(elasticity of demand and supply) · (elasticity of demand and supply) ... (price elasticity of...

20
1 บทที3 ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) การศึกษาในบทที2 เราทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อและขายเมื่อราคาของสินคา เปลี่ยนแปลงไป เชน จากกฎอุปสงค เราทราบวาหากปจจัยอื่นๆ คงที่แลว ปริมาณซื้อจะผกผันกับราคาสินคา เปนตน แตถาเราพิจารณาการเปลี่ยนแปลงใหลึกซึ้งขึ้น เปนตนวาเมื่อราคาสินคาเพิ่มขึ้น 1 % ปริมาณซื้อของ สินคาที่จําเปนจะลดลงไมมาก แตถาเปนสินคาฟุมเฟอยและไมมีความจําเปนปริมาณซื้ออาจจะลดลงมากกวา 1 % การพิจารณาปฏิกริยาการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อหรือขายที่มีตอการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่เราสนใจ (ใน ที่นี้คือราคาของสินคานั้น) เรียกวา ความยืดหยุ(Elasticity)” หากจะนิยามความหมายของความยืดหยุเราอาจกลาวไดวา ความยืดหยุ(Elasticity) คือ ปฏิกิริยา ตอบสนองของผูซื้อและผูขาย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปจจัยใดปจจัยหนึ่งที่เราสนใจ ซึ่งความยืดหยุนเปน เครื่องมือที่สําคัญในการศึกษาพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจตางๆ เชน ผูผลิตจะตองพิจารณาวาหากเขาขึ้น ราคาสินคา จะทําใหปริมาณซื้อลดลงมากนอยเพียงใด และมีผลตอรายรับรวมของธุรกิจอยางไรบาง เพราะการทีขึ้นราคาสินคาไมจําเปนที่รายรับของธุรกิจจะเพิ่มขึ้น เปนตน ความยืดหยุนที่เราจะศึกษาในบทนี้จะศึกษาเฉพาะความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทานเทานั้น แบงเปน 1.) ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคาสินคานั้น 2.) ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได 3.) ความ ยืดหยุนของอุปสงคตอราคาสินคาอื่น และ 4.) ความยืดหยุนของอุปทานตอราคาสินคานั้น 1. ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา(Price Elasticity of Demand; d ) คือ เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อตอเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา คาความ ยืดหยุนไมมีหนวย Q P P Q x P P x Q Q d 100 100 2. ตัวอยางการคํานวณความยืดหยุนของอุปสงค ตัวอยางที1 ราคาสินคา Xเพิ่มขึ้นจาก 2 บาทตอหนวยเปน 2.2 บาทตอหนวย ทําใหปริมาณซื้อลดลงจาก 10 หนวยเหลือ 8 หนวย จงหาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา 2 ) 10 2 ( ) 2 2 . 2 ( ) 10 8 ( d คาความยืดหยุนของอุปสงคมีคาเทากับ –2 แสดงวา หากราคาของสินคา X เพิ่มขึ้น 1% จะทําให ปริมาณซื้อสินคา X ลดลง 2 %

Upload: others

Post on 23-Mar-2020

79 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

1

บทท่ี 3 ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply)

การศึกษาในบทท่ี 2 เราทราบถึงการเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อและขายเม่ือราคาของสินคาเปล่ียนแปลงไป เชน จากกฎอุปสงค เราทราบวาหากปจจัยอ่ืนๆ คงที่แลว ปริมาณซื้อจะผกผันกับราคาสินคา เปนตน แตถาเราพจิารณาการเปล่ียนแปลงใหลึกซึง้ข้ึน เปนตนวาเมือ่ราคาสินคาเพิ่มข้ึน 1 % ปริมาณซื้อของสินคาที่จําเปนจะลดลงไมมาก แตถาเปนสินคาฟุมเฟอยและไมมีความจําเปนปริมาณซื้ออาจจะลดลงมากกวา 1 % การพิจารณาปฏิกริยาการเปล่ียนแปลงของปริมาณซ้ือหรือขายทีม่ีตอการเปล่ียนแปลงของส่ิงที่เราสนใจ (ในที่นี้คือราคาของสินคานัน้) เรียกวา “ความยืดหยุน (Elasticity)”

หากจะนิยามความหมายของความยืดหยุน เราอาจกลาวไดวา ความยืดหยุน(Elasticity) คือ ปฏิกิริยาตอบสนองของผูซื้อและผูขาย เมื่อมีการเปล่ียนแปลงของปจจัยใดปจจัยหนึ่งที่เราสนใจ ซึ่งความยืดหยุนเปนเคร่ืองมือที่สําคัญในการศึกษาพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจตางๆ เชน ผูผลิตจะตองพิจารณาวาหากเขาข้ึนราคาสินคา จะทําใหปริมาณซื้อลดลงมากนอยเพียงใด และมีผลตอรายรับรวมของธุรกิจอยางไรบาง เพราะการที่ข้ึนราคาสินคาไมจําเปนที่รายรับของธุรกิจจะเพิ่มข้ึน เปนตน ความยืดหยุนที่เราจะศึกษาในบทนี้จะศึกษาเฉพาะความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทานเทานั้น แบงเปน 1.) ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคาสินคานั้น 2.) ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได 3.) ความยดืหยุนของอุปสงคตอราคาสินคาอ่ืน และ 4.) ความยืดหยุนของอุปทานตอราคาสินคานัน้

1. ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา(Price Elasticity of Demand; d ) คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อตอเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของราคาสินคา คาความยืดหยุนไมมหีนวย

QP

PQ

xPP

xQQ

d

100

100

2. ตัวอยางการคํานวณความยืดหยุนของอุปสงค ตัวอยางที่1 ราคาสินคา Xเพิ่มข้ึนจาก 2 บาทตอหนวยเปน 2.2 บาทตอหนวย ทําใหปริมาณซื้อลดลงจาก 10 หนวยเหลือ 8 หนวย จงหาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

2)102

()22.2(

)108(

d

คาความยืดหยุนของอุปสงคมีคาเทากับ –2 แสดงวา หากราคาของสินคา X เพิ่มข้ึน 1% จะทําใหปริมาณซื้อสินคา X ลดลง 2 %

Page 2: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

2

ในทางเศรษฐศาสตร คาความยืดหยุนของอุปสงคจะมคีาติดลบเพราะปริมาณซื้อจะผกผันกับราคาตามกฎของอุปสงค ดังนัน้ จะพจิารณาคาสัมบูรณของคาความยืดหยุนทีคํ่านวณได )( d ยกตัวอยางเชน สินคาอีกชนิด สมมติวาคือ Y มีคาความยืดหยุนของอุปสงคเทากบั –0.5 เราจะตองสรุปวา สินคา X มีความยืดหยุนสูงกวา สินคา Y การคํานวณคาความยืดหยุนของอุปสงคมีอีกวิธีเรียกวา การวัดจากคากลาง(Midpoint Method) คือ จะใชราคาและปริมาณเฉล่ียแทน ดังนี ้

32.2)2/)108(2/)2.22(

()22.2(

)108(

2

)(2

)(

21

21

QQ

Pp

PQ

d

3. ปจจยักําหนดความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา (Determinants of Price Elasticity of Demand) 1.) สินคานัน้เปนสินคาจําเปนหรือสินคาฟุมเฟอย (Necessities versus Luxuries ) คือ หากเปนสินคาจําเปนจะมีความยืดหยุนตํ่าเพราะเม่ือราคาเพิ่มข้ึน ปริมาณซื้อลดลงไมมาก กลับกนัหากเปนสินคาฟุมเฟอยจะมีความยืดหยุนมากเพราะเม่ือราคาเพิ่มข้ึน ปริมาณซื้อลดลงอยางมาก 2.) สินคานัน้มสิีนคาทดแทนมากนอยเพียงใด(Availability of Close Substitutes) คือ หากสินคานัน้มีสินคาอ่ืนๆที่สามารถแทนกนัไดอยูหลายชนิด จะมีความยืดหยุนสูง เพราะเมื่อราคาสินคาเพิ่มข้ึนทาํใหปริมาณซื้อลดลงอยางมาก เพราะผูบริโภคเปล่ียนไปใชสินคาอ่ืนๆที่ทดแทนกันได 3.) การใหคํานิยามของตลาด( Definition of the Market) คือ หากเราใชคํานยิามทีแ่คบจะเปนการเฉพาะเจาะจงสินคามากข้ึน เชน ตลาดชาเขียว สินคานี้จะมีความยืดหยุนสูงเพราะถาเกิดชาเขียวข้ึนราคาจะทาํใหปริมาณซื้อลดลงมาก เพราะผูบริโภคเปล่ียนไปกนิชาอ่ืนๆ แทน เชน ชาดําเยน็ ชามะนาว ชานม เปนตน ในทางตรงขาม หากเราใชนยิามที่กวาง เชน ตลาดใบชา สินคานี้จะมีความยืดหยุนตํ่าเพราะถาเกิดใบชาข้ึนราคาจะทาํใหปริมาณซ้ือลดลงไมมาก เพราะมีสินคาทดแทนชาไดนอย 4.) ระยะเวลาที่ผานไปหลังเกิดการเปล่ียนแปลงราคา (Time Horizon )คือ เมื่อเวลาผานไปนานข้ึน สินคาจะมีความยืดหยุนมากข้ึน เชน ปจจบัุน น้าํมันเปนสินคาจําเปนความยืดหยุนตํ่า แตถาผานไป 10-20 ป อาจมีการคนพบพลังงานทางเลือกอ่ืนๆ หรือปรับปรุงประสิทธภิาพของเคร่ืองยนตใหดีข้ึน น้ํามนัจะมีความจําเปนลดลงดังนัน้ความยืดหยุนจะสูงข้ึน 4. ชวงของความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา(Ranges of Price Elasticity)

1.) อุปสงคไมมีความยืดหยุน (Perfectly Inelastic Demand) หรือคาความยืดหยุนเทากับ 0 คือ ปริมาณซือ้ไมมีความออนไหวตอการเปล่ียนแปลงของราคา หรืออีกนัยหนึ่งไมวาระดับราคาจะเพิ่มข้ึนเทาใดปริมาณซื้อยังคงเทาเดิม จากรูป 2-1 ปริมาณซื้อยังคงเทากับ 100 หนวยเสมอ

Page 3: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

3

รูป 3-1 Perfectly Inelastic Demand

2.) อุปสงคมีคาความยืดหยุนตํ่า (Inelastic Demand) หรือคาสัมบูรณของความยืดหยุนมีคานอยกวา 1( )1d

คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อนอยกวาเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของราคาสินคา ยิ่งคาดังกลาวมคีาตํ่าเทาใด แสดงวาสินคานั้นมีความจําเปนอยางมาก

รูป 3-2 Inelastic Demand( )1d

3.) อุปสงคมีคาความยืดหยุนคงท่ี (Unitary elastic Demand) หรือคาสัมบูรณของความยืดหยุนมีคาเทากับ 1( )1d

Quantity

Price

44

$5$5

Demand

100

Demand

100

Quantity

Price

44

$5$51.ราคาเพิ่มข้ึน22%1.ราคาเพิ่มข้ึน22%

DemandDemand

10010090902. ปริมาณ ซ้ือลดลง 11%2. ปริมาณ ซ้ือลดลง 11%

Page 4: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

4

คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อจะเทากบัเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของราคาสินคา โดยสมการอุปสงคจะมีลักษณะที่เรียกวา Rectangular Hyperbola1 จะทําใหทกุๆจุดบนเสนอุปสงคมีความยืดหยุนเทากบั 1

รูป 3-3 Unitary elastic Demand( )1d

4.) อุปสงคมีคาความยืดหยุนสูง (elastic Demand) หรือคาสัมบูรณของความยดืหยุนมีคามากกวา 1( )1d

คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อมากกวาเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของราคาสินคา ยิ่งคาดังกลาวมคีามากเทาใด แสดงวาสินคานั้นเปนสินคาไมจําเปนหรือเปนสินคาฟุมเฟอย

รูป 3-4 elastic Demand( )1d

1

0, aPa

Q จะคํานวณคาสัมบูรณความยดืหยุนของอุปสงคไดเทากับ 1 เสมอ

Quantity

Price

44

$5$5

DemandDemand

1001008080

Quantity

Price

44

$5$5

DemandDemand

1001005050

Page 5: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

5

5.) อุปสงคมีคาความยืดหยุนเทากับอสงไขย (Perfectly elastic Demand) หรือคาสัมบูรณของความยืดหยุนมีคาเทากับอสงไขย ( )d

คือ ปริมาณซือ้จะเพิ่มข้ึนโดยไมจํากัดเมื่อผูผลิตขายตามราคาตลาดในทีน่ี้คือ 4 บาทตอหนวย แตถาเปล่ียนแปลงราคาเพียงเล็กนอย ผูผลิตจะขายสินคาไมไดเลย กรณีนี้คาสัมบูรณความยืดหยุนของอุปสงคเทากับอสงไขย หรือเสนอุปสงคจะเปนเสนตรงขนานแกนนอน

รูป 3-5 Perfectly elastic Demand( )d

5. ความแตกตางระหวางความชันและคาความยืดหยุน

1.) ความชัน(XY

) จะมีหนวยเปน หนวยของ Y หารดวยหนวยของ X แตความยืดหยุนไมมหีนวย

2.) ถาเสนอุปสงคเปนเสนตรงจะมีความชันคงที ่แตความยดืหยุนแตละจุดบนเสนตรงจะไมเทากัน จากรูปที ่3-6 แสดงเสนอุปสงคของกาแฟ พบวา ทุกๆจุดบนเสนอุปสงคมีความชันเทากับ –1/5 ซึ่งมี

หนวยเปน บาทตอแกว แตคาสัมบูรณความยดืหยุนของอุปสงคไมเทากัน ที่จุด A 2d ซึ่งคํานวณจาก

2104

5

xQP

xPQ แตที่จุด B จะมีคาสัมบูรณของความยืดหยุนเทากับ 1 และที่จุด C จะเทากบั

0.5 ตามลําดับ ดังนัน้ถาเสนอุปสงคเปนกราฟเสนตรง จุดที่อยูกึง่กลางเสน (จุด B) จะมีคา 1d สวนจุดที่อยูทางซาย (จุด A) จะมีคา d <1 และจุดทีอ่ยูทางขวา (จุด C) จะมีคา d >1

Quantity

Price

Demand$4 Demand$4

Page 6: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

6

รูปที่ 3-6 การคํานวณคาความยืดหยุนของเสนอุปสงคทีเ่ปนเสนตรง

6. ความสัมพันธระหวางคาความยืดหยุนกับรายรับรวม (Elasticity and Total Revenue) รายรับรวม(TR) คือ รายรับของผูผลิตหาไดจากปริมาณซ้ือทั้งหมดคูณดวยราคาขายตอหนวย หรืออีกนัยหนึง่คือรายจายรวม (Total Expenditure: TE) ของผูบริโภค

PxQTETR 1.) สินคาทีมี่ความยืดหยุนสูง 1d

รูปที่ 3-7 การเปล่ียนแปลงราคาที่มีผลตอรายรับรวมกรณีสินคาที่มีความยืดหยุนสูง 1d

A

B

Page 7: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

7

จากรูปที ่3-7 กําหนดใหราคาเร่ิมตนเทากบั 3 บาท ปริมาณอุปสงคจะเทากับ 15 หนวย ผูผลิตมีรายรับรวมเทากับ 45 บาท ตอมาเมือ่เพิ่มราคาอีก 2 บาทหรือเพิม่ข้ึน 50%(ใชวิธี midpoint) เปน 5 บาท ทาํใหปริมาณซื้อลดลง 10 หนวยหรือลดลง 10 หนวยหรือลดลง 100%(ใชวิธี midpoint) เหลือ 5 หนวย แสดงวา 1d รายรับรวมหลังการเปล่ียนแปลงเทากับ 25 บาท แสดงวาการที่สินคาที่ 1d การข้ึนราคาสินคาจะทาํใหรายรับรวมของผูผลิตลดลง

2.) สินคาทีมี่ความยืดหยุนตํ่า 1d จากรูปที ่3-8 กําหนดใหราคาเร่ิมตนเทากบั 50 บาท ปริมาณอุปสงคจะเทากับ 5 หนวย ผูผลิตมีรายรับ

รวมเทากับ 250 บาท ตอมาเมื่อเพิ่มราคาอีก 25 บาทหรือเพิ่มข้ึน 40%(ใชวิธี midpoint) เปน 75 บาท ทาํใหปริมาณซื้อลดลง 5หนวยหรือลดลง 4 หนวยหรือลดลง 22.22%(ใชวิธ ีmidpoint) เหลือ 4 หนวย แสดงวา

1d รายรับรวมหลังการเปล่ียนแปลงเทากับ 300 บาท แสดงวาการที่สินคาที่ 1d การข้ึนราคาสินคาจะทําใหรายรับรวมของผูผลิตเพิ่มข้ึน

รูปที่ 3-8 การเปล่ียนแปลงราคาท่ีมีผลตอรายรับรวมกรณีสินคาที่มีความยืดหยุนตํ่า 1d 7. การใชคณติศาสตรแสดงความสมัพันธระหวางคาความยืดหยุนกับรายรับรวม

****)1(

)1()1(

d

d

QPTR

QPQ

QP

QQPQ

pPTR

PQTR

แบงพิจารณา 3 กรณี คือ

1.) สินคาที่มีความยืดหยุนสูง 1d จากสมการขางตนจะทาํให PTR

<0 แสดงวาการข้ึนราคา

สินคาทําใหรายรับรวมของผูผลิตลดลง

Page 8: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

8

2.) สินคาที่มีความยืดหยุนคงทีเ่ทากับ 1 1d จากสมการขางตนจะทาํให PTR

= 0 แสดงวา

การข้ึนราคาสินคาไมทําใหรายรับรวมของผูผลิตเปล่ียนแปลง คือ รายรับรวมยังคงเทาเดิม

3.) สินคาที่มีความยืดหยุนตํ่า 1d จากสมการขางตนจะทาํให PTR

> 0 แสดงวาการข้ึนราคา

สินคาทําใหรายรับรวมของผูผลิตเพิ่มข้ึน

ตารางที่ 3-1 สรุปความสัมพันธระหวางความยืดหยุน ราคา และรายรับรวมของผูผลิต การเปล่ียนแปลงของราคา คาความยืดหยุน

การข้ึนราคาสินคา การลดราคาสินคา

1d TR ลดลง TR เพิ่มข้ึน

1d TR คงที ่ TR คงที ่

1d TR เพิ่มข้ึน TR ลดลง

8. ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได(Income Elasticity of Demand) คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อตอเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของรายได

QY

YQ

xYY

xQQ

y

100

100

1.) สินคาปกติ(Normal Goods) คือ สินคาที่เมื่อรายไดเพิ่มข้ึน ปริมาณซื้อจะเพิ่มข้ึน ดังนัน้คาของ

y >0 แบงพิจารณาเปน 2 กลุมสินคา คือ

1.1 สินคาจําเปน(Necessary Goods) คือ สินคาที่มีคาความยืดหยุนของอุปสงคตอรายไดตํ่า (Income Inelasticity,0< y <1 ) เชน อาหาร ยา เช้ือเพลิง เมื่อรายไดเพิ่มข้ึนผูบริโภคจะซ้ือเพิ่มข้ึนไมมาก

1.2 สินคาฟุมเฟอย(Luxury Goods) คือ สินคาที่มีคาความยืดหยุนของอุปสงคตอรายไดสูง (Income elasticity, y >1 ) เชน สินคาแบรนดเนม การทองเทีย่วตางประเทศ เมื่อรายไดเพิ่มข้ึนผูบริโภคจะซ้ือเพิ่มข้ึนมาก

2.) สินคาดอย(Inferior Goods) คือ สินคาที่เมื่อรายไดเพิ่มข้ึน ปริมาณซื้อจะลดลง ดังนัน้คาของ y <0

เชน เส้ือโหล โรงหนังช้ันสอง เปนตน 9. ความยืดหยุนอุปสงคตอราคาสินคาอ่ืนหรือความยืดหยุนไขว(Elasticity of Cross Demand)

คือ เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อตอเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของราคาสินคาอ่ืน โดยมากมักจะวิเคราะหเฉพาะสินคาที่ใชทดแทนกันและสินคาที่ใชประกอบกัน

Page 9: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

9

1

2

2

1

2

2

1

1

100

100

QP

PQ

xPP

xQQ

c

1.) สินคาที่ใชทดแทนกัน(Substitute Goods) คาของ c >0 เพราะ 2

1

PQ

>0 หากคาดังกลาวมีคาสูง

มากเทาไร แสดงวาสินคาทั้งสองชนิดสามารถทดแทนกนัไดดี เพราะ หากราคาสินคาชนิดที ่2 เพิม่ข้ึน ผูบริโภคจะเปล่ียนไปใชสินคาชนิดหนึ่งมากข้ึน เชน ความยืดหยุนไขวระหวางชากับราคากาแฟ มีคาเทากบั 4 แตความยืดหยุนไขวระหวางน้ําอัดลมกับราคากาแฟเทากับ 0.5 แสดงวาชาเปนสินคาทดแทนของกาแฟไดดีกวาน้ําอัดลม เปนตน

2.) สินคาที่ใชประกอบกัน(Complementary Goods) คาของ c <0 เพราะ 2

1

PQ

< 0 หากคา

สัมบูรณ )( c ดังกลาวมีคาสูงมากเทาไร แสดงวาสินคาทัง้สองชนิดจําเปนตองใชประกอบกันอยางมาก เพราะ หากราคาสินคาชนิดที ่2 เพิม่ข้ึน ผูบริโภคจะตองลดปริมาณซื้อสินคาที่ 1 มากตามไปดวย เชน ความยืดหยุนไขวระหวางเคร่ืองจักรกับราคาน้าํมันเทากับ –0.4 แตความยดืหยุนไขวระหวางรถยนตกับราคาน้าํมันเทากับ –3 แสดงวารถยนตกับน้ํามันจําเปนตองใชประกอบกันมากกวาเคร่ืองจกัรกบัน้ํามนั เปนตน 10. ความยืดหยุนของอุปทาน(Price Elasticity of Supply)

คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของปริมาณขายของผูผลิตตอเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา มีคามากกวาหรือเทากบั 0 เสมอ เพราะจากกฎของอุปทาน ปริมาณเสนอขายจะแปรผันตรงกับราคาสินคา

QP

PQ

xPP

xQQ

s

100

100

1.)อุปทานไมมีความยืดหยุนเลย(Perfectly Inelastic Supply) หรือคาของ s =0

คือ ปริมาณขายจะคงเดิมไมวาราคาจะเปล่ียนแปลงเพิ่มข้ึนหรือลดลง เสนอุปทานมีลักษณะต้ังฉากกับแกนนอน แสดงในรูปที ่3-9 2.)เสนอุปทานมีความยืดหยุนตํ่า(Inelastic Supply) หรือคาของ s < 1 คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงปริมาณขายจะนอยกวาเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของราคา หรือเสนอุปทานที่เปนเสนตรงตัดแกนราคาที่นอยกวา 0 แสดงในรูปที่ 3-10 3.) เสนอุปทานที่มีความยืดหยุนคงท่ีเทากับ 1 (Unitary Elastic Supply) หรือคาของ s = 1

Page 10: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

10

คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงปริมาณขายจะเทากับเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคา หรือเสนอุปทานที่เปนเสนตรงตัดแกนราคาที่ 0 แสดงในรูปที ่3-11

4.)เสนอุปทานมีความยืดหยุนสงู(Elastic Supply) หรือคาของ s > 1 คือ เปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงปริมาณขายจะมากกวาเปอรเซ็นตการเปล่ียนแปลงของราคา หรือเสนอุปทานที่เปนเสนตรงตัดแกนราคาที่มากกวา 0 แสดงในรูปที่ 3-12

5.)อุปทานมีความยืดหยุนเทากบัอสงไขย (Perfectly Elastic Supply) หรือคาของ s = คือ ราคาขายจะคงเดิมไมวาปริมาณขายจะเปล่ียนแปลงเพิม่ข้ึนหรือลดลง เสนอุปทานมีลักษณะต้ังฉากกับแกนนอน แสดงในรูปที่ 3-13

รูปที่ 3-9 Perfectly Inelastic Supply s =0 รูปที่ 3-10 Inelastic Supply s <1

รูปที่ 3-11Unitary elastic Supply s =1 รูปที่ 3-12 Elastic Supply s >1

Quantity

Price

44

$5$5

Supply

100

Supply

100 Quantity

Price

44

$5$5

110110100100

SupplySupply

Quantity

Price

44

$5$5

125125100100

SupplySupply

Quantity

Price

44

$5$5

200200100100

SupplySupply

Page 11: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

11

รูปที่ 3-13 Perfectly Elastic Supply s = ตัวอยางที ่2 จงพิสูจนโดยใชคณิตศาสตรวาหากเสนอุปทานเปนเสนตรง bQaP ,b>0 การคาํนวณคาความยืดหยุนของอุปทาน ณ ระดับ Q ใดๆที่มากกวา 0 สมมติวาเปนจุด A จะเปนดังนี ้ 1. s ที่จุด A <1 เมื่อ a <0 หรือเสนอุปทานตัดแกนราคาที่นอยกวา 0 (รูปที่ 3-10) 2. s ที่จุด A =1 เมื่อ a =0 หรือเสนอุปทานตัดแกนราคาที่ 0 (รูปที่ 3-11) 3. s ที่จุด A >1 เมื่อ a >0 หรือเสนอุปทานตัดแกนราคาที่มากกวา 0 (รูปที่ 3-12) 11. ปจจัยกําหนดความยดืหยุนของอุปทาน(Determinants of Price Elasticity of Supply)

1.) ความสามารถในการปรับระดับการผลิต (Production Possibilities) คือ สินคาใดทีผู่ผลิตสามารถปรับเปล่ียนการผลิตไดรวดเร็วจะมีความยดืหยุนสูง เชน สินคาอุตสาหกรรม ซึ่งเมื่อมกีารสั่งซื้อเขามาผูผลิตสามารถผลิตไดทันทีและรวดเร็ว แตถาสินคาใดผูผลิตปรับเปล่ียนการผลิตไดยากหรือใชเวลานานในการผลิตจะมีความยืดหยุนตํ่า เชน สินคาเกษตร อสังหาริมทรัพย การผลิตแพทยเปนตน

2.) ความสามารถในการเก็บรักษา(Storage Possibilities) คือ สินคาใดทีส่ามารถเก็บรักษาไดจะมีความยืดหยุนสูงกวาสินคาที่เนาเสียได (Perishable Goods)

12. การประยุกตใชความยืดหยุนในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร(Applications of Elasticity)

1.) การวิเคราะหผลจากการเกบ็ภาษีและการผลักภาระภาษี โดยทั่วไป หากสินคาใดมคีวามยืดหยุนอุปสงคตํ่า (สินคาที่จําเปน) เมื่อเก็บภาษีปริมาณซื้อจะลดลงไมมากและภาระภาษีสวนใหญจะตกกับผูบริโภค

2.) การวิเคราะหการใชนโยบายแทรกแซงของรัฐบาล เชน การประกนัราคา การกําหนดราคาข้ันสูง การกําหนดคาจางข้ันตํ่า การเรียกเก็บภาษี ซึ่งมีผลตอพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกจิและมีผลตอราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาด

Quantity

Price

Supply$4 Supply$4

Page 12: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

12

a

3.) การวิเคราะหเร่ืองการแบงแยกราคาขาย เพราะสินคาบริการบางอยางมีความยืดหยุนแตกตางกันตามกลุมผูบริโภคหรือชวงเวลา ดังนัน้การกําหนดราคาที่แตกตางกันจะทาํใหผูผลิตไดรับกําไรสูงกวาการกาํหนดราคาเดียว ในทางเศรษฐศาสตรเรียกวา “การแบงแยกราคาขาย (Price

Discrimination)” เชน การชมภาพยนตรเปนบริการที่มคีวามยืดหยุนสูงสําหรับนักเรียน นักศึกษา ดังนัน้ผูผลิตจะต้ังราคาใหตํ่ากวาประชาชนทัว่ไป หรือการชมภาพยนตรเปนบริการที่มีความยืดหยุนสูงสําหรับการรับชมหลัง 21.00 น. ดังนัน้ผูผลิตจะต้ังราคาใหตํ่ากวาเวลากลางวัน เพื่อใหตนไดกาํไรมากข้ึน เปนตน

13. สวนเกินผูบริโภค(Consumer surplus) คือ มูลคาที่ผูบริโภคไดรับจากสินคาและบริการหักดวยรายจายที่ผูบริโภคจายจริง ยกตัวอยางเชน สินคาชนิดหนึ่ง ผูบริโภค 4 คนมีความเต็มใจจะจาย(Willingness to Pay) แตกตางกนั แสดงในตารางท่ี 3-2 หรือแสดงเปนเสนอุปสงคในรูปที่ 3-14 ตารางที่ 3-2 ความเต็มใจจะจายของผูบริโภค

ผูบริโภค ความเต็มใจจะจายสําหรับสินคา 1 หนวย (Willingness to Pay)

A 100 บาท B 80 บาท C 70 บาท D 50 บาท

รูปที่ 3-14 แสดงการวัดสวนเกินผูบริโภคจากเสนอุปสงคที่ไมตอเนื่อง หากราคาสินคาเทากับ 80 บาท จะมีผูซื้อ 2 คนคือ A และ B ปริมาณอุปสงคของตลาดเทากับ 2 หนวยโดยที่ A ไดรับสวนเกินผูบริโภคเทากับ 20 บาท (=100-20 บาท) B ไมไดสวนเกนิผูบริโภคเพราะความเต็มใจจะจายเทากับราคาสินคาพอดี ดังนัน้สวนเกนิผูบริโภคทั้งตลาดเทากับ 20 บาท

P

50

7080

0

$100

1 2 3 4 Q

A’s willingness to payA’s willingness to pay

B’s willingness to payB’s willingness to pay

C’s willingness to payC’s willingness to pay

D’s willingness to payD’s willingness to pay

DemandDemand

เมื่อ ราคาเทากับ 70 บาท มผูีซื้อ 3 คน คือ A B และ C - สวนเกินผูบริโภคของ A เทากับพืน้ที ่ส่ีเหล่ียม A(30 บาท) - สวนเกินผูบริโภค B เทากับพื้นที่แรเงา(10บาท) สวนเกินผบริโภค C เทากับ 0

A

Page 13: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

13

หากราคาสินคาลดลงเหลือ 70 บาท จะมผูีซื้อ 3 คน คือ A B และ C ปริมาณอุปสงคของตลาดเทากับ 3 หนวย A ไดรับสวนเกินผูบริโภคเทากับ 30 บาท B ได 10 บาท C ไมไดรับสวนเกินผูบริโภค ดังนัน้สวนเกนิผูบริโภคทั้งตลาดเทากับ 40 บาท ดังนัน้ หากพิจารณาจากเสนอุปสงคของตลาดที่มีลักษณะตอเนื่อง จากรูปที ่3-15 พื้นที่ ABC คือ สวนเกินผูบริโภค (Consumer Surplus) เพราะหาจากความเต็มใจจะจายรวมซึ่งเทากับพืน้ที่ใตกราฟอุปสงค หกัดวยรายจายในการซื้อสินคา (P1xQ1) แสดงวาผูบริโภคไดรับสวัสดิการมากกวารายจายที่เสียไป

รูปที่ 3-15 แสดงการวัดสวนเกินผูบริโภคจากเสนอุปสงคที่ตอเนื่อง 14. สวนเกินผูผลิต(Producer Surplus) คือ รายรับรวมของผูผลิตหกัดวยตนทนุรวมของผูผลิต ยกตัวอยางเชน สินคาชนิดหนึง่ ผูผลิต 4 คนมีตนทนุการผลิตตอหนวยที่แตกตางกนั แสดงในตารางท่ี 3-3 หรือแสดงเปนเสนอุปทานในรูปที ่3-16 ตารางที่ 3-3 ตนทนุการผลิตสินคา 1 หนวยของผูผลิต 4 ราย

ผูผลิต ตนทนุสําหรับสินคา 1 หนวย

ก. 900 บาท ข. 800 บาท ค. 600 บาท ง. 500 บาท

หากราคาสินคาเทากับ 900 บาท จะมีผูขาย 4 คน ปริมาณอุปทานของตลาดเทากบั 4 หนวยโดยที่ ก. ไมไดรับสวนเกินผูผลิตเทากับ ข. ไดสวนเกินผูผลิตเทากับ 100 บาทเพราะราคาขาย(900บาท) มากกวาตนทนุ(800 บาท) ในทํานองเดียวกนั ค. ไดรับสวนเกนิผูผลิตเทากับ 300 บาท และ ง. ไดรับสวนเกินผูผลิตเทากับ 400 บาท ดังนั้นทั้งอุตสาหกรรมสวนเกินผูผลิตรวมเทากับ 800 บาท(0+100+300+400บาท)

Quantity

Price

0

Demand

consumersurplus

Q1

P1

Q1

P1

Q1

P1 BC

A

BC

AA

Page 14: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

14

หากราคาสินคาลดลงเหลือ 800 บาท จะมีผูผลิต 3 คน คือ ข. ค. และ ง. ปริมาณอุปทานของตลาดเทากับ 3 หนวย ข. ไมไดรับสวนเกินผูผลิตเทากับ ค. ได 200 บาท ง. ได 300 บาท ดังนัน้สวนเกนิผูผลิตทั้งตลาดเทากับ 500 บาท(0+200+300 บาท)

รูปที่ 3-16 แสดงการวัดสวนเกินผูผลิตจากเสนอุปทานท่ีไมตอเนื่อง ดังนัน้ หากพิจารณาจากเสนอุปทานของตลาดที่มีลักษณะตอเนื่อง จากรูปที ่3-17 พื้นที่ ABC คือ สวนเกินผูผลิต (Producer Surplus) เพราะหาจากรายรับรวมเทากับ P1xQ1 บาท หกัดวยตนทนุรวม (พื้นที่ใตกราฟเสนอุปทาน) แสดงวาผูผลิตมีรายรับมากกวาตนทนุที่เสียไป

รูปที่ 3-17 แสดงการวัดสวนเกินผูผลิตจากเสนอุปทานท่ีตอเนื่อง 15. ประสิทธภิาพในระบบตลาด(Market Efficiency)

Q

P

500

800

$900

0

600

1 2 3 4

costของ ง .costของ ง .costของ ค .costของ ค .

costของ ก .costของ ก .

Supply

costของ ข .costของ ข .

Quantity

Price

0

Supply

Q1

P1

Q1

P1

A

BC

A

BCProducer

surplus

เมื่อ ราคาเทากับ 800 บาท มีผูผลิต 3 คน คือ ข ค และ ง

- สวนเกินผูผลิตของ ข. เทากบั 0

- สวนเกินผูผลิตของ ค. เทากับ 200 - สวนเกินผูผลิตของ ง. เทากบั 300

ค. ง.

Page 15: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

15

คือ การจัดสรรทรัพยากรโดยใชกลไกราคาในตลาดแขงขันสมบูรณเพือ่ใหเกิดสวนเกินมากที่สุด สวนเกินในทีน่ี้คือ สวนเกินผูบริโภคและสวนเกนิผูผลิต จากรูปที่จดุดุลยภาพ(Q1,P1) ในรูป 3-18 จะเปนการจัดสรรที่ทําใหผลรวมของ สวนเกนิผูบริโภคและสวนเกนิผูผลิตมีคาสูงสุด แสดงวา ณ ราคาและปริมาณดังกลาวทาํใหการจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธภิาพ การผลิตที่นอยกวาหรือมากกวา Q1 จะทาํใหสวนเกินรวมลดลงดังนัน้เปนการจัดสรรที่ไมมีประสิทธิภาพ

รูปที่ 3-18 Market Efficiency 16. การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาล (Government Interference with Price) 1.) การประกนัราคาขัน้ตํ่า (Price Support or Price Floor) คือ การที่กฎหมายกาํหนดราคาขายข้ันตํ่าของสินคาเพื่อชวยเหลือผูผลิต เชน การประกันราคารับซื้อสินคาเกษตรที่กก.ละ 20 บาท หากพอคาคนกลางซื้อสินคาที่ราคาตํ่ากวาราคาประกันจะมคีวามผิดตามกฎหมาย โดยมากการประกันราคามักใชกบัสินคาเกษตรเพราะอุปทานควบคุมไดยาก เนื่องจากข้ึนกับสภาพลมฟาอากาศ หากผลิตไดมาก ราคาจะตกตํ่าสงผลกระทบตอรายไดของเกษตรกร ในทางปฏิบัติ การกําหนดราคาข้ันตํ่าจะสูงกวาราคาดุลยภาพในตลาด (ราคาที่ขายใหกับพอคาคนกลาง) จากรูป 3-19 ราคาประกันเทากบั 4 บาท ในขณะที่ราคาดุลยภาพเทากับ 3 บาท ณ ระดับราคาประกันจะเกิดอุปทานสวนเกิน(Excess Demand) เทากับ 40 หนวย รัฐบาลจะรับซื้ออุปทานสวนเกนิทัง้หมด วิธนีี้จะใหเกษตรกรขายสินคาที่ราคาประกัน 4 บาทใหกบัพอคาคนกลางซ่ึงจะขายได 80 หนวย ในขณะที่เกษตรกรผลิตถึง 120 หนวย 40 หนวยที่เกินมาน้ีรัฐบาลจะรับซื้อทั้งหมด คิดเปนเงนิเทากับพืน้ที ่ABCD (4x40=160 บาท) ในทางปฏิบัติรัฐบาลไมสามารถซ้ืออุปทานสวนเกนิไดทั้งหมดเพราะมีขอจํากัดเร่ืองงบประมาณ ดังนั้นรัฐบาลจะต้ังจุด

Price

P1

0 QuantityQ1

A

Supply

C

B Demand

D

E

Producersurplus

Consumersurplus

สวนเกนิท้ังหมด = สวนเกนิผูบริโภค(C.S.) + สวนเกนิผูผลิต (P.S.)

AEC = ECPEAP 11

Page 16: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

16

รับซื้อตางๆ ทัว่ประเทศเพื่อซื้ออุปทานสวนเกนิเพยีงบางสวนเทานั้น เพื่อใหราคาเพิม่สูงข้ึน การดาํเนนิการของรัฐบาลในลักษณะนี ้เรียกวา “การพยงุราคา” นอกจากนี ้รัฐบาลอาจใชวิธใีหเงนิอุดหนุนแกเกษตรกรแทนการรับซื้ออุปทานสวนเกนิทัง้หมด ในตัวอยางเดียวกันนี้ เกษตรกรจะขายที่ราคาตลาดเทากับ 3 บาท ซึง่จะขายได 100 หนวย และรัฐบาลจะจายเงินใหเกษตรหนวยละ 1 บาท ซึง่รัฐบาลจะใชเงินเทากับพืน้ที่ที่แรเงา(1x100 =100 บาท)

รูปที่ 3-19 การกําหนดราคาขั้นตํ่า

2.) การกําหนดราคาขัน้สงู (Price Ceiling) คือ การทีรั่ฐบาลออกกฎหมายไมใหขายสินคาราคาแพงกวาที่รัฐบาลกาํหนดเพื่อชวยเหลือผูบริโภค มาตรการนี้มกัเกิดข้ึนในสถานการณที่สินคาขาดแคลนหรือเกิดภาวะขาวยากหมากแพงเนื่องจากภัยสงคราม ในทางปฏิบัติการกําหนดราคาข้ันสูงมักจะต่ํากวาราคาดุลยภาพ จากรูปที ่3.20 หากรัฐบาลกาํหนดราคาข้ันสูงเทากับ 2 บาท จะทําใหเกิดอุปสงคสวนเกนิ(Excess Demand) เพราะที่ระดับราคา 2 บาทผูผลิตยินดีจะผลิตเพียง 75 หนวย ในขณะที่ความตองการซ้ือเทากับ 125 หนวยทําใหสินคาเกิดความขาดแคลน (Shortage) ถึง 50 หนวย ผูผลิตไมกลาขายที่ราคา 3 บาทเพราะกลัวมีความผิด สถานการณดังกลาวจะทาํใหเกดิตลาดมืด (Black Market) คือ ผูผลิตจะแอบขายอยางผิดกฎหมายในราคาที่สูงกวาราคาข้ันสูงใหกับผูบริโภคทีม่ีฐานะดีซึ่งไมเปนธรรมกับผูบริโภคที่ไมมีฐานะ ดังนั้นเพือ่ปองกันการเกิดตลาดมืด รัฐบาลจะตองกําหนดวธิีปนสวน (Ration) ควบคูไปดวยเพื่อลดอุปสงคลง เชน กรณีเกิดสงครามทําใหขาวราคาแพง รัฐบาลกําหนดราคาข้ันสูงเพื่อไมใหผูที่สต็อกขาวฉวยโอกาสและเพื่อปองกันการเกิดตลาดมืด รัฐบาลอาจแจกคูปองใหกับครัวเรือน โดยกําหนดใหซื้อไดครัวเรือนละ 2 ถังเพื่อใหขาวมกีารกระจายอยางทั่วถงึ เปนตน

$3

Q0

P

Equilibriumprice

Equilibriumprice

Demand

Supply

Price floorPrice floor$4

120Qd

120Qd

80Qd

80Qd

SurplusSurplus

A B

E

C D100

Page 17: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

17

รูปที่ 3-20 การกําหนดราคาขั้นสูง 17. ภาระภาษี(Tax incidence) การพิจารณาวาเมื่อรัฐบาลเขามาเกบ็ภาษีจากสินคาและบริการภาระภาษีกระจายไปยังผูบริโภคและผูผลิตมากนอยเพียงใด ใครเปนผูรับภาระภาษีสวนใหญทั้งนี้ข้ึนกบัคาความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน 1.) การเก็บภาษีจากผูผลิต จากรูปที่ 3-21 สมมติวาเกบ็ภาษีตอหนวย(Specific Tax) เทากับ 0.5 บาทจะทาํใหเสนอุปทานเล่ือนไปทางซายเพราะผูผลิตมีกําไรลดลง จากเสน S1เปนเสน S2 โดยที่เสนอุปสงคเทาเดิม กอนการเก็บภาษีราคาเทากบั 3 บาท ปริมาณดุลยภาพเทากบั 100 หนวย เมื่อเก็บภาษีทาํใหราคาเพิ่มเปน 3.3 บาท และปริมาณดุลยภาพลดลงเหลือ 90 หนวย การเปลี่ยนแปลงดังกลาวแสดงวาผูบริโภคจายเงินเพิ่มข้ึน 0.3 บาท(3.3-3.0 บาท) สวนผูผลิตเมื่อไดรับเงินจากผูบริโภค 3.3 บาทจะตองจายภาษี 0.5 บาท ผูผลิตไดรับเพียง 2.8 บาท ดังนั้นภาระภาษีทัง้หมด เทากับ 0.5x 90= 45 บาท แบงเปน1.) ภาระภาษีของผูบริโภคเทากับพื้นที่ส่ีเหล่ียม a (0.3x90 =27 บาท) 2.) ภาระภาษีของผูบริโภคเทากับพืน้ที่ส่ีเหล่ียม b (0.2x90 =18 บาท) 2.) การเก็บภาษีจากผูบริโภค จากรูปที่ 3-22 สมมติวาเก็บภาษีตอหนวย(Specific Tax) เทากับ 0.5 บาทจะทาํใหเสนอุปสงคเล่ือนไปทางซายเพราะผูบริโภคตองจายภาษสิีนคานั้น เสนอุปสงคเปล่ียนจากเสน D1

เปนเสน D2 โดยที่เสนอุปทานเทาเดิม กอนการเก็บภาษีราคาเทากับ 3 บาท ปริมาณดุลยภาพเทากับ 100 หนวย เมื่อเก็บภาษีทาํใหราคาดุลยภาพอยูที่ 2.8 บาท ปริมาณดุลยภาพลดลงเหลือ 90 หนวย ราคา 2.8 บาทคือราคาที่ผูผลิตไดรับ ในขณะที่ผูบริโภคจะตองจายเงนิ 3.3 บาท (2.8+0.5 บาท) ดังนั้นภาระภาษีทัง้หมด เทากับ 0.5x

90= 45 บาท แบงเปน1.) ภาระภาษีของผูบริโภคเทากับพื้นที่ส่ีเหล่ียม a (0.3x90 =27 บาท) 2.) ภาระภาษีของผูบริโภคเทากบัพื้นที่ส่ีเหล่ียม b (0.2x90 =18 บาท)

$3

Q0

P

2

Demand

Supply

Equilibriumprice

Equilibriumprice

PriceceilingPrice

ceilingShortageShortage

1251257575

Page 18: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

18

จากการวิเคราะหขางตน พบวา หากเก็บภาษีตอหนวยเทากบั 0.5 บาท ไมวาจะเก็บจากผูผลิตหรือผูบริโภคผลทีไดเหมือนกัน คือ ภาษีที่ตองจายใหกับรัฐบาลเทากับ 45 บาท แบงเปนภาระของผูบริโภค 27 บาท และผูผลิต 18 บาท

รูปที่ 3-21 การเก็บภาษีจากผูผลิตและภาระภาษี

รูปที่ 3-22 การเก็บภาษีจากผูบริโภคและภาระภาษ ี

18. ความสัมพันธระหวางภาระภาษีและความยืดหยุน 1.) ความยืดหยุนของอุปสงค (ดูรูปที่ 3-23)

- หากสินคาใดมีคา 0d ผูบริโภคจะรับภาระภาษีทั้งหมด - หากสินคาใดมีคา d ผูผลิตจะรับภาระภาษีทั้งหมด

3.00

QQ0

PP

1009090

S1

S2S2

Demand, D1

Price without

tax

Price without

tax 2.80

Price sellers receive

2.80

Price sellers receive

$3.30

Price buyers

pay

$3.30

Price buyers

pay

Equilibrium without taxEquilibrium without tax

Equilibriumwith tax

Equilibriumwith tax

Equilibriumwith tax

ab

3.00

Q0

P

10090

$3.30

Pricebuyers

pay

$3.30

Pricebuyers

pay

D1

D2

Equilibriumwith tax

Equilibriumwith tax

Supply, S1

Equilibrium without taxEquilibrium without tax

2.80

Pricesellersreceive

2.80

Pricesellersreceive

Pricewithout

tax

Pricewithout

tax

ab

t =0.5 บาท

t = 0.5 บาท

Page 19: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

19

ดังนัน้ หากคาความยืดหยุนของอุปสงคตํ่า( 0d ) แสดงวาเปนสินคาจําเปน เชน ขาว ยารักษาโรค ผูบริโภคจะรับภาระภาษีมากกวาผูผลิต แตถาคาความยืดหยุนของอุปสงคสูง ( d ) แสดงวาเปนสินคาฟุมเฟอย เชน กระเปาถือแบรนดเนม ผูบริโภคจะรับภาระภาษีนอยกวาผูผลิต 2.) ความยืดหยุนของอุปทาน (ดูรูปที่ 3-24)

- หากสินคาใดมีคา 0s ผูผลิตจะรับภาระภาษีทั้งหมด - หากสินคาใดมีคา s ผูบริโภคจะรับภาระภาษีทั้งหมด

ดังนัน้ หากคาความยืดหยุนของอุปทานตํ่า( 0s ) แสดงวาเปนสินคาปรับเปล่ียนการผลิตไดยาก เชน สินคาเกษตร สินคาที่เนาเสียได เปนตน ผูผลิตจะรับภาระภาษีมากกวาผูบริโภค แตถาคาคาความยืดหยุนของอุปทานสูง ( s ) แสดงวาเปนสินคาที่ปรับเปล่ียนการผลิตไดงาย เชน หนังสือ เปนตน ผูผลิตจะรับภาระนอยกวาผูบริโภค

รูป3-23 แสดงภาระภาษีกับคาความยืดหยุนของอุปสงค

รูป3-24 แสดงภาระภาษีกับคาความยืดหยุนของอุปทาน

0d d

0s

s

Page 20: (Elasticity of Demand and Supply) · (Elasticity of Demand and Supply) ... (Price Elasticity of Demand; d) คือ เปอร เซ็นต การเปล ี่ยนแปลงของปร

20

100

100

95

105

95

19. ความสญูเปลาทางเศรษฐกิจ (Deadweight Loss) เนื่องจากการเก็บภาษี คือ มูลคาความสูญเปลาทางเศรษฐกิจเนื่องจากการเก็บภาษีของรัฐบาลทําใหพฤติกรรมของผูผลิตและผูบริโภคเปล่ียนแปลงไป หรืออีกนัยหนึ่งคือมูลคาสวนเกินของสังคมที่ลดลง(สวนเกินผูบริโภคและสวนเกินผูผลิต) มีมากกวารายรับจากภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บไป จากรูปที่ 3-25 ทางซายคือ ประสิทธิภาพในระบบตลาดกอนการเก็บภาษี ตอมารัฐบาลเก็บภาษีจากผูผลิตทําใหเสนอุปทานเล่ือนไปทางซายจาก S เปน S+ tax ราคาดุลยภาพเพิ่มข้ึนแตปริมาณดุลยภาพลดลงแสดงวา การเก็บภาษีทําใหสังคมผลิตสินคานี้นอยกวาที่ควรจะเปน สวนเกินผูบริโภคที่เสียไปจากการเกบ็ภาษี คือ เทากับ 0.5 x (2+5) x5= 17.5 บาท สวนเกินผูผลิตที่เสียไปจากการเก็บภาษี คือ เทากับ 0.5 x (2+5) x5= 17.5 บาท รายรับภาษีของรัฐบาล คือ เทากับ (105-95) x 2 =20 บาท ดังนัน้ มูลคาความสูญเปลาทางเศรษฐกิจ(Deadweight Loss) เทากับ (17.5+17.5) -20 = 15 บาท

รูป3-25 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในระบบตลาดและความสูญเปลาทางเศรษฐกิจเนื่องจากการเก็บภาษี

105

5

5