให&เกิดนํ้าท�วมเป5นระยะๆ ท่ัวพ้ืนท่ีปYาขนาดใหญ� ท่ีมีชุมชนตั้งอยู�และเป5นสถานท่ีท่ีคนในชุมชนใช&เลี้ยงโค เน่ืองมาจากปDญหานํ้าท�วม แต�ละครอบครัวจําต&องค�อยๆ ขายโคและกระบือของพวกเขาในราคาท่ีต่ํา และท่ีดินของพวกเขาไม�เพียงพอท่ีจะเลี้ยงสัตว(จํานวนมากแบบดั้งเดิมอีกต�อไป สถานการณ(น้ีกระตุ&นให&ผู&ท่ีอาศัยอยู�ในตําบลดอนแรด ตามท่ีนายบุญมี โสภัง ผู&นําในชุมชนค&นหาแนวทางในการแก&ปDญหา พวกเขาใช&การวิจัยภายในพ้ืนท่ีเป5นเครื่องมือในการหาทางออก ภายใต&โครงการวิจัย “ศึกษารูปแบบการเลี้ยงโค – กระบือท่ีเหมาะสมกับพ้ืนท่ีปYาทาม ตําบลดอนแรด อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร(” โครงการวิจัยน้ีได&รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห�งชาติ โดยมีนายบุญมีเป5นหัวหน&าโครงการ

ทีมวิจัยและคนท่ีอาศัยอยู�ในตําบลดอนแรดร�วมกันแสวงหาทางออกท่ีเหมาะสมในการแก&ไขปDญหาการเลี้ยงโค-กระบือในพ้ืนท่ีปYาทาม ข้ันตอนการวิจัยใช&การอภิปรายโดยการตั้งประเด็นคําถาม เพ่ือให&ได&รับความเข&าใจเชิงลึกเก่ียวกับสถานการณ(ของกลุ�มเปhาหมาย เช�น การสอบถามจากผู&นําชุมชน ผู&ใหญ�บ&าน องค(การบริหารส�วนตําบล และกลุ�มผู&เลี้ยงโค กระบือ จนในท่ีสุดได&มีการพัฒนาโครงการสําหรับการเลี้ยงโคและกระบือข้ึน ซ่ึงรวมถึงโครงการนําร�องท่ีได&ทดลองให&ผู&เลี้ยงโค-กระบือ จํานวน 15 ราย สําหรับทดสอบระบบการจัดหาอาหารสัตว(

Page 75: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

69

ในช�วงท่ีมีอาหารไม�เพียงพอเน่ืองจากนํ้าท�วมพ้ืนท่ีปYาทาม วิธีแก&ปDญหาคือการจัดการให&มีแปลงหญ&าสําหรับปศุสัตว( ท้ังในระดับครัวเรือนและตามพ้ืนท่ีชุมชน ด&านการปhองกันและรักษาโรคโดยใช&วิธีการพ้ืนบ&าน ได&มีการทดลองปลูกพืชสมุนไพรจากปYาทามในสวนสาธิตพืชสมุนไพรรักษาโรคโค-กระบือบริเวณรอบๆ พ้ืนท่ีโรงเรียน และมีการทดลองใช&ข&าวเปลือกในการปรับปรุงพ้ืนท่ีท่ีเป5นโคลนในคอกเลี้ยงโค-กระบือ

ผลท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการวิจัย ช�วยให&คนในชุมชนเข&าใจถึงเหตุการณ(ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนของพวกเขา ได&มีการวิเคราะห(ถึงสาเหตุของเหตุการณ(ท่ีเกิดข้ึนโดยการทบทวนข&อมูล และเรียนรู& ท่ีจะแก&ปDญหาโดยใช&ทรัพยากรและความ สามารถท่ีมีอยู�ในชุมชน นอกเหนือจากการหาวิธีแก&ปDญหาในชุมชน หน�วยงานราชการและองค(กรในชุมชนควรจะร�วมมือกันในการช�วยเหลือ ขยายการให& บริการไปยังกลุ�มผู&เลี้ยงโค-กระบือ ยกตัวอย�างเช�น สํานักงานปศุสัตว(ในอําเภอ รัตนบุรี จังหวัดสุรินทร( ได&ให&การสนับสนุนในรูปของอาหารสัตว(และการปรับปรุงพันธุ(สัตว( องค(การบริหารตําบลดอนแรดได&จัดหาเงินสนับสนุนจํานวน 90,000 บาท สําหรับโครงการส�งเสริมการเลี้ยงโค-กระบือในตําบลดอนแรด

6.4 สิ่งท่ีฉันสามารถทําได

เป5นท่ียอมรับกันดีว�างานวิจัยท่ีใช&การศึกษาแบบ EcoHealth มีประสิทธิภาพในการประยุกต(ใช&ผลการวิจัยในการแก&ปDญหาได&อย�างประสบผลสําเร็จ เน่ืองจากการวิจัยมีความครอบคลุม ท้ังในด&านสังคม-เศรษฐกิจ สาธารณสุข ปศุสัตว( ผู&วางนโยบายของรัฐหรือองค(กร และคนทํางาน ซ่ึงทําให&เกิดความเป5นไปได&ในการบรรลุการแก&ปDญหาอย�างย่ังยืน การศึกษาแบบ EcoHealth มีความท&าทายต�อท้ังนักวิจัยและผู&วางนโยบาย

6.4.1 ความทาทายสําหรับนักวิจยั

ด&วยวิธีการวิจัยแบบดั้งเดิม นักวิจัยจะกําหนดปDญหาและหาวิธีในการแก&ปDญหาน้ัน ผลท่ีได&คือ บางครั้งทิศทางในการแก&ปDญหาไม�ได&ส�งผลในการแก&ปDญหาอย�างแท&จริงเมื่อถูกนํามาใช& เน่ืองจากการขาดการมีส�วนร�วมในส�วนของกลุ�มท่ีได&รับผลกระทบจากปDญหา ในการใช&การศึกษาแบบ EcoHealth จําเป5นท่ีจะต&องกําจัดและท้ิงวิธีการวิจัยแบบดั้งเดิม น่ันก็คือการท่ีคนจากในหลายสาขาจะต&องทํางานร�วมกัน ผู&มีส�วนได&ส�วนเสียจะต&องมีบทบาท

Page 76: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

70

โดยเฉพาะอย�างย่ิงผู&ท่ีได&รับผลกระทบจากปDญหาโดยตรง ดังน้ันผู&ท่ีมีบทบาทจะต&องเป[ดใจเก่ียวกับการเรียนรู&ในขอบเขตการศึกษาท่ีต�างจากสาขาท่ีตนเองมีความเช่ียวชาญ พวกเขาจะต&องพร&อมท่ีจะเรียนรู&ร�วมกัน ไตร�ตรองปDญหาเดียวกัน และทํางานร�วมกันกับชุมชนและเจ&าหน&าท่ีของรัฐ

6.4.2 ความทาทายสําหรับผูวางนโยบาย

ด&วยกรอบการวิจัยแบบดั้งเดิม ผู&วางนโยบายจะเป5นผู&ท่ีได&รับผลการวิจัยเพียงผู&เดียว พวกเขาไม�มีบทบาทในการวิจัยตั้งแต�แรกเริ่ม ซ่ึงหมายความว�าพวกเขามักจะไม�ได&มีความเข&าใจในปDญหาอย�างเต็มรูปแบบ ผู&วางนโยบายจะสร&างนโยบายในการแก&ปDญหาด&วยตนเอง ผู&มีส�วนได&ส�วนเสียในความเป5นจริง รวมท้ังคนในชุมชนท่ีได&รับผลกระทบ ไม�มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นของพวกเขา พวกเขาไม�มีบทบาทในการกําหนดทิศทางในการแก&ปDญหา หรือเพ่ือรับประกันว�าการแก&ปDญหาน้ันจะเป5นการแก&ปDญหาท่ีย่ังยืน ผู&วางนโยบายจะต&องมีบทบาทตั้งแต�แรกเริ่ม เพ่ือให&พวกเขาเข&าใจและตระหนักถึงปDญหาอย�างแท&จริง นักวิจัยคือบุคคลท่ีสามารถทําสิ่งเหล�าน้ีให&เกิดข้ึนได& ซ่ึงต&องกระตุ&นให&ผู&กําหนดนโยบายเกิดการมีส�วนร�วม การมีส�วนร�วมน้ันอาจประกอบด&วย การรายงานผลเป5นระยะเก่ียวกับกิจกรรม และความคืบหน&าของการทําวิจัย รวมถึงรายละเอียดของวิธีการท่ีผู&มีส�วนได&ส�วนเสียมีส�วนร�วมในกระบวนการวิจัย นอกจากน้ี ผู&วางนโยบายสามารถแจ&งนักวิจัยเก่ียวกับข&อจํากัดของนโยบาย ดังน้ัน ข&อจํากัดเหล�าน้ันสามารถเป5นปDจจัยในการดําเนินการวิจัย ผู&วางนโยบายเองควรได&รับการส�งเสริมให&เป[ดใจ รับฟDงแนวคิดและผลการวิจัย เพ่ือท่ีพวกเขาจะสามารถใช&ความรู&น้ันในการสร&างนโยบายท่ีเหมาะสมต�อการตอบสนองต�อปDญหาท่ีเกิดข้ึน

Page 77: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

71

อ�างอิง

1. Wikipedia. Systems thinking. Available at http://en.wikipedia.org/wiki/Systems_thinking. Accessed April 7, 2013.

2. Kherdcharoen T. Knowledge of the national nanoscience is an indicator of the country progression in the decades to come. Nakornprathom: Mahidol University; 2006.

3. Hancock T. Toward healthy and sustainable communities: health, environment and economy at the local level. In: the 3rd Colloquium on Environmental Health; 1990 November 22; Quebec, Canada.

4. Sudprasert K. Participatory action research of the worker. Bangkok: Office of Human Resource Development Project, Ministry of Education; 1997.

5. Buntowtook J. Coping with environmental change affecting health from a gender perspective: a case study of Karen Village at Lower Klity, Kanchanaburi Province [dissertation]. Bangkok: Chulalongkorn University; 2004.

6. Birdsell J, Skanes V. A framework for doing knowledge translation in infection and immunity research. Canadian Institutes of Health Research, 2008. Available at http://www.cihr-irsc.gc.ca/e/38761.html. Accessed April 7, 2013.

7. Ibid.

Page 78: EcoHealth Manual (TH) pdf

คู�มือ EcoHealth ฉบับภาษาไทย

Page 79: EcoHealth Manual (TH) pdf
Page 80: EcoHealth Manual (TH) pdf