ÒáÃШÒ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ ´ŒÒ¹ÊÒ¸ÒóÊØ¢ÊÙ‹ÀÙÁÔÀÒ¤ · 2018. 11....

13
¡ÒáÃШÒ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ ´ŒÒ¹ÊÒ¸ÒóÊØ¢ÊÙ‹ÀÙÁÔÀÒ¤

Upload: others

Post on 31-Jan-2021

14 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ¡ÒáÃШÒ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ´ŒÒ¹ÊÒ¸ÒóÊØ¢ÊÙ‹ÀÙÁÔÀÒ¤

  • 1

    คำ�นำ�การกระจายความเจริญด้านสาธารณสุข สู่ภูมิภาค เป็นเรื่องส�าคัญ เพราะหมายถึงการที่

    ประชาชนในพืน้ทีต่่างจงัหวดัห่างไกลความเจรญิ จะได้รบัการรกัษาพยาบาลทีด่ ีลดค่าใช้จ่ายในการเดนิทางเข้ากรุงเทพฯ สามารถรักษาได้ทนัเวลาเป็นการประหยดัเวลาในการเดนิทาง และหากมกีารกระจายโรงพยาบาลขนาดใหญ่ไปตามจังหวัดต่างๆ ทุกจังหวัดให้ทั่วถีง รวมทั้งกระจายไปยังอ�าเภอทกุอ�าเภอ เพือ่ให้ประชาชนได้เข้ารบัการรักษาได้อย่างทัว่ถงึ โดยต้องจดัสรรงบประมาณให้เพยีงพอ จัดหาบุคลากร ด้านหมอ พยาบาลให้เพียงพอต่อจ�านวนประชาชน รวมทั้งสร้างโรงพยาบาลและสถานอีนามยัให้ทัว่ถงึ ด�าเนนิการปรบัปรงุระบบกฎหมายต่างๆ ให้สอดคล้องกบัการด�าเนนิการ และสร้างสถาบันการศึกษาท่ีสามารถผลิตบุคลากรทางการแพทย์ให้มากขึ้น ก็จะเป็นการกระจายการรักษาประชาชน อย่างทั่วถึงทั้งประเทศ เพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์สุขภาพของไทย พ.ศ. 2559 – 2563

    พ.อ. รพีพัฒน์ สุทธิวงศ์ผู้อ�านวยการ กองวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน และสิ่งแวดล้อม

    ส�านักวิทยาการความมั่นคง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

  • 2

    การกระจายคำวามเจริญ ด้านำสาธารณสุขสู่ภูมิภาคำ

    ในส่วนแรกขอเริ่มจากกล่าวถึง ความหมายของการกระจายอ�านาจ แนวคิดพื้นฐาน ของการกระจายอ�านาจ เป้าหมายของการกระจายอ�านาจ เหตุผลท�าไมต้องมีการกระจาย แล้วจึงน�าเข้าสูป่ระเด็น กรอบนโยบายและยทุธศาสตร์ด้านสขุภาพของไทย การกระจายอ�านาจด้านสขุภาพ ท�าไมต้องมีการถ่ายโอนการกระจายอ�านาจด้านสุขภาพ(สาธารณสุข) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการ กระจายอ�านาจด้านสุขภาพ เป้าหมายของการกระจายอ�านาจด้านสุขภาพ และ ยุทธศาสตร์ในการด�าเนินการ

    1. ความหมายของการกระจายอ�นาจการถ่ายโอนอ�านาจการตดัสนิใจ ทรพัยากร และภารกิจ จากภาครฐัส่วนกลาง ให้แก่องค์กร

    อืน่ใด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครฐัส่วนภมูภิาค องค์กรอสิระ องค์กรท้องถิน่ องค์กรเอกชน โดยเฉพาะภาคประชาชน ไปด�าเนนิการแทน ซึง่การถ่ายโอนดงักล่าว อาจจะมลีกัษณะเป็นการถ่ายโอนเฉพาะภารกิจ ซึ่งเป็นการแบ่งภารกิจให้แก่องค์กรที่ได้รับการกระจายอ�านาจด�าเนินการ หรือเป็นการถ่ายโอนยึดพื้นที่เป็นหลัก ซึ่งเป็นการแบ่งพื้นที่เป็นหน่วยงานย่อยในการด�าเนินการ

    1.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการกระจายอ�านาจการกระจายอ�านาจสูท้่องถ่ิน เป็นยทุธศาสตร์หนึง่ในการบรหิารจดัการบ้านเมือง

    ของรัฐ ในระบบประชาธิปไตย โดยมุ่งลดบทบาทของรัฐส่วนกลาง (decentralize) ลงเหลือภารกิจหลักเท่าที่ต้องท�า เท่าที่จ�าเป็น และให้ประชาชนได้มีส่วนในการบริหารงานชุมชนท้องถิ่น ตามเจตนารมณ์ของประชาชนมากข้ึน การกระจายอ�านาจสู่ท้องถิ่นจึงเป็นการจัดความสัมพันธ์ทางอ�านาจ หน้าที่ใหม่ ระหว่างส่วนกลางกับส่วนท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับสภาพบ้านเมือง ท่ีเปลี่ยนแปลงไปในสภาวะที่สังคมมีกลุ่มที่หลากหลาย มีความต้องการและความคาดหวงัจากรฐัทีเ่พิม่ขึน้ และแตกต่างกนั ขัดแย้งกนั ในขณะทีร่บัเองก็มีขีดความสามารถ และทรัพยากรที่จ�ากัด ในการตอบสนองปัญหา ความต้องการ ที่เกิดขึ้นในแต่ละท้องถิ่นได้ทันต่อเหตุการณ์ และตรงกับความต้องการของท้องถิ่น

  • 3

    การกระจายอ�านาจสู่ท้องถิ่นเป็นการกระจายสิ่งต่อไปนี้ จากส่วนกลางให้กับท้องถิ่น• หนา้ที ่เปน็การกระจายหน้าที ่ทีเ่ป็นประโยชนโ์ดยตรงกับทอ้งถิ่น ให้ท้องถิน่รบัผดิชอบ

    ด�าเนินการเอง• อ�านาจในการตัดสินใจ เป็นการกระจายอ�านาจการตัดสินใจด�าเนินการ ตามหน้าที่

    ที่ส่วนกลางกระจายไปให้ท้องถิ่นด�าเนินการ• ทรัพยากรบริหาร เป็นการกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยี ที่เหมาะสมให้กับ

    ท้องถิ่น• ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หน้าที่ ที่รับกับ

    ผู้บริหารท้องถิ่นและประชาชนร่วมกันรับผิดชอบ• ความพร้อม เป็นการกระจายความพร้อม ทีม่อียูใ่นส่วนกลางให้กบัท้องถิน่ เพือ่สร้างขดี

    ความสามารถให้แก่ท้องถิน่ เป็นการท�าให้ท้องถิน่มคีวามเข้มแขง็ สามารถบรหิารจดัการท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    1.2 เป้าหมายของการกระจายอ�านาจ• เพ่ือให้บรกิารต่างๆสามารถตอบสนองต่อความต้องการของชมุชนมากขึน้ มปีระสทิธภิาพ

    มากขึ้น โดยมีการถ่ายโอนภารกิจ เป็นเครื่องมือหนึ่งในการด�าเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดงักล่าว รปูแบบการการกระจายอ�านาจ การจดับรกิารสาธารณะ จงึไม่ควรจ�ากดัอยูท่ีก่ารโอนภารกิจแต่เพยีงอย่างเดยีว แต่ควรให้ความส�าคัญกบัรปูแบบทีส่ามารถตอบสนอง ต่อวัตถุประสงค์ทั้งสองประการหลัก

    • พึงระลึกว่า ผลกระทบของการกระจายอ�านาจน้ัน มีทั้งทางบวกและทางลบต่อระบบบริการสุขภาพ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นไม่ได้มาจากตัวของการกระจายอ�านาจเอง แต่เป็นผลที่มาจาก การน�าการกระจายอ�านาจมาใช้ด�าเนินการ

    1.3 ท�าไมต้องมีการกระจายอ�านาจ1.3.1 เพ่ือให้การด�าเนินงานของรัฐ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดขั้นตอนการด�าเนินการ

    อันเนื่องจากการล่าช้าในการตัดสินใจจากส่วนกลาง1.3.2 เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนได้อย่างแท้จริง1.3.3 เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

  • 4

    ที่มา: ส�านักงานคณะกรรมการการกระจายอ�านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    2. กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศไทย

    “รายงานสถานการณ์สุขภาพไทย” http://wops.moph.go.th สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2560

  • 5

    สขุภาพมคีวามสมัพนัธ์เชือ่มโยงกับปัจจยัต่าง ๆ มากมาย ดงันัน้ การวเิคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มระบบสุขภาพไทย จึงต้องวิเคราะห์และสังเคราะห์จากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่าง ๆ ทั้งด้านปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อมในทุกมิติที่จะกระทบต่อสุขภาพ อันได้แก่ เศรษฐกิจ การศึกษา ประชากร ครอบครัวและการอพยพย้ายถิ่น ค่านิยม ความเชื่อและวัฒนธรรม การเมืองและการปกครอง สิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยี รวมทั้งตัวระบบบริการสุขภาพเอง

    กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงการต่างประเทศได้จัดท�าแผนยุทธศาสตร์สุขภาพโลกของประเทศไทย พ.ศ.2559-2563 โดยมเีป้าประสงค์เพือ่ประชาชนคนไทยมสีขุภาวะด ีและประเทศมีความมั่นคงและปลอดภัยด้านสาธารณสุข โดยแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว เน้นการด�าเนินงานใน 5 ด้านหลักได้แก่

    1. การส่งเสริมความมั่นคงด้านสุขภาพ2. การเริมสร้างระบบสุขภาพให้เข้มแข็ง ยุติธรรม และมีความเสมอภาค3. ส่งเสริมบทบาทน�าและความรับผิดชอบของไทยในประชาคมโลก4. เสริมสร้างความสอดคล้องระหว่างนโยบายสุขภาพโลก5. เสริมสร้างขีดความสามารถด้านสุขภาพโลก

    การเปล่ียนแปลงของกลไกอภิบาลระบบสุขภาพในทุกระดับ องค์กรและกลไกที่มีส่วนร่วอภิบาลระบบสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยส�าคัญในช่วงสามทศวรรษท่ผ่านมา โดยไม่จ�ากัดอยู่เฉพาะบทบาทขององค์การอนามัยโลก หรือองค์กรภายใต้สหประชาชาติ ซึ่งเป็นกลไกอภิบาลที่ยึดโยงอยู่กับรัฐ ไดแก่ รัฐบาลและกระทรวงที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุขเป็นหลกัอีกต่อไป การเปลีย่นแปลงทางการเมอืงและเศรษฐกจิระหว่างประเทศ รวมทัง้ภมูริฐัศาสตร์ ท�าให้มีองค์กรระดับโลก ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ที่มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้นเป็นจ�านวนมาก

    นอกจากนี้ ยังมีการรวมตัวเป็นประชาคมของประเทศในระดับภูมิภาค เช่นประชาคมอาเซียน มีผลกระทบท�าให้บทบาทขององค์กรท่ีเคยเป็นหลักด้านสุขภาพในระดับโลกและประเทศ คือองค์การอนามัยโลกและกระทรวงสาธารณสุข เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ท�าให้กลไกการอภิบาลระดบัประเทศได้ปรบัเปลีย่นไปจากกลไกทีเ่ป้นระบบอภบิาลโดยรฐัเพียงอย่างเดยีว ไปสู่กลไกทีเ่ป็นระบบอภิบาลแบบเครื่อข่ายหรือแบบมีส่วนร่วมมากขึ้น

  • 6

    ปัจจัยก�าหนดความส�าเร็จ1. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รัฐ เอกชน และประชาสังคม เพ่ือด�าเนินการตามแผน

    ยุทธศาสตร์2. มีกลไกก�ากับ ติดตาม และประเมินผลการด�าเนินยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ3. บุคลากรด้านสุขภาพมีความพร้อม ศักยภาพ และจ�านวนเพียงพอ4. การร่วมมือระหว่างประเทศของหน่วยงานต่างๆ สอดคล้อง มีบูรณาการไปในทิศทาง

    เดียวกัน5. กรอบความร่วมมอืทวพิาค ีพหภุาค ีมปีระสทิธผิลและประสิทธภิาพ ในการพฒันาระบบ

    สุขภาพอย่างยั่งยืน

    จากร่างยุทธศาสตร์ชาติ 2560-2579ยทุธศาสตร์ที ่3 ยทุธศาสตร์การพฒันาและเสรมิสร้าง ยทุธศาสตร์การพฒันาและ

    เสรมิสร้าง ศกัยภาพทรพัยากรมนษุย์ ศกัยภาพทรพัยากรมนษุย์ มหีกประการ ในประเดน็ที่ 5 คือการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี หัวข้อทั้งหกประเด็นมีดังนี้3.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (Transformation of Culture) เพื่อสร้าง

    คนไทยที่มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย 3.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต3.3 การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม (Transformation of Learning)3.4 การพัฒนาและรักษากลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ (Talents) 3.5 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี 3.6 การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย

    3. ท�ไมต้องมีการถ่ายโอนการกระจายอ�นาจด้านสุขภาพ3.1 เพื่อเพิ่มคุณภาพบริการ3.2 เพื่อประสิทธิภาพของระบบบริการสาธารณสุข3.3 เพื่อตอบสนองความต้องการและการตรวจสอบจากชุมชน3.4 เพื่อความเสมอภาค3.5 เพื่อความยั่งยืนและการยอมรับ

  • 7

    4. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการกระจายอ�นาจด้านสุขภาพการสาธารณสุขและการรักษาพยาบาล เป็นภารกิจที่มีความส�าคัญเกี่ยวข้องกับชีวิต เป็น

    บริการที่มีความสลับซับซ้อน และต้องอาศัยความรู้ ความเชี่ยวชาญทางเทคนิควิชาการเฉพาะด้าน ต้องการความเป็นเอกภาพในการรักษาพยาบาล การส่งต่อผู้ป่วยจากระดับต้นสู่ระดับสูง หรือจากระดับสู่การดูแลใกล้บ้าน หรือในชุมชน รวมทั้งระบบการเฝ้าระวังโรคอย่างเข้มแข็ง มีความพร้อมตลอดเวลา สามารถด�าเนินการได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ดังน้ันจึงต้องมีการด�าเนินการอย่างรอบคอบ โดยยึดแนวดังนี้

    4.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องสามารถตัดสินใจ และควบคุมทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อให้ประชาชนในพืน้ที ่สามารถได้รบัประโยชน์จากการแก้ปัญหา และการจดัการบรกิารได้มากทีส่ดุ มากกว่าการจ�ากดัเพยีงการควบคมุก�ากบั เพือ่ให้เกิดการบรกิาร ในระดบัใดระดับหนึ่ง หรือจ�ากัดเพียงระดับต้นเท่านั้น

    4.2 การบรหิารจดัการระบบบรกิาร ควรมคีวามคล่องตวั และมีประสทิธภิาพในการบรหิารจัดการ และการใช้ทรัพยากร

    4.3 ทรัพยากรถูกใช้อย่างเหมาะสมในทุกด้าน ทั้งด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ ตลอดจน การด�าเนินการด้านสิ่งแวดล้อม

    4.4 ประชาชนในพื้นที่ควรมีบทบาท และโอกาสในการร่วมตัดสินใจ หรือตรวจสอบผลการด�าเนินงานของระบบ4.5 รัฐบาล โดยกระทรวงสาธารณสขุ จะต้องปรบัเปลีย่นบทบาท ไปเป็นผูก้�าหนดมาตรฐาน

    ผูก้�ากับดแูล และเสนอแนะ รวมทัง้ให้บรกิารทางวชิาการ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    5. เป้าหมายของการกระจายอ�นาจด้านสุขภาพ5.1 ประชาชนในแต่ลพพื้นที่ของประเทศไทย มีสุขภาพดีโดยเท่าเทียมกัน5.2 ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ได้รับการแก้ไข สอดคล้องกับสภาพความต้องการ ที่เป็นจริงในพื้นที่5.3 ประชาชนในแต่ละพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการ และรับบริการที่มีคุณภาพเป็นที่พอใจ

    และมีประสิทธิภาพในการใช้ทัพยากร เพื่อจัดบริการ5.4 ประชาชนในพืน้ทีม่อี�านาจในการตดัสนิใจ ในการใช้ทรพัยากรต่างๆ ในการแก้ปัญหา

    สาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  • 8

    แสดงความสัมพันธ์ และความเชื่อมโยงของคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สภาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข และคณะกรรมสุขภาพระดับพื้นที

    6. ยุทธศาสตร์ในการด�เนินการ6.1 การกระจายอ�านาจในการวางแผน และจัดสรรการใช้ทรัพยากร เพื่อการแก้ปัญหา

    สาธารณสุข จากส่วนกลางไปยังแต่ละพื้นที่อย่างเหมาะสม6.2 สร้างกลไกในแต่ละพืน้ที ่ซึง่มศีกัยภาพและความสามารถ ในการวางแผน และจดัสรร

    ทรัพยากร เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหา ได้อย่างสอดคล้องและมีประสิทธิภาพ6.3 พัฒนาให้เกิดระบบบริการ ที่ท้องถิ่นสามารถก�ากับดูแล และตอบสนองต่อความ

    ต้องการของประชาชนในแต่ละพื้นท่ี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่พอใจของประชาชน

  • 9

    แสดงโครงสร้าง และความสัมพันธ์ของกระทรวงสาธารณสุข และคณะกรรมการสุขภาพระดับพื้นที่ (กสพ.)

    ที่มา: ส�านักที่ปรึกษากรมอนามัย

    ผลกระทบของการกระจายอ�านาจน้ัน มีท้ังทางบวกและทางลบต่อระบบบริการสุขภาพ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นไม่ได้มาจากตัวของการกระจายอ�านาจเอง แต่เป็นผลท่ีมาจาก การน�าการ กระจายอ�านาจมาใช้ด�าเนินการ

    การกระจายอ�านาจต้องมองเห็นผลลัพธ์ที่ชัดเจนว่า ประชาชนได้ผลประโยชน์ และได้รับบริการที่มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิม หรือไม่น้อยกว่าเดิม เข้าถึงบริการดีขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น และต้องไม่กระทบความเป็นธรรมทางสขุภาพ หมายถงึ การกระจายภารกจิ หรอืกระจายภาระความรบัผดิชอบไปให้ท้องถิน่ มคีวามจ�าเป็นต้องแสงหารปูแบบการกระจายอ�านาจในรปูแบบใหม่ หรอืหลากหลาย ที่เป็นการลดความส�าคัญในการด�าเนินการเองของส่วนกลาง แล้วเสริมสร้างศักยภาพและบทบาทของส่วนท้องถิ่นให้มากขึ้น

  • 10

    ควรหาทางออกที่ไม่ขัดเจตนารมณ์กฎหมาย และไม่ท�าร้ายระบบสุขภาพ ต้องค�านึงถึงทางออกทีไ่ม่ขัดแย้งกบัข้อก�าหนดในกรอบของกฎหมาย ประเดน็ส�าคญัหนึง่ คอื การกระจายอ�านาจควรถูกใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาสุขภาพ ซึ่งต้องค�านึงถึง ปัจจัยทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ที่มีผลต่อสุขภาพ (Social Determinants of Health) ร่วมด้วยการตอดตาม วัดผลลัพธ์จาการด�าเนินการกระจายอ�านาจด้านสุขภาพ จะควรน�า เอามิติด้านความเข้มแข็งของชุมชน และการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เข้ามาเป็นตัวช้ีวัดร่วมกับผลลัพธ์ทางสุขภาพ คุณภาพ ประสิทธิภาพของงานสาธารณสุข

    นพ.วินัย ลีสมิทธ์ พบว่าการใช้การกระจายอ�านาจเป็นเครื่องมือพัฒนาสังคม อาจน�าไปสู่ผลทางบวกและทางลบ ขึ้นอยู่กับการน�ามาใช้ ตามผลการศึกษาทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศ ที่มีผลทางบวกและลบ

    ผลทางบวกการกระจายอ�านาจสามารถส่งผล กระทบด้านบวกทั้งการบริหาร และการบริการสุขภาพ

    สาธารณสุข ดังนี้1. การบริหารจัดการดีขึ้น2. การบริหารจัดการยืดหยุ่นมากขึ้น3. มีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้น4. การบริการสาธารณสุขทั่วถึงมากขึ้น5. สนบัสนนุให้เกดิการประสานงานระหว่างองค์กรในพืน้ทีโ่ดยเฉพาะเขตสขุภาพเดยีวกัน6. ระบบบริการสุขภาพมีเหตุผล และ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในขอบเขตพื้นที่ หรือการ

    บริหารจัดการอย่างเดียวกัน7. ลดความไม่เป็นธรรมทีเ่กิดจาก การจดัสรรทรพัยากรจากส่วนกลางทีไ่ม่เสมอภาคกนั

    เพราะการกระจายอ�านาจจะท�าให้พืน้ทีม่อี�านาจสามารถจดัหารายได้ให้เหมาะสมกบัความต้องการ

    8. รัฐ เอกชน และชุมชนด�าเนินการผสมผสานกันได้ใกล้ชิดขึ้น9. สร้างความเข้มแขง็กระทรวงสาธารณสขุ เพราะท�าให้เจ้าหน้าทีร่ะดบัสงูมเีวลาว่างจาก

    งานประจ�า และสามารถพัฒนาเชิงคุณภาพมากขึ้น10. ประชาชนมีส่วนร่วมด้านการคลัง สาธารณสุขชุมชน11. ลดปัญหาการด�าเนินงานเนื่องจาก การเดินทางที่ไกลล�าบาก และระบบขนส่งไม่ดี

  • 11

    ผลทางลบ สรุปได้ดังนี้1. ระบบสุขภาพแตกแยกส่วน โดยเฉพาะนโยบายสุขภาพไม่สามารถเป็นหน่ึงเดียวได้

    หากขาดการประสานงานท่ีดี และไม่มีข้อมูลที่ดี ท�าให้การจัดการบทบาทของภารัฐลดลง โดยเฉพาะการกระจายอ�านาจแบบการขายโอนกิจการภาครัฐสู่เอกชน เกิดผลเสยีต่อระบบรกิาร ในกรณทีีก่ระจายอ�านาจไปสู ่อปท.ทีไ่ม่เข้มแขง็ ซ่ึง อปท.ทีอ่่อนแอ ขาดประสบการณ์การจัดการ และบริการที่ดี

    2. ลดบทบาทของกระทรวงสาธารณสุข ในการบริหารการบุคคล ท�าให้การก�าหนดนโยบายและพันธะความรับผิดชอบของบุคลากรทางสุขภาพลดลง ลดอ�านาจต่อรองของรฐับาลกลาง กบับรษิทัเอกชนผลติวสัดอุปุกรณ์การแพทย์ยา หรอื เครือ่งมอืแพทย์ สร้างความไม่เป็นธรรมในระบบริการสุขภาพระหว่างคนรวยและคนจน และระหว่างเขตร�่ารวยกับยากจนในชนบท เสริมให้การเมืองท้องถิ่นมีอ�านาจมากขึ้น และเกิดคอรัปชั่นมากขึ้น

    3. บริการสาธารณสุขอ่อนแอลง เพราะเป็นบริการสุขภาพที่เป็นสินค้าสาธารณะ ไม่ก่อรายได้แก่ผูจ้ดับรกิาร และสร้างผลเสยีต่อ การควบคมุป้องกนัโรคทีร่นุแรง และรวดเรว็

  • วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ

    64 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวง/เขต ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

    โทร. 0 2691 9341 http://www.thaindc.org