familiarity and similarity - chiang mai university economics.pdf“thaksinomics”...

18
Green Economics: Familiarity and Similarity นําเสนอโดย นางสาวพนิตนาถ ทันใจ

Upload: others

Post on 20-Jan-2021

13 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:

Familiarity and Similarity

นาํเสนอโดย นางสาวพนตินาถ ทนัใจ

Page 2: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

ปรัชญาของทนุนิยมตอบเราวา จุดมุงหมาย

สูงสดุ คอืทําใหมนุษยมีความสุขโดยการ

สนองความตองการและ

ความปรารถนาทกุอยาง

ชีวิตทีส่ขุสบาย คือชีวิตแหงความสุข

Page 3: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

“Thaksinomics” สนองความตองการและความปรารถนาทุกอยาง

Page 4: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

โลกาภิวตันทางเศรษฐกิจกลายเปนสงครามอันหนึ่ง ซึ่งตอสูกับธรรมชาตแิละความยากจน

Page 5: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:

คอื การสรางแนวคิดใหมที่มุงไปยังเรื่องการปฏิวัติจิตสํานึกของมนษุย

ระบบเศรษฐกิจสงัคมแนวนิเวศAdaptive Co-Management

เปนระบบที่รักษาความสมดุลระหวาง มนษุย ธรรมชาติ และ สงัคม

Page 6: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Dynamic of linked social/economic-ecological system

Adaptive Co-Management

Ryan Plummer and Derek Armitage (2006)

Page 7: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:เศรษฐศาสตรสีเขียวเปนเรื่องเกี่ยวกับการแสวงหา

ระบบเศรษฐกิจสังคมแบบใหมที่ตั้งอยูบนพื้นฐาน

ของกฎแหงนิเวศวิทยา แนวคิดนี้ไมเนนแตเรื่อง

ระบบนิเวศ หากแตมุงไปยังระบบทั้งหมด

ของการดํารงอยูของมนุษย ซึ่งมีทั้งเศรษฐกิจ

สังคม การเมือง และวัฒนธรรม อาจกลาวไดวา

เศรษฐศาสตรสีเขียว เปนเรื่องของการคนหา

วถิชีวีติแบบใหม

H. E. Daly, ed. (1980)

Economics, Ecology, Ethics

Page 8: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:วตัถุประสงคหลกั 2 ดาน

แสวงหาทางสนองความตองการ

ที่แทจรงิของคนทกุคนในสงัคม

การสนองความตองการตอง

ไมเกดิขึ้นทามกลางการทําลายลาง

โลกของธรรมชาติ

Page 9: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:ระบบเทคโนโลยสีเีขยีว

เทคโนโลยตีองมสีวนชวยใหคนทาํงาน

มอีิสระเสรมีากขึน้พรอมๆ กบัให

ผลประโยชนตอผูคนสวนใหญในสังคม

Page 10: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:จรยิธรรมทางนเิวศ

การกระทาํใดๆ กต็ามทีม่แีนวโนมไป

ในทางทาํลายสิ่งแวดลอมและธรรมชาติ

ยอมเปนสิง่ไมพงึปรารถนา และในการ

สรางสังคมใหม มนษุยตองยึดกฎของ

นเิวศวทิยาเปนพืน้ฐานหลกัของความคดิ

คาํนงึทั้งปวงHolmes, Environmental Ethics

Page 11: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:วิถีแหงนเิวศนิยม

จริยธรรมทางธรรมชาติ

ขีดจาํกัดของทรพัยากร

ความยั่งยืนของระบบนเิวศ

การสรางชุมชนแหงการพึง่ตนเอง

A. Naess, Ecology, Community and Lifestyle (1980)

Page 12: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:แบบจาํลอง ชุมชนพึง่ตนเอง

ยึดถอื จรยิธรรมแหงชวีิตธรรมชาติ

(Bioethics) มหีลกัปฏิบัต ิคอื

•ประหยดัพลังงานใหมากทีส่ดุ

•ใชเทคโนโลยแีละกระบวนการผลิตทีท่ําให

สิง่แวดลอมเสียหายนอยที่สดุ

Page 13: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:เทคโนโลยแีนว ทางสายกลาง

เทคนคิการผลติแนวใหมตองตอบสนอง

ความตองการของมวลชน และชวย

สงเสรมิในการรกัษาดุลยภาพทางนเิวศ

Sandbach and G. T. Miller,

Living in the Environment (1990)

Page 14: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:การพัฒนาแนวนเิวศ

เปนแนวทางทีผ่สมผสานระหวาง

นเิวศวทิยา และ เศรษฐศาสตร โดยมี

ปรัชญาวาทรพัยากรควรตองนาํไปใช

อยางมเีหตผุล

Page 15: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:SUSTAINABLITY

การตัดสินใจวนันีต้องไมกอใหเกิด

ความเสียหายแกอนาคต (ไมทาํลายลูทาง

ทีจ่ะรกัษาหรอืเพิม่ระดับความเปนอยู

ของผูคนในอนาคต)

Page 16: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

Green Economics:SUSTAINABLITY

เปนแนวคิดทีค่รอบคลมุ 3 มติิ คอื

ความตองการพื้นฐาน

การพัฒนาแนวนิเวศ การใชทรพัยากร

แบบยั่งยืนยาวนาน

R. K. Turner, Sustainable Environmental Management (1988)

Page 17: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

References

• ปรีชา เปยมพงศสานต, เศรษฐศาสตรสีเขียวเพื่อชีวติและธรรมชาติ, สํานักพมิพจฬุาลงกรณ

มหาวิทยาลัย (2539)

• Daly, H. E. ed., Economics, Ecology, Ethics, San Francisco (1980)

• Miller, G.T. Living in the Environment, California (1990)

• Plummer, R. and Armitage, D., A resilience-based framework for evaluating

adaptive co-management: Linking ecology, economics and society in a

complex world (2006)

• Turner, R. K. ed., Sustainable Environmental Management (1990)

Page 18: Familiarity and Similarity - Chiang Mai University Economics.pdf“Thaksinomics” สนองความต องการและความปรารถนาท กอย

ความสขุทีแ่ทจริงของมนษุย...

สามารถสะสมปญญาเพื่อเขาใจโลกตามสภาวะเปนจริง

มีชีวิตอยูดวยความไมประมาท

สามารถเขาใจสาเหตทุีแ่ทจริงของความทกุข

สามารถกาวลวงพนความทกุขไดโดยเดด็ขาด