ghs university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3ghs_university... · ghs...

73
เรียบเรียง จาก A Guide to the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (draft), U.S. Department of Labor, 2006.

Upload: others

Post on 10-Jun-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

เรียบเรียง จาก A Guide to the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (draft), U.S. Department of Labor, 2006.

Page 2: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

2

คําสําคัญและคํายอ รายการตอไปนี้เปนบางสวนของคําสําคัญและคํายอที่ใชในเอกสารช้ินนี้ ซึ่งจะมีรายการที่สมบูรณสามารถหาอาน

ไดใน บทที่ 6.0 อภิธานศัพท

ANSI (American National Standards Institute): สถาบันมาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา

APEC (Asia-Pacific Economic Cooperation) :ความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเซีย-แปซิฟค

ASTM (American Society of Testing and Materials) : สมาคมการทดสอบและวัสดุของประเทศสหรัฐอเมริกา

CA (Competent Authority):หนวยงานที่มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบ

CAS ( Chemical Abstract Service): ชุดตัวเลขท่ีใชชี้บงสารเคมีอันตราย

CFR (Code of Federation Regulations):กฎขอบังคับของสหพันธรัฐ

CG/HCCS (Coordinating Group for the Harmonization of Chemical Classification Systems) :กลุมประสานงานสําหรับการจําแนกประเภทสารเคมีที่เปนระบบเดียวกัน

CPSC (Consumer Product Safety Commission):องคกรความปลอดภัยของผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค

DOT (Department of Transportation) : กรมการขนสง

EINECS (European Inventory of Existing Commercial Chemical Substances) : บัญชีรายชื่อสารเคมีของยุโรปที่ใชเพื่อการพาณิชย

EPA (Environmental Protection Agency) : องคกรพิทักษส่ิงแวดลอม

EU (European Union): สหภาพยุโรป

FIFRA (Federal Insecticide, Fungicide and Rodenticide Act) :กฎหมายรัฐบาลกลางวา ดวยสารเคมี

กําจัดแมลง เช้ือรา และสัตวประเภทหนู GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง ระบบสากลการ

จําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี/เคมีภัณฑ

HCS ( Hazard Communication Standard):มาตรฐานการส่ือสารขอมูลอันตราย

IARC (International Agency for the Research on Cancer) : องคกรเพื่อการวิจัยมะเร็งระหวางประเทศ

IFCS (International Forum on Chemical Safety): ที่ประชุมนานาชาติวาดวยความปลอดภัยของสารเคมี

ILO (International Labor Organization) : องคกรแรงงานระหวางประเทศ

IOMC (Inter-organization Program on the Sound Management of Chemicals) :โครงการประสานงานขององคกรระหวางประเทศวาดวยการจัดการสารเคมี

IPCS (International Programme on Chemical Safety) : โครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยดานสารเคม ี

ISO ( International Standards Organization): องคกรมาตรฐานสากล

IUPAC ( International Union of Pure and Applied Chemistry) :สหภาพสากลเก่ียวกับเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต

LD50 (Median Lethal Dose) : ปริมาณของสารเคมีที่ใหกับสัตวทดลองท้ังหมดเพียงคร้ังเดียว แลวทําใหสัตวทดลอง

รอยละ 50 ตาย คา LD50 มีหนวยเปนมิลลิกรัมตอกิโลกรัม (mg/kg : milligram per kilogram)

MSDS (Material Safety Data Sheet) : เอกสารขอมูลความปลอดภัย ในการทํางานกับสารเคมี (แบบเกา)

NAFTA (North American Free Trade Agreement) : ขอตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ

OSHA (Occupational Safety and Health Administration) :องคกรบริหารงานดานชีวอนามัยและความปลอดภัย

Page 3: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

3

OECD (The Organization for Economic Cooperation and Development) : องคกรเพื่อความรวมมือและการพัฒนาเศรษฐกิจ

QSARs (Quantitative Structure-Activity Relationships) : ความสัมพันธระหวางโครงสรางและการออกฤทธิ์เชิงปริมาณของสาร

SDS (Safety Data Sheet):เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (ตามระบบสากล GHS)

SME (Small and Medium size Enterprises): วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

TFHCL (Task Force on the Harmonization of Classification Labeling) :คณะทํางานเฉพาะกิจเก่ียวกับการจําแนกประเภทสารเคมีที่เปนระบบเดียวกัน

TSCA (Toxic Substances Control Act):กฎหมายวาดวยการควบคุมสารพิษ

UN (United Nations):สหประชาชาติ

UNCED (United Nations Conference on Environmental and Development) :ที่ประชุมสหประชาชาติวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา

UNCETDG (United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods) :คณะกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงสหประชาชาติวาดวยการขนสงสินคาอันตราย

UNCETDG/GHS (United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods and on the

Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals) :คณะกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงสหประชาชาติวาดวยการขนสงสินคาอันตรายและการจําแนกประเภทการติดฉลากสารเคมีใหเปนระบบเดียวกัน

ทั่วโลก

UNITAR (United Nations Institute for Training and Research) :สถาบันเพื่อการฝกอบรมและวิจัยแหงสหประชาชาติ

WG( work group) : คณะทํางาน

WHMIS (Workplace Hazardous Materials Information System) :ระบบขอมูลความเปนอันตรายในสถานที่ทํางาน

WSSD ( World Summit on Sustainable Development):การประชุมสุดยอดของโลกวาดวยการพัฒนาที่ย่ังยืน

Page 4: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

4

สารบัญ บทที่ 1 ความเปนมา 1.1 ระบบ GHS คืออะไร ?

1.2 ทําไมตองพัฒนาระบบ GHS ?

1.3 ขอตกลงสากล (International Mandate) คืออะไร ?

1.4 ระบบ GHS พัฒนาขึ้นมาอยางไร ?

1.5 จะดูแลรักษาและปรับปรุงระบบ GHS ใหทันสมัยไดอยางไร ?

1.6 จะนําระบบ GHS ไปใชเม่ือใด ? 1.7 ประโยชนที่ไดรับ

บทที่ 2 จะนําระบบ GHS มาใชไดอยางไร 2.1 ระบบ GHS ครอบคลุมสารเคมีทุกชนิดหรือไม?

2.2 สารเคมีอันตรายทุกชนิดจะตองการการติดฉลากและเอกสารความปลอดภัยตามระบบ GHS หรือไม?

2.3 ระบบ GHS จะกระทบตอกฎหมายที่มีอยูเดิมอยางไร ?

2.4 การนําระบบ GHS ไปใชแบบ Building Block หมายถึงอะไร?

2.5 การดําเนินการตาม GHS แบบ Building Block ควรจะนําไปใชอยางไร? 2.5.1 ภาคการขนสง 2.5.2 ภาคสถานที่ประกอบการอุตสาหกรรม 2.5.3 ภาคผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค 2.5.4 ภาคสารเคมีเกษตร

บทที่ 3 การจําแนกประเภท คืออะไร? 3.1 ความเปนอันตรายทางกายภาพ ตามระบบ GHS คืออะไร ? 3.1.1 วัตถุระเบิด 3.1.2 กาซไวไฟ 3.1.3 ละอองลอยไวไฟ 3.1.4 กาซออกซิไดส 3.1.5 กาซภายใตความดัน 3.1.6 ของเหลวไวไฟ 3.1.7 ของแข็งไวไฟ 3.1.8 สารเคมีที่ทําปฏิกิริยาไดเอง 3.1.9 ของเหลวท่ีลุกติดไฟไดเองในอากาศ 3.1.10 ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ 3.1.11 สารเคมีที่เกิดความรอนไดเอง 3.1.12 สารเคมีที่สัมผัสน้ําแลวใหกาซไวไฟ

Page 5: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

5

3.1.13 ของเหลวออกซิไดส 3.1.14 ของแข็งออกซิไดส 3.1.15 สารเพอรออกไซดอินทรีย 3.1.16 สารกัดกรอนโลหะ

3.2 ความเปนอันตรายตอสุขภาพและส่ิงแวดลอม ตามระบบ GHS คืออะไร 3.2.1 ความเปนพิษเฉียบพลัน 3.2.2 การกัดกรอนผิวหนัง 3.2.3 การระคายเคืองตอผิวหนัง 3.2.4 ผลตอดวงตา 3.2.5 การทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง

3.2.6 การกอใหเกิดการกลายพันธุของเซลลสืบพันธุ 3.2.7 การกอมะเร็ง 3.2.8 ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ 3.2.9 ความเปนพิษตออวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจงจากการไดรับสัมผัสคร้ังเดียว และการไดรับสัมผัสซ้ํา 3.2.10 ความเปนอันตรายจากการสําลัก 3.3 ความเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม 3.3.1 ความเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอมในน้ํา 3.3.1.1 ความเปนพิษเฉียบพลันตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา 3.3.1.2 ความเปนพิษเร้ือรังตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา

3.4 วัตถุประสงคของการจัดแบงประเภทสําหรับสารผสม ตามระบบ GHS คืออะไร ?

3.5 หลักการเชื่อมโยง (Bridging principles) คืออะไร ?

3.6 ตองมีการทดสอบอะไรบาง?

บทที่ 4 การส่ือสารความเปนอันตราย 4.1 มีปจจัยอะไรบางที่สงผลกระทบตอการพัฒนาเครื่องมือส่ือสารระบบ GHS ? 4.2 ฉลาก 4.2.1 ฉลาก มีลักษณะอยางไร 4.2.2 ตัวอยางฉลากของประเทศสหรัฐอเมริกา 4.2.3 ตัวอยางฉลากสากล 4.3 องคประกอบของฉลากมีอะไรบาง? 4.3.1 สัญลักษณ (รูปสัญลักษณความเปนอันตราย) 4.3.2 คําสัญญาน 4.3.3 ขอความแสดงความเปนอันตราย 4.3.4 ขอควรระวังและรูปสัญลักษณ 4.3.5 ตัวบงชี้ผลิตภัณฑ (ขอมูลสวนประกอบ)

Page 6: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

6

4.3.6 การระบุผูจัดจําหนาย 4.3.7 ขอมูลเสริม 4.4 จะทําอยางไรกับฉลากที่มีความเปนอันตรายหลายอยาง?

4.5 ลักษณะของ ฉลาก/การจัดองคประกอบ ตามระบบ GHS มีการจําเพาะเจาะจงไวหรือไม ? 4.6 มีความเส่ียงอยางไร ?

4.7 ระบบ GHS ไดครอบคลุมถึงภาชนะบรรจุในสถานประกอบการหรือไม ?

4.8 เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) ตามระบบ GHS คืออะไร

4.9 ความแตกตางระหวางเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) ตามระบบ

GHS กับตามระบบเดิม (MSDS) 4.10 เม่ือไรที่ควรจะตองปรับปรุงเอกสารความปลอดภัยและฉลากใหทันสมัย

4.11 ระบบ GHS จะจัดการกับ ขอมูลลับทางธุรกิจ (CBI) อยางไร

4.12 ระบบ GHS ไดระบุถึงการฝกอบรมหรือไม

บทที่ 5 เอกสารอางอิง

บทที่ 6 อภิธานศัพท

Page 7: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

7

บทที่ 1 ความเปนมา

จุดประสงคของการจัดทําเอกสารนี้เพื่ออธิบายระบบสากลการจําแนกประเภทและการติดฉลาสารเคมีวา

มีการพัฒนา และเก่ียวของอยางไรกับ กลไกการบริหารจัดการสารเคมี ซึ่งสามารถหาเอกสารฉบับเต็มอานไดที่

http://www.unece.org/trans/danger/publi/ghs/ghs_rev02/02files_e.html

1.1 ระบบ GHS คืออะไร?

GHS เปนตัวยอของ The Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals

ชึ่งหมายถึงระบบสากลการจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี ระบบ GHS จัดทําขึ้นมาเพื่อสรางมาตรฐาน

และระบบที่เปนหนึ่งเดียวกันของจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี โดยมีหลักการและวัตถุประสงคดังนี้ - ใหคําจํากัดความของ ความอันตรายทางสุขภาพ ความอันตรายทางกายภาพ และความอันตรายตอ

ส่ิงแวดลอมของสารเคมี - สรางกระบวนการการจําแนกประเภทสารเคมีตามความเปนอันตราย โดยใชขอมูลที่มีอยู - ส่ือสารขอมูลความเปนอันตรายเพื่อเปนมาตรการปองกันใน 2 รูปแบบคือ (1)ฉลาก และ(2)เอกสาร

ขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) หลายประเทศ ไดมีระบบควบคุมสําหรับส่ิงเหลานี้อยูแลว

ซึ่งในแตละระบบอาจจะมีความคลายคลึงกันในเน้ือหาและ

วัตถุประสงค แตยังมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ เพียงพอที่จะทํา

ใหเกิดความแตกตางในการจําแนกประเภท ฉลากและเอกสารความ

ปลอดภัยสําหรับผลิตภัณฑชนิดเดียวกัน เม่ือนําไปจําหนายใน

ประเทศตางๆ หรือแมแตในประเทศเดียวกันเองก็ตาม เม่ือแตละสวน

ของวงจรชีวิตของสารเคมีอยูภายใตระเบียบกฎหมายที่แตกตางกัน

จึงนําไปสูความไมสอดคลองกันในการปองกันอันตรายจากการไดรับ

สัมผัสสารเคมีที่อาจเกิดขึ้นได รวมไปถึงการสรางขอบังคับที่เปนภาระ

ตอกลุมบริษัทผูผลิตสารเคมี ยกตัวอยาง ในประเทศสหรัฐอเมริกา

การจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีมีขอบังคับแตกตางกัน

สําหรับหนวยงานตางๆ เชน องคกรความปลอดภัยของผลิตภัณฑ

สําหรับผูบริโภค กรมการขนสง องคกรพิทักษส่ิงแวดลอม องคการ

บริหารงานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เปนตน

(รูปที่ 1.1 เอกสาร GHS หรือ

“Purple Book”)

ระบบ GHS นั้นไมไดเปนระเบียบขอบังคับหรือมาตรฐาน เอกสาร GHS (อางอิงถึง “สมุดปกมวง (The

Purple Book)” ดังแสดงในรูปที่ 1.1 แตจัดเปนขอตกลงในการจําแนกประเภทและการส่ือสารความเปนอันตราย

ของสารเคมี รวมกับขอสนเทศเชิงอธิบายในการนําระบบไปใช องคประกอบตางๆ ใน GHS จะชวยสงเสริมกลไก

ของการตอบสนองตอความตองการพื้นฐานของการส่ือสารความเปนอันตรายของผลิตภัณฑเคมีที่มีการผลิต และ/

หรือจัดจําหนาย โดยการจัดทําฉลากและ/หรือเอกสารขอมูลความปลอดภยัในการทํางานกับสารเคมี ที่เหมาะสม

Page 8: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

8

การจะนําระบบ GHS มาใชในแตละหนวยงานที่มีหนาที่ของแตละประเทศน้ัน ควรนําเกณฑและขอบังคับมา

ประยุกตโดยผานขั้นตอนกระบวนการควบคุมบังคับของตนเอง มากกวาการนําเนื้อหาของระบบ GHS มารวมกัน

กับขอบังคับของประเทศตนเองอยางงายๆ เอกสาร GHS ใหขอเสนอแนะของการเตรียมการอยางเปนขั้นเปนตอนเพื่อที่จะพัฒนาหรือปรับปรุงแผนงานระดับชาติที่มีเดิม ซึ่งไดระบุการจําแนกประเภทความเปนอันตรายและการ

ถายทอดขอมูลเก่ียวกับอันตรายเหลานั้นและมาตรการปองกันที่เก่ียวของใหแกแตละประเทศ ซึ่งในสวนน้ีจะชวย

พัฒนาการบริหารจัดการความปลอดภัยของการใชสารเคมีตลอดวงจรชีวิต(ต้ังแตจุดกําเนิดจนถึงการกําจัดกาก)

1.2 ทําไมตองพัฒนาระบบ GHS ? การผลิตและการใชสารเคมีเปนพื้นฐานของทุกระบบเศรษฐกิจ ธุรกิจสารเคมีทั้งโลกรวมกันมีมูลคา

มากกวา 1.7 ลานลานเหรียญสหรัฐตอป ในสหรัฐอเมริกามีมูลคามากกวา 450 พันลานเหรียญสหรัฐและมูลคา

การสงออกมากกวา 80 พันลานเหรียญสหรัฐตอป สารเคมีมีผลกระทบตอชีวิตเราทั้งทางตรงและทางออม และเปนองคประกอบสําคัญสําหรับการผลิต

อาหาร และผลิตภัณฑที่ใชในวิถีชีวิตประจําวันของเรา การใชสารเคมีกันอยางกวางขวางนั้นทําใหเกิดการพัฒนา

ระเบียบของเฉพาะภาคสวนตางๆ (การขนสง การผลิต สถานที่ประกอบการ การเกษตร การคาขายและผลิตภัณฑ

สําหรับบริโภค) โดยมีขอมูลของลักษณะความเปนอันตรายของสารเคมีที่พรอมใชประโยชนไดทันที ขอแนะนําใน

มาตรการควบคุม การอนุญาตในการผลิต การขนสง การจัดการความปลอดภัยในการใชสารเคมีและการกําจัด

กาก ทั้งนี้เพื่อปกปองสุขภาพของมนุษยและส่ิงแวดลอม การจัดการสารเคมีควรที่จะรวมไปถึงระบบในการระบุและส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมีแกผูที่มี

โอกาสที่จะสัมผัสกับสารเคมีทุกคน ไดแก คนงาน เกษตรกร ผูบริโภค ผูปฏิบัติการณตอบโตภาวะฉุกเฉินและ

สาธารณชน เปนเร่ืองสําคัญที่จะตองใหรับรูวา สารเคมีคืออะไร และ/หรือใชอยางไร อันตรายของสารเคมีตอ

สุขภาพของมนุษยและส่ิงแวดลอม และจะควบคุมสารเคมีอยางไร ระบบในการจําแนกประเภทและการติดฉลาก

ตางๆ จึงอาศัยรูปแบบและกลุมของสารเคมีในการกําหนดเฉพาะลงไป ในระดับประเทศ ภูมิภาคและสากล ระบบ

การจําแนกประเภทและการติดฉลากที่มีอยูแลวไดระบุโอกาสในการรับสัมผัสสารเคมีในทุกประเภทของการใชงาน

ตามรายการขางบน ในขณะท่ีกฎและระเบียบที่มีอยูนั้นมีความคลายคลึงกัน แตก็ยังมีความแตกตางพอที่จะทําใหมีฉลากที่

แตกตางกันสําหรับผลิตภัณฑชนิดเดียวกันในประเทศสหรัฐอเมริกากับสําหรับการคาระหวางประเทศ และมี

เอกสารขอมูลความปลอดภัยที่แตกตางกันสําหรับผลิตภัณฑชนิดเดียวกันในการคาระหวางประเทศ ในองคกร

ตางๆ ที่มีหนาที่ควบคุมในสหรัฐอเมริกาและในอีกหลายๆ ประเทศ คําจํากัดความของความเปนอันตรายของสารเคมียังมีความแตกตางกัน เชนเดียวกันกับที่มีความแตกตางของขอมูลที่จะอยูบนฉลากเคมีภัณฑและเอกสาร

ขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี

Page 9: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

9

รูปที่ 1.2

ตัวอยางเชน ผลิตภัณฑหนึ่งอาจจะถูกพิจารณาใหเปนวัตถุไวไฟหรือวัตถุมีพิษโดยหนวยงานใดหนวยงาน

หนึ่งหรือประเทศใดประเทศหนึ่ง แตไมเปนวัตถุไวไฟหรือวัตถุมีพิษโดยอีกหนวยงานหนึ่งหรืออีกประเทศหนึ่ง เราจะเห็นไดจากการเปรียบเทียบความซับซอนของความเปนอันตรายที่ใชในระดับประเทศกับระดับที่ใช

กันทั่วโลก โดยดูจากตัวอยางของ ความเปนพิษเฉียบพลันทางปาก (LD50) (รูปที่ 1.2) โดยสวนใหญแลวระบบจะ

ครอบคลุมความเปนพิษเฉียบพลัน ดังที่เห็นในรูปจะพบวา มีการพิจารณาความอันตรายที่หลากหลาย ความ

แตกตางนี้จะทําใหผลิตภัณฑชนิดเดียวกันถูกจําแนกวามีความเปนอันตรายในประเทศ/ระบบหนึ่ง แตไมมีอันตราย

ในอีกประเทศ/ระบบหนึ่ง จนในที่สุดทําใหทําใหฉลากและเอกสารขอมูลความปลอดภัยของผลิตภัณฑชนิดเดียวกัน

แตกตางกัน

Page 10: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

10

รูปที่ 1.3 ความไวไฟ

ของเหลวไวไฟเปนอีกตัวอยางหน่ึงที่ครอบคลุมอยูในระบบที่มีอยู ดังที่แสดงในรูปที่ 1.3 ขอบเขตจะมี

ความแตกตางกันในระบบที่มีอยูในประเทศสหรัฐอเมริกากับในประเทศอื่นๆ ซึ่งหมายถึงเคมีภัณฑชนิดเดียวกัน

สามารถถูกจัดจําแนกเปนสารอันตรายหรือไมเ และมีฉลากและเอกสารความปลอดภัยที่แตกตางกัน ในบทที่ 4

ต้ังแตรูปที่4.1 ถึง 4.7 แสดงใหเห็นวา มีความหลากหลายในระดับประเทศและระดับสากล สําหรับเคมีภัณฑที่

สมมุติขึ้นมา ( ToxiFlam) ซึ่งมีความเปนพิษจากการไดรับทางปากและเปนวัตถุไวไฟ การจําแนกความเปนอันตรายและเอกสารขอมูลความปลอดภัย/ฉลากท่ีแตกตางกัน สงผลกระทบตอทั้ง

การปองกันอันตรายและการคาขาย ในสวนของการปองกันอันตรายผูใชอาจจะพบความแตกตางในขอควรระวัง

บนฉลากหรือเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีชนิดเดียวกัน ในสวนของการคาขายจะตอง

ปฏิบัติตามระเบียบที่หลากหลายในการจําแนกประเภทและติดฉลากซ่ึงจะทําใหส้ินเปลืองทั้งตนทุนและเวลา โดย

บริษัทขามชาติบางแหงคาดวา จะมีความแตกตางและหลากหลายของระเบียบมากกวา 100 ระเบียบที่เก่ียวกับ

ของการส่ือสารความเปนอันตรายสําหรับเคมีภัณฑของบริษัทในระดับสากล สําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดยอม (SMEs) การปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับจะยุงยากและมีคาใชจายสูง และอาจจะเปนอุปสรรคใน

การคาเคมีภัณฑระหวางประเทศ

Page 11: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

11

1.3 ขอตกลงสากล (International Mandate) คืออะไร? ส่ิงหนึ่งที่สําคัญที่ผลักดันใหเกิดการสราง

ระบบ GHS ขึ้นมาคือ ขอตกลงสากล (international

mandate) (รูปที่ 1.4) ซึ่งเกิดจากการประชุมสุดยอดแหงสหประชาชาติวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา

คศ. 1992 (UNCED) ที่เรียกวา “Earth Summit”

รูปที่ 1.4

มีมติใหมีการพัฒนาระบสากลการจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี โดยจัดเปนหนึ่งในหกแผนงานซึ่งไดรับ

รองอยางเปนทางการโดยสมัชชาสหประชาชาติ เพื่อสงเสริมใหเกิดความตระหนักถึงระบบการจัดการสารเคมีโดย

คํานึงถึงส่ิงแวดลอม เปนที่คาดกันวาการทําใหเปนหนึ่งเดียวกันในระดับสากลสําหรับการจําแนกประเภทและการ

ติดฉลาก จะเปนรากฐานสําคัญสําหรับการพัฒนาศักยภาพของประเทศตางๆท่ัวโลกในการบริหารจัดการความ

ปลอดภัยดานสารเคมี

1.4 ระบบ GHS พัฒนาขึ้นมาอยางไร ? จากการรวมมือในการพัฒนามาตรฐานความรับผิดชอบตอสังคมแรงงานระหวางประเทศ ในเร่ืองความ

ปลอดภัยของการใชสารเคมีในการทํางาน องคกรแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ไดทําการศึกษาหัวขอที่มีความ

จําเปนที่จะตองทําใหเปนระบบเดียวกัน และ ไดสรุปวามีระบบหลักอยู 4 ระบบ (รูปที่ 1.5) ที่จะตองทําใหเปนระบบ

เดียวกันเพื่อใหบรรลุเปาหมายความเปนสากล ระบบทั้งส่ี ไดแก (1) ระบบของสหรัฐอเมริกาในการขนสง

(2) ระบบของสหรัฐอเมริกาสําหรับสถานท่ีทํางาน ผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค และสารเคมีกําจัดศัตรูพืช (3) ระบบ

ของสหภาพยุโรปในเร่ืองสารและเคมีภัณฑอันตราย และ (4) ระบบของแคนาดาสําหรับสถานที่ทํางาน ผลิตภัณฑ

สําหรับผูบริโภค และสารเคมีกําจัดศัตรูพืช

ไมมีองคกรระหวางประเทศใดท่ีมีการดําเนินการครอบคลุม

ลักษณะของการจําแนกประเภทและติดฉลากสารเคมี

ทั้งหมด การพัฒนาระบบสากลนั้นจึงมีขอบเขตกวางขวาง

รวมทั้งตองการผูเช่ียวชาญในหลากหลายสาขา และ

ทรัพยากรจํานวนมาก เพื่อที่จะดําเนินการพัฒนาระบบ

สากล จําเปนตองดําเนินการตามข้ันตอนตอไปนี้

รูปที่ 1.5

(ก) ควรพิจารณาระบบใดเปนระบบหลักเพื่อเปนพื้นฐานของการทําใหเปนหนึ่งเดียวกัน (ข) จะแบงงานกันอยางไรเพื่อใหไดผูเช่ียวชาญเฉพาะสําหรับลักษณะงานที่แตกตางกัน สําหรับระบบทั้ง

ส่ี (รูปที่ 1.5) ที่ถูกคาดวาจะเปนพื้นฐานสําหรับระบบ GHS

Page 12: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

12

กลุมประสานงานสําหรับการจําแนกประเภทสารเคมีที่เปนระบบเดียวกัน (CG/HCCS) ไดจัดต้ังขึ้นมา

ภายใตโครงการประสานงานขององคกรระหวางประเทศวา ดวยการจัดการสารเคมี (IOMC) โดยมีหนาที่

ประสานงานและจัดการการพัฒนาระบบสากล GHS

CG/HCCS ทํางานโดยอาศัยความคิดเห็น

สวนใหญของผูแทนจากกลุมผูมีสวนเก่ียวของหลัก

ซึ่งรวมไปถึงหนวยงานของภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม

และกลุมผูใชแรงงาน โดยยึดหลักการพัฒนาตาม

รูปที่ 1.6 คือ ระดับการปองกันอันตรายจากสารเคมี

จะตองไมลดลง โดยใหหลักการจําแนกตามความ

เปนอันตรายของสารเคมีทุกประเภท รวมทั้งการ

พัฒนาระบบสากลตองคํานึงถึงความเขาใจในการ

ส่ือสารกับผูใชสารเคมีดวย

รูปที่ 1.6

ทั้งนี้ CG/HCCS ไดมีการกําหนดขอบเขตและกรอบแนวทางการดําเนินงานสําหรับหนวยงานตางๆ

เพื่อที่จะนําไปพัฒนาองคประกอบที่แตกตางกันของระบบสากล GHS การทํางานจะแบงเปนสามศูนยประสานงาน

เฉพาะทางเพื่อการจัดสรรไดผูเช่ียวชาญและทรัพยากรที่ดีที่สุด ในรูปที่ 1.7 แสดงใหเห็นวาไดมอบหมายงานใหกับ

ศูนยประสานงานเฉพาะทางและหนาที่ที่รับผิดชอบ โดยมีคณะอนุกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงสหประชาชาติวา

ดวยการขนสงสินคาอันตราย (UNSCETDG ) รวมกับ ILO ควบคุมงานพัฒนาดานความเปนอันตรายทางกายภาพ

สวนองคกรเพื่อความรวมมือและการพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) ควบคุมงานพัฒนาดานความเปนอันตรายตอ

สุขภาพและส่ิงแวดลอม โดยดูจากงานเอกสารแนวทางการทดสอบของหนวยงาน สําหรับ ILO นั้นมีประวัติในการ

ทํางานพัฒนาเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (MSDS) และฉลากมานานจึงควบคุมการ

พัฒนาการส่ือสารขอมูลความเปนอันตราย โดยการทํางานของทุกกลุมนั้นยึดหลักการมีสวนรวมของผูแทนจาก

ภาครัฐ ภาดอุตสาหกรรม ภาคผูใชแรงงาน และภาคประชาชนที่เก่ียวของ รูปที่ 1.7

Page 13: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

13

1.5 จะดูแลรักษาและปรับปรุงระบบ GHS ใหทันสมัยไดอยางไร ? ในเดือนตุลาคม คศ. 1999 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแหงสหประชาชาติตัดสินใจ (มติที่ 1999/65)

ขยายขอตกลงของคณะอนุกรรมาธิการผูเช่ียวชาญวาดวยการขนสงสินคาอันตราย โดยการปรับปรุงระบบเขาไปใน

คณะอนุกรรมาธิการผูเช่ียวชาญวาดวยการขนสงสินคาอันตราย และในคณะกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงวาดวย

สหประชาชาติการขนสงสินคาอันตราย และการจําแนกประเภทการติดฉลากสารเคมีใหเปนระบบเดียวกันทั่วโลก

(UNCETDG/GHS) ในเวลาเดียวกันไดจัดต้ังคณะอนุกรรมการธิการผูเช่ียวชาญวาดวยการจําแนกประเภทการติด

ฉลากสารเคมีใหเปนระบบเดียวกันทั่วโลก (GHS Sub-Committee) ดวย

เม่ือ IOMC พัฒนาระบบ GHS แลวเสร็จ และไดนําเสนอระบบ GHS ตอคณะอนุกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงสหประชาชาติวาดวยการจําแนกประเภทการติดฉลากสารเคมีใหเปนระบบเดียวกันทั่วโลก เพื่อรับรองและ

พัฒนาการนําระบบไปใชอยางเปนทางการในการประชุมคร้ังแรกเม่ือเดือนธันวาคม 2002 นอกจากนี้คณะมนตรี

เศรษฐกิจและสังคมแหงสหประชาชาติไดรับรองระบบ GHS ในเดือนมิถุนายน 2003 คณะอนุกรรมาธิการผูเช่ียวชาญวาดวยการจําแนกประเภทการติดฉลากสารเคมีใหเปนระบบเดียวกันทั่ว

โลก ( UNSCEGHS) มีหนาที่:

- ดูแลรักษาระบบ การจัดการและกําหนดทิศทางกระบวนการทําใหเปนระบบเดียวกัน - ปรับปรุงระบบใหทันสมัยเม่ือจําเปน พิจารณาความจําเปนที่จะตองประกาศส่ิงที่มีการเปล่ียนแปลงหรือ

ปรับปรุงใหทันสมัยเพื่อใหม่ันใจวาระบบมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง

- สงเสริมความเขาใจและการใชระบบ GHS รวมทั้งสนับสนุนการรับฟงขอคิดเห็น

- ทําระบบ GHS ใหสามารถใชประโยชนไดทั่วโลก

- จัดทําคําแนะนําวิธีการนําระบบ GHS ไปประยุกตและการตีความ รวมทั้งการใชหลักเกณฑทางเทคนิค

เพื่อสงเสริมใหเกิดความสอดคลองกันในการนําระบบไปประยุกตใช

- จัดเตรียมแผนการทํางานและนําเสนอขอแนะนําตอ UNCETDG/GHS

1.6 จะนําระบบ GHS ไปใชเมื่อใด ?

ไมมีตารางเวลาที่ตายตัวของการนําระบบ GHS ไปใช สําหรับแตละระบบ/ภาคสวนของแตละประเทศจะ

ตองการผังเวลาในการนําระบบ GHS ไปใชที่แตกตางกัน ระบบที่มีอยูเดิมจําเปนจะตองพิจารณานําเขาสูยุทธศาตร

เพื่อเปล่ียนผานจากระบบที่มีอยูเปนระบบใหมของ GHS

ในการประชุมระหวางประเทศหลายตอหลายคร้ัง ไดเสนอเปาหมายของการนําระบบ GHS ไปใช อาทิ

เชน ที่ประชุมสุดยอดวาดวยการพัฒนาท่ีย่ังยืน (WSSD) และ เวทีความรวมมือระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยดานสารเคมี (IFCS) ไดสนับสนุนใหแตละประเทศนําระบบ GHS ใหมนี้ไปใชทันทีที่สามารถนําไปใชได

โดยคาดวาระบบจะสามารถดําเนินการไดอยางเต็มที่ภายในป 2008 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีของความรวมมือทาง

เศรษฐกิจเอเซีย-แปซิฟค (APEC) ไดกลาววามีหลายๆ ประเทศในกลุม APEC นาจะสามารถนําระบบพื้นฐาน

ของ GHS ไปใชไดโดยความสมัครใจ ภายในป 2006 สําหรับการดําเนินงานภายใตขอตกลงการคาเสรีอเมริกา

เหนือ กลุมงานดานชีวอนามัยและความปลอดภัยและคณะทํางานเทคนิคดานสารกําจัดศัตรูพืชของ NAFTA

กําลังพิจารณาเร่ืองระบบ GHS อยู

Page 14: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

14

ในบางระบบหลักไดเร่ิมปรึกษากันในการนําระบบ GHS ไปใชและวิเคราะหสถานการณเปรียบเทียบ

ระหวางระบบที่มีอยูเดิมกับระบบ GHS สําหรับหลายประเทศคิดวาการทําใหเปนระบบเดียวกันนั้นจะเปนโอกาสดี

ในการขยายความรวมมือระหวางหนวยงานสําหรับภาคสวนตางๆ ในประเทศ 1.7 ประโยชนที่ไดรับ เปาหมายขั้นตนของการส่ือสารความเปนอันตราย คือสรางความม่ันใจวา นายจาง ลูกจาง ผูบริโภค และ

สาธารณชนไดรับขอมูลเก่ียวกับความเปนอันตรายของสารเคมีที่เพียงพอ สามารถใชไดจริง เช่ือถือไดและเขาใจได

นํามาซ่ึงมาตรการในการปองกันสุขภาพและความปลอดภัยของผูใชสารเคมีอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการนําการ

ส่ือสารความเปนอันตรายที่มีประสิทธิภาพไปใชนั้น จะเปนประโยชนสําหรับ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคแรงงาน

และภาคประชาชน รวมทั้งเปนการพัฒนาการบริหารจัดการความปลอดภัยดานสารเคมีอยางย่ังยืน

ระบบ GHS จะมีคุณคามากที่สุด ถาไดถูกประยุกตใชในทุกระบบการควบคุมหลักของการส่ือสารความ

เปนอันตรายของสารเคมี คําจํากัดความของความเปนอันตรายนั้นมีความหลากหลายดังแสดงในรูปที่ 1.2 และ

1.3 สวนการส่ือขอมูลแสดงความเปนอันตรายบนฉลากของเคมีภัณฑใดเคมีภัณฑหนึ่งมีความแตกตางกัน ทั้งใน

ระดับทองถ่ินและระดับสากล ดังแสดงในรูปที่ 4.1 ถึง 4.7 ในประเทศสหรัฐอเมริกา การนําระบบ GHS ไปใชนั้น

จะตองรวมคําจํากัดความของความอันตรายและขอมูลบนฉลากระหวางหลายหนวยงานที่มีหนาที่ควบคุม อาทิ

เชน CPSC DOT EPA และ OSHA ใหเปนระบบเดียวกัน ถาระบบ GHS ไดนําไปใชทั่วโลกแลว จะทําใหเกิดขอมูล

ที่สอดคลองกันสําหรับการส่ือสารบนฉลากและเอกสารขอมูลความปลอดภัยของสารเคมี

เม่ือนําระบบ GHS ไปประยุกตใชแลวคาดวา - จะสงเสริมการปกปองสุขภาพและส่ิงแวดลอม โดยการจัดทําระบบการส่ือสารความเปนอันตรายของ

สารเคมีที่เขาใจไดในระดับสากล - จะเปนโครงสรางที่ไดรับการยอมรับ ในการพัฒนาระเบียบขอบังคับสําหรับประเทศที่ยังไมมีระบบการ

ควบคุมอยูเลย - ทําใหการคาขายสารเคมีและเคมีภัณฑระหวางประเทศที่มีการระบุความเปนอันตรายตามหลักพื้นฐาน

สากลน้ันสะดวกขึ้น - ลดความจําเปนในการทดสอบและการประเมินความเปนอันตรายของสารเคมี เม่ือเทียบกับระบบการ

จําแนกท่ีมีอยูมากมาย

ประโยชนที่ไดรับของ ภาครัฐ - ลดอุบัติเหตุและอุบัติการณที่เกิดขึ้นเก่ียวกับสารเคมี - ลดคาใชจายในการบริการสุขภาพ - เพิ่มการปองกันอันตรายจากสารเคมีแกคนงานและประชาชน - หลีกเล่ียงความซํ้าซอนในการจัดทําระบบของประเทศ - ปรับปรุงภาพลักษณของประเด็นเก่ียวกับสารเคมีทั้งในระดับประเทศและระดับสากล

Page 15: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

15

ประโยชนที่ไดรับของ ภาคธุรกิจ - มีสภาพแวดลอมในการทํางานท่ีปลอดภัยมากขึ้นและปรับปรุงความสัมพันธกับลูกจาง - เพิ่มประสิทธิภาพและลดคาใชจายในการปฏิบัติตามระเบียบเก่ียวกับการส่ือสารความเปนอันตรายของ

สารเคมี

- การประยุกตระบบผูเช่ียวชาญสงผลใหมีการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนอยางสูงสุด รวมทั้งลดภาระ

และตนทุนใหเหลือนอยที่สุด - สงเสริมใหเกิดระบบการโอนถายขอมูลทางอิเล็กทรอนิกกับประเทศตางๆในระดับสากล - ขยายการการใชประโยชนจากโครงการอบรมเก่ียวกับสุขภาพและความปลอดภัย - ลดคาใชจายเน่ืองจากจํานวนอุบติเหตุและการเจ็บปวยจากการใชสารเคมีนอยลง - สงเสริมภาพลักษณและความนาเช่ือถือของผูประกอบการ

ประโยชนที่ไดรับของ ภาคแรงงาน และภาคประชาชน - เพิ่มความปลอดภัยสําหรับคนงานและประชาชน โดยผานการส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมีที่

เห็นไดชัดเจน และใหขอมูลที่ถูกตองเพื่อใหมีการใชสารเคมีอยางปลอดภัย - เพิ่มความระมัดระวังอันตรายอันเนื่องมาจากการใชสารเคมีและเคมีภัณฑอยางปลอดภัย ทั้งในสถาน

ประกอบการ และในครัวเรือนมากขึ้น

Page 16: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

16

บทที่ 2 จะนําระบบ GHS มาใชไดอยางไร

องคประกอบของการจําแนกประเภทและการส่ือสาร GHS เปนรากฐานของการพัฒนาการบริหารจัดการ

สารเคมีอยางปลอดภัย ดังแสดงในรูปที่ 2.1 ขั้นตอนแรก คือ การระบุเนื้อแทของความเปนอันตรายของสารเคมี

(เชน การจําแนกประเภท) จากนั้นขั้นที่สอง คือ การส่ือสารขอมูลความเปนอันตรายของสารเคมี การออกแบบ

องคประกอบของการส่ือสารตามระบบ GHS สะทอนใหเห็นความตองการท่ีตางกันของประชากรกลุมเปาหมาย

(target audiences) ที่หลากหลาย เชน ผูใชแรงงานและผูบริโภค เพื่อใหสามารถขึ้นสูขั้นตอไปคือการบริหารจัดการ

ความเส่ียง ซึ่งมีเปาหมายหลักที่จะลดการสัมผัสสารเคมีใหนอยที่สุดแลวทําใหความเส่ียงลดลง ระบบการบริหาร

จัดการสารเคมีจะแตกตางกันในจุดสําคัญรวมไปถึงการดําเนินการ เชน การกําหนดการไดรับสัมผัสสารเคมี

(exposure limits) วิธีการติดตามการไดรับสัมผัส (exposure monitoring methods) และการควบคุมทางวิศวกรรม

อยางไรก็ตามกลุมเปาหมายที่มีสวนเก่ียวของกับระบบการบริหารจัดการสารเคมี โดยเฉพาะอยางย่ิงคนงานมักมัก

มีขอจํากัดเฉพาะเก่ียวกับรูปแบบการทํางานและพ้ืนฐานความรู/ทักษะเฉพาะเก่ียวกับสารเคมี ซึ่งแตกตางจาก

ผูบริโภคและประชาชนทั่วไป ดังนั้นระบบ GHS จึงถูกออกแบบมาเพ่ือการใชสารเคมีอยางปลอดภัยของทุก

ประชากรกลุมเปาหมาย ไมวาจะมีระบบการบริหารจัดการความเส่ียงอยางเปนทางการหรือไมก็ตาม รูปที่ 2.1

2.1 ระบบ GHS ครอบคลุมสารเคมีทุกประเภทหรือไม? ระบบ GHS นั้นครอบคลุมสารเคมีทุกประเภท ไมมีขอยกเวน คําวา “สารเคมี (chemicals)” มีความหมาย

ที่กวางหมายรวมถึงสารเด่ียว (substances) ผลิตภัณฑ (products) สารผสม (mixtures) สารที่เตรียมขึ้น

(preparations) หรือสารอื่นๆ ที่มีใชอยูแลวในระบบเดิม เปาหมายของ GHS คือ การระบุถึงความเปนอันตรายของ

Page 17: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

17

สารเด่ียวและสารผสม แลวจัดใหมีการส่ือสารขอมูลความเปนอันตรายนั้นๆ GHS ไมไดมีเปาหมายที่จะทําให

กระบวนการประเมินความเส่ียงหรือการตัดสินใจในการบริหารจัดการความเส่ียงใหเปนระบบเดียวกัน

การจําแนกประเภทในระบบ GHS เปนการพิจารณาตามเกณฑ (criteria-based) ทั้งนี้ ระบบ GHS จะไม

ถูกนําไปพัฒนาเปนรายการจัดจําแนกประเภทความเปนอันตรายของสารเคมีระหวางประเทศ แตขึ้นอยูกับประเทศ

ที่จะนําระบบ GHS ไปใช รวมทั้งจะไมมีผลตอรายการจําแนกความเปนอันตรายของสารเคมีที่มีอยูเดิม เชน

รายการสารกอมะเร็งขององคกรเพ่ือการวิจัยมะเร็งระหวางประเทศ (IARC) แตใหสามารถท่ีจะนํามาใชรวมกับ

ระบบ GHS ได

2.2 สารเคมีอันตรายทุกชนิดจะตองการการติดฉลาก และมีเอกสารขอมูลความปลอดภัยตามระบบ GHS หรือไม ?

สําหรับระบบ GHS นั้น ความจําเปนของการจัดทําฉลาก และ/หรือเอกสารขอมูลความปลอดภัยจะมีความ

แตกตางกันตามกลุมประเภทของเคมีภัณฑหรือชวงตางๆ ในวงจรชีวิตของสารเคมี ต้ังแตเร่ิมวิจัย – ผลิต -ใช/บริโภค

จนถึงการกําจัดกาก ดังลําดับของเหตุการณในวงจรชีวิตที่แสดงในรูปที่ 2.2 ขอยกเวนที่ระบบ GHS ไมครอบคลุมคือ

ยารักษาโรค สารปรุงแตงอาหาร เคร่ืองสําอางและ สารกําจัดศัตรูพืชตกคางในอาหาร การใชสารเคมีดังกลาว

ณ จุดของการใชบริโภค จะไมถูกครอบคลุมโดยระบบ GHS แตระบบ GHS จะครอบคลุมในสวนที่คนงานอาจจะ

สัมผัสกับสารเคมี (สถานประกอบการ) และการขนสง รวมทั้งผูบริโภคที่ใชเคมีภัณฑในชีวิตประจําวัน สําหรับการใชยาทางการแพทยทั้งในคนและสัตว

โดยทั่วไปจะระบุในเอกสารกํากับยาและไมไดเปน

สวนหนึ่งในระบบการส่ือสารความเปนอันตราย

ตาม GHS ในทํานองเดียวกันอาหารโดยทั่วไป

ไมไดปดฉลากภายใตระบบการส่ือสารความเปน

อันตรายตาม GHS ดังนั้น มีความจําเปนที่ตองมี

การระบุขอกําหนดที่ชัดเจนสําหรับฉลากและ

เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานไวใน

กฎขอบังคับของประเทศ อยางไรก็ตามขอกําหนด

ของแตละประเทศน้ันควรมีความสอดคลอง

สอดคลองกับรายละเอียด ตามบทที่ 1.1 ของ

เอกสาร GHS

รูปที่ 2.2

2.3 ระบบ GHS จะกระทบตอกฎหมายที่มีอยูเดิมอยางไร ? GHS เปนระบบโดยสมัครใจระหวางประเทศ โดยมิไดจัดทําเปนขอตกลงผูกมัดระหวางประเทศ เพื่อ

เปนการขยายขอบเขตในการรับเอาระบบ GHS เขาสูระบบของประเทศตางๆ การเปล่ียนแปลงระบบควรที่จะผสาน

กับระบบเดิม(หากมีอยูแลว) โดยอาจจําเปนตองพัฒนาเปนมาตรการทางกฎหมายที่ครอบคลุมภาคอุตสาหกรรม

ภาคเกษตรกรรม ภาคผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค รวมทั้งภาคขนสง สําหรับประเทศที่มีระบบอยูแลว คาดวาควร

Page 18: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

18

นําเอาองคประกอบตางๆ ของ GHS มาประยุกตใชในแนวทาง/โครงสรางของระเบียบแผนของการส่ือสารความเปนอันตรายเดิม ยกตัวอยางเชน ขอยกเวนที่ปรากฏอยูในระเบียบเดิมของประเทศน้ันๆ ไมควรที่จะมีการเปล่ียนแปลง

(เชน การขนสงที่มีปริมาณจํากัด) อยางไรก็ตาม เกณฑในการชี้เฉพาะความเปนอันตราย กระบวนการจําแนกประเภทความเปนอันตราย

ของสารเคมี รวมทั้งการแสดงองคประกอบของฉลากและการจัดทําเอกสารขอมูลความปลอดภัย ในระเบียบที่มีอยู

นั้นจะตองมีการปรับปรุงเพื่อใหสอดคลองกับระบบ GHS เปนที่คาดวาในทุกๆ ระบบการส่ือสารความเปนอันตราย

จําเปนจะตองมีการเปล่ียนแปลงเพื่อที่จะนํามาใชกับระบบ GHS ยกตัวอยางเชน ในประเทศสหรัฐอเมริกา EPA

และ OSHA คาดวาจะตองการภาพสัญลักษณ/สัญลักษณแสดงความเปนอันตรายของสารเคมีบนฉลาก

ในประเทศแคนนาดาและกลุม EU คาดวาจะนําเอาภาพสัญลักษณ/สัญลักษณของ GHS มาใชแทนที่ส่ิงที่มีใชอยู

ในปจจุบัน ในสวนของภาคการขนสงคาดวาจะนําเอาเกณฑ (LD50/LC50) ที่มีการเปล่ียนแปลงมาใชสําหรับการ

จําแนกประเภทยอยความเปนพิษเฉียบพลันที่ 1 ถึง 3 ของ GHS สําหรับ OSHA HCS WHMIS และ EU อาจ

จําเปนที่จะตองเปล่ียนเกณฑจําแนกความเปนพิษเฉียบพลัน ควรจะทําการยอมรับขอมูลทดสอบภายใตระบบที่มีอยูเดิมในการจําแนกประเภทความเปนอันตรายของ

สารเคมีตาม GHS ทั้งนี้ก็เพื่อหลีกเล่ียงการทําการทดสอบซ้ําและการใชการทดลองในสัตวโดยไมจําเปน

2.4 การนําระบบ GHS ไปใชแบบ Building Block หมายถึงอะไร ? การประยุกตใชการจําแนกประเภทและขอกําหนดการส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบ

GHS นั้น ควรเปนลักษณะเปนสวนๆอยางคอยเปนคอยไป (Building Block) ขอบเขตของการนําไปใชและการ

ส่ือสารความเปนอันตรายมีความหลากหลาย สามารถเลือกใชไดตามความจําเปนของกลุมประชากรเปาหมาย

และภาคสวนเก่ียวของ (sector) ดังนั้น ระบบ GHS ไดถูกออกแบบมาใหเปนเคร่ืองมือสําหรับจําแนกความเปน

อันตรายและส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมีซึ่งเปนพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการบริหารจัดการความปลอดภัย

ดานสารเคมี

ระบบ GHS เสนอเกณฑสําหรับการจําแนกและองคประกอบในการส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมีสําหรับทุกภาคสวน อยางไรก็ตาม ประเทศหรือองคกรสามารถเลือกและประยุกตใชไดโดยใหครอบคลุมผลกระทบ

ที่แนนอน ไมจําเปนจะตองใชทุกองคประกอบของระบบ GHS แตละประเทศสามารถพิจารณาวา สวนใดของ

องคประกอบของระบบ GHS จะนํามาใชในภาคสวนใดภายในประเทศ ( เชน ภาคผลิตสําหรับผูบริโภค ภาค

สถานที่ประกอบการอุตสาหกรรม ภาคการขนสง และภาคสารเคมีทางการเกษตร) ยกตัวอยางเชน การนํา GHS ไปประยุกตบางสวน ไดแก

- การไมนําการจําแนกบางประเภทในระบบ GHS ไปใช (เชน การกอมะเร็ง ความเปนอันตรายตอ

ส่ิงแวดลอมทางนํ้า ฯลฯ)

- การไมนําการจําแนกบางประเภทยอยในระบบ GHS ไปใช (โดยมักยกเวนประเภทยอยแรกหรือสุดทาย

เชน ความเปนพิษเฉียบพลันมีประเภทยอยที่ 5) - การรวมความเปนอันตรายประเภทยอยตางๆ (เชน การผนวกความเปนพิษเฉียบพลันประเภทยอย 1

กับ 2 หรือการกัดกรอนผิวหนังกลุมที่ 1A 1B กับ 1C)

Page 19: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

19

2.5 การดําเนินการตาม แบบ Building Block ควรจะทําอยางไร ? การนําระบบสากล GHS ไปประยุกตใชอยางเหมาะสมนั้น หมายถึงการท่ีหนวยงานผูมีอํานาจหนาที่

(Competent Authority : CA) จะสามารถใชเกณฑและขอกําหนดของ GHS เพื่อพิทักษส่ิงแวดลอม และสุขภาพ

จากพิษภัยของสารเคมี หนวยงาน EPA และ OSHA ของสหรัฐอเมริกา รวมทั้งกระทรวงสาธารณสุขของแคนาดา

เปนตัวอยางของหนวยงานผูมีอํานาจหนาที่ที่ริเร่ิมนําระบบสากล GHS ไปใช ท้ังนี้หนวยงานผูมีอํานาจหนาที่

จะตองตัดสินใจวาจะนําองคประกอบที่หลากหลายของ GHS มาใชอยางไร โดยขึ้นกับความรับผิดชอบของ

หนวยงานผูมีอํานาจหนาที่และความตองการของกลุมประชากรเปาหมายที่มีสวนเก่ียวของ

เม่ือจะพัฒนากฎระเบียบใหครอบคลุมบางสวนของ GHS การครอบคลุมนั้นจะตองมีความสอดคลองกัน

เพื่อใหการนํา GHS ไปประยุกตใชเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ เม่ือใดก็ตามที่ทําการจําแนกประเภทของเคมีภัณฑ

จําเปนจะตองนําเกณฑการจําแนกประเภทตามระบบ GHS การกําหนดองคประกอบของฉลากและการจัดเตรียม

เอกสารขอมูลความปลอดภัยมาปฏิบัติตามที่ระบุไวใน GHS ยกตัวอยางเชน ถาระบบการควบคุมครอบคลุมเร่ือง

การกอมะเร็ง ระบบนั้นควรปฏิบัติตามการจําแนกประเภทที่เปนระบบเดียวกัน องคประกอบของฉลากที่เปนระบบ

เดียวกันและเอกสารความปลอดภัยที่เหมาะสม ในรูปที่ 2.3 แสดงใหเห็น Hazard endpoint/ประเภทยอยของความอันตรายบางสวน และการส่ือสารความเปนอันตรายสวนท่ีเลือกใชสําหรับภาคการขนสง ภาคสถานที่ประกอบการ

อุตสาหกรรม ภาคผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค และภาคสารเคมีทางการเกษตร

Page 20: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

20

รูปที่ 2.3

เพื่อเพิ่มความเขาใจใหมากขึ้นเก่ียวกับวัตุประสงคของนําระบบสากล GHS ไปประยุกตใชแบบ Building

Block ควรพิจารณาเฉพาะภาคสวน/กลุมประชากรเปาหมาย ความตองการและขอบังคับในภาคสวนตางๆ นั้น มี

ความแตกตางกันขึ้นกับชนิดของสารเคมี/เคมีภัณฑ และรูปแบบในการใช แตละกลุมเประชากรปาหมายไดรับและ

ใชขอมูลความเปนอันตรายในแนวทางท่ีแตกตางกัน รายละเอียดของภาคสวนตางๆท่ีเก่ียวของกับ GHS มีดังนี้

2.5.1 ภาคการขนสง สําหรับการขนสง คาดวาการนํา GHS มาประยุกตจะคลายกับของขอกําหนดเดิมของสหประชาชาติ

เก่ียวกับการขนสง (Orange Book) - เกณฑความเปนอันตรายทางกายภาพ ความเปนพิษเฉียบพลันและอันตรายตอส่ิงแวดลอม คาดวาจะนํามาใชในภาคการขนสง - บรรจุภัณฑของสินคาอันตรายจะตองมีรูปสัญลักษณที่ระบุความเปนพิษเฉียบพลัน ความเปนอันตราย

ทางกายภาพ และความเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม

- องคประกอบการส่ือสารความเปนอันตรายตาม GHS บางสวน เชน คําสัญญาณ ขอความแสดงความ

เปนอันตราย และเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานอาจจะไมมีการนํามาใชในภาคการขนสง

2.5.2 ภาคสถานประกอบการอุตสาหกรรม

ในสถานประกอบการอุตสาหกรรม คาดวาจะนําเอาองคประกอบของ GHS สวนใหญมาใช รวมไปถึง - เกณฑความเปนอันตรายทางกายภาพ ทางสุขภาพ และทางส่ิงแวดลอม ตามความเหมาะสม

Page 21: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

21

- ฉลากจะแสดงขอมูลหลักๆ ตามระบบ GHS (รูปสัญลักษณ คําสัญญาน และขอความแสดงความเปน

อันตราย ฯลฯ) - เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี

- ตองมีการฝกอบรมคนงานเพื่อชวยสงเสริมประสิทธิภาพในการส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมี

ตามระบบ GHS ไวลวงหนาดวย

2.5.3 ภาคผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค สําหรับสวนของผูบริโภค คาดวาในการนํา GHS มาใช ฉลากจะเปนสวนสําคัญของการส่ือความเปน

อันตรายของสารเคมี

- เกณฑจําแนกความเปนอันตรายตาม GHS ควรนํามาใชตามความเหมาะสม

- ฉลากควรจะประกอบไปดวยสวนหลักขององคประกอบของ GHS ไดแก รูปสัญลักษณ คําสัญญาน

และขอความแสดงความเปนอันตราย ฯลฯ รวมทั้งขึ้นอยูกับขอพิจารณาของหนวยงานผูมีอํานาจหนาที่ เชน การ

ติดฉลากตามระดับความเส่ียง หรือ risk-based labelling

2.5.4 ภาคสารเคมีเกษตร สําหรับสวนของสารเคมีทางการเกษตร เชน สารกําจัดศัตรูพืช คาดวาจะนําเอา GHS มาใช

- เกณฑความเปนอันตรายตาม GHS ควรนํามาใชตามความเหมาะสม

- ฉลากสารเคมีเกษตร ควรจะประกอบไปดวยสวนหลักๆ ขององคประกอบของ GHS (รูปสัญลักษณ

คําสัญญาน และขอความแสดงความเปนอันตราย ฯลฯ) ขึ้นอยูกับขอพิจารณาของหนวยงานผูมีอํานาจหนาที่

Page 22: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

22

บทที่ 3 การจําแนกประเภท คืออะไร

การจําแนกประเภทเปนจุดเร่ิมตนเพื่อนําไปสูการส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมี ซึ่งจะเก่ียวของ

กับการระบุความเปนอันตรายของสารเคมีหรือสารผสม โดยจัดจําแนกเปนประเภทยอยตามระดับของความเปน

อันตรายโดยใชเกณฑที่กําหนดในระบบ GHS ซึ่งจะทําใหเกิดความสอดคลองและโปรงใส ความแตกตางที่ชัดเจน

ระหวางประเภท (classes) และประเภทยอย (categories) สามารถทําใหเกิดการพิจารณา “การจําแนกประเภท

ดวยตนเอง (self classification)”ได สําหรับอันตรายหลายๆ ประเภท กระบวนการตัดสินใจโดยใชผังการแบงกลุม

(decision tree approach) ชน การระคายเคืองตอดวงตา ซึ่งมีรายละเอียดระบุไวในเอกสาร GHS สําหรับบาง

ประเภทความเปนอันตรายเกณฑของ GHS จะเปนเชิงก่ึงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ ซึ่งการตัดสินโดยผูเช่ียวชาญ

อาจจะจําเปนในการแปลผลขอมูลเหลานี้ รูปที่ 3.1 แสดงใหเห็นคําจํากัด

ความของการจําแนกประเภทความเปน

อันตรายที่สามารถนําไปใชกับทุกๆ

กลุมความเปนอันตรายในระบบ GHS ขอมูลสําหรับการจําแนก

ประเภทอาจจะไดมาจากการทดสอบ

เอกสาร และประสบการณจากการปฏิบัติ

เกณฑ/คําจํากัดความของความเปน

อันตรายทางกายภาพและส่ิงแวดลอมของ

รูปที่ 3.1

GHS มาจากกระบวนการทดสอบที่เปนกลาง ดังนั้นการทดสอบเพ่ือวิเคราะหลักษณะความเปนอันตรายตาม

หลักการทางวิทยาศาตรที่เปนที่ยอมรับในระดับสากลสามารถนํามาใชเพื่อการจําแนกประเภทความเปนอันตราย

ตามระบบ GHS ได

End point (จุดตัด) ของความอันตรายทางกายภาพ ความเปนอันตรายตอสุขภาพและส่ิงแวดลอมใน

ระบบ GHS แสดงไวในรูปที่ 3.2 และ 3.3 ตามลําดับ ดังที่ไดกลาวไปขางตน การจํากัดความของความอันตรายใน

ระบบ GHS นั้นใชการพิจารณาตามเกณฑ ขอมูลดังตอไปนี้จะแสดงรายละเอียดของคําจํากัดความและเกณฑการ

จําแนกประเภทของ GHS อยางคราวๆ อยางไรก็ตาม ขอแนะนําใหผูที่มีหนาที่ในการนําระบบ GHS ไปใชศึกษา

จากเอกสาร GHS หรือ“สมุดปกมวง (The Purple Book)” เพื่อขอมูลที่สมบูรณขึ้น

3.1 ความเปนอันตรายทางกายภาพ ตามระบบ GHS คืออะไร ? ความเปนอันตรายทางกายภาพตามระบบ GHS ที่พัฒนาขึ้นมาโดย ILO และ UNCETDG สวนใหญมา

จากเกณฑที่มีใชอยูในขอกําหนดเกี่ยวกับการขนสงสินคาอันตรายของ UN หรือสมุดปกสม( The Orange Book) ที่มี

อยู ดังนั้นจึงมีหลายๆ เกณฑซึ่งมีการนําไปใชอยูแลวทั่วโลก อยางไรก็ตาม การเพิ่มเติมหรือเปล่ียนแปลงเกณฑ

เปนส่ิงจําเปนเม่ือพัฒนาระบบ GHS เนื่องจากขอบเขตของ GHS ครอบคลุมกวางขวางกวาการขนสง โดย

ครอบคลุมทุกกลุมประชากรเปาหมายที่มีสวนเก่ียวของกับสารเคมีตลอดวงจรชีวิต ในกระบวนการการจําแนก

Page 23: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

23

ประเภทความเปนอันตรายทางกายภาพน้ัน ไดแสดงเอกสารอางอิงเฉพาะเพื่อแสดงวิธีการทดสอบและเกณฑใน

การจําแนกประเภท ทั้งนี้คาดกันวาสําหรับของผสมจําเปนตองมีการทดสอบความเปนอันตรายทางกายภาพกอน

จําแนกประเภทตอไป

โดยทั่วไปแลวเกณฑสําหรับอันตรายทางกายภาพของ GHS เปนเชิงปริมาณหรือก่ึงปริมาณ โดย

พิจารณารวมกับ End point (จุดตัด) ซึ่งจะแตกตางจากบางระบบที่มีอยูเดิมซึ่งใชเกณฑเชิงคุณภาพสําหรับ

อันตรายทางกายภาพ (เชน เกณฑสําหรับสารเพอรออกไซดอินทรีย ภายใต WHMIS และ OSHA HCS) จึง

สามารถทําใหการจําแนกประเภทภายใตระบบ GHS มีความถูกตองมากขึ้น

ในการพัฒนาเกณฑของ GHS สําหรับความเปนอันตรายทางกายภาพ จําเปนจะตองใหคํานิยามสถานะ

ทางกายภาพ ใน GHS ตอไปนี้ - กาซ คือ สารเด่ียวหรือสารผสม ที่อุณหภูมิ 50

องศาเซลเซียส จะมีความดันไอมากกวา 300 กิโลพาสคัล

หรือเปนกาซอยางสมบูรณที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสที่

ความดันบรรยากาศมาตรฐาน 101.3 กิโลพาสคัล - ของเหลว คือ สารเด่ียวหรือสารผสมที่ไมใช

กาซ และมีจุดหลอมเหลวหรือจุดหลอมเหลวเร่ิมตนที่ 20

องศาเซลเซียสหรือตํ่ากวา ณ ความดันบรรยากาศ

มาตรฐานท่ี 101.3 กิโลพาสคัล - ของแข็ง คือ สารเด่ียวหรือสารผสมที่ไมเปนไป

ตามคําจํากัดความของคําวาของเหลวหรือกาซ

ประเภทความเปนอันตรายทางกายภาพตามระบบ GHS

อธิบายอยางยอๆ ไดดังตอไปนี้

รูปที่ 3.2

3.1.1 วัตถุระเบิด

วัตถุระเบิด คือสารหรือสารผสม ในสถานะของแข็งหรือของเหลว ที่เกิดปฏิกิริยาทางเคมีอยางรวดเร็วแลว

ใหกาซที่มีอุณหภูมิและความดันสูงจนสามารถทําความเสียหายใหกับส่ิงตางๆโดยรอบ สารดอกไมเพลิงถือวาเปน

สารระเบิดดวยถึงแมวาสารดังกลาวนี้จะไมเปล่ียนเปนกาซ ดอกไมเพลิงเปนสารเดี่ยวหรือสารผสมที่ผลิตขึ้นมา

เพื่อใหความรอน แสงสวาง เสียง กาซ หรือ ควัน การผสมผสานกันของส่ิงเหลานี้ทําใหเกิดการระเบิดดวยตัวเอง

หรือดวยปฏิกิริยาทางเคมีที่มีการคายความรอน การจัดประเภทสารวาเปนวัตถุระเบิดและการจําแนกประเภทวัตถุระเบิด มี 3 กระบวนการ ดังนี้ - การตรวจสอบวาสารหรือสารผสมมีผลทําใหเกิดการระเบิดหรือไม(การทดสอบลําดับที่ 1) - การตรวจสอบตามกระบวนการท่ีเปนที่ยอมรับ (การทดสอบลําดับที่ 2 ถึง 4)

- การกําหนดประเภทยอยของความเปนอันตราย 1 ใน 6 ประเภทยอย (การทดสอบลําดับที่ 5 ถึง 7)

Page 24: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

24

สมบัติการระเบิดเก่ียวเนื่องกับการมีสารเคมีบางชนิดที่สามารถเกิดปฏิกิริยาที่ทําใหอุณหภูมิและความ

ดันเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ระบบ GHS ไดจัดทําขั้นตอนการจําแนกประเภทท่ีมีเปาหมายเพื่อบงชี้การมีอยูของสารที่

ทําปฏิกิริยาและมีศักยภาพในการปลดปลอยพลังงานออกมาอยางรวดเร็ว ขั้นตอนการบงชี้สารหรือของผสมวามี

วัตถุระเบิดอยูหรือไม ตองดําเนินการในกระบวนการที่เปนที่ยอมรับ ตารางที่ 3.1 วัตถุระเบิด

ประเภทยอย ลักษณะเฉพาะ 1.1 อันตรายจากการระเบิดทั้งมวล

1.2 อันตรายจากสะเก็ดระเบิดอยางรุนแรง

1.3 อันตรายจากการเกิดไฟไหม การระเบิด หรือสะเก็ดระเบิด

1.4 อันตรายจากไฟไหม หรือสะเก็ดระเบิด

1.5 สารที่มีความไวตํ่าซ่ึงมีอันตรายจากการระเบิดทั้งมวล เมื่อไฟไหม

1.6 สิ่งของที่มีความไวตํ่ามากๆ ซ่ึงไมมีอันตรายจากการระเบิดทั้งมวล

สําหรับสารเด่ียว สารผสมและวัตถุจะจัดเปนประเภทยอยที่ 1.1 ถึง 1.6 โดยขึ้นอยูกับประเภทความเปน

อันตรายที่แสดงออกมา ดูการทดสอบลําดับที่ 2 ถึง 7 ในภาคที่ I ของเอกสารคูมือการทดสอบและเกณฑของ

สหประชาชาติ เก่ียวกับการขนสงสินคาอันตรายท่ีการจําแนกเปน 6 ประเภทยอยสําหรับวัตถุระเบิด

3.1.2 กาซไวไฟ กาซไวไฟ คือกาซที่มีชวงความไวไฟกับอากาศท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และท่ีความดันบรรยากาศ

101.3 กิโลพาสคัล สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนอันตรายน้ีจําแนกไดเปน 2 ประเภทยอย โดยกําหนดตาม

ผลจากการทดลองหรือการคํานวณ (ดู ISO10156:1996)

3.1.3 ละอองลอยไวไฟ ละอองลอยไวไฟ คือกาซที่บรรจุอยูในภาชนะปดที่ไมสามารถบรรจุใหมได อยูในรูปกาซอัด กาซเหลว

หรือกาซละลายภายใตความดัน สําหรับภาชนะบรรจุดังกลาวทํามาจากโลหะ แกว หรือพลาสติก ที่มีหรือไมมี

ของเหลว ครีม หรือผงฝุน และติดต้ังอุปกรณสําหรับปลดปลอยสารออกมาในรูปอนุภาคที่เปนของแข็งหรือ

ของเหลวท่ีแขวนลอยในกาซ หรืออยูในรูปของโฟม ครีม หรือผงฝุน หรือในสถานะของเหลว หรือในสถานะของกาซ ใหจําแนกประเภทเปนละอองลอยตามประเภทยอยที่ 1 หรือ 2 ถามีองคประกอบใดๆ ของเคมีภัณฑ

ลักษณะดังกลาวเปนสารที่ไวไฟตามเกณฑของ GHS สําหรับการจําแนกประเภทของเหลวไวไฟ กาซไวไฟ หรือ

ของแข็งไวไฟ: - ความเขมขนขององคประกอบที่เปนสารไวไฟ

- ความรอนทางเคมีของการลุกไหม (สําหรับภาคการขนสงและการจัดเก็บเปนหลัก) - ผลของการทดสอบโฟม (ละอองลอยโฟม) (สําหรับภาคอุตสาหกรรมและภาคผลิตภัณฑสําหรับ

ผูบริโภคเปนหลัก) - การทดสอบระยะทางการลุกไหม (ละอองลอยฉีดพน) (สําหรับภาคอุตสาหกรรมและภาคผลิตภัณฑ

สําหรับผูบริโภคเปนหลัก)

Page 25: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

25

- การทดสอบในพื้นที่ปด (ละอองลอยฉีดพน) (สําหรับภาคอุตสาหกรรมและภาคผลิตภัณฑสําหรับ

ผูบริโภคเปนหลัก)

การพิจารณาละอองลอย

- ถามีองคประกอบไวไฟ ≤ รอยละ 1 และมีความรอนจากการเผาไหม <20 กิโลจูล/กรัม จะไมจัดเปน

ละอองลอยไวไฟ

- ถามีองคประกอบไวไฟ ≥ รอยละ 85 องคประกอบไวไฟและมีความรอนจากการเผาไหม >30 กิโลจูล/

กรัม จัดเปนละอองลอยไวไฟสูงมาก ดูวิธีการทดสอบในคูมือการทดสอบและเกณฑของสหประชาชาติ

3.1.4 กาซออกซิไดส กาซออกซิไดส คือกาซใดๆ ที่โดยทั่วไปจะใหออกซิเจนออกมาแลว อาจเปนสาเหตุหรือมีสวนทําใหเกิด

การเผาไหมของวัสดุอื่นมากกวาที่อากาศทั่วไปสามารถทําได สารเด่ียวหรือสารผสมใดๆ ที่มีความเปนอันตราย

ประเภทน้ีจะถูกจําแนกไดเพียงประเภทยอยเดียว วิธีการทดสอบใชตาม ISO 10156:1996 ปจจุบันในหลายระบบ

การส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมี เชน สถานประกอบการอุตสาหกรรมไดครอบคลุมสารออกซิไดส

(ของแข็ง ของเหลว กาซ) อยูแลว

3.1.5 กาซภายใตความดัน กาซภายใตความดัน คือกาซที่บรรจุอยูในภาชนะบรรจุที่มีความดันไมนอยกวา 280 กิโลพาสคัล ที่

อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส หรือเปนของเหลวเย็นจัด (refrigerated liquid) ซึ่งคําจํากัดความนี้จะครอบคลุม กาซ

หรือของผสมที่มีลักษณะเปนกาซทั้งส่ีประเภทยอย โดยพิจารณาจากผลของการปลดปลอยความดันหรือการทําให

แข็งอยางรวดเร็วซ่ึงนําไปสูความเสียหายอยางรุนแรงตอคน ส่ิงของ หรือส่ิงแวดลอม โดยไมขึ้นกับอันตรายอื่นๆ

ของกาซนั้น

สําหรับการจําแนกวาเปนกาซภายใตความดันหรือไมจําเปนตองทราบขอมูลตอไปนี้ - ความดันไอที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส - สถานะทางกายภาพท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ณ ความดันบรรยากาศมาตรฐาน - อุณหภูมิวิกฤติ

เกณฑที่ใชจําแนกสถานะทางกายภาพหรือกาซอัด อาจแตกตางกันตามระบบของแตละสถาน

ประกอบการอุตสาหกรรม

สามารถหาขอมูลไดจากเอกสารอางอิงหรือโดยการคํานวณและการทดสอบ กาซบริสุทธิ์สวนใหญไดมี

การจําแนกไวแลวในขอกําหนดของสหประชาชาติ ซึ่งไดจําแนกเปน 4 ประเภทยอยตามสถานะทางกายภาพ เม่ือ

ทําการบรรจุ ดังแสดงในตารางท่ี 3.2

Page 26: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

26

ตารางที่ 3.2 กาซภายใตความดัน ประเภทยอย เกณฑ

กาซอัด เปนกาซทั้งหมดที่อุณหภูมิ -50 องศาเซลเซียส

กาซเหลว มีบางสวนที่เปนของเหลวที่อุณหภูมิสงูกวา -50 องศาเซลเซียส

กาซเหลวเย็นจัด มีบางสวนเปนของเหลวเนื่องจากอุณหภูมิตํ่า

กาซในสารละลาย ถูกละลายในตัวทําละลายที่เปนของเหลว

3.1.6 ของเหลวไวไฟ ของเหลวไวไฟ คือของเหลวที่มีจุดวาบไฟไมเกิน 93 องศาเซลเซียส สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปน

อันตรายประเภทนี้จะถูกจําแนกไดเปน 4 ประเภทยอย โดยขึ้นอยูกับจุดวาบไฟและจุดเดือดเร่ิมตน (ดู ตารางที่ 3.3)

สําหรับจุดวาบไฟของสารสามารถหาไดจากวิธีทดสอบในภาชนะปดตามบทที่ 2.5 ยอหนาที่ 11 ในเอกสาร GHS ตารางที่ 3.3 ของเหลวไวไฟ

ประเภทยอย เกณฑ

1 จุดวาบไฟ < 23 องศาเซลเซียส และจุดเดือดเร่ิมตน ≤ 35 องศาเซลเซียส

2 จุดวาบไฟ < 23 องศาเซลเซียส และจุดเดือดเร่ิมตน > 35 องศาเซลเซียส

3 จุดวาบไฟ ≥ 23 องศาเซลเซียส และ ≤ 60 องศาเซลเซียส

4 จุดวาบไฟ > 60 องศาเซลเซียส และ ≤ 93 องศาเซลเซียส

3.1.7 ของแข็งไวไฟ ของแข็งไวไฟ คือของแข็งที่ลุกติดไฟไดงายหรืออาจเปนสาเหตุหรือชวยทําใหเกิดไฟไหมโดยอาศัยความ

เสียดทาน ของแข็งที่ลุกติดไฟไดงายอาจเปนสารที่เปนผงเม็ดขนาดเล็ก (granular) หรือมีลักษณะคลายแปงเปยก

(pasty substance) ซึ่งเปนอันตราย เนื่องจากลุกติดไฟไดงายโดยการสัมผัสเพียงส้ันๆ กับแหลงกําเนิดประกายไฟ

เชน ไมขีดไฟที่กําลังลุกไหม และทําใหเปลวไฟลุกลามอยางรวดเร็ว สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีประเภทความเปน

อันตรายนี้จะถูกจําแนกไดเปน 2 ประเภทยอย (ดูตารางที่ 3.4) โดยขึ้นอยูกับผลลัพธที่ไดจากการทดสอบในคูมือ

การทดสอบและเกณฑของสหประชาชาติ ซึ่งการทดสอบจะรวมไปถึงเวลาในการลุกไหม อัตราการลุกไหม และการ

ลุกไหมของไฟในพื้นที่เปยกของสารตัวอยาง ตารางที่ 3.4 ของแข็งไวไฟ

ประเภทยอย เกณฑ 1 ผงโลหะ (Metal powders): เวลาในการลุกไหม ≤ 5 นาที

สารอื่น: บริเวณที่เปยก (wetted zone) ไมหยุดการลุกไหมของไฟ และ

เวลาในการลุกไหม < 45 วินาที

อัตราการลุกไหม > 2.2 มิลลิเมตร/วินาที

2 ผงโลหะ (Metal powders): เวลาในการลุกไหม > 5 นาที และ ≤ 10 นาที

สารอื่น: บริเวณที่เปยก(wetted zone) หยุดการลุกไหมของไฟอยางนอย 4 นาที และ

เวลาในการลุกไหม < 45 วินาที

อัตราการลุกไหม > 2.2 มิลลิเมตร/วินาที

Page 27: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

27

3.1.8 สารเคมีที่ทําปฏิกิริยาไดเอง สารเคมีที่ทําปฏิกิริยาไดเอง คือสารเดี่ยวหรือสารผสมในสถานะของแข็งหรือของเหลวที่ไมเสถียรทาง

ความรอน ซึ่งมีแนวโนมที่จะเกิดการสลายตัวระดับโมเลกุลทําใหเกิดความรอนอยางรุนแรง (strongly exothermic

decomposition) แมในภาวะที่ไมมีออกซิเจน (อากาศ) คําจํากัดความนี้ไมรวมถึงสารเด่ียวหรือสารผสมที่จําแนก

ภายใตระบบ GHS วาเปนวัตถุระเบิด สารเพอรออกไซดอินทรีย หรือเปนสารออกซิไดส สารเหลานี้อาจมีคุณสมบัติ

ที่คลายคลึงกัน แตการจัดประเภทตามลักษณะเฉพาะความเปนอันตรายของสารเหลานั้นแตกตางกัน ขอยกเวนที่

ไมจัดวาเปนสารเคมีที่ทําปฏิกิริยาไดเอง ไดแก (1) สารดังกลาวมีความรอนจากการสลายตัวตํ่ากวา 300 จูลตอ

กรัม หรือ (2) สารดังกลาวมีอุณหภูมิการสลายตัวแบบเรงปฏิกิริยาไดเอง ( self-accelerating decomposition

temperature : SADT) สูงกวา 75 องศาเซลเซียส สําหรับหีบหอที่บรรจุที่ 50 กิโลกรัม

สารและสารผสมที่ทําปฏิกิริยาไดเองจําแนกไดเปน 7 ประเภทยอยจาก”ชนิด A ถึง G” โดยขึ้นอยูกับผลที่

ไดจากการทดสอบในคูมือการทดสอบและเกณฑของสหประชาชาติ ลําดับที่ A ถึง H ในปจจุบันนี้มีเฉพาะภาคการ

ขนสงที่ใชการจําแนกเปน 7 ประเภทยอยสําหรับสารเคมีที่ทําปฏิกิริยาไดเอง (ดู ตารางที่ 3.5) ตารางที่ 3.5 สารเคมีที่ทําปฏิกิริยาไดเอง

ประเภทยอย เกณฑ A สามารถระเบิดอยางรวดเร็วและรุนแรง (detonate) หรือเผาไหมกระทันหัน (deflagrate rapidly) เมื่อบรรจุอยูในหีบหอ

B มีสมบัติที่ระเบิดไดและเมื่อบรรจุอยูในหีบหอ ไมเกิดการระเบิดอยางรวดเร็วรุนแรง (detonate) และไมเผาไหม

กระทันหัน (deflagrate rapidly) แตเส่ียงตอการเกิดการระเบิดจากความรอน(thermal explosion) ในหีบหอนั้น

C มีสมบัติที่ระเบิดไดเมื่อสารหรือสารผสม (เมื่อบรรจุอยูในหีบหอ) ไมสามารถเกิดการระเบิดอยางรวดเร็วรุนแรง

(detonate) หรือไมเกิดการเผาไหมกระทันหัน (deflagrate rapidly) หรือไมเกิดการระเบิดจากความรอน

(thermalexplosion) D - ระเบิดเพียงบางสวน ไมมีเผาไหมกระทันหัน และไมแสดงผลที่รุนแรงเมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด

(confinement); หรือ

- ไมเกิดการระเบิด (detonate) เลย แตทําใหเกิดการเผาไหมอยางชา ๆ ไมแสดงผลที่รุนแรงเมื่อไดรับความรอน

ภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement); หรือ

- ไมเกิดการระเบิด (detonate) หรือไมเกิดการเผาไหมอยางชา ๆ ข้ึนเลย และแสดงผลปานกลาง (medium effect)

เมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement)

E ไมระเบิดอยางรวดเร็วและรุนแรง(detonate) และไมเกิดการเผาไหมกระทันหัน (deflagrate rapidly) ข้ึนเลย และ

แสดงผลนอยหรือไมมีการแสดงผล เมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement)

F ไมเกิดทั้งการระเบิด (detonate) ในสภาพที่เปนฟองรูพรุน (cavitated bubble state) หรือไมเกิดทั้งการเผาไหมกระทันหันข้ึนเลย และแสดงเฉพาะผลตํ่าหรือไมมีการแสดงผลเมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด

(confinement) รวมท้ังกําลังในการระเบิดตํ่าหรือไมมีกําลังในการระเบิดเลย

G ไมทั้งเกิดการระเบิด ( detonate) ในสภาพที่เปนฟองรูพรุน (cavitated bubble state) หรือไมทั้งเกิดการเผาไหม

กระทันหันข้ึนเลย และไมมีการแสดงผลเมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement) ไมมีทั้งกําลังในการ

ระเบิด โดยมีเงื่อนไขวามีความเสถียรทางความรอน (อุณหภูมิการสลายตัวแบบเรงปฏิกิริยาไดเอง (SADT) อยู

ระหวาง 60 - 75 องศาเซลเซียส สําหรับหีบหอหนัก 50 กิโลกรัม) และ สําหรับสารผสมที่เปนของเหลว ใชตัวเจือจาง

(diluent) ที่มีจุดเดือดไมตํ่ากวา 150 องศาเซลเซียส สําหรับทําใหความไวลดลง (desensitisation)

Page 28: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

28

3.1.9 ของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ ของเหลวท่ีลุกติดไฟไดเองในอากาศ คือของเหลวท่ี ถึงแมอยูในปริมาณท่ีนอย มีแนวโนมที่จะลุกติดไฟได

ภายใน 5 นาทีหลังจากไดสัมผัสกับอากาศ ได สารเด่ียวหรือสารผสมใดๆ ที่มีความเปนอันตรายประเภทน้ีจะถูก

จําแนกไดเพียงประเภทยอยเดียว โดยขึ้นอยูกับผลที่ไดจากการทดสอบของสหประชาชาติ N.3 (คูมือการทดสอบ

และเกณฑของสหประชาชาติ)

3.1.10 ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ คือของแข็งที่แมมีอยูในปริมาณนอย ก็มีแนวโนมที่จะลุกติดไฟภายใน

5 นาทีหลังจากไดสัมผัสกับอากาศ สารด่ียวหรือสารผสมใดๆ ที่มีความเปนอันตรายประเภทน้ีจะถูกจําแนกไดเพียง

ประเภทยอยเดียว โดยขึ้นอยูกับผลที่ไดจากการทดสอบของสหประชาชาติ N.2 (คูมือการทดสอบและเกณฑของ

สหประชาชาติ)

3.1.11 สารที่เกิดความรอนไดเอง สารเคมีที่เกิดความรอนไดเอง คือสารเด่ียวหรือสารผสมที่เปนของแข็งหรือของเหลว (ซึ่งไมใชสารที่ลุกติด

ไฟไดเองในอากาศ) เม่ือเกิดปฏิกิริยากับอากาศและปราศจากการใหพลังงานจากภายนอก มีความเส่ียงตอการเกิด

ความรอนดวยตัวเอง สารเด่ียวหรือสารผสมนี้แตกตางจากของแข็งหรือของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศใน

ลักษณะที่จะลุกติดไฟไดตอเม่ืออยูในปริมาณมาก (หลายกิโลกรัม) และสะสมอยูดวยกันเปนระยะเวลานาน

(หลายช่ัวโมงหรือหลายวัน) สารที่เกิดความรอนไดเองสามารถถูกจําแนกไดเปน 2 ประเภทยอย โดยขึ้นอยูกับผลที่

ไดจากการทดสอบของสหประชาชาติ N.4 (คูมือการทดสอบและเกณฑของสหประชาชาติ)

3.1.12 สารเคมีที่สัมผัสน้ําแลวใหกาซไวไฟ สารเคมีที่สัมผัสแลวใหกาซไวไฟ คือสารเด่ียวหรือสารผสมที่เปนของแข็งหรือของเหลวที่สามารถทํา

ปฏิกิริยากับน้ํา แลวมีความเส่ียงที่จะไวไฟโดยตัวมันเองหรือปลอยกาซไวไฟออกมาในปริมาณที่เปนอันตราย สาร

เด่ียวหรือสารผสมในกลุมประเภทความเปนอันตรายนี้จะถูกจําแนกเปน 3 ประเภทยอย โดยขึ้นอยูกับผลที่ไดจาก

การทดสอบของสหประชาชาติ N.5 (คูมือการทดสอบและเกณฑของสหประชาชาติ) โดยเทียบจากปริมาณกาซที่เกิดจากกการทําปฏิกิริยาและความเร็วของปฏิกิริยา

ตารางที่ 3.6 สารเคมีที่สัมผัสน้ําแลวใหกาซไวไฟ ประเภทยอย เกณฑ

1 ≥ 10 ลิตร/ กิโลกรัม/ 1 นาที

2 ≥ 20 ลิตร/ กิโลกรัม/ 1 ช่ัวโมง + < 10 ลิตร/ กิโลกรัม/ 1 นาที

3 ≥ 1 ลิตร/ กิโลกรัม/ 1 ช่ัวโมง + < 20 ลิตร/ กิโลกรัม/ 1 ช่ัวโมง

ไมจําแนกเปนประเภทนี้ < 1 ลิตร/ กิโลกรัม/ 1 ช่ัวโมง

3.1.13 ของเหลวออกซิไดส ของเหลวออกซิไดส คือของเหลวใดๆ ที่โดยทั่วไปสามารถปลอยกาซออกซิเจนออกมา อาจเปนสาเหตุ

หรือมีสวนทําใหเกิดการเผาไหมวัสดุอื่น สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนอันตรายประเภทน้ีจะถูกจําแนกไดเปน

Page 29: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

29

3 ประเภทยอย โดยขึ้นอยูกับผลที่ไดจากการทดสอบของสหประชาชาติ O.2 (คูมือการทดสอบและเกณฑของ

สหประชาชาติ) โดยเทียบจากการลุกติดไฟหรือเวลาที่ความดันเพิ่มขึ้นเปรียบเทียบกับสารที่ระบุไว

3.1.14 ของแข็งออกซิไดส ของแข็งออกซิไดส คือ ของแข็งใดๆ ที่โดยทั่วไปสามารถปลอยกาซออกซิเจนออกมา อาจเปนสาเหตุหรือ

มีสวนทําใหเกิดการเผาไหมวัสดุอื่น สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนอันตรายประเภทน้ีจะถูกจําแนกไดเปน 3

ประเภทยอย โดยขึ้นอยูกับผลท่ีไดจากการทดสอบของสหประชาชาติ O.1 (คูมือการทดสอบและเกณฑของ

สหประชาชาติ) โดยเทียบจากคาเฉล่ียเวลาในการลุกไหมเปรียบเทียบกับสารที่ระบุไว ปจจุบันในหลายระบบการส่ือสารความเปนอันตรายสําหรับทางอาชีวอนามัยไดครอบคลุมสารออกซิไดส (ของแข็ง ของเหลว กาซ) วาเปน

สารเคมีประเภทหนึ่ง

3.1.15 สารเพอรออกไซดอินทรีย สารเพอรออกไซดอินทรีย คือสารอินทรียที่เปนของแข็งหรือของเหลวซึ่งประกอบดวยโครงสรางที่มี

ออกซิเจนสองอะตอมเกาะกัน (bivalent –O-O- structure) และอาจพิจารณาเปนอนุพันธของ

ไฮโดรเจนเพอรออกไซด คือมีไฮโดรเจน 1 อะตอมหรือมากกวาถูกแทนที่โดยอนุมูลอินทรีย (organic radicals) คํานี้

ยังหมายรวมถึงสูตรสารเคมี (formulations) หรือสารผสม (mixture) ของเพอรออกไซดอินทรีย สารเพอรออกไซดอินทรียอาจมีคุณสมบัติดังนี้

- เส่ียงตอการสลายตัวที่ทําใหเกิดการระเบิดได (explosive decomposition)

- ลุกไหมอยางรวดเร็ว - ไวตอแรงกระแทกหรือการเสียดสี - ทําปฏิกิริยากับสารอื่นๆ แลวกอใหเกิดอันตราย

สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนอันตรายประเภทนี้จะถูกจําแนกไดเปน 7 ประเภทยอย “ชนิด A ถึง

G” โดยขึ้นอยูกับผลที่ไดจากการทดสอบของสหประชาชาติลําดับที่ A ถึง H (คูมือการทดสอบและเกณฑของ

สหประชาชาติ) ในปจจุบัน มีเฉพาะภาคการขนสงที่ใชการจําแนกสารเปอรออกไซดอินทรียเปน 7 ประเภทยอย

Page 30: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

30

ตารางที่ 3.7 สารเพอรออกไซดอินทรีย ประเภทยอย เกณฑ

A สามารถระเบิดอยางรวดเร็วรุนแรง (detonate) หรือเผาไหมกระทันหัน (deflagrate rapidly) เมื่อบรรจุอยูในหีบหอ

B มีสมบัติที่ระเบิดไดและที่เมื่อบรรจุอยูในหีบหอ ไมทั้งเกิดการระเบิดอยางรวดเร็วรุนแรง (detonate) และไมทั้งเผา

ไหมกระทันหัน (deflagrate rapidly) แตเส่ียงตอการเกิดการระเบิดจากความรอน(thermal explosion) ในหีบหอนั้น

C มีสมบัติที่ระเบิดไดเมื่อสารหรือสารผสม (เมื่อบรรจุอยูในหีบหอ) ไมสามารถเกิดการระเบิดอยางรวดเร็วรุนแรง

(detonate) หรือไมเกิดการเผาไหมกระทันหัน (deflagrate rapidly) หรือไมเกิดการระเบิดจากความรอน

(thermalexplosion) D - ระเบิดเพียงบางสวน ไมมีเผาไหมกระทันหัน และไมแสดงผลที่รุนแรงเมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด

(confinement) หรือ

- ไมเกิดการระเบิด (detonate) เลย แตทําใหเกิดการเผาไหมอยางชา ๆ ไมแสดงผลที่รุนแรงเมื่อไดรับความรอน

ภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement) หรือ

- ไมเกิดการระเบิด (detonate) หรือไมเกิดการเผาไหมอยางชา ๆ ข้ึนเลย และแสดงผลปานกลาง (medium effect)

เมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement)

E ไมระเบิดอยางรวดเร็วรุนแรง(detonate) และไมเกิดเผาไหมกระทันหัน (deflagrate rapidly) ข้ึนเลย และแสดงผลตํ่า

หรือไมมีการแสดงผลเมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement)

F ไมเกิดทั้งการระเบิด (detonate) ในสภาพที่เปนฟองรูพรุน (cavitated bubble state) หรือไมเกิดทั้งการเผาไหมกระทันหันข้ึนเลย และแสดงเฉพาะผลตํ่าหรือไมมีการแสดงผลเมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด

(confinement) รวมท้ังกําลังในการระเบิดตํ่าหรือไมมีกําลังในการระเบิดเลย

G ไมทั้งเกิดการระเบิด ( detonate) ในสภาพที่เปนฟองรูพรุน (cavitated bubble state) หรือไมทั้งเกิดการเผาไหม

กระทันหันข้ึนเลย และไมมีการแสดงผลเมื่อไดรับความรอนภายใตพื้นที่ที่จํากัด (confinement) ไมมีทั้งกําลังในการ

ระเบิด โดยมีเงื่อนไขวามีความเสถียรทางความรอน (อุณหภูมิการสลายตัวแบบเรงปฏิกิริยาไดเอง (SADT) ที่ 60 -

70 องศาเซลเซียส สําหรับหีบหอหนัก 50 กิโลกรัม) และ สําหรับสารผสมที่เปนของเหลว ใชสารเจือจาง (diluent) ที่

มีจุดเดือดไมตํ่ากวา 150 องศาเซลเซียส สําหรับทําใหความไวลดลง (desensitisation)

3.1.16 สารกัดกรอนโลหะ สารกัดกรอนโลหะ คือสารเด่ียวหรือสารผสมที่สามารถทําความเสียหายหรือกระท่ังทําลายวัสดุที่เปน

โลหะ สารเด่ียวหรือสารผสมใดๆ ที่มีความเปนอันตรายประเภทนี้จะถูกจําแนกไดเพียงประเภทยอยเดียว โดย

ขึ้นอยูกับผลการทดสอบ (ISO 9328 (II): 1991 – Steel type P235 สําหรับการทดสอบเหล็ก, ASTM G31-72(1990)

non-clad types 7075-T6 หรือ AZ5GU-T66 สําหรับการทดสอบอลูมิเนียม) โดยเกณฑของ GHS ระบุวาสารหรือสารผสมจะตองกัดกรอนผิวโลหะหรืออลูมิเนียมที่อัตราสูงกวา 6.25 มิลลิเมตรตอป ที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส ขอสังเกตในกรณีนี้คือ เนนการปองกันอุปกรณโลหะหรือการติดต้ังเพื่อปองกันการร่ัวไหล (เชน เคร่ืองบิน

เรือ ถังบรรจุ) ไมรวมถึงความเขากันไดของสารระหวางภาชนะบรรจุ/แท็งกกับผลิตภัณฑ ดังนั้นความอันตราย

ประเภทน้ีจึงยังไมครอบคลุมในทุกระบบในขณะน้ี

Page 31: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

31

3.2 ความเปนอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม ตามระบบ GHS คืออะไร เกณฑของความเปนอันตรายตอสุขภาพและส่ิงแวดลอมตามระบบ GHS มีวัตถุประสงคเพื่อทําใหระบบ

การจําแนกประเภทความเปนอันตรายดังกลาวเปนระบบเดียวกันทั่วโลก (ดูรูปที่ 3.3) OECD ไดทําการพัฒนา

เกณฑของ GHS ในเร่ืองความเปนอันตรายทางสุขภาพและส่ิงแวดลอม ดังนี้ - การวิเคราะหระบบการจําแนกประเภทท่ีมีอยางละเอียด รวมทั้งหลักการทางวิทยาศาสตร และเกณฑ

ของระบบ เหตุผลและคําอธิบายวิธีการใช - ขอเสนอในการทําใหเปนระบบเดียวกันทั่วโลกของเกณฑสําหรับแตละประเภทความเปนอันตราย

สําหรับบางประเภทนั้นงายตอการพัฒนาใหเปนระบบเดียวกันเพราะระบบที่มีอยูมีวัตถุประสงคคลายกัน ในกรณีที่

มีวัตถุประสงคแตกตางกัน ใหใชแนวทางประนีประนอมความคิดเห็น (compromise consensus proposal) - เกณฑของการจําแนกความเปนอันตรายตอสุขภาพและส่ิงแวดลอมจัดทําขึ้นสําหรับสารเด่ียวและสาร

ผสม

รูปที่ 3.3

Page 32: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

32

ขอสรุปเกณฑการจําแนกความเปนอันตรายทางสุขภาพและส่ิงแวดลอมตามระบบ GHS ในยอหนาตอไปนี้จะอธิบายอยางคราวๆ เก่ียวกับขอสรุปของการจําแนกความเปนอันตรายทางสุขภาพ

และส่ิงแวดลอมตามระบบ GHS โดยมีเกณฑสําหรับการจําแนกประเภทสารเด่ียวมากอนอันดับแรก จากน้ันจึง

จําแนกประเภทสารผสมอยางยอๆ แนะนําใหผูที่มีหนาที่ในการนําระบบ GHS ไปใชใหศึกษาจากเอกสาร GHS

หรือ“สมุดปกมวง (The Purple Book)” เพื่อขอมูลที่สมบูรณขึ้น

3.2.1 ความเปนพิษเฉียบพลัน ในระบบ GHS แบงความเปนพิษเฉียบพลันเปนทั้งหมด 5 ประเภทยอยซึ่งสามารถเลือกใชตาม ความเหมาะสมสําหรับปองกันอันตรายในการขนสง ปองกันผูบริโภคและคนงาน รวมถึงปองกันส่ิงแวดลอม

ประเภทยอยของความเปนพิษเฉียบพลันขึ้นกับคาปริมาณของสารเคมีที่ใหกับสัตวทดลองทั้งหมดเพียงคร้ังเดียว

แลวทําใหสัตวทดลองรอยละ 50 ตาย (LD50 ) ทางปาก ผิวหนัง หรือ ความเขมขนของสารเคมีที่ใหกับสัตวทดลอง

ทั้งหมดเพียงคร้ังเดียวแลวทําใหสัตวทดลองรอยละ 50 ตาย (LC50 ) ทางการหายใจ คา LC50 ขึน้อยูกับคาที่ไดจาก

การทดสอบในสัตว 4 ชั่วโมง ระบบ GHS ไดจัดทําคําแนะนําในการปรับผลจากการทดสอบการหายใจ 1 ชั่วโมง

เพื่ออนุมานผลใหเทียบเทากับผลจากการทดสอบทางการหายใจ 4 ชั่วโมง ประเภทยอยของความเปนอันตรายของ

ความเปนพิษเฉียบพลันทั้ง 5 แสดงในตารางที่ 3.8

ตารางที่ 3.8 ความเปนพิษเฉียบพลัน

ความเปนพิษเฉียบพลัน

ประเภทยอย 1

ประเภทยอย 2

ประเภทยอย 3

ประเภทยอย 4

ประเภทยอย 5

ทางปาก

(มก./กก.) ≤ 5 > 5

≤ 50

> 50

≤ 300

> 300

≤ 2000

ทางผิวหนัง

(มก./กก.) ≤ 50 > 50

≤ 200

> 200

≤ 1000

> 1000

≤ 2000

กาซ

(สวนในลานสวน

: ppm)

≤ 100 > 100

≤ 500

> 500

≤ 2500

> 2500

≤ 20000

ไอ

(มก./ลิตร) ≤ 0.5 > 0.5

≤ 2.0

> 2.0

≤ 10

> 10

≤ 20

ฝุนและละออง

(มก./ลิตร) ≤ 0.05 > 0.05

≤ 0.5

> 0.5

≤ 1.0

> 1.0

≤ 5

เกณฑ:

- คาดวาจะมีคา LD50 ทางปากอยูระหวาง 2000 –

5000 (มก./กก.) - มีขอมูลที่เช่ือถือไดซ่ึงบงบอกถึงความเปนพิษใน

มนุษย* - พบการตายเกิดข้ึนบางเมื่อทําการทดสอบใน

ประเภทยอยที่ 4* - มีอาการแสดงที่ชัดเจนและนาเช่ือถือวาเปน

ประเภทยอยที่ 4* - มีขอมูลจากการศึกษาอื่น* * ถากําหนดในประเภทความเปนอันตรายที่สูงกวา

ไมไดรับการรับรองหรือพิสูจน

ประเภทยอยที่ 1 เปนกลุมที่มีความเปนพิษสูงสุด คาจุดตัดในขณะน้ีใชสําหรับภาคการขนสงในการ

จําแนกประเภทสารเคมีและการแบงกลุมบรรจุภัณฑ บางหนวยงานผูรับผิดชอบอาจพิจารณารวมความเปนพิษ

เฉียบพลันประเภทยอยที่ 1 กับ 2 เขาดวยกันได ประเภทยอยที่ 5 ซึ่งเปนกลุมที่มีความเปนพิษเฉียบพลันคอนขาง

ตํ่า แตภายใตสถานการณบางอยางอาจเกิดอันตรายกับประชากรบางกลุมได จึงตองมีเกณฑอื่นนอกจากคา LD50/

LC50 เพื่อระบุสารเปนประเภทยอยที่ 5 นอกจากมีการรับรองประเภทยอยที่มีความเปนอันตรายที่มากกวา

Page 33: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

33

3.2.2 การกัดกรอนผิวหนงั การกัดกรอนผิวหนัง หมายถึงการเกิดอันตรายตอผิวหนังที่ไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได หลังจากมี

การทดสอบกับสารเปนระยะเวลาถึง 4 ชั่วโมง สารเด่ียวหรือของผสมใดๆท่ีมีความเปนอันตรายประเภทน้ีจะถูก

จําแนกไดเปน 3 ประเภทยอย (1A – 1C) ดูในตารางที่ 3.9 การกัดกรอน/ระคายเคืองตอผิวหนัง มีบางปจจัยที่ควรพิจารณาในการกําหนดความสามารถในการกัดกรอนกอนที่จะเร่ิมทําการทดสอบ - พบหลักฐานในมนุษย วามีอันตรายตอผิวหนังที่ไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได - ความสัมพันธระหวางโครงสรางและการออกฤทธิ์/สมบัติของสารเด่ียวหรือสารผสมเคยถูกจําแนกเปน

สารกัดกรอน

- ความเปนกรดดางอยางรุนแรง หรือมีคา pH ≤ 2 และ ≥ 11.5 โดยตองคํานึงถึงความสามารถในการ

รักษาสภาพกรด-ดางดวย

ตารางที่ 3.9 การกัดกรอน/ระคายเคืองตอผิวหนัง สารกัดกรอนผวิหนัง ประเภทยอยที่ 1 สารระคายเคืองผิวหนงั

ประเภทยอยที่ 2 สารระคายเคืองผิวหนงั

เล็กนอย ประเภทยอยที่ 3

การทําลายเนื้อเยื่อผิวหนัง: การตายของเซลลผิวหนัง ที่พบในสัตวทดลองอยางนอยหนึง่ชนดิ

ประเภทยอยที่ 1A

รับสัมผัส < 3 นาที ระยะเวลาสังเกต

< 1 ช่ัวโมง

ประเภทยอยที่ 1B รับสัมผัส

< 1 ช่ัวโมง ระยะเวลาสังเกต

< 14 วัน

ประเภทยอยที่ 1C รับสัมผัส

< 4 ช่ัวโมง ระยะเวลาสังเกต

< 14 วัน

ทําใหเนื้อเยื่อผิวหนังระคาย

เคือง แตสามารถกลับคืนสู

สภาพเดิมได

คาเฉล่ียสําหรับการเกิดผื่น

(Draize score): ≥ 2.3 < 4.0

หรือการอักเสบเกิดข้ึนอยู

ตลอดเวลา

ทําใหเนื้อเยื่อผิวหนังระคาย

เคือง แตสามารถกลับคืนสู

สภาพเดิมได

คาเฉล่ียสําหรับการเกิดผื่น

(Draize score): ≥ 1.5 < 2.3

3.2.3 การระคายเคืองตอผิวหนัง การระคายเคืองตอผิวหนัง คือการเกิดอันตรายตอผิวหนังที่สามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได หลังจากมีการ

ทดสอบผิวหนังกับสารเปนระยะเวลาถึง 4 ชั่วโมง สารเด่ียวหรือสารผสมใดๆ ที่มีความเปนอันตรายประเภทน้ีจะถูก

จําแนกไดเปน 2 ประเภทยอย ขึ้นกับหนวยงานผูรับผิดชอบ เชน การควบคุมสารกําจัดศัตรูพืช อาจตองมีการ

ควบคุมใหถึงสารที่กอการระคายเคืองผิวหนังเล็กนอย ตามตารางที่ 3.9 การกัดกรอน/ระคายเคืองตอผิวหนัง มีบางปจจัยที่ควรพิจารณาในการกําหนดการระคายเคืองกอนที่จะเร่ิมทําการทดสอบ - พบหลักฐานในมนุษย วาหลังจากไดรับสัมผัสมากกวา 4 ชั่วโมงทําอันตรายตอผิวหนัง แตสามารถคืนสู

สภาพเดิมได

- ความสัมพันธระหวางโครงสรางและการออกฤทธิ์/สมบัติของสารเด่ียวหรือสารผสมท่ีเคยถูกจําแนกเปนสารระคายเคือง

Page 34: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

34

3.2.4 ผลกระทบตอดวงตา มีบางปจจัยที่ควรพิจารณาการทําลายดวงตาอยางแรงหรือการระคายเคืองตอดวงตา กอนที่จะเร่ิมทํา

การทดสอบ ดังนี้ - มีขอมูลเก่ียวกับหลักฐานในมนุษยและสัตว

- ความสัมพันธระหวางโครงสรางและการออกฤทธิ์/สมบัติของสารหรือสารผสมที่เคยถูกจําแนกแลว

- ความเปนกรดดางรุนแรง คือมีคา pH≤ 2 และ ≥ 11.5 ซึ่งอาจทําใหเกิดการทําลายดวงตาอยางรุนแรง

ตารางที่ 3.10 ผลกระทบตอดวงตา

ประเภทยอยที่ 1 ทําลายตอดวงตาอยางรุนแรง

ประเภทยอยที่ 2 ระคายเคืองตอดวงตา

กระจกตา มานตา เย่ือตาขาว แตสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได

คาเฉล่ียสําหรับการเกิดผื่น (Draize score)

ความขุนของกระจกตา ≥ 1

มานตาอักเสบ > 1

เย่ือตาแดง ≥ 2

เย่ือตาบวม ≥ 2

ไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดภายใน

ระยะเวลา21 วัน หลังจากไดรับสัมผัส

คาเฉล่ียสําหรับการเกิดผื่น

(Draize score)

ความขุนของกระจกตา ≥ 3

มานตาอักเสบ > 1.5 สารระคายเคืองตอดวงตา อยางรุนแรง

ประเภทยอยที่ 2A

สามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดภายใน

ระยะเวลา 21 วันหลังจากไดรับสัมผัส

สารระคายเคืองตอดวงตาเล็กนอย

ประเภทยอยที่ 2B

สามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดภายใน

ระยะเวลา7 วันหลังจากไดรับสัมผัส

การทําลายดวงตาอยางรุนแรง หมายถึงการเกิดความเสียหายตอเนื้อเย่ือตา หรือการเกิดการสลายตัว

ทางกายภาพอยางรุนแรง มีผลตอการมองเห็น หลังจากไดรับสัมผัสสารที่เย่ือดานหนาของดวงตา อาการทั้งหมดนี้

ไมสามารถกลับสูสภาพเดิมได ภายใน 21 วันของการไดรับสัมผัส สารเด่ียวหรือสารผสมใดๆ ที่มีความเปนอันตราย

ประเภทน้ีจะถูกจําแนกไดเพียงประเภทยอยเดียว การระคายเคืองตอดวงตา หมายถึงการเปล่ียนแปลงของดวงตาหลังการไดรับสัมผัสการทดสอบท่ีเย่ือ

ดานหนาของดวงตา อาการน้ีสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได ภายใน 21 วันหลังการไดรับสัมผัสสารดังกลาว สาร

เด่ียวหรือสารผสมใดๆ ที่มีความเปนอันตรายประเภทนี้สามารถถูกจําแนกไดเปน 2 ประเภทยอย สําหรับหนวยงาน

ที่รับผิดชอบ เชน การควบคุมสารกําจัดศัตรูพืช อาจตองใชประเภทยอยการระคายเคืองตอดวงตาทั้ง 2 ประเภทยอย โดยการจัดประเภทยอยขึ้นอยูกับผลที่เกิดขึ้นสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดภายใน 21 หรือ 7 วนั

3.2.5 การทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง สารที่ทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจ หมายถึงสารเคมีซึ่งทําใหไวตอการ

กระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจหลังจากสูดดมสารเคมี สารเด่ียวหรือสารผสมใดๆ ในกลุมความเปน

อันตรายนี้จะถูกจําแนกประเภทไดเพียงประเภทยอยเดียว

Page 35: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

35

สารที่ทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอผิวหนัง หมายถึงสารเคมีซึ่งทําใหไวตอการกระตุนอาการ

แพหลังจากไดรับสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง ความหมายของ “สารกระตุนอาการแพตอผิวหนัง (skin sensitizer)”

เทียบเทากับ “สารที่ทําใหไวตอการกระตุนอาการแพจากการไดสัมผัส (Contact sensitizer)” สารเด่ียวหรือสารผสม

ที่มีความความเปนอันตรายประเภทนี้จะถูกจําแนกไดเพียงประเภทยอยเดียว การพิจารณาควรใชในการจําแนก

ประเภทสารที่ทําใหเกิดผ่ืนลมพิษที่เกิดจากปฏิกิริยาของภูมิคุมกัน (immunological contact urticaria) ซึ่งเปนความ

ผิดปกติเก่ียวกับภูมิแพ (an allergic disorder)) ภายหลังไดรับสัมผัสสารเพิ่มความไวตอการกระตุนอาการแพทางผิวหนัง

3.2.6 การกอใหเกิดการกลายพันธุของเซลลสืบพันธุ สารกอกลายพันธุ หมายถึงสารซ่ึงสามารถเพิ่มอุบัติการณในการเกิดการกอกลายพันธุในกลุมเซลลและ/

หรือในส่ิงที่มีชีวิต สารเด่ียวหรือสารผสมในประเภทความเปนอันตรายนี้จะถูกจําแนกเปน 2 ประเภทยอย ดูเกณฑ

การจําแนกในการกอกลายพันธุของเซลลสืบพันธุได ในตารางที่ 3.11 ตารางที่ 3.11 การกอกลายพันธุของเซลลสืบพันธุ

ประเภทยอยที่ 1 ทราบแนชัด/เช่ือวากอการกลายพันธุ

ประเภทยอยที่ 2 สงสัย/เปนไปได

วากอการกลายพันธุ ทราบแนชัดวาทําใหเกิดการกอกลายพันธุที่ถายทอดไดในเซลลสืบพันธุของมนุษย

กลุมยอย 1A พบผลบวกจากการศึกษาทางระบาด

วิทยา

กลุมยอย 1B พบผลบวกจาก

- การทดสอบแบบ in vivo พบการกอกลายพันธุที่ถายทอดไดในเซลลสืบพันธุ

ของสัตวเล้ียงลูกดวยนม - การทดสอบเซลลสืบพันธุของมนุษย

- การทดสอบแบบ in vivo ของการกอกลายพันธุของเซลลรางกายรวมกับ

หลักฐานบางอยางของการกอกลายพันธุ

ของเซลลสืบพันธุ

- อาจกระตุนใหเกิดการกอกลายพันธุที่

ถายทอดไดในเซลลสืบพันธุของมนุษย - พบผลบวกจากการทดสอบในสัตวเล้ียง

ลูกดวยนมและการทดสอบเซลลรางกาย - การทดลองการเกิดพิษทางพันธุกรรมใน

เซลลรางกายในรางกายที่ถูกสนับสนนุ

ดวยการทดลองของการกอกลายพันธุของ

เซลลสืบพันธุในรางกาย

3.2.7 การกอมะเร็ง สารกอมะเร็ง หมายถึงสารเด่ียวหรือสารผสมซึ่งสามารถทําใหเกิดมะเร็งหรือเพิ่มอุบัติการณของการเกิด

มะเร็ง สารเด่ียวหรือสารผสมในประเภทความเปนอันตรายนี้จะถูกจําแนกเปน 2 ประเภทยอย โดยประเภทยอยที่ 1

จะแยกไดเปนประเภทยอยที่ 1A และ 1B ดูเกณฑการจําแนกการกอมะเร็งไดในตารางที่ 3.12 และเอกสาร GHS ซึ่ง

มีขอคิดเห็นเก่ียวกับ IARC ดวย

Page 36: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

36

ตารางที่ 3.12 สารกอมะเร็ง ประเภทยอยที่ 1

ทราบแนชัด/เช่ือวาเปนสารกอมะเร็ง ประเภทยอยที่ 2

สงสัยวาเปนสารกอมะเร็ง ประเภทยอยที่ 1A

ทราบแนชัดวาทําใหเกิดมะเร็งในมนุษย มีหลักฐานทางระบาดวิทยา

ประเภทยอยที่ 1B คาดวาทําใหเกิดมะเร็งในมนุษย มีหลักฐานการกอมะเร็งในสัตวทดลอง

มีหลักฐานจํากัดในการกอมะเร็งในคน

หรือสัตวทดลอง

3.2.8 ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ หมายถึงการเกิดความผิดปกติเก่ียวกับสมรรถภาพทางเพศ และ

ความสามารถในการกอการปฏิสนธิของชายและหญิง รวมถึงความผิดปกติเก่ียวกับพัฒนาการในเด็ก สารเด่ียว

หรือสารผสมที่ออกฤทธิ์ตอระบบสืบพันธุและ/หรือการพัฒนาการของมนุษยสามารถถูกจําแนกเปน 2 ประเภทยอย

ไดแก “ทราบชัดเจนหรือคาดวา (known or presumed)” และ “สงสัยวาทําใหเกิด (suspected)” โดยประเภทยอยที่ 1

จะมี 2 ประเภทยอย ขึ้นกับผลตอระบบสืบพันธุและตอการพัฒนาการของมนุษย สวนสารใดซึ่งอาจทําใหเกิด

อันตรายตอสุขภาพของเด็กที่ถูกเล้ียงลูกดวยนมแมจะถูกจัดใหเปนประเภทยอยเพ่ิมเติม ที่เปนอันตรายตอการหล่ัง

น้ํานมหรือผานทางการหล่ังน้ํานม ตารางที่ 3.13 ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ

ประเภทยอยที่ 1 ประเภทยอยที่ 2 ประเภทยอยเพ่ิมเติม ทราบแนชัดหรือคาดวาทําใหเกิดอันตรายตอระบบสืบพันธุหรือ

พัฒนาการในมนุษย

กลุม 1A ทราบแนชัด

โดยมีหลักฐานในมนุษย

กลุม 1B คาดวา

โดยมีหลักฐานในสัตวทดลอง

อาจมีหลักฐานในมนุษยหรือ

สัตวทดลอง รวมกับขอมูลอื่น มีผลตอการหล่ังน้ํานมหรือ

อาจกอใหเกิดอันตรายตอเด็ก

ที่ไดรับการเลี้ยงดวยน้ํานมแม

3.2.9 ความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง จากการไดรับสัมผัสครั้งเดียวและ การไดรับสัมผัสซ้ํา GHS ไดแยกความแตกตางระหวางความเปนพิษตอระบบเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง จากการไดรับ

สัมผัสคร้ังเดียว และจากการไดรับสัมผัสซ้ํา ในบางระบบไดแยกความแตกตางไวและบางระบบไมไดทํา ผลกระทบ

ตอสุขภาพทุกอยางที่มีนัยสําคัญ ที่ไมไดระบุเฉพาะไวใน GHS ซึ่งสามารถทําใหเกิดความผิดปกติของระบบตางๆ

ทั้งประเภทสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดและไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได ทั้งแบบเฉียบเฉียบพลันและ/หรือ

เร้ือรัง ใหรวมอยูในประเภทความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง (TOST) นอกจากนี้

ฤทธิ์เสพติดและการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจถูกพิจารณาใหอยูในประเภทที่ออกฤทธิ์ตอระบบอวัยวะ

เปาหมายจากการไดรับสัมผัสคร้ังเดียว สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายจากการไดรับสัมผัสคร้ังเดียว สามารถ

ถูกจําแนกไดเปน 3 ประเภทยอย ดังแสดงในตารางที่ 3.14

Page 37: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

37

ตารางที่ 3.14 ความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจงจากการไดรับสัมผัสครั้งเดียว ประเภทยอยที่ 1 ประเภทยอยที่ 2 ประเภทยอยที่ 3

มีความเปนพิษในมนุษยอยางชัดเจน

มีหลักฐานที่มีคุณภาพดี เช่ือถือไดที่ได

จากการศึกษาในมนุษย หรือทางระบาด

วิทยา คาดวามีความเปนพิษในมนุษยอยาง

มีนัยสําคัญ คือมีผลการศึกษาใน

สัตวทดลองท่ีคาดวาจะเปนอันตรายที่

เดนชัดในมนุษยจากการไดรับสัมผัส ใน

ระดับนอยๆ

คาดวาสามารถทําอันตรายตอสุขภาพ

มนุษย - มีผลการศึกษาในสัตวทดลองท่ีคาดวา

จะมีความเปนพิษอยางมีนัยสําคัญใน

มนุษยจากไดรับการรับสัมผัสในระดับ

ปานกลาง - มีหลักฐานในมนษุย ในบางกรณ ี

ผลช่ัวคราวตออวัยวะเปาหมาย - ฤทธิ์เสพติด - การระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ

สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายจากการไดรับสัมผัสซ้ํา ถูกจําแนกเปน 2 ประเภทยอย ดังแสดงในตารางท่ี 3.15

ตารางที่ 3.15 ความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจงจากการไดรับสัมผัสซ้ํา ประเภทยอยที่ 1 ประเภทยอยที่ 2

ความเปนพิษอยางมีนัยสําคัญในมนุษย - มีกรณีศึกษาในมนุษยหรือการศึกษาทางระบาดวิทยาที่มี

คุณภาพดี เช่ือถือได -คาดวามีความเปนพิษในมนุษยอยางมีนัยสําคัญ มีผลการศึกษา

ในสัตวทดลองและ/หรือปรากฎอันตรายที่เดนชัดในมนุษยที่

ระดับการไดรับสัมผัสนอยๆ

คาดวาสามารถทําอันตรายตอสุขภาพมนุษย - มีผลการศึกษาในสัตวทดลองท่ีคาดวาจะมีความเปนพิษอยางมี

นัยสําคัญในมนุษยที่ระดับการไดรับสัมผัสปานกลาง

- มีหลักฐานในมนุษย ในบางกรณ ี

เพื่อจําแนกประเภทของสารเคมีวามีความเปนอันตราย อยูในระดับใด (ประเภทยอยที่ 1 หรือประเภท

ยอยที่ 2) GHS จึงกําหนดขนาด/ความเขมขน “คาแนะนํา” ขึน้มา คาแนะนําและชวงความเขมขนของการไดรับ

สัมผัสคร้ังเดียวและการรับสัมผัสซ้ํามีจุดมุงหมายเพื่อใชเปนแนวทางเทานั้น จึงใชเปนสวนหน่ึงของน้ําหนักของ

หลักฐานในการจําแนกประเภทสารเคมี คาแนะนําที่ปรากฎไมไดจัดเปนเกณฑแนนอน คาแนะนําสําหรับผลจาก

การไดรับสัมผัสซ้ํา อางอิงจากผลจากการศึกษาความเปนพิษในหนูทดลองในระยะเวลา 90 วัน ซึ่งสามารถใช

อนุมานเปนคาแนะนําสําหรับการศึกษาความเปนพิษในระยะเวลาท่ีมากกวาหรือนอยกวาได

3.2.10 ความเปนอันตรายจากการสําลัก ความเปนอันตรายจากการสําลัก รวมถึงการออกฤทธิ์เฉียบพลันอยางรุนแรง เชน ปอดอักเสบเนื่องจาก

สารเคมี ซึ่งทําใหเกิดความอันตรายในหลายๆ ระดับต้ังแตอันตรายตอปอดหรือเสียชีวิตหลังจากสําลัก การสําลัก

คือการที่ของเหลวหรือของแข็งผานทางปากหรือทางจมูกโดยตรง หรือผานทางการอาเจียนโดยออม เขาสูหลอดลม

และระบบทางเดินหายใจสวนลาง มีสารประกอบไฮโดรคารบอน(ปโตรเลียมกล่ัน) และสารประกอบไฮโดรคารบอน

คลอรีเนตบางชนิด (certain chlorinated hydrocarbon) ที่กอความเปนอันตรายจากการสําลักในมนุษย แอลกอฮอลชนิดปฐมภูมิและคีโตนมีความเปนอันตรายจากการสําลักเฉพาะในสัตวทดลองเทานั้น

สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนพิษในประเภทนี้จะถูกจําแนกไดเปน 2 ประเภทยอย โดยขึ้นกับความ

หนืดของสาร

Page 38: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

38

ตารางที่ 3.16 ความเปนอันตรายจากการสําลัก ประเภทยอยที่ 1 ประเภทยอยที่ 2

ทราบอันตรายที่แนชัดในมนุษย - มีหลักฐานในมนุษย

- ไฮโดรคารบอนที่มีความหนืดจลน ≤ 20.5 ตารางมิลลิเมตร/วินาที ที่ 40 องศาเซลเซียส

คาดวาเปนอันตรายในมนุษย - ข้ึนอยูกับการศึกษาในสัตวทดลอง

- แรงตึงผิว ความสามารถในการละลายน้ํา จุดเดือด

- ความหนืดจลน ≤ 14 ตารางมิลลิเมตร/วินาที ที่ 40 องศา

เซลเซียส และไมไดอยูในประเภทยอยที่ 1

3.3 ความเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม 3.3.1 ความเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอมในน้ํา เกณฑ เดียวกันนี้ไดพิจารณาใหเหมาะสมสําหรับสินคาที่บรรจุในหีบหอทั้งการจัดจําหนาย การขนสงและ

การใชในหลากรูปแบบ องคประกอบเหลานี้อาจจะนําไปใชในการขนสงทางบกและทางทะเลในปริมาณมาก

ภายใตอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการปกปองมลภาวะจากเรือ (MARPOL) ซึ่งขณะน้ีใชสําหรับประเภท

ความเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอมในนํ้า เอกสารแนวทาง 2 ฉบับ (ภาคผนวก 9 และ 10 ของเอกสาร GHS)

นําเสนอการแปลผลและการประยุกตเกณฑสําหรับสารเคมีที่เปนอันตรายตอส่ิงแวดลอมในน้ํา รวมถึงความ

ซับซอนของจุดตัด (end point)

3.3.1.1 ความเปนพิษเฉียบพลันตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา ความเปนพิษเฉียบพลันตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา หมายถึงสมบัติของสารเคมีซึ่งทําใหเกิดอันตรายตอส่ิงมีชีวิตใน

น้ําเม่ือสัมผัสสารเคมีในระยะส้ัน สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนพิษประเภทนี้จะถูกจําแนกเปน 3 ประเภท

ยอย โดยขึ้นกับขอมูลความเปนพิษเฉียบพลัน LC50(สําหรับปลา) หรือ EC50(สําหรับสัตวเปลือกแข็ง) หรือ ErC50

(สําหรับสาหรายและพืชน้ําอื่นๆ) ประเภทยอยของความเปนพิษเฉียบพลันตอส่ิงมีชีวิตในน้ําอาจถูกจัดจําแนกยอย

ออกไปอีก สําหรับบางภาคสวน

3.3.1.2 ความเปนพิษเรื้อรังตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา ความเปนพิษเร้ือรังตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา หมายถึงสมบัติของสารเคมีซึ่งทําใหเกิดอันตรายตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา

ระหวางการไดรับสัมผัสซึ่งมีความสัมพันธกับวงจรชีวิต สารเด่ียวหรือสารผสมที่มีความเปนพิษในประเภทนี้จะถูก

จําแนกเปน 3 ประเภทยอย โดยขึ้นกับขอมูลความเปนพิษเฉียบพลัน [ LC50(สําหรับปลา) หรือ EC50(สําหรับสัตว

เปลือกแข็ง) หรือ ErC50 (สําหรับสาหรายและพืชน้ําอื่นๆ) ] ขอมูลเก่ียวกับความเปนไปของสารในส่ิงแวดลอม

รวมถึงขอมูลการสลายตัวและการสะสมสารเคมีในส่ิงมีชีวิต ปกติจะมีการนําขอมูลจากการทดลองหลายการทดลองมาประมวลผล แตในกรณีที่ไมสามารถหาขอมูล

จากการทดลองไดอาจใชคา ความสัมพันธระหวางโครงสรางและการออกฤทธิ์เชิงปริมาณท่ีเช่ือถือไดสําหรับความ

เปนพิษกับส่ิงมีชีวิตในน้ํา(QSAR) และ log KOW อาจนํามาใชในกระบวนการจําแนกความเปนอันตรายประเภทน้ี

คา log KOW ใชแทนตัวช้ีวัดปจจัยความเขมขนทางชีวภาพ (BCF) ซึ่งสวนมากคา BCF จะถูกใหความสําคัญ

มากกวา

Page 39: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

39

ความเปนพิษเร้ือรังประเภทยอย ที่ 4 จัดวาเปนการจําแนกประเภทยอยที่คํานึงถึงความปลอดภัย ที่ใช

เม่ือขอมูลที่มีไมสามารถจําแนกประเภทไดตามเกณฑปกติ แตมีขอมูลบางอยางที่ควรพิจารณา

ตารางที่ 3.17 ความเปนพิษเฉียบพลันและเร้ือรังตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา

เฉียบพลัน 1 ความเปนพิษเฉียบพลัน

≤1.00 มิลลิกรัม/ลิตร

เฉียบพลัน 2 ความเปนพิษเฉียบพลัน > 1.00

แต ≤ 10.0 มิลลิกรัม/ลิตร

เฉียบพลัน 3 ความเปนพิษเฉียบพลัน > 10.0

แต < 100 มิลลิกรัม/ลิตร

เรื้อรัง 1 ความเปนพิษเฉียบพลัน

≤ 1.00 มิลลิกรัม/ลิตรและขาดความสามารถใน

การสลายตัวอยางรวดเร็ว

และ log Kow ≥ 4

และ/หรือ BCF>500

เรื้อรัง 2 ความเปนพิษเฉียบพลัน

>1.00 แต <10.0 มิลลิกรัม/ลิตรและ

ขาดความสามารถในการ

สลายตัวอยางรวดเร็ว และ

log Kow ≥ 4 และ/หรือ

BCF> 500 และ ความเขมขนของสารสูงสุดที่ ไมทําใหเกิดผลท่ีสังเกตได

( No Observed Effect

Concentration NOEC) <1

มิลลิกรัม/ลิตร

เรื้อรัง 3 ความเปนพิษเฉียบพลัน

> 10.0 แต < 100.0

มิลลิกรัม/ลิตรและ

ขาดความสามารถในการ

สลายตัวอยางรวดเร็ว และ

log Kow ≥ 4 และ/หรือ

BCF > 500 และ ความ

เขมขนของสารสูงสุดที่ไมทํา

ใหเกิดผลที่สังเกตได

( No Observed Effect

Concentration NOEC) <1

มิลลิกรัม/ลิตร

เรื้อรัง 4 ความเปนพิษเฉียบพลัน

> 100 มิลลิกรัม/ลิตรและขาดความสามารถในการ

สลายตัวอยางรวดเร็ว และ

log Kow > 4 และ/หรือ

BCF >500 และ ความเขมขนของ สารสูงสุดที่ไมทํา

ใหเกิดผลที่สังเกตได ( No Observed Effect

Concentration NOEC) <1 มิลลิกรัม/ลิตร

3.4 วัตถุประสงคของการจําแนกประเภทสําหรับสารผสม ตามระบบ GHS คืออะไร ? เพื่อใหเกิดความเขาใจชัดที่ชัดเจนเก่ียวกับขอกําหนดในการจําแนกประเภทสารผสม จึงจําเปนตองมีคํา

จํากัดความสําหรับบางคํา คําจํากัดความดังกลาวสรางขึ้นเพื่อจุดประสงคในการประเมินหรือกําหนดความเปน

อันตรายของผลิตภัณฑสําหรับการจําแนกประเภทและการติดฉลากแสดงความเปนอันตรายของสารเคมี

สารเดี่ยว (Substance) คือองคประกอบและสวนประกอบทางเคมีในสภาพธรรมชาติหรือไดจาก

กระบวนการผลิตรวมถึงสารปรุงแตงที่จําเปนในการรักษาความเสถียรของผลิตภัณฑ และส่ิงเจือปนใดๆ ที่ไดจาก

กระบวนการที่ใช แตไมรวมถึงสารละลายที่อาจแยกตัวโดยปราศจากผลท่ีมีตอความเสถียรของสารหรือการ

เปล่ียนแปลงในสวนประกอบ

สารผสม (Mixture) คือสารผสมหรือสารละลายท่ีประกอบดวยสารสองตัวหรือมากกวา โดยที่ไม

เกิดปฏิกิริยาซึ่งกันและกัน

โลหะผสม (Alloy) คือวัสดุโลหะเปนเนื้อเดียวกันที่เห็นไดดวยตาเปลา (macroscopic scale) ประกอบดวยแรธาตุสองชนิดหรือมากกวาประกอบกันจนไมสามารถแยกออกจากกันโดยวิธีทางกลศาสตรอยางงาย โลหะผสม

ไดรับการพิจารณาวาเปนสารผสมตามวัตถุประสงคของการจําแนกประเภทภายใต GHS

Page 40: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

40

ในกรณีของส่ิงสกปรก (impurities) สารปรุงแตง (additives) หรือองคประกอบเฉพาะของสารเด่ียวหรือ

สารผสม จะมีการนํามาพิจารณาจําแนกประเภทความเปนอันตรายตาม GHS เม่ือส่ิงตางๆ เหลานี้มีคาเกินกวา

จุดตัด/คาขีดจํากัดความเขมขน (cut-off value/concentration limit) สําหรับประเภทความเปนอันตรายที่กําหนด ดังที่ไดกลาวไปแลวในขางตนวา

มีความจําเปนตองทําการทดสอบของสารผสมใน

เร่ืองความเปนอันตรายทางกายภาพ สําหรับการ

จําแนกประเภทความเปนอันตรายตอสุขภาพและ

ส่ิงแวดลอมตาม GHS มีเกณฑในการจําแนก

เฉพาะสารผสม ขอแนะนําใหศึกษาจากเอกสาร

GHS หรือ “สมุดปกมวง (The Purple Book)” เพื่อ

ขอมูลที่สมบูรณขึ้น

รูปที่ 3.4

กระบวนการที่กําหนดขึ้นมาสําหรับการจําแนกประเภทสารผสมจะอนุญาตใหใช (ก) ขอมูลที่มีอยูหรือที่

หาไดของสารผสมเอง และ/หรือ (ข) ขอมูลสารผสมท่ีเหมือนกัน และ/หรือ (ค) ขอมูลของสวนประกอบของสารผสม

นั้น GHS มีวัตถุประสงคในการจําแนกประเภทความเปนอันตรายตอสุขภาพและส่ิงแวดลอมตามระดับความเปน

อันตราย โดยใชขอมูลมีอยูของสารผสมเองและของสวนประกอบของสารผสมนั้น กระบวนการในการจําแนกประเภทความเปนอันตรายของสารผสม มีขั้นตอนตามลําดับดังนี้

(1) หากมีขอมูลผลการทดสอบของสารผสมเอง การจําแนกประเภทสารผสมจะยึดถือเปนไปตามขอมูล

นั้น (ดูขอยกเวนสําหรับ สารกอมะเร็ง สารกอกลายพันธุและความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ ในเอกสาร GHS)

(2) หากไมมีขอมูลผลการทดสอบของสารผสม ใหพิจารณาใชหลักการเช่ือมโยง (bridging principles) (3) หากไมมีขอมูลผลการทดสอบสําหรับสารผสมเอง และมีขอมูลไมเพียงพอที่จะสามารถใชหลักการ

เช่ือมโยง ใหใชการคํานวณ หรือคาจุดตัดที่อธิบายไวในแตละบทเพื่อจําแนกความเปนอันตรายสารผสมดังกลาว

3.5 หลักการเช่ือมโยง (Bridging principles) คืออะไร ? หลักการเช่ือมโยงเปนแนวคิดที่สําคัญของ GHS ในการจําแนกประเภทสารผสมที่ไมไดมีการทดสอบ เม่ือ

สารผสมไมไดมีการทดสอบ แตมีขอมูลที่เพียงพอของสวนประกอบของสารผสมและ/หรือสารผสมที่เหมือนกัน

จากนั้นนําขอมูลเหลานี้มารวมกันโดยใชหลักการเชื่อมโยง ตามลําดับดังนี้

การเจือจาง (Dilution) ถาสารผสมถูกเจือจางดวยสารซึ่งมีความเปนพิษเทียบเทาหรือความเปนพิษที่ตํ่ากวาสวนผสมในสารผสมที่มีความเปนพิษนอยที่สุด โดยที่สารนั้นไมมีผลตอสวนผสมอื่นในสารผสมน้ัน ความ

เปนพิษสารผสมตัวใหมถือวาเทียบเทากับความเปนพิษสารผสมเดิม

การผลิตในแตละครั้ง (Batching) ถาการผลิตสารผสมในแตละคร้ัง ถูกผลิตภายใตกระบวนการ

ควบคุมเดียวกัน ดังนั้นความเปนพิษของการผลิตคร้ังใหมถือวาเทียบเทากับความเปนพิษของการผลิตคร้ังกอน

ความเขมขนของสารผสมที่มีความเปนพิษสูง (Concentration of Highly Toxic Mixtures) ถาสารผสมถูกจัดอยูในประเภทยอยที่แสดงความเปนอันตรายสูงสุด สารผสมชนิดเขมขนจะตองถูกจัดอยูในประเภทยอย

ที่แสดงความเปนอันตรายสูงสุด โดยไมตองทดสอบเพิ่มเติม

Page 41: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

41

การตีความเพ่ือใหอยูในประเภทของความเปนพิษกลุมใดกลุมหนึ่ง ( Interpolation within One Toxic Category) ถาสารผสมมีองคประกอบ 3 ชนิด โดยองคประกอบ 2 ชนิดนั้นอยูในประเภทความเปนพิษ

เดียวกัน และอีกองคประกอบหน่ึงมีระดับความเปนพิษเหมือนกันโดยมีความเขมขนอยูระหวางความเขมขนของ 2

องคประกอบแรก สารผสมนั้นจะจัดอยูในประเภทความเปนพิษเหมือนกับองคประกอบทั้ง 2 นั้น

สารผสมที่มีสมบัติคลายคลึงกัน (Substantially Similar Mixtures) สารผสมที่มีสวนผสมหน่ึง

เหมือนกันและมีความเขมขนเทากัน และสวนผสมท่ีเหลือที่ตางกันมีความเขมขนเทากันและระดับความเปนพิษ

เดียวกันโดยไมมีผลตอความเปนพิษของสวนผสมที่เหมือนกัน สารผสมนั้นจัดอยูในประเภทเดียวกัน

สารผสมที่เปนสารละอองลอย (Aerosols) สารละอองลอยที่อยูในรูปสารผสมอาจจําแนกใหเปน

ประเภทอันตรายเดียวกันกับสารผสมที่ไมอยูในรูปของสารละอองลอยเม่ือใหทางปากและผิวหนัง โดยมีเงื่อนไขวา

กาซเฉ่ือยที่มีแรงดันซึ่งเติมลงไปในสารผสมไมมีผลตอความเปนพิษของสารผสมในขณะท่ีทําการฉีดพน กาจําแนกประเภทสารผสมละอองลอยสําหรับความเปนพิษทางการหายใจควรพิจารณาตางหาก

หลักการเช่ือมโยงนี้ไมสามารถนําไปใชกับทุกประเภทของความเปนอันตรายตอสุขภาพและส่ิงแวดลอม

ใหทําการศึกษาในแตละบทในเอกสารGHS เพื่อตัดสินใจเลือกหลักการเช่ือมโยงไปใช เม่ือไมไดนําหลักการเช่ือมโยงไปใชหรือไมสามารถนําหลักการไปใชได ใหประเมินความเปนอันตรายตอ

สุขภาพและส่ิงแวดลอมของสารผสมตามขอมูลของสวนประกอบของสารผสมนั้น วิธีการที่ใชในการประเมินความ

เปนอันตรายจะแตกตางกันตามเนื้อหาในแตละบท ควรศึกษาจากเอกสาร GHS หรือ“สมุดปกมวง (The Purple

Book)” เพื่อขอมูลที่สมบูรณขึ้นในการจําแนกประเภทสารผสม ในรูปที่ 3.5 จะเปนการจําแนกประเภทความเปน

อันตรายตอสุขภาพและส่ิงแวดลอมของสารผสมตามระบบ GHS

3.6 ตองมีการทดสอบอะไรบาง ? ระบบ GHS เองไมไดรวมขอกําหนดสําหรับการทดสอบสารเด่ียวหรือสารผสมเอาไว ดังนั้นจึงไมมี

ขอกําหนดภายใตระบบ GHS เพื่อใหไดมาซ่ึงขอมูลการทดสอบสําหรับประเภทความเปนอันตรายใดๆ

เปนที่ทราบกันวาระบบกฎระเบียบบางสวนไดกําหนดใหมีขอมูล (เชน สําหรับการควบคุมสารกําจัดศัตรูพืช) แต

ขอกําหนดเหลานี้ไมไดเก่ียวของเปนพิเศษกับระบบ GHS ในการกําหนดความเปนอันตรายตอสุขภาพและ

ส่ิงแวดลอม ซึ่งเปนวิธีการทดสอบที่เปนกลาง (test method neutral) อนุญาตใหใชวิธีการที่แตกตางกันได

ตราบเทาที่วิธีการเหลานั้นถูกตองเหมาะสมตามหลักวิทยาศาสตรที่เปนไปตามกระบวนการ และเกณฑระหวาง

ประเทศที่ไดอางถึงระบบเดิมสําหรับความเปนอันตรายที่เก่ียวของ ในระบบ GHSใหยอมรับขอมูลการทดลองที่มีอยูแลวสําหรับการจําแนกประเภทสารเคมีภายใตระบบที่มีอยู เพื่อหลีกเล่ียงการทําการทดลองซํ้าและการทดสอบ

ในสัตวที่ไมจําเปน เกณฑความเปนอันตรายทางกายภาพของ GHS กําหนดวิธีการทดสอบเฉพาะเพ่ือใชกับการ

ทดสอบทางกายภาพของสารผสมนั้น

Page 42: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

42

รูปที่ 3.5 การจัดแบงประเภทความเปนอันตรายของสารผสม

ความเปนอันตราย ส่ิงที่ใชในการจัดประเภท หลักการเช่ือมโยง หมายเหต ุ

ความเปนพิษเฉียบพลัน คาประมาณความเปนพิษ

เฉียบพลัน (ATE): 2 สูตร

ทั้งหมด คาที่ไดจากการแปลง

องคประกอบหลักของสาร

ผสมมีความเขมขน

≥ 1%

การทําลายดวงตาอยาง

รุนแรงและการระคาย

เคืองตอดวงตา

สวนใหญใชวิธีการรวม

( Additivity approach) ใน

กรณีของสารผสม บางคร้ังเทานั้นที่ใชคาจุดตัด

ทั้งหมด องคประกอบหลักของสาร

ผสมมีความเขมขน

≥ 1% ยกเวนในสารเคมี

บางกลุม

การกัดกรอนและการ

ระคายเคืองตอผิวหนัง สวนใหญใชวิธีการรวม

( Additivity approach) ใน

กรณีของสารผสม บางคร้ังเทานั้นที่ใชคาจุดตัด

ทั้งหมด องคประกอบหลักของสาร

ผสมมีความเขมขน

≥ 1% ยกเวนในสารเคมี

บางกลุม

การทําใหไวตอการ

กระตุนอาการแพตอ

ผิวหนัง

คาจุดตัด ซึ่งขึ้นกับหนวยงานที่

มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบ การเจือจาง การผลิต

ในแตละคร้ัง สารผสมที่มีสมบัติ

คลายคลึงกัน สารผสมที่เปนสาร

ละอองลอย

การทําใหไวตอการ

กระตุนอาการแพตอ

ระบบทางเดินหายใจ

คาจุดตัด ซึ่งขึ้นกับหนวยงานที่

มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบ การเจือจาง การผลิต

ในแตละคร้ัง สารผสมที่มีสมบัติ

คลายคลึงกัน สารผสมที่เปนสาร

ละอองลอย

การกอกลายพันธุของ

เซลลสืบพันธุ คาจุดตัด การเจือจาง การผลิต

ในแตละคร้ัง สารผสมที่มีสมบัติ

คลายคลึงกัน

ขอมูลของสารผสม

ปรับเปล่ียน แลวแตกรณีไป

Page 43: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

43

ความเปนอันตราย ส่ิงที่ใชในการจัดประเภท หลักการเช่ือมโยง หมายเหต ุ

การกอมะเร็ง คาจุดตัด ซึ่งขึ้นกับหนวยงานที่

มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบ การเจือจาง การผลิต

ในแตละคร้ัง สารผสมที่มีสมบัติ

คลายคลึงกัน

ขอมูลของสารผสม

ปรับเปล่ียน แลวแตกรณีไป

ความเปนพิษตอระบบ

สืบพันธุ คาจุดตัด ซึ่งขึ้นกับหนวยงานที่

มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบ การเจือจาง การผลิต

ในแตละคร้ัง สารผสมที่มีสมบัติ

คลายคลึงกัน

ขอมูลของสารผสม

ปรับเปล่ียน แลวแตกรณีไป

ความเปนพิษตอระบบ

อวัยวะเปาหมาย คาจุดตัดรวมกับขีดจํากัด

ความเขมขน ทั้งหมด

ความเปนอันตรายจาก

การสําลัก คาจุดตัด การเจือจาง การผลิต

ในแตละคร้ัง ความ

เขมขนของสารผสม

ที่มีความเปนพิษสูง

สารผสมนั้นจะถูกจัด

ใหอยูในประเภท

ยอยที่ 1 สารผสมที่มี

สมบัติคลายคลึงกัน

ความเปนอันตรายตอ

ส่ิงแวดลอมในน้ํา ใชสูตรการรวม( Additivity

formula) (เฉพาะความเปนพิษเฉียบพลัน)

ใชวิธีผลรวม ( Summation

Method )(เฉพาะความเปนพิษเฉียบพลันและเร้ือรัง) หรือใชวิธีและสูตรที่กลาวไป

ขางตนรวมกัน

การเจือจาง การผลิต

ในแตละคร้ัง ความ

เขมขนของสารผสม

ที่มีความเปนพิษสูง

สารผสมนั้นจะถูกจัด

ใหอยูในประเภท

ยอยที่ 1 สารผสมที่มี

สมบัติคลายคลึงกัน

องคประกอบหลักของสาร

ผสมมีความเขมขน

≥ 1% ขอมูลของสารผสม

ปรับเปล่ียนแลวแตกรณี

ไป

Page 44: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

44

บทที ่4 การส่ือสารความเปนอนัตราย

ในบทที่ 3 ไดอธิบายการจําแนกประเภทซ่ึงเปนจุดเร่ิมตนของ GHS หลังจากที่สารเคมีถูกจําแนกประเภท

ตามความเปนอันตราย ตองส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมีนั้นแกกลุมผูมีสวนเก่ียวของ ฉลาก (Label) และ

เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) เปนเคร่ืองมือหลักที่ใชในการสื่อสารความเปน

อันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS ซึ่งใชระบุสมบัติความเปนอันตรายของสารเคมีทางกายภาพ สุขภาพ

และส่ิงแวดลอมในระหวางการใชทั่วไป ระบบ GHS จึงมีเปาหมายในการท่ีจะระบุความเปนอันตรายที่อยูใน

สารเคมีหรือสารผสมแลวถายทอดขอมูลที่เก่ียวกับอันตรายเหลานั้นสูกลุมประชากรเปาหมาย

ในขอตกลงสากลของ GHS จึงรวมไปถึงการพัฒนาระบบการส่ือสารความเปนอันตรายของสารเคมีให

เปนระบบเดียวกัน ซึ่งประกอบไปดวยการติดฉลาก เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางาน และสัญลักษณที่

สามารถทําความเขาใจไดงาย

4.1 มีปจจัยอะไรบางที่สงผลกระทบตอการพัฒนาเครื่องมือส่ือสารระบบ GHS ? ในตอนตนของกระบวนการการพัฒนาเครื่องมือในการสื่อสารความเปนอันตรายของ GHS มีบางประเด็น

สําคัญที่สงผล หนึ่งในนั้นคือ ความเขาใจในขอมูลขาวสารท่ีจัดไวใหนับเปนประเด็นสําคัญสูงสุด อยางไรก็ตาม

เปาหมายของระบบน้ีคือ การแสดงใหเห็นขอมูลความเปนอันตรายโดยวิธีการที่ผูมีสวนเก่ียวของสามารถเขาใจได

งายและลดความเปนไปไดที่จะเกิดอันตรายจากการสัมผัสสารเคมี ใหนอยที่สุด ระบบ GHS ไดระบุหลักการท่ีเปน

แนวทางบางสวนซ่ึงชวยในกระบวนการดังกลาว - ควรมีการใหขอมูลมากกวาหนึ่งทาง เชน ขอความ แสดงพรอมกับสัญลักษณ เปนตน - ความเขาใจในองคประกอบของระบบควรพิจารณาจากการศึกษาและเอกสารองอิงที่มีอยูเดิม รวมทั้ง

หลักฐานอื่นๆ ที่ไดจากการทดสอบ

- ขอความที่ใชในการระบุระดับ (ความรุนแรง) ของความเปนอันตรายควรมีการใชในลักษณะที่สอดคลอง

กันทุกคร้ัง ถึงแมวาเปนชนิดของอันตรายที่แตกตางกัน (กายภาพ สุขภาพและส่ิงแวดลอม) ความเขาใจในการส่ือสารเปนส่ิงที่ทาทายสําหรับคนที่มีวัฒนาธรรมและภาษาที่แตกตางกัน มีหลาย

ปจจัย ที่อาจสงผลกระทบตอความเขาใจดังนี้ - หลักปรัชญาที่แตกตางของแตละระบบที่มีอยูวา ควรส่ือสารขอมูลอะไรหรืออยางไร - ภาษาที่แตกตางกันทั่วโลก - ความสามารถในการแปลความหมายของขอความ - ความสามารถในการทําความเขาใจและมีการตอบสนองที่เหมาะสมตอสัญลักษณ คําสัญญาณ และ

ขอความแสดงความเปนอันตรายของสารเคมี สําหรับแตละภาค (sector) ที่เก่ียวของ

ปจจัยเหลานี้ไดถูกนําไปพิจารณาในกระบวนการพัฒนาเคร่ืองมือการส่ือสารของ GHS โดยมีขอแนะนํา

ใหทําการศึกษาความเขาใจ (Comprehensibility Testing) ตามภาคผนวก 6 หนังสือปกมวง

Page 45: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

45

4.2 ฉลาก 4.2.1 ฉลาก มีลักษณะอยางไร การมีฉลากท่ีดูแตกตางกันสําหรับผลิตภัณฑชนิดเดียวกัน เปนที่รูกันวาส่ิงนี้จะนําไปสูความสับสนของ

คนงาน ความไมแนใจของผูบริโภค และความตองการทรัพยากรที่มากขึ้นเพื่อดูแลระบบที่แตกตางนี้ ผลิตภัณฑ

เคมีสําหรับภาคสวน/กลุมเปาหมายที่เก่ียวของในประเทศสหรัฐอเมริการวมไปถึงประเทศอื่นๆ มีการควบคุมโดย

หนวยงานที่ทําหนาที่ที่แตกตางกันสําหรับภาคสถานประกอบการอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค สารเคมี

ทางการเกษตร และการขนสง ฉลากสําหรับกลุมประชากรเปาหมายที่ตางกันจึงมีความหลากหลายท้ังในประเทศ

สหรัฐอเมริกาและท่ัวโลก

เพื่อความเขาใจในคุณคาและประโยชนของ GHS ตอทุกภาคสวน ใหศึกษาจากฉลากที่แตกตางกัน

สําหรับผลิตภัณฑที่สมมติขึ้นมาผลิตภัณฑหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริกา ToxiFlame ซึ่งมีจุดวาบไฟท่ี 120 องศา

ฟาเรนไฮด และคาความเปนพิษทางปาก LD50 275 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ซึ่งมีฉลากที่ตางกัน ตัวอยางฉลากแรกเปน

ฉลากในประเทศสหรัฐอเมริกา สวนตัวอยางถัดไปเปนฉลากของระบบสากล GHS

4.2.2 ตัวอยางฉลากของประเทศสหรัฐอเมริกา สถานประกอบการและคนงานในภาคอุตสาหกรรม

ขอบังคับของประเทศสหรัฐอเมริกาเก่ียวกับ

ฉลากสําหรับสถานประกอบการและคนงานใน

ภาคอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงคคือ “การมุงเนน

ผลลัพธ (performance oriented)” ซึ่งทําใหอยางนอยในฉลากจะตองระบุขอมูลอยางเปดเผย ประกอบไปดวย

ตัวบงชี้ผลิตภัณฑ ขอความแสดงความอันตรายและ

ระบุผูจัดจําหนาย (รูปที่ 4.1) ในบางผลิตภัณฑ

สามารถเพิ่มเติมขอมูลในฉลากได โดยขึ้นกับกลุมของ

ผูใชผลิตภัณฑนั้น

รูปที่ 4.1

อยางไรก็ตาม มีหลายบริษัทปฏิบัติตาม ANSI Z129.1 มาตรฐานการติดฉลาก ขอควรระวังของฉลาก

สําหรับสถานประกอบการ และบอยคร้ังใชสําหรับฉลากสําหรับผูบริโภคดวย ซึ่งมาตรฐานของสถาบัน

มาตรฐานสากลของประเทศสหรัฐอเมริกา (ANSI) ประกอบดวยบางสวนขององคประกอบฉลากซึ่งเปนสวนหลัก

ของ GHS รวมถึงองคประกอบอื่นๆ ที่มีประโยชนที่ชวยใหผูใชสามารถใชเคมีภัณฑไดอยางปลอดภัย (รูปที่ 4.2)

Page 46: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

46

รูปที่ 4.2

ผลิตภัณฑสําหรับบริโภคและกลุมผูบริโภค ฉลากผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภคในบางประเทศนั้น ถูกควบคุมแยกออกมาจากฉลากสารเคมีของสถาน

ประกอบการอุตสาหกรรม องคกร CPSC ของสหรัฐอเมริกามีหนาที่ควบคุมดูแลสวนของผลิตภัณฑสําหรับบริโภค

ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตามขอกําหนดของผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภคในสหรัฐอเมริกานั้น ตองมีองคประกอบ

ของฉลากซึ่งมีเฉพาะคําสัญญาณเทานั้นที่ระบุไว (รูปที่ 4.3)

รูปที่ 4.3

Page 47: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

47

การขนสงและผูปฏิบัติการณตอบโตภาวะฉุกเฉิน มีขอกําหนดวาที่ภายนอกของภาชนะบรรจุนั้น จะตองมีองคประกอบของฉลากคือ ตัวบงชี้ผลิตภัณฑ

สัญลักษณแสดงความเปนอันตรายสําหรับผลิตภัณฑอันตรายที่ทําการขนสง ขอกําหนดสําหรับการขนสงเปนสวน

เพิ่มเติมจากขอกําหนดของฉลากสําหรับสถานที่ประกอบการอุตสาหกรรมและผูใชเคมีภัณฑ (รูปที่ 4.4)

รูปที่ 4.4

สารเคมีที่ใชในการเกษตร/สารกําจัดศัตรูพืชและเกษตรกร

ในหลายๆ ระบบ บอยคร้ังที่มีขอกําหนดการติดฉลากพิเศษสําหรับสารเคมีที่ใชในภาคการเกษตร

ในประเทศสหรัฐอเมริกา EPA จะเปนหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลสารเหลานี้ ผลิตภัณฑสารกําจัดศัตรูพืชที่มีความ

อันตรายแบบเดียวกันกับ ToxiFlam ควรมีฉลากที่พัฒนามาจากขอกําหนดของกฎหมายรัฐบาลกลางวาดวย

สารเคมีกําจัดแมลง เช้ือรา และสัตวประเภทหนู ( FIFRA) ซึ่งกําหนดใหประกอบดวย ตัวบงชี้ผลิตภัณฑ ตัวบงชี้

สารเคมี คําสัญญาน ขอความแสดงความเปนอันตราย และมาตรการปองกันลวงหนา (precautionary measures)

รวมไปถึงวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน (รูปที่ 4.5) รูปที่ 4.5

Page 48: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

48

4.2.3 ตัวอยางฉลากตามสากล GHS ตัวอยางฉลากที่ผานมาน้ันจะใชเฉพาะกับประเทศสหรัฐอเมริกา มีหลายๆ บริษัทที่ทําธุรกิจอยูทั่วโลก จึง

จําเปนจะตองปฏิบัติตามระเบียบที่สอดคลองกับประเทศที่สงออกผลิตภัณฑไปให เพิ่มเติมจากขอกําหนดของ

ประเทศสหรัฐอเมริกาเอง ระบบของประเทศแคนาดาและ EU จึงพิจารณานํามาใชใน การพัฒนา GHS เพื่อแสดง

ใหเห็นความแตกตางระหวางการติดฉลากของแตละระบบ ใหศึกษาฉลากสําหรับ ToxiFlam ของ EU และประเทศ

แคนนาดา

ฉลากของสหภาพยุโรป ฉลากใน EU จะประกอบดวยตัวบงชี้ผลิตภัณฑ สัญลักษณ และวลีความเส่ียง/ความปลอดภัย (Risk and

Safety phrase) หรือขอความแสดงความเปนอันตราย มาตรการปองกันลวงหนา (precautionary measures) และ

วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน (รูปที่ 4.6) รูปที่ 4.6

ฉลากของระบบการระบุความเปนอันตรายของวัสดุในสถานที่ประกอบการของประเทศแคนาดา (Canadian Workplace Hazardous Materials Identification System (WHMIS) Label)

ตามขอกําหนดของ WHMIS ฉลากประกอบดวยตัวบงชี้ผลิตภัณฑ สัญลักษณอันตราย ขอความแสดง

ความเปนอันตราย มาตรการปองกันลวงหนา วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน ขอความแสดงความปลอดภัย (MSDS

statement) และระบุผูจัดจําหนาย นอกจากองคประกอบตางๆ เหลานี้ WHMIS กําหนดใหใชเสนขอบประลอม

ขอความ (hatched border) (รูปที่ 4.7) รูปที่ 4.7

Page 49: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

49

4.3 องคประกอบของฉลากตามระบบสากลGHS มีอะไรบาง ? องคประกอบหลักของฉลากตามระบบสากล GHS ไดทําใหเปนมาตรฐาน มีความเหมือนกันและ

เก่ียวของโดยตรงกับขอสรุปสุดทายของการจัดระดับความเปนอันตรายของสารเคมี ในรูป 4.8 ไดแสดงตัวอยาง

ขององคประกอบของฉลากตามระบบ GHS ซึ่งประกอบดวย - รูปสัญลักษณ ที่ส่ือถึงขอมูลอันตรายทางกายภาพ สุขภาพและส่ิงแวดลอม โดยระบุประเภทและประเภทยอย

ความเปนอันตรายของสารเคมี

- คําสัญญาณ ไดแก “อันตราย” หรือ “ระวัง” ใชเพื่อเนนความอันตรายและกําหนดระดับความสัมพันธของความ

รุนแรงของอันตรายตามประเภทและประเภทยอยความเปนอันตราย

- ขอความแสดงความเปนอันตราย ขอความที่กําหนดขึ้นสําหรับประเภทและประเภทยอยความเปนอันตรายที่

อธิบายถึงลักษณะความเปนอันตรายของเคมีภัณฑ

สัญลักษณ คําสัญญาน และขอความแสดงความเปนอันตราย ไดทําใหเปนมาตรฐานและกําหนดไวใน

แตละประเภทและประเภทยอยของความอันตรายตามความเหมาะสม ซึ่งจะชวยใหแตละประเทศสามารถนํา

ระบบไปใชไดงายขึ้นและบริษัทตางๆ สามารถปฏิบัติตามขอบังคับที่ใชระบบ GHS ไดงายขึ้น สามารถเลือกใชรูป

สัญลักษณ คําสัญญาน และขอความแสดงความเปนอันตรายที่กําหนดไวในภาคผนวก 1 ของหนังสือปกมวง GHS รูปที่ 4.8

หมายเลขหัวขออางอิงจากหัวขอในเอกสาร GHS หรือ “Purple Book”

Page 50: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

50

4.3.1 รูปสัญลักษณ (Pictogram) รูปสัญลักษณ GHS ไดถูกนํามารวมกับรูปสัญลักษณเพื่อใชในฉลาก GHS รูปสัญลักษณประกอบดวย

สัญลักษณความเปนอันตรายที่เปนระบบเดียวกันรวมกับองคประกอบอ่ืนๆ ที่เปนกราฟฟค เชน เสนขอบ รูปแบบ

พื้นหลังหรือสี ซึ่งทั้งหมดใชเพื่อส่ือขอมูลเฉพาะเก่ียวกับความเปนอันตรายของสารเคมี สําหรับการขนสงใหใชรูป

สัญลักษณ (ตารางที่ 4.10) โดยจะมีพื้นหลัง สัญลักษณและสีที่ใชตามขอกําหนดของสหประชาชาติที่เปนตนแบบ

เก่ียวกับการขนสงสินคาอันตราย สําหรับภาคอื่นใหใชรูปสัญลักษณตามระบบสากล GHS (ตารางที่ 4.9) โดยจะ

เปนสัญลักษณสีดําบนพื้นสีขาว และมีกรอบรูปส่ีเหล่ียมขนมเปยกปูนสีแดง สวนกรอบสีดําอาจใชบนฉลากสําหรับ

หีบหอที่ใชในประเทศ เม่ือมีรูปสัญลักษณสําหรับการขนสงปรากฎแลวไมควรมีรูปสัญลักษณ GHS สําหรับความ

เปนอันตรายชนิดเดียวกันปรากฎอยูดวย

4.3.2 คําสัญญาณ (Signal word) คําสัญญานใชเพื่อกําหนดระดับความสัมพันธของความรุนแรงของอันตราย ระบบ GHS ใชคําวา

"Danger หรือ อันตราย" สําหรับความเปนอันตรายที่รุนแรงกวา และ

"Warning หรือ ระวัง" สําหรับความเปนอันตรายระดับที่ตํ่ากวา คําสัญญานไดทําใหเปนมาตรฐานและกําหนดไวในแตละประเภทความเปนอันตราย ในบางกลุมความ

เปนอันตรายระดับที่ตํ่ากวาจะไมใชคําสัญญาน มีเพียงคําสัญญานหน่ึงคําเทานั้นที่สอดคลองกับประเภทความเปน

อันตรายที่รุนแรงที่สุดควรจะใชบนฉลาก

4.3.3 ขอความแสดงความเปนอันตราย (Hazard statement)

ขอความแสดงความเปนอันตราย หมายถึง ขอความที่ทําใหเปนมาตรฐานและกําหนดขึ้นเพื่ออธิบาย

ความเปนอันตรายที่กําหนดโดยการจําแนกประเภทความเปนอันตราย ขอความท่ีเหมาะสมสําหรับแตละความเปน

อันตราย องคประกอบของฉลากไดกําหนดใหไวในแตละบทสําหรับแตละประเภทความเปนอันตรายในสมุดปก

มวงรวมถึงภาคผนวก 1 และ 2 ในรูปที่ 4.11 ไดแสดงขอกําหนดสําหรับองคประกอบฉลากมาตรฐานตามระบบ

สากล GHS สําหรับกลุมความเปนพิษเฉียบพลัน

Page 51: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

51

รูปที่ 4.9

รูปสัญลักษณตามระบบ GHS และประเภทความเปนอันตราย

- สารออกซิไดส

- สารไวไฟ - สารที่ทําปฏิกิริยาไดเอง - สารที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ - สารที่เกิดความรอนไดเอง - สารที่สัมผัสน้ําแลวใหกาซไวไฟ - สารเพอรออกไซดอินทรีย

- วัตถุระเบิด - สารที่ทําปฏิกิริยาไดเอง - สารเพอรออกไซดอินทรีย

- ความเปนพิษเฉียบพลัน (รุนแรง)

- การกัดกรอน

- กาซภายใตความดัน

- สารกอมะเร็ง - สารทําใหไวตอการกระตุนอาการแพ

ตอระบบทางเดินหายใจ - ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ - ความเปนพิษตออวัยวะเปาหมาย - สารกอกลายพันธุ - ความเปนพิษจากการสําลัก

- ความเปนพิษตอสิ่งแวดลอม

- การระคายเคือง - สารทําใหไวตอการกระตุนอาการแพ

ตอผิวหนัง - ความเปนพิษเฉียบพลัน (อันตราย) - สารเสพติด - การระคายเคืองตอระบบทางเดิน

หายใจ

Page 52: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

52

รูปที่ 4.10

รูปสัญลักษณการขนสงตาม UNRTDG

- ของเหลวไวไฟ

- กาซไวไฟ - สารละอองลอยไวไฟ

- ของแข็งไวไฟ

- สารที่ทําปฏิกิริยาไดเอง

- สารที่ลุกติดไฟไดเอง

- สารที่เกิดความรอนไดเอง

- สารเคมีที่สัมผัสน้ําแลวใหกาซ

ไวไฟ (อันตรายเม่ือเปยก)

- กาซออกซิไดส

- ของเหลวออกซิไดส - ของแข็งออกซิไดส

วัตถุระเบิด

กลุม 1.1, 1.2, 1.3

- วัตถุระเบิด กลุม 1.4

- วัตถุระเบิด กลุม 1.5

- วัตถุระเบิด กลุม 1.6

- กาซภายใตความดัน

- ความเปนพิษเฉียบพลัน (สารพิษ)

: ทางปาก, ผิวหนัง, การสูดหายใจ

- การกัดกรอน

- มลภาวะทางทะเล

- สารเพอรออกไซดอินทรีย

Page 53: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

53

รูปที่ 4.11 ความเปนพิษเฉียบพลัน

กลุม 1 กลุม 2 กลุม 3 กลุม 4 กลุม 5

LD50 ≤ 5 มิลลิกรัม/

กิโลกรัม > 5 < 50

มิลลิกรัม/

กิโลกรัม

> 50 < 300

มิลลิกรัม/

กิโลกรัม

> 300 < 2000

มิลลิกรัม/

กิโลกรัม

> 2000 <

5000 มิลลิกรัม/

กิโลกรัม

รูปสัญลักษณ

ไมใชสัญลักษณ

คําสัญญาน อันตราย อันตราย อันตราย ระวัง ระวัง

ขอความแสดง

ความเปน

อันตราย

เปนอันตรายถึง

ตายไดเม่ือกลืน

กิน

เปนอันตรายถึง

ตายไดเม่ือกลืน

กิน

เปนพิษเม่ือกลืน

กิน เปนอันตราย

เม่ือกลืนกิน อาจเปน

อันตรายเม่ือ

กลืนกิน

องคประกอบฉลากอื่นๆตามระบบสากล GHS ประกอบดวย - ขอควรระวังและรูปสัญลักษณ แสดงมาตรการเพื่อลดหรือปองกันการเกิดผลรายแรงท่ีเกิดจากการรับสัมผัส

ผลิตภัณฑอันตราย

- ตัวบงช้ีผลิตภัณฑ( ขอมูลสวนประกอบ) ชื่อหรือตัวเลขท่ีใชสําหรับผลิตภัณฑอันตรายบนฉลากหรือเอกสารความปลอดภัย

- การระบุผูจัดจําหนาย ชื่อ ที่อยูและหมายเลขโทรศัพทควรแสดงไวบนฉลาก

- ขอมูลเสริม ขอมูลที่ไมไดทําไวเปนระบบเดียวกัน 4.3.4 ขอควรระวังและรูปสัญลักษณ

ขอสนเทศที่เปนขอควรระวัง (Precautionary information) จะชวยเพิ่มเติมขอมูลเก่ียวกับมาตรการอยาง

ยอวาควรปฏิบัติตามเพื่อลดหรือปองกันผลรายที่เกิดจากอันตรายทางกายภาพ สุขภาพและส่ิงแวดลอม ซึ่งขอมูล

ความเปนอันตรายนี้รวมไปถึงวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนดวย ฉลาก GHS ควรมีขอสนเทศที่เปนขอควรระวังที่

เหมาะสม ในภาคผนวก 3 ของสมุดปกมวงประกอบดวยตัวอยางขอควรระวังและรูปสัญลักษณที่สามารถนํามาใช

บนฉลากได ในภาคผนวก 3 ประกอบดวยขอควรระวัง 4 ประเภท ไดแก (1) การปองกัน (2) การตอบสนองในกรณี

อุบัติเหตุสารเคมีหกหลนหรือสัมผัส (3) การเก็บรักษา และ (4)การกําจัด ขอควรระวังจะสอดคลองกับแตละขอควร

ระวังความเปนอันตรายและชนิดของอันตรายนั้นๆ โดยมีเปาหมายเพื่อสงเสริมใหเกิดการใชขอควรระวังที่

สอดคลองกัน ภาคผนวก 3 จะเปนคําแนะนําในการใชขอควรระวงัตามระบบสากล GHS และคาดวาจะมีการ

ปรับปรุงใหดีขึ้นและมีการพัฒนาในอนาคต

4.3.5 ตัวบงช้ีผลิตภัณฑ (ขอมูลสวนประกอบ) ตัวบงชี้ผลิตภัณฑควรใชกับฉลากในระบบ GHS และควรสอดคลองตรงกับตัวบงชี้ผลิตภัณฑที่ใชใน

เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) หากสารเด่ียวหรือสารผสมนั้นถูกครอบคลุมโดย

Page 54: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

54

ขอกําหนดของสหประชาชาติที่เปนตนแบบเก่ียวกับการขนสงสินคาอันตราย อาจใชชื่อที่ถูกตองในการขนสง (UN

proper shipping name) ที่หีบหอดวย

ฉลาก GHS ควรบอกเก่ียวกับเอกลักษณเฉพาะของสารเคมี (chemical identity of the substance)

(ชื่อ IUPAC ISO CAS หรือชื่อทางเทคนิค) สําหรับสารผสม/โลหะ ควรรวมเอกลักษณเฉพาะของสารเคมีที่บอก

สวนผสมทั้งหมดหรือธาตุที่ผสมท้ังหมดที่มีสวนในการกอความเปนพิษเฉียบพลัน กัดกรอนผิวหนังหรือเสียหาย

อยางรุนแรงตอดวงตา สารกอกลายพันธุของเซลลสืบพันธุ (germ cell mutagenicity) สารกอมะเร็ง

(carcinogenicity) สารเปนพิษตอระบบสืบพันธุ (reproductive toxicity) การทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอ

ระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง (skin or respiratory sensitization) หรือ เปนพิษเก่ียวกับระบบอวัยวะเปาหมาย

(Target Organ Systemic Toxicity (TOST)) หากผลิตภัณฑนั้นใชเฉพาะสําหรับในสถานประกอบการเทานั้น

พนักงานเจาหนาที่อาจใชดุลยพินิจในการใหผูจัดจําหนายแสดงเอกลักษณเฉพาะทางเคมีในเอกสารขอมูลความ

ปลอดภัยในการทํางาน (SDS) แทนการแสดงขอมูลทั้งหมดไวบนฉลาก พนักงานเจาหนาที่อาจพิจารณาตัดสินให

ขอมูลลับทางการคา (confidential business information: CBI) อยูเหนือกวากฎของการแจงเอกลักษณผลิตภัณฑ 4.3.6 การระบุผูจัดจําหนาย ควรจัดใหมีชื่อ ที่อยู และหมายเลขโทรศัพทของผูผลิตหรือผูจัดจําหนายผลิตภัณฑบนฉลาก

4.3.7 ขอมูลเสริม ขอมูลเสริมบนฉลากเปนขอมูลที่ไมไดกําหนดใหเปนระบบเดียวกันตาม GHS ในบางกรณีขอมูลเสริมอาจ

ถูกกําหนดโดยพนักงานเจาหนาที่หรืออาจเปนขอมูลเพิ่มเติมโดยดุลยพินิจของผูผลิต/ผูจัดจําหนาย ในระบบสากล

GHS ไดมีคําแนะนําไวเพื่อใหแนใจวาขอมูลเสริมนั้นจะไมทําใหเกิดความหลากหลายของขอมูลและขัดขวางขอมูล

การแสดงตามระบบสากล GHS ขอมูลเสริมอาจจะใชเพื่อใหรายละเอียดเสริมที่ไมมีความขัดแยงหรือทําใหเกิดขอ

สงสัยเก่ียวกับการตรวจสอบขอมูลความเปนอันตรายมาตรฐาน (the validity of the standardized hazard

information) และอาจจะชวยใหขอมูลเก่ียวกับอันตรายที่ยังไมไดรวมไวใน GHS อีกดวย ผูติดฉลากควรมีทางเลือก

ในการจัดทําขอมูลเสริมที่เก่ียวกับอันตราย เชน สถานะทางกายภาพ หรือ ทางรับสัมผัส (route of exposure)

รวมกับขอความแสดงความเปนอันตราย เปนตน 4.4 จะทําอยางไรกับฉลากทีม่ีความเปนอันตรายหลายอยาง ? หากสารเด่ียวหรือสารผสมแสดงความเปนอันตรายที่มากกวาหน่ึงอยางตามระบบ GHS จึงตองมีการ

ลําดับขอมูลสําหรับรูปสัญลักษณและคําสัญญาน สําหรับสารเดี่ยวและสารผสมท่ีครอบคลุมโดยขอกําหนดของ

สหประชาชาติที่เปนตนแบบเก่ียวกับการขนสงสินคาอันตราย การลําดับรูปสัญลักษณสําหรับความเปนอันตราย

ทางกายภาพควรเปนไปตามกฎของ UN Model Regulations สําหรับความเปนอันตรายตอสุขภาพ ใหใชหลักการของการลําดับดังตอไปนี้

(ก) ถาใชสัญลักษณกะโหลกไขว ไมจําเปนตองใชเคร่ืองหมายตกใจอีก

(ข) ถาใชสัญลักษณแสดงการกัดกรอน ไมจําเปนตองใชเคร่ืองหมายตกใจซึ่งใชสําหรับการเกิดการระคายเคืองตอ

ผิวหนังหรือดวงตา

Page 55: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

55

(ค) ถาใชสัญลักษณความเปนอันตรายตอสุขภาพสําหรับการไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจ

(respiratory sensitization) ไมจําเปนตองใชเคร่ืองหมายตกใจซึ่งใชสําหรับการไวตอการกระตุนอาการแพตอผิวหนัง

หรือสําหรับการระคายเคืองตอผิวหนังหรือดวงตา

ถามีการใชคําสัญญานคําวา ‘Danger’ หรือ ‘อันตราย’ ไมจําเปนตองใชคําสัญญานคําวา ‘Warning’

หรือ ‘ระวัง’ ควรแสดงขอความแสดงความเปนอันตรายทั้งหมดไวบนฉลาก พนักงานเจาหนาที่อาจเลือกเพื่อระบุ

ลําดับกอนหลังที่แสดงออกมา

4.5 ลักษณะของฉลาก/การจดัองคประกอบ ตามระบบ GHS มีการจําเพาะเจาะจงหรือไม ? รูปสัญลักษณความเปนอันตรายตามระบบ GHS คําสัญญาน และขอความแสดงความเปนอันตรายควร

อยูดวยกันบนฉลาก รูปแบบหรือการจัดวางท่ีกําหนดนั้นไมไดมีการระบุไวใน GHS พนักงานเจาหนาที่อาจเลือกที่

จะกําหนดรูปแบบ/การจัดวางของขอมูลที่ปรากฎบนฉลากหรือใหผูจัดจําหนายใชดุลยพินิจเอง ในรูปที่ 4.12 ได

แสดงตัวอยางฉลากตามระบบ GHS สําหรับผลิตภัณฑสมมติ ชื่อ ‘ToxiFlam’ องคประกอบหลักของฉลาก GHS

คาดวาจะนํามาแทนที่ในการจัดวางฉลากที่แตกตางกัน ดังที่ไดแสดงตัวอยางฉลากที่แตกตางกันของผลิตภัณฑ

สมมติ ‘ToxiFlam’ ที่ไดกลาวมาแลว (ในรูปที่ 4.8 ไดแสดงองคประกอบของฉลากตามระบบ GHS)

รูปที่ 4.12 ตัวอยางฉลากตามระบบสากล GHS ของภาชนะบรรจุภายใน (เชน ขวดบรรจุภายในกลองขนสง)

มีการถกเถียงกันเก่ียวกับเร่ืองขนาดของรูปสัญลักษณตามระบบสากล GHS และรูปสัญลักษณ GHS

อาจทําใหเกิดความสับสนกับรูปสัญลักษณสําหรับการขนสง ตามตารางท่ี 4.10 รูปสัญลักษณสําหรับการขนสง จะ

มีลักษณะ/สีสันที่แตกตางกันมากกวารูปสัญลักษณ GHS เนื่องจากกลุมประชากรเปาหมายของภาคขนสง

ประกอบดวยนักกูภัย ซึ่งจําเปนตองเห็นขอมูลไดในระยะไกล ในภาคผนวก 7 สมุดปกมวงไดอธิบายการจดัวาง

สัดสวนของรูปสัญลักษณ GHS ตอขนาดของตัวอักษรบนฉลาก โดยทั่วไปแลวรูปสัญลักษณ GHS จะมีขนาดเล็ก

กวารูปสัญลักษณสําหรับการขนสง

Page 56: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

56

การจัดวางองคประกอบของฉลากตามระบบ

สากล GHS บางสวนไดมีอยูในภาคผนวก 7

สมุดปกมวง รูปที่ 4.13 ไดแสดงการจัดวาง

องคประกอบของฉลากสําหรับบรรจุภัณฑที่มี

ซอนกัน (combination packaging) ซึ่งประกอบ

ไปดวยกลองบรรจุภายนอกและขวดบรรจุ

ภายใน โดยกลองบรรจุนั้นติดฉลากของระบบ

การขนสง ( UNRTDG) และสวนขวดบรรจุ

ภายในติดฉลากตามระบบ GHS

รูปที่ 4.13 บรรจุภัณฑที่มีซอนกัน (กลองภายนอกและขวดบรรจุภายใน)

รูปที่ 4.14 บรรจุภัณฑเด่ียว

รูปที่ 4.14 แสดงตัวอยางสําหรับภาชนะบรรจุเด่ียว เชน ถังดรัม 55 ลิตร การขนสงตองมีเคร่ืองหมายและ

รูปสัญลักษณรวมกับองคประกอบของฉลาก GHS หรือแยกปรากฎอยูตางหาก ในรูปที่ 4.14 ไดแสดงการจัดวาง

องคประกอบฉลากสําหรับบรรจุภัณฑเด่ียว เชน ถังดรัม 55 ลิตร แสดงใหเห็นรูปสัญลักษณและเครื่องหมายที่

กําหนดโดยระเบียบการขนสง รวมทั้งฉลาก GHS และรูปสัญลักษณของ GHS ที่ไมซ้ํากันอยูบนถังดรัม

Page 57: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

57

ในรูปที่ 4.15 ไดแสดงฉลากที่รวมขอกําหนดของการขนสงและขอกําหนดของ GHS ไวในฉลากเดียวกัน

สําหรับผลิตภัณฑสมมติ ชื่อ “ToxiFlam” และฉลากผสมนี้สามารถที่จะนําไปใชบนถังดรัม 55 ลิตร

รูปที่ 4.15 ตัวอยางฉลาก GHS ภาชนะบรรจุภายนอก (55 แกลลอน/200 ลิตร)

4.6 มีความเส่ียงอยางไร ? พนักงานเจาหนาที่อาจนําเอาองคประกอบของระบบ GHS มาใชงานแตกตางกัน โดยขึ้นกับชนิดของ

ผลิตภัณฑ (อุตสาหกรรม สารกําจัดศัตรูพืช ผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค ฯลฯ) หรือชวงวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ

(สถานประกอบการอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม รานคาปลีก ฯลฯ) เม่ือสารเคมีไดรับการจําแนกแลว โอกาสของ

การเกิดผลขางเคียงที่ไมพึงประสงคอาจถูกนํามาพิจารณา ในการตัดสินวาควรแสดงขอมูลนั้นหรือไมสําหรับ

ผลิตภัณฑดังกลาวในสภาพการใชงานที่กําหนด ในภาคผนวก 5 สมุดปกมวง ประกอบดวย การพิจารณาตัวอยาง

การแสดงฉลากตามความเส่ียง (Risk-based labeling) ซึ่งสามารถนําไปใชกับอันตรายตอสุขภาพลักษณะเรื้อรังที่

เกิดจากสารเคมีในผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภคตามสภาพการใชงานปกติ

4.7 ระบบ GHS ไดครอบคลุมถึงภาชนะบรรจุในสถานประกอบการหรือไม ? ผลิตภัณฑที่อยูภายใตขอบเขตของ GHS ตองมีการติดฉลากตามระบบ GHS ณ จุดซึ่งมีผลิตภัณฑ

ดังกลาวในสถานที่ประกอบการ โดยติดฉลากตามระบบ GHS หรือองคประกอบฉลากบนภาชนะบรรจุในสถานประกอบการ (เชน ถังบรรจุ) อยางไรก็ตาม พนักงานเจาหนาที่สามารถที่จะอนุญาตใหผูประกอบการใชทางเลือก

ในการใหผูปฏิบัติงานไดรับขอมูลที่เหมือนกันในรูปแบบที่แตกตางออกไปได เชน ในรูปแบบที่เปนตัวหนังสือหรือ

รูปภาพ ถารูปแบบดังกลาวเหมาะสมสําหรับสถานประกอบการและสามารถส่ือสารขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ

เชนเดียวกับฉลากของระบบ GHS ตัวอยางเชน ขอมูลฉลากสามารถแสดงในพื้นที่ทํางาน แทนที่จะแสดงเฉพาะ

ภาชนะบรรจุสารเคมีเทานั้น บางตัวอยางของสถานการณในสถานประกอบการซึ่งอาจมีการเปล่ียนถายสารเคมี

จากภาชนะบรรจุของผูจัดจําหนายประกอบดวยภาชนะบรรจุสําหรับการทดสอบหรือวิเคราะหในหองปฏิบัติการ

(containers for laboratory testing) ถังจัดเก็บ (storage vessels) ทอทางหรือกระบวนการในระบบทําปฏิกิริยา

(piping or process reaction systems) หรือ ภาชนะบรรจุชั่วคราว (temporary container) ซึ่งจะมีการใชโดยผูปฏิบัติงานหนึ่งคนภายในระยะเวลาส้ันๆ

Page 58: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

58

4.8 เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) ตามระบบ GHS คืออะไร เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) ควรจัดใหมีขอมูลที่ครอบคลุมสําหรับ

การใชสารเคมีในสถานที่ประกอบการ ทั้งผูวาจางและผูปฏิบัติงานสามารถใชขอมูลดังกลาวเพื่อเปนแหลงขอมูล

เก่ียวกับอันตรายของสารเคมีและเพื่อเปนแหลงขอมูลสําหรับมาตรการดานความปลอดภัย (safety precautions)

SDS เปนเอกสารที่ใหขอมูลที่เก่ียวของกับเคมีภัณฑโดยทั่วไป แตไมสามารถจัดใหมีขอมูลเฉพาะสําหรับสถาน

ประกอบการซึ่งอาจเปนแหลงที่มีการใชเคมีภัณฑนั้นได อยางไรก็ตาม ขอมูลของ SDS จะชวยเจาของธุรกิจพัฒนา

โปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสําหรับมาตรการปกปองผูปฏิบัติงาน (worker protection measures) ซึ่งประกอบดวยการฝกอบรมที่เฉพาะเจาะจงตามแตละสถานประกอบการและพิจารณามาตรการท่ีอาจจําเปนในการปกปอง

ส่ิงแวดลอม นอกจากนี้ SDS ยังจัดใหมีแหลงสําคัญของขอมูลสําหรับกลุมผูมีสวนเก่ียวของ (target audiences) อื่นๆ

อาทิเชน ผูมีสวนเก่ียวของกับการขนสงสินคาอันตราย ผูตอบโตภาวะฉุกเฉิน ศูนยพิษวิทยา ผูที่เก่ียวของในการใช

สารกําจัดศัตรูพืชและผลิตภัณฑสําหรับผูบริโภค

ขอมูลใน SDS ควรประกอบดวย 16 หัวขอ (รูปที่ 4.14) หัวขอของเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการ

ทํางานกับสารเคมี (SDS) ตามระบบ GHS จะมีลําดับและเนื้อหาจะคลึงกับขอกําหนดใน MSDS ของ ISO, EU

และ ANSI ยกเวนมีการสลับลําดับของหัวขอ 2 กับ 3 ในรูปที่ 4.14 และสมุดปกมวงไดกําหนดขอมูลขั้นตํ่าที่ตอง

แสดงไวในแตละหัวขอของ SDS

ในสมุดปกมวง ฉบับแกไขใหมไดมีแนวทางในการพัฒนาเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับ

สารเคมี (SDS) (ภาคผนวก 4 ในสมุดปกมวง) รวมทั้งแหลงขอมูลอื่นๆ ประกอบดวย

- มาตรฐานขององคกรแรงงานระหวางประเทศ (ILO Standard) ภายใตขอแนะนาํที่ 177 เร่ืองความ

ปลอดภัยในการใชสารเคมีในที่ทํางาน (Safety in the Use of Chemicals at Work)

- มาตรฐานสากล 11014-1 (1994) ขององคการมาตรฐานระหวางประเทศ (International Standard

Organization (ISO)) และรางเอกสารความปลอดภัยสําหรับผลิตภัณฑเคมีของ ISO 11014-1: 2003

- สถาบันกําหนดมาตรฐานแหงสหรัฐอเมริกา (American National Standards Institute (ANSI)) มาตรฐาน

ที่ Z400.1

- ขอกําหนดของสหภาพยุโรป เร่ืองเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (European

Union SDS Directive 91/155/-EEC)

Page 59: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

59

รูปท่ี 4.14

ขอสนเทศท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS)

ท่ี หัวขอ ขอมูลท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัย

1 การบงชี้สารเด่ียวหรือสารผสม และ ผูผลิต

(Identification of the substance or mixture and of the supplier)

1.1 ตัวบงช้ีผลิตภัณฑตามระบบ GHS (GHS product identifier) 1.2 การบงช้ีดวยวิธีอื่นๆ 1.3 ขอแนะนําและขอจาํกัดตางๆ ในการใชสารเด่ียวหรือสารผสม 1.4 รายละเอียดผูผลิต (ประกอบดวยชื่อ ทีอ่ยู หมายเลขโทรศพัท) 1.5 หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉิน

2 การบงชี้ความเปนอันตราย (Hazards identification)

2.1 การจําแนกประเภทสารเด่ียวหรือสารผสมตามระบบ GHS และขอมูลในระดับชาติหรือระดับภูมิภาค 2.2 องคประกอบฉลากตามระบบ GHS รวมถึงขอความท่ีแสดงขอควรระวัง (precautionary statements) สําหรับสัญลักษณความเปนอันตราย (hazard symbols) ใหทําสําเนาจากรูปกราฟฟกตามระบบ

GHS เปน สขีาวดําได หรือระบุชื่อสัญลักษณ เชน เปลวไฟ หัวกะโหลก และ กระดูกไขว เปนตน 2.3 ความเปนอันตรายอื่นที่ไมไดเปนผลจากการจําแนกตามระบบ GHS เชน ความเปนอันตรายจากการระเบิดของผงฝุน (dust explosion hazard) เปนตน หรือที่ระบบ GHS ไมครอบคลุมถึง

3 องคประกอบและขอมูลเกี่ยวกับสวนผสม

(Composition / information on ingredients)

3.1 สารเด่ียว

3.1.1 ชื่อทางเคมี (chemical identity) 3.1.2 ชื่อสามัญ (common name) และช่ือพอง (synonym) (ถามี) 3.1.3 หมายเลข CAS และตัวบงช้ีที่มีลักษณะเฉพาะอื่นๆ 3.1.4 สิ่งเจือปนและสารปรุงแตงใหเสถียร (impurities and stabilizing additives) ซึ่งถูกจําแนกและมีผลตอการจําแนกประเภทสารเด่ียว

3.2 สารผสม

3.2.1 ชื่อทางเคมี 3.2.2 คาความเขมขน หรือชวงความเขมขนของสวนผสมท้ังหมด

เฉพาะทีเ่ปนอันตราย และมีคาสูงกวาระดับจุดตัด (cut off levels) ตามความหมายของ GHS หมายเหต ุ สําหรับขอมูลเก่ียวกับสวนผสม ใหถือกฎระเบียบวาดวยการ

รักษาขอมูลที่เปนความลับทางการคา (Confidential Business Information- CBI) ที่หนวยงานของรัฐกําหนดขึ้น เปนสําคัญ

4 มาตรการปฐมพยาบาล (First-aid measures) 4.1 บรรยายถึงวิธีการปฐมพยาบาล โดยแบงตามลักษณะการไดรับหรือ

สัมผัสสาร ไดแก การหายใจเขาไป การสัมผัสผิวหนังหรือดวงตา และการกลืนกิน

Page 60: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

60

ขอสนเทศท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS)

ท่ี หัวขอ ขอมูลท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัย

4.2 อาการหรือผลกระทบที่สําคัญ ทั้งท่ีเกิดเฉียบพลันและที่เกิดขึ้น

ภายหลัง (acute and delayed) 4.3 ระบุถึงขอควรพิจารณาทางการแพทยที่ตองทําทันที และการดูแลรักษาเฉพาะท่ีสําคญัที่ควรดําเนินการ

5 มาตรการผจญเพลงิ (Fire-fighting measures)

5.1 สารดับเพลิงท่ีหามใช และสารดับเพลิงท่ีเหมาะสม 5.2 ความเปนอันตรายเฉพาะทีเ่กิดขึ้นจากสารเคมี เชน ความเปน

อันตราย ที่เกิดจากการลุกไหมของผลิตภัณฑ เปนตน

5.3 อุปกรณปองกันพิเศษและขอควรระวัง สําหรับนักผจญเพลิง

6 มาตรการจัดการเม่ือมีการหกรด รั่วไหลของสาร (Accidental release measures)

6.1 ขอควรระวังสวนบุคคล อุปกรณปองกันอันตราย และขั้นตอนการ

ปฏิบัติงานฉุกเฉิน 6.2 ขอควรระวังดานสิ่งแวดลอม 6.3 วิธีการและวัสดุ สําหรับกักเก็บและทําความสะอาด (cleaning up)

7 การขนถาย เคลือ่นยาย ใชงาน และเกบ็รักษา (Handling and storage)

7.1 ขอควรระวังในการ ขนถายเคล่ือนยาย และใชงานอยางปลอดภัย 7.2 สภาวะการเก็บรักษาอยางปลอดภัย รวมท้ังขอหามในการเก็บรักษา

สารท่ีเขากันไมได 8 การควบคุมการรับสัมผัสและการปองกัน

สวนบุคคล (Exposure controls/personal protection)

8.1 คาตางๆ ที่ใชควบคุม (control parameters) การรับสัมผัส เชน

คาขีดจํากัดท่ียอมใหรับสัมผัสไดในขณะปฏิบัติงาน (occupational exposure limit values) เปนตน หรือระดับบงช้ีทางชีวภาพ

(biological limit values) 8.2 การควบคุมทางวิศวกรรมท่ีเหมาะสม 8.3 มาตรการปองกันสวนบุคคล เชน อุปกรณปองกันอันตรายสวน

บุคคล เปนตน

9 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี (Physical and chemical properties)

9.1 ลักษณะท่ัวไป เชน สถานะทางกายภาพ และ สี เปนตน 9.2 กลิ่น 9.3 คาขีดจํากัดของกลิ่นที่รับได (odour threshold) 9.4 ความเปนกรด-ดาง (pH) 9.5 จุดหลอมเหลวและจุดเยือกแข็ง (melting point/freezing point) 9.6 จุดเดือดเร่ิมตน และชวงของการเดือด (initial boiling point and boiling range) 9.7 จุดวาบไฟ (flash point) 9.8 อัตราการระเหย (evaporation rate) 9.9 ความสามารถในการลุกติดไฟไดของของแข็ง และกาซ

(flammability (solid, gas))

Page 61: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

61

ขอสนเทศท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS)

ท่ี หัวขอ ขอมูลท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัย

9.10 คาขีดจํากัดสูงสุดและตํ่าสุดของความไวไฟ หรือคาจํากัดสูงสุด

และตํ่าสุดของการระเบิด (upper/lower flammability or explosive limits) 9.11 ความดันไอ (vapour pressure) 9.12 ความหนาแนนไอ (vapour density) 9.13 ความหนาแนนสัมพัทธ (relative density) 9.14 ความสามารถในการละลายได (solubility) 9.15 คาสัมประสิทธิ์การละลายของสารในช้ันของ n-octanol ตอน้ํา (partition coefficient: n-octanol/water) 9.16 อุณหภูมิที่ลุกติดไฟไดเอง (auto-ignition temperature) 9.17 อุณหภูมิของการสลายตัว (decomposition temperature)

10 ความเสถียรและการเกิดปฏิกริิยา (Stability and reactivity)

10.1 ความเสถียรทางเคมี 10.2 ความเปนไปไดในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย 10.3 สภาวะท่ีควรหลีกเลี่ยง เชน การคายประจุไฟฟาสถิต แรง

กระแทก หรือการส่ันสะเทือน เปนตน 10.4 วัสดุที่เขากันไมได 10.5 ความเปนอันตรายท่ีเกิดจากการแตกตัวของผลิตภัณฑ

11 ขอมูลดานพิษวิทยา (Toxicological information)

มีคําอธิบายถึงผลกระทบหลากหลายดานพิษวิทยา (สุขภาพ) ที่กระชับ

สมบูรณ และเขาใจได ตามขอมูลที่มีอยู ซึ่งสามารถบงช้ีถึงผลกระทบเหลาน้ัน รวมท้ัง

11.1ขอมูลเก่ียวกับทางรับสัมผัสท่ีอาจเกิดขึ้น (การหายใจเขาไป การ

กลืนกิน การสัมผัสผิวหนังและดวงตา) 11.2 อาการปรากฏที่มีความสัมพันธกับคุณลักษณะทางกายภาพ ทาง

เคมีและทางพิษวิทยา 11.3 ผลกระทบเฉียบพลันและที่เกิดขึน้ภายหลัง (delayed and immediate effects) รวมท้ังผลเร้ือรัง (chronic effects) จากการรับสัมผัสท้ังในระยะส้ันและระยะยาว (short- and long-term exposure) 11.4 คาความเปนพิษท่ีวัดเปนตัวเลข เชน คาประมาณการความเปนพิษ

เฉียบพลัน เปนตน 12 ขอมูลดานนิเวศวิทยา (Ecological

information)

12.1 ความเปนพิษตอระบบนิเวศ ในน้ําและบนบก (ถามี) 12.2 การตกคางยาวนาน (persistence) และความสามารถในการยอยสลาย (degradability)

Page 62: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

62

ขอสนเทศท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS)

ท่ี หัวขอ ขอมูลท่ีตองระบุในเอกสารขอมูลความปลอดภัย

12.3 ศักยภาพในการสะสมทางชีวภาพ (bioaccumulative potential) 12.4 การเคล่ือนยายในดิน (mobility in soil) 12.5 ผลกระทบในทางเสียหายอื่นๆ (other adverse effects)

13 ขอพิจารณาในการกําจัด (Disposal considerations)

อธิบายถึงกากของเสีย (waste residues) และขอมูลการขนถาย

เคล่ือนยายอยางปลอดภัย รวมท้ังวิธีการกําจัดท่ีเหมาะสม และการกําจัดบรรจุภัณฑ ที่ปนเปอน

14 ขอมูลการขนสง (Transport information) 14.1 หมายเลขสหประชาชาติ (UN number) 14.2 ชื่อที่ถูกตองในการขนสงของ สหประชาชาติ (UN proper shipping name) 14.3 ประเภทความเปนอันตรายสําหรับการขนสง (transport hazard class) 14.4 กลุมการบรรจุ (packing group) (ถามี) 14.5 การเกิดมลภาวะทางทะเล (marine pollutants) (ใชหรือไมใช) 14.6 ขอควรระวังพิเศษที่ผูใชจําเปนตองตระหนักหรือจําเปนตองปฏิบัติตามในสวนที่เก่ียวของกับการขนสงหรือการบรรทุก ทั้งภายในหรือภายนอกสถานประกอบการ

15 ขอมูลดานกฎขอบังคับ (Regulatory information)

ใหระบุกฎระเบียบทางดานความปลอดภัย สุขภาพ และส่ิงแวดลอม เปนการเฉพาะกับผลิตภัณฑนั้น

16 ขอมูลอื่นๆ รวมท้ังขอมูลการจัดทําและการปรับปรุงแกไขเอกสารขอมูลความปลอดภัย

(Other information)

4.9 ความแตกตางระหวางเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (SDS) ตามระบบ GHS

กับตามแบบเดิม (MSDS) เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีตามระบบเดิมหรือ MSDS นั้นมีใชกันอยูแลวทั่ว

โลก ดังนั้นควรที่จะทําความเขาใจความคลายคลึงกันและความแตกตางระหวางเน้ือหาและรูปแบบของ MSDS กับ

SDS ซึ่งแตกตางในการจัดลําดับหัวขอ

4.10 เมื่อไรที่ควรจะตองปรับปรุงเอกสารขอมูลความปลอดภัยและฉลากใหทันสมัย ระบบการส่ือสารความเปนอันตรายทุกระบบ ควรมีการกําหนดวิธีการในการปรับขอมูลใหทันสมัยและ

ทันทวงที (timely manner) และมีการปรับปรุงฉลากและเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีใหสอดคลองกัน ควรดําเนินการปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยทันทีที่ไดรับขอมูลวามีความจําเปนในการปรับปรุงแกไข

ใหม พนักงานเจาหนาที่อาจเลือกที่จะระบุเวลาใหมีการปรับปรุงขอมูลไดตามความเหมาะสม

Page 63: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

63

ผูผลิตควรยึดตามขอมูลที่ “ใหมและสําคัญ” ที่ไดรับเก่ียวกับความเปนอันตรายของสารเคมี โดยการ

ปรับปรุงฉลากและเอกสารขอมูลความปลอดภัยของสารเคมีนั้น ขอมูลที่ใหมและสําคัญคือขอมูลใดๆ ที่เปล่ียนการ

จําแนกประเภทสารเด่ียวหรือสารผสมตาม GHS และนําไปสูการเปล่ียนแปลงขอมูลบนฉลากหรือขอมูลความ

ปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี

4.11 ระบบ GHS จะจัดการกับขอมูลความลับทางการคา (CBI) อยางไร พนักงานเจาหนาที่ควรจัดใหมีกลไกท่ีเหมาะสมสําหรับการปองกันขอมูลลับความลับทางการคา(CBI)

ระบบ GHS จึงไดพัฒนาหลักการเกี่ยวกับขอมูลความลับทางการคา ดังนี้ - ขอกําหนดของขอมูลความลับทางการคา นั้นตองไมทําใหการปองกันสุขภาพและความปลอดภัยของ

ผูใชสารเคมีดอยลง - สิทธิของขอมูลความลับทางการคา ควรจํากัดเฉพาะช่ือของสารเคมีและความเขมขนในสารผสม

- ควรจัดทํากลไกสําหรับการเปดเผยขอมูลในสถานการณฉุกเฉินและไมฉุกเฉิน

4.12 ระบบ GHS ไดระบุถึงการฝกอบรมหรือไม ระบบ GHS ใหความสําคัญกับการฝกอบรมแกผูที่มีสวนเกี่ยวของ เพื่อใหมีความรูและแปลความหมาย

ของการส่ือขอมูลความเปนอันตรายของสารเคมีบนฉลาก และ/หรือเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางาน

(SDS) ตามระบบ GHS ซึ่งจะนําไปสูการดําเนินการที่เหมาะสมในการปองกันความเปนอันตรายจากสารเคมี

ขอกําหนดในการฝกอบรมควรเหมาะสมและเพียงพอกับลักษณะของงานหรือการรับสัมผัส กลุมผูเก่ียวของหลักใน

การฝกอบรมประกอบดวยผูปฏิบัติงานกับสารเคมี บุคคลที่เก่ียวของในการขนสง ผูตอบโตภาวะฉุกเฉิน ผูที่มีสวน

เก่ียวของในการเตรียมฉลากและเอกสารขอมูลความปลอดภัย บุคคลอื่นที่เก่ียวของ และผูบริโภค โดยกําหนดใหมี

การฝกอบรมในระดับที่แตกตางกันออกไป และท่ีสําคัญควรพิจารณากลยุทธที่กําหนดใหมีการศึกษาแกผูบริโภคใน

การแปลความหมายขอมูลจากฉลากที่ติดอยูบนผลิตภัณฑที่ใชในชีวิตประจําวันดวย

Page 64: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

64

บทที่ 5 เอกสารอางองิ

เอกสารอางอิงสําหรับบทที่ 1 ANSI Z129.1: American National Standard for Hazardous Industrial Chemicals-Precautionary Labeling. Australia: Australia Worksafe, National Occupational Health and Safety Commission, Approved Criteria for Classifying Hazardous Substances (1994). CPSC FHSA: U.S. CPSC, 16 CFR 1500, FHSA regulations. DOT: U.S. DOT, 49 CFR Part 173, Subpart D. EPA FIFRA: U.S. EPA, 40 CFR Part 156, FIFRA regulations. EU: Council Directive 92/32/European Economic Community, amending for the 7th time, Directive 67/548/European Economic Community, approximation of the laws, regulations and administrative provisions on the classification, packaging and labeling of dangerous preparations. GHS: Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals, United Nations, 1st Revised Edition 2005. IATA: International Air Transport Association’s Dangerous Goods Regulations. ICAO: International Civil Aviation Organization’s Technical Instructions for the Safe Transport Of Dangerous Goods By Air. IMO: International Maritime Organization’s International Maritime Dangerous Goods (IMDG) Code. Japan: Japanese Official Notice of Ministry of Labor No. 60 “Guidelines for Labeling of the Danger and Hazards of Chemical Substances”. Korea: Korean Ministry of Labor Notice 1997-27 “Preparation of MSDS and Labelling Regulation”. Malaysia: Malaysian Occupational Safety and Health Act (1994), Act 514 and Regulations (1994). Mexico: Dario Oficial (March 30, 1996) NORMA Oficial Mexicana NOM-114-STPS-1994. NFPA: National Fire Protection Association, 704 Standard, System for the Identification of Fire Hazards of Materials, 2001. NPCA HMIS: National Paint and Coatings Association, Hazardous Materials Identification System, 2001. OSHA HCS: U.S. DOL, OSHA, 29 CFR 1910.1200. WHMIS: Controlled Products Regulation, Hazardous Products Act, Canada Gazette, Part II, Vol.122, No.2, 1987. เอกสารอางอิงสําหรับบทที่ 2 GHS Chapter 1.1 Purpose, Scope and Application of the GHS. GHS Chapter 1.3 Classification of Hazardous Substances and Mixtures. เอกสารอางอิงสําหรับบทที่ 3 GHS Chapter 1.3. Classification of Hazardous Substances and Mixtures.

Page 65: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

65

GHS Part 2. Physical Hazards. GHS Part 3. Health Hazards. GHS Part 4. Environmental Hazards GHS Annex 8. An Example of Classification in the GHS. GHS Annex 9. Guidance on Hazards to the Aquatic Environment. GHS Annex 10. Guidance on Transformation/Dissolution of Metals and Metal Compounds in Aqueous Media เอกสารอางอิงสําหรับบทที่ 4 GHS Chapter 1.4. Hazard Communication: Labelling. GHS Chapter 1.5. Hazard Communication: Safety Data Sheets. GHS Annex 1 Allocation of Label Elements. GHS Annex 2 Classification and Labelling Summary Tables. GHS Annex 3 Precautionary Statements and Precautionary Pictograms. GHS Annex 4 Guidance on the preparation of Safety Data Sheets GHS Annex 5 Consumer Product Labelling Based on the Likelihood of Injur. GHS Annex 6 Comprehensibility Testing Methodology. GHS Annex 7 Examples of Arrangements of GHS Label Elements. เอกสารอางอิงสําหรับมาตรฐานของหนวยงานรัฐและเอกชน แคนาดา Hazardous Products Act: Controlled Products Regulations; Consumer Chemical and Container Regulations, 2001 Pest Control Products Act; Transportation of Dangerous Goods Act. Health Canada GHS Website: www.healthcanada.ca/ghs; สหภาพยุโรป (EU) Directive 67/548/EEC (consolidated, 7th revision). Directive 2001/59/EC adapting to technical progress for the 28th time Council Directive 67/548/EEC. Manual of decisions, implementation for the sixth and seventh amendments to Directive 67/548/EEC on dangerous substances. Directive 1999/45/EC of the European Parliament and of the Council of 31 May 1999 related to the classification, packaging and labelling of dangerous preparations. Commission Directive 91/155/EEC defining and laying down the detailed arrangements for the system of specific information relating to dangerous preparations (SDS.) Directive 2001/58/EC (amending Directive 91/155/EEC) defining and laying down the detailed arrangements for the system of specific information relating to dangerous preparations (SDS). EU GHS web site: http://europa.eu.int/comm/enterprise/reach/ghs_en.htm

Page 66: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

66

มาตรฐาน American National Standard for Hazardous Industrial Chemicals - Precautionary Labeling (ANSI Z-129.1-2000). American National Standard for Hazardous Industrial Chemicals – MSDS Preparation (ANSI Z400.1-2004). ISO 11014-1:2003 DRAFT Safety Data Sheet for Chemical Products. GHS ของสหประชาชาติ Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) (“The Purple Book”), United Nations, 2005 First Revised Edition, available at www.unece.org/trans/danger/publi/ghs/ghs_rev01/01files_e.html or from United Nations Publications ([email protected]) UN GHS website: www.unece.org/trans/danger/publi/ghs/ghs_welcome_e.htm การขนสงของสหประชาชาติ UN Recommendations on the Transport of Dangerous Goods, Model Regulations (14th Revised Edition 2005). UN Recommendations on the Transport of Dangerous Goods, Manual of Tests and Criteria, 4th Revised Edition สหรัฐอเมริกา OSHA Hazard Communication Standard 29 CFR 1910.1200 CPSC Consumer Product Safety Act (15 U.S.C. 2051 et seq.) and Federal Hazardous Substances Act (15 U.S.C. 1261 et seq.). (FIFRA) Federal Insecticide, Fungicide, and Rodenticide Act (7 U.S.C. 136 et seq.). US EPA Label Review Manual (3rd Edition, August 2003) EPA 735-B-03-001. Federal Hazardous Materials Transportation Law (49 U.S.C. 5101 et seq.). USA websites: www.osha.gov/SLTC/hazardcommunications/global.html www.epa.gov/oppfead1/international/globalharmon.htm http://hazmat.dot.gov/regs/intl/globharm.htm เว็บไซตของการประสานงานความรวมมือระหวางประเทศในเรื่อง GHS UNITAR - www.unitar.org/cwm/ghs/index.html ILO - www.ilo.org/public/english/protection/safework/ghs/index.htm OECD - www.oecd.org/department/0,2688,en_2649_34371_1_1_1_1_1,00.html

Page 67: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

67

บทที่ 6 อภิธานศัพท

สารละอองลอย (Aerosols) หมายถึง สารละอองลอยที่บรรจุอยูในภาชนะปดที่ไมสามารถบรรจุใหมได โดยภาชนะทํามาจากโลหะ แกว หรือพลาสติก และบรรจุกาซอัด กาซเหลว หรือกาซละลายภายใตความดัน ที่มีหรือไม

มีของเหลว ครีมหรือผงฝุนและติดต้ังอุปกรณสําหรับปลอยสารออกมาในรูปอนุภาคที่เปนของแข็งหรือของเหลวที่

แขวนลอยอยูในกาซในรูปของโฟม ครีม หรือผงฝุน หรือในสถานะของเหลว หรือในสถานะกาซ สารละอองลอยนี้

รวมไปถึงตัวกระจายสารละอองลอย( aerosol dispensers)

โลหะผสม (Alloy) หมายถึง วัสดุโลหะ เปนเนื้อเดียวกันที่มองเห็นไดดวยตาเปลา ประกอบดวยสองสวนหรือ

มากกวาประกอบกันจนไมสามารถแยกออกจากกันโดยวิธีทางกลไดงาย โลหะผสมพิจารณาไดวาเปนสารผสม

สําหรับจุดประสงคของการจําแนกสารภายใตระบบ GHS

การสําลัก(Aspiration) หมายถึง การที่ผลิตภัณฑเคมีทั้งที่เปนของแข็งหรือของเหลวผานเขาสูหลอดลมและระบบทางเดินหายใจสวนลางโดยตรง ผานทางปากหรือจมูก หรือทางออมโดยการอาเจียน

สมาคมการทดสอบและวัสดุของประเทศสหรัฐอเมริกา (ASTM: American Society of Testing and Materials) คา BCF (bioconcentration factor) หมายถึง คาปจจัยความเขมขนทางชีวภาพ

คา BOD/COD (biochemical oxygen demand/chemical oxygen demand) หมายถึง ความตองการออกซิเจนในการยอยสลายทางชีวภาพ/ความตองการออกซิเจนในการยอยสลายทางเคมี

สารกอมะเร็ง (Carcinogen) หมายถึง สารเคมีหรือสารผสมที่เปนสาเหตุใหเกิดโรคมะเร็งหรือเพิ่มโอกาสการเกิดโรคมะเร็ง

ชุดตัวเลขที่ใชช้ีบงสารเคมีอันตราย (CAS: Chemical Abstract Service) ขอมูลความลับทางการคา (CBI: confidential business information) การระบุช่ือเคมี (Chemical identity) หมายถึง ชื่อใดๆ ที่จะระบุสารเคมีที่เปนสารประเภทเดียวกัน (uniquely

indentify a chemical) ซึ่งสามารถเปนชื่อที่เปนไปตามระบบการต้ังชื่อของ The International Union of Pure and

Applied Chemistry (IUPAC) หรือ The Chemical Abstracts Service (CAS) หรือช่ือทางเทคนิค

หนวยงานที่มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบ (Competent Authority) หมายถึง หนวยงานหนึ่งหรือหลายหนวยงาน

หรือองคกรหน่ึงหรือหลายองคกรที่ไดรับการแตงต้ังหรือไดรับการยอมรับในระดับประเทศในระบบที่เก่ียวของกับ

การจําแนกประเภทและการติดฉลากที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลกตามระบบ GHS

กาซภายใตความดัน (Compressed gas) หมายถึง กาซซึ่งเม่ือถูกบรรจุภายใตความดันจะมีสภาพเปนกาซทั้งหมดที่อุณหภูมิลบ 50 องศาเซลเซียส รวมท้ังกาซที่มีอุณหภูมิวิกฤตตํ่ากวาหรือเทากับลบ 50 องศาเซลเซียส

สารที่ทําใหไวตอการกระตุนอาการแพจากการไดสัมผัส (Contact sensitizer) หมายถึง สารที่เปนตัว

กอใหเกิดอาการแพหลังจากไดรับสัมผัสทางผิวหนัง คํานิยามน้ีมีความหมายเดียวกับ “สารที่ทําใหไวตอการ

กระตุนอาการแพจากการไดสัมผัสทางผวิหนัง” (skin sensitizer) สารกัดกรอนโลหะ (Corrosive to metal) หมายถึง สารหรือสารผสมที่ทํากิริยาเคมี ใหเนื้อโลหะ เนื้อวัสดุเสียหาย

หรือทําลายเน้ือวัสดุ

เกณฑ (Criteria) หมายถึง คําจํากัดความทางเทคนิคสําหรับความอันตรายทางกายภาพ สุขภาพและส่ิงแวดลอม

Page 68: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

68

อุณหภูมิวิกฤติ (Critical temperature) หมายถึง อุณหภูมิที่สูงจนทําใหกาซบริสุทธิ์ไมสามารถเปล่ียนสถานะเปนของเหลวได โดยไมคํานึงถึงระดับของการอัด (หรือ ณ ความดันคงที่)

การกัดกรอนทางผิวหนงั (Dermal Corrosion) ดูคําอธิบายใน skin corrosion

ระคายเคืองผิวหนัง (Dermal irritation) ดูคําอธิบายใน skin irritation

กาซละลาย (Dissolved gas) หมายถึง กาซที่เม่ือบรรจุภายใตความดันจะละลายอยูในรูปของของเหลว (liquid

phase solvent) คา EC50 (effective concentration) หมายถึง ความเขมขนของสารที่ทําใหเกิดผลรอยละ 50

หมายเลข EC (EC Number หรือ ECN0) เปนหมายเลขอางอิงซึ่งใชโดยประชาคมยุโรปหรือเพื่อระบุสารอันตราย

โดยเฉพาะอยางย่ิงสารอันตรายท่ีลงทะเบียนภายใต EINECS

สภาเศรษฐกิจและสังคมแหงสหประชาชาติ (ECOSOC: Economic and Social Council of the United Nations) บัญชีรายชื่อสารเคมีของยุโรปที่ใชเพ่ือการพาณิชย (EINECS: European Inventory of Existing Comercial Chemical Substances) จุดสุดทาย (End point) หมายถึง ขอสรุปสุดทายของอันตรายทางกายภาพ สุขภาพและส่ิงแวดลอม

ErC50 หมายถึง EC50 ซึ่งเก่ียวของกับอัตราการเจริญเติบโตที่ลดลง (reduction of growth rate)

สหภาพยุโรป (EU: European Union) วัตถุระเบิด (Explosive article) หมายถึง ส่ิงของที่ประกอบดวยสารระเบิดชนิดหนึ่งหรือมากกวา

สารที่ระเบิดได (Explosive substance) หมายถึง สารที่เปนของแข็งหรือของเหลว (หรือสารผสม) ซึ่งโดยการ

เกิดปฏิกิริยาทางเคมีของตัวมันเอง สามารถทําใหเกิดกาซที่อุณหภูมิและความดันระดับหนึ่ง ที่ความเร็วระดับหนึ่ง

ซึ่งเปนสาเหตุทําใหเกิดความเสียหายตอส่ิงที่อยูโดยรอบ สารดอกไมเพลิงถือเปนสารระเบิดแมวาจะไมทําใหเกิด

กาซก็ตาม

การระคายเคืองดวงตา (Eye irritation) หมายถึง การเปล่ียนแปลงของดวงตา ภายหลังการสัมผัสสารทดสอบที่

เย่ือตาดานหนาของดวงตา อาการนี้สามารถกลับสูสภาพเดิมได (fully reversible) ภายในเวลา 21 วันหลังการ

ไดรับสัมผัสสารดังกลาว

กาซไวไฟ (Flammable gas) หมายถึง กาซที่มีชวงความไวไฟเม่ือผสมกับอากาศที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส

และท่ีความดันบรรยากาศมาตรฐานที่ 101.3 กิโลพาสคัล (kPa)

ของเหลวไวไฟ (Flamable liquid) หมายถึง ของเหลวท่ีมีจดุวาบไฟไมเกิน 93 องศาเซลเซียส

ของแข็งไวไฟ (Flammable solid) หมายถึง ของแข็งที่ติดไฟงาย หรืออาจเปนสาเหตุหรือชวยใหไฟติดขึ้นมาจาก

การเสียดสีกัน

จุดวาบไฟ (Flash point) หมายถึง อุณหภูมิตํ่าสุด (ณ ความดันบรรยากาศมาตรฐานที่ 101.3 กิโลพาสคัล) ที่

แหลงกําเนิดประกายไฟทําใหไอของของเหลวจุดติดไฟไดภายใตเงื่อนไขการทดสอบที่กําหนด

กาซ (Gas) หมายถึง สารซึ่ง

(i) ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส จะมีความดันไอมากกวา 300 กิโลพาสคัล

(ii) เปนกาซอยางสมบูรณที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสที่ความดันบรรยากาศมาตรฐาน 101.3 กิโลพาสคัล

Page 69: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

69

กลุมผูเช่ียวชาญรวม GESAMP หมายถึง กลุมผูเช่ียวชาญรวมทางดานวิทยาศาสตรวาดวยการพิทักษ

ส่ิงแวดลอมทางทะเลของ IMO/FAO/UNESCO/WMO/WHO/UN/UNEP

ระบบ GHS (The Globally Harmonized System of Classification and Lebelling of Chemicals) หมายถึง ระบบสากลการจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี/เคมีภัณฑ

ประเภทยอยความเปนอันตราย (Hazard category) หมายถึง การแบงเกณฑภายในประเภทความเปนอันตราย

เชน ความเปนพิษเฉียบพลันทางปาก ประกอบดวยประเภทความเปนอันตรายจํานวน 5 ประเภทยอย และ

ของเหลวไวไฟแบงไดเปน 4 ประเภทยอย ประเภทความเปนอันตรายเหลานี้เปนการเปรียบเทียบความรุนแรงของ

ความเปนอันตรายภายในประเภทความเปนอันตรายเดียวกันดังนั้นจึงไมควรนํามาเปรียบเทียบกับประเภทความ

เปนอันตรายอื่นๆ

ประเภทความเปนอันตราย (Hazard class) หมายถึง ลักษณะความเปนอันตรายทางกายภาพ สุขภาพและ

ส่ิงแวดลอม เชน ของแข็งไวไฟ สารกอมะเร็ง ความเปนพิษเฉียบพลันทางปาก เปนตน

ขอความแสดงความเปนอันตราย (Hazard statement) หมายถึง ขอความบอกประเภทและกลุมความเปน

อันตรายซึ่งระบุลักษณะของความเปนอันตรายของผลิตภัณฑที่ประกอบดวยระดับความเปนอันตราย (the degree

of hazard) ตามความเหมาะสม

องคกรเพ่ือการวิจัยมะเร็งระหวางประเทศ (IARC: International Agency for the Research on Cancer) องคกรแรงงานระหวางประเทศ (ILO: International Labor Organization) องคกรทางทะเลระหวางประเทศ (IMO: International Maritime Organization) จุดเดือดเริ่มตน (Initial boiling point) หมายถึง อุณหภูมิของของเหลวท่ีความดันไอมีคาเทากับความดันบรรยากาศมาตรฐาน (101.3 กิโลพาสคัล) นั่นก็คือ มีฟองอากาศฟองแรกผุดขึ้น

โครงการประสานงานขององคกรระหวางประเทศวาดวยการจัดการสารเคมี (IOMC: Inter-organization Program on the Sound Management of Chemicals) โครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยดานสารเคมี (IPCS: International Program on Chemical Safety) องคกรมาตรฐานสากล (ISO: International Standards Organization) สหภาพสากลเกี่ยวกับเคมีบริสุทธ์ิและเคมีประยุกต (IUPAC: International Union of Pure and Applied Chemistry) ฉลาก (Label) หมายถึง องคประกอบ ของขอมูลที่เขียน พิมพ หรือเปนรูปภาพที่แสดงความเปนอันตรายของ

ผลิตภัณฑอันตรายซ่ึงคัดเลือกมาใหตรงกับกลุมเปาหมาย ซึ่งใชปด พิมพหรือติดแนบกับภาชนะบรรจุที่สัมผัสกับ

ผลิตภัณฑอันตรายน้ันโดยตรง หรือที่ภายนอกหีบหอของผลิตภัณฑอันตรายนั้น

องคประกอบฉลาก (Label element) หมายถึง ขอมูลชนิดหนึ่งที่ไดมีการทําใหเปนระบบเดียวกันสําหรับใชระบุ

บนฉลาก เชน รูปสัญลักษณ (pictogram) คําสัญญาณ (signal word) เปนตน

คา LC50 (Median lethal concentration) หมายถึง ความเขมขนของสารเคมีในอากาศหรือในน้ําที่ทําใหสัตวทดลองรอยละ 50 ตาย

คา LD50 ( Median Lethal Dose) หมายถึง ปริมาณของสารเคมีที่ใหสัตวทดลองท้ังหมดเพียงคร้ังเดียว แลวทําให

สัตวทดลองรอยละ 50 ตาย

Page 70: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

70

กาซเหลว (Liquidfied gas) หมายถึง กาซซ่ึงเม่ือบรรจุภายใตความดัน จะเปนของเหลวบางสวนที่อุณหภูมิ

มากกวาลบ 50 องศาเซลเซียส สามารถแยกความแตกตางระหวาง

(i) กาซเหลวความดันสูง (High pressure liquidfied gas) กาซที่มีอุณหภูมิวิกฤติอยูระหวางลบ 50 องศา

เซลเซียสถึง 65 องศาเซลเซียส; และ

(ii) กาซเหลวความดันตํ่า (Low pressure liquidfied gas) กาซที่มีอุณหภูมิวิกฤติสูงกวา 65 องศาเซลเซียส

ของเหลว (Liquid) หมายถึง สารหรือสารผสมที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส มีความดันไอไมเกินกวา 300 กิโล

พาสคัล (3 บาร) ซึ่งไมเปนกาซอยางสมบูรณที่ 20 องศาเซลเซียส และท่ีความดันบรรยากาศมาตรฐาน (101.3 กิโล

พาสคัล) และท่ีมีจุดหลอมเหลวที่ 20 องศาเซลเซียส หรือที่ตํ่ากวาความดันบรรยากาศมาตรฐาน(101.3 กิโลพาส

คัล) สารหรือสารผสมหนืดที่ไมสามารถหาคาจุดหลอมเหลวจําเพาะได ตองเปนไปตามการทดสอบ ASTM D

4359-90 หรือเปนไปตามการทดสอบสําหรับกําหนดคาความสามารถในการไหล (penetrometer test) ตามที่ระบุไว

ในตอนที่ 2.3.4 ของภาคผนวก A ของขอกําหนดของ the European Agreement concerning the International

Carriage of Dangerous Goods by Road (ADR ) อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการปกปองมลภาวะจากเรือ (MARPOL: International Convention for the Prevention of Pollution from Ships) สารผสม (Mixture) หมายถึง สารผสมหรือสารละลายท่ีประกอบดวยสารสองตัวหรือมากกวา โดยไมเกิดปฏิกิริยา

ซึ่งกันและกัน

เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี(แบบเกา) (MSDS:Material Safety Data Sheet) สารกอกลายพันธุ (Mutagen) หมายถึง สารที่ทําใหเกิดการกลายพันธุของกลุมเซลลและ/หรือส่ิงมีชีวิตเพิ่มขึ้น

การกอกลายพันธุ (Mutation) หมายถึง การเปล่ียนแปลงทั้งจํานวนหรือโครงสรางของสารพันธุกรรม (genetic

material) ในเซลลอยางถาวร

องคกรที่ทําประโยชนเพ่ือสังคมที่ไมใชของรัฐ (NGO: non-governmental organization) ความเขมขนสูงสุดที่ไมปรากฎผลใดๆ (NOEC: no observed effect concentration) องคกรเพ่ือความรวมมือและการพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD: The Organization for Economic Cooperation and Development) สารเพอรออกไซดอินทรีย (Organic peroxide) หมายถึง สารอินทรียที่มีสถานะเปนของเหลวหรือของแข็งซึ่งมี

โครงสราง –O-O- และอาจพิจารณาไดวาเปนสารอนุพันธของไฮโดรเจนเปอรออกไซดซึ่งไฮโดรเจนหน่ึงหรือสองอะตอมถูกแทนที่โดยอนุมูลอินทรีย ความหมายนี้รวมถึงสารผสม (สารผสม) เปอรออกไซดอินทรีย

กาซออกซิไดส (Oxidizing gas) หมายถึง กาซใดๆ ที่โดยทั่วไปจะปลอบกาซออกซิเจนออกมา อาจเปนสาเหตุหรือ

มีสวนทําใหเกิดการเผาไหมวัสดุอื่นมากกวาที่อากาศทั่วไปสามารถทําได

ของแข็งออกซิไดส (Oxidizing solid) หมายถึง ของแข็งใดๆ ที่โดยทั่วไปจะปลอบกาซออกซิเจนออกมา อาจเปน

สาเหตุหรือมีสวนทําใหเกิดการเผาไหมวัสดุอื่นมากกวาที่อากาศท่ัวไปสามารถทําได

ความสัมพันธระหวางโครงสรางและการออกฤทธ์ิเชิงปริมาณของสาร (QSARs: Quantitative Structure-Activity Relationships) รูปสัญลักษณ (Pictogram) หมายถึง ขอมูลเชิงภาพที่อาจประกอบดวยสัญลักษณรวมกับองคประกอบท่ีเปนกราฟฟคอื่นๆ เชน ขอบ รูปแบบพื้นหลัง หรือสีซึ่งใชส่ือขอมูลเฉพาะเกี่ยวกับสารอันตราย

Page 71: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

71

ขอควรระวัง (Precautionary statement) หมายถึง ขอความ (และ/หรือ รูปสัญลักษณ) ซึ่งระบุมาตรการแนะนําที่

ควรปฏิบัติตามเพื่อลดหรือปองกันผลรายที่เกิดจากการไดรับสัมผัสผลิตภัณฑอันตราย หรือการจัดเก็บหรือจัดการ

ผลิตภัณฑอันตรายท่ีไมถูกตองเหมาะสม

ตัวบงช้ีผลิตภัณฑ(Product identifier) หมายถึง ชื่อหรือหมายเลขท่ีใชสําหรับผลิตภัณฑอันตรายซ่ึงปรากฎอยูบน

ฉลากหรือในเอกสารความปลอดภัย (SDS) ส่ิงระบุตัวผลิตภัณฑนี้จะบอกวิธีการเฉพาะท่ีเปนเอกลักษณซึ่งผูใช

ผลิตภัณฑสามารระบุสารหรือสารผสมตามสภาพแวดลอมของการใชงาน (particular use setting) เชน การขนสง

ผูบริโภค หรือสถานประกอบการ เปนตน

ของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ (Pyrophoric liquid) หมายถึง ของเหลวที่ถึงแมในปริมาณนอยอาจลุกไหมไดเองหลังสัมผัสอากาศภายในหานาที

ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ (Pyrophoric solid) หมายถึง ของแข็งที่ถึงแมในปริมาณนอยอาจลุกไหมไดเองหลังสัมผัสอากาศภายในหานาที

ส่ิงของประเภทดอกไมเพลิง (Pyrotechnic article) หมายถึง ส่ิงของที่ประกอบดวยสารประกอบประเภทดอกไมเพลิงหนึ่งชนิดหรือมากกวา

สารที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ (Pyrotechnic substance) หมายถึง สารเด่ียวหรือสารผสมที่ไดออกแบบมาเพื่อใหเกิดผลโดย ความรอน แสงสวาง เสียง กาซ หรือควัน หรือการผสมผสานกันของส่ิงตางๆ เหลานี้ อันจะเปน

ผลมาจากปฏิกิริยาทางเคมีที่ใหความรอนซึ่งเกิดขึ้นดวยตัวเองโดยไมเกิดการระเบิด

ของแข็งที่ลุกติดไฟไดงาย (Readily combustible solid) หมายถึง สารหรือสารผสมท่ีมีลักษณะเปนผง เปนเม็ด

หรือเปนครีม ที่เปนอันตรายถาสามารถลุกติดไฟไดงายโดยการสัมผัสกับแหลงกําเนิดประกายไฟเพียงระยะเวลา

ส้ันๆ เชน ไมขีดไฟที่กําลังลุกไหม และถาเปลวไฟลุกลามอยางรวดเร็ว

ขอแนะนําในการขนสงสินคาอันตราย: คูมือการทดสอบและเกณฑ (Recommendations on the Transport of Dangerous Goods, Manaul of Tests and Criteria) หมายถึง เอกสารภายใตหัวเร่ืองนี้ฉบับลาสุดที่ตีพิมพโดย

สหประชาชาติ และฉบับแกไข

ขอแนะนําในการขนสงสินคาอันตราย: ขอกําหนดตนแบบ (Recommendations on the Transport of Dangerous Goods, Modfel Regulations) หมายถึง เอกสารภายใตหัวเร่ืองนี้ฉบับลาสุดที่ตีพิมพโดยสหประชาชาติ

และฉบับแกไข

กาซเหลวที่อุณหภูมิต่ํา (Refrigerated liquefied gas) หมายถึง กาซซึ่งเม่ือถูกบรรจุจะเปนของเหลวบางสวน

เนื่องจากอุณหภูมของกาซตํ่า

สารที่ทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจ (Respiratory sensitizer) หมายถึง สารที่

กอใหเกิดภาวะภูมิไวเกิน (hypersensitivity of the airways) ของทางเดินหายใจหลังจากการหายใจเอาสารน้ีเขาไป

ขอกําหนด RID หมายถึง ขอกําหนดวาดวยการขนสงสินคาอันตรายระหวางประเทศโดยทางรถไฟ [Annex 1 to

Annex B(Uniform Rules concerning the Contract for International Carriage of Goods by Rail)(CIM) ของ COTIF

(Convention concerning international carriage by rail)] (ฉบับปรับปรุง)

ความสัมพันธระหวางโครงสรางและการออกฤทธ์ิของสาร (SAR: Structure Activity Relationship) เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีตามระบบ GHS (SDS: Safety Data Sheet)

Page 72: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

72

อุณหภูมิในการสลายตัวแบบเรงปฏิกิริยาเอง (SADT: Self-Accelerating Decomposition Temperature) หมายถึง อุณหภูมิตํ่าสุดที่การสลายตัวแบบเรงปฏิกิริยาเองอาจจะเกิดขึ้นกับสารในบรรจุภัณฑ

สารที่ใหความรอนเองได (Self-heating substance) หมายถึง สารที่อยูในสถานะของแข็งหรือของเหลว ที่ไมใช

สารที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ (pyrophoric substance) ซึ่ง (โดยการทําปฏิกิริยากับอากาศและไมตองมีแหลงพลังงานอื่นมาชวย) เส่ียงตอการใหความรอนดวยตัวเอง สารชนิดนี้แตกตางจากสารท่ีลุกติดไฟไดเองในลักษณะท่ี

จะลุกติดไฟไดเฉพาะเม่ือมีปริมาณมาก (กิโลกรัม) เทานั้น และตองใชเวลานานในการลุกติดไฟไดเอง (หลายช่ัวโมง

หรือหลายวัน)

สารที่ทําปฏิกิริยาไดเอง (Self-reactive substance) หมายถึง สารที่อยูในสถานะของเหลวหรือของแข็งที่ไมเสถียรทางความรอน เปนไปไดที่จะเกิดการแตกตัวโดยการคายความรอนอยางรุนแรง แมแตไมมีออกซิเจน (อากาศ) คํา

จํากัดความนี้ไมรวมถึงสารหรือสารผสมที่จําแนกภายใตระบบ GHS วาเปนวัตถุระเบิด เปอรออกไซดอินทรีย หรือ

สารออกซิไดส

อันตรายอยางรุนแรงตอดวงตา (Serious eye damage) หมายถึง การเกิดความเสียหายตอเนื้อเย่ือตา การ

สลายตัวทางกายภาพอยางรุนแรงตอการมองเห็นหลังจากไดรับสารที่สัมผัสกับเย่ือดานหนาของดวงตา อาการ

ทั้งหมดนี้ไมสามารถกลับสูสภาพเดิมได (fully reversible) ภายในเวลา 21 วันหลังการไดรับสัมผัสสารดังกลาว

คําสัญญาณ (Signal word) หมายถึง คําที่ใชบงชี้ระดับความรุนแรงของความเปนอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นไดและ

เตือนผูอานถึงความเปนอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดซึ่งปรากฎอยูบนฉลาก ระบบ GHS ใชคําวา ‘Danger หรือ

อันตราย’ ‘Warning หรือ ระวัง’ เปนคําสัญญาณ

การกัดกรอนทางผิวหนงั (Skin corrosion) หมายถึง การเกิดความเสียหายที่ไมสามารถกลับสูสภาพเดิมได

(irreversible damage) ตอผิวหนัง หลังจากการไดรับสัมผัสสารเปนเวลา 4 ชั่วโมง

การระคายเคืองตอผิวหนัง (Skin irritation) หมายถึง การเกิดความเสียหายที่สามารถกลับสูสภาพเดิมได

(reversible damage) ตอผิวหนัง หลังจากการไดรับสัมผัสสารเปนเวลา 4 ชั่วโมง

สารที่ทําใหไวตอการกระตุนอาการแพจากการไดสัมผัสทางผิวหนงั (Skin sensitizer) หมายถึง สารที่ทําให

ไวตอการกระตุนอาการแพหลังจากไดรับสัมผัสทางผิวหนัง ที่มีความหมายเดียวกับ “สารที่ทําใหไวตอการ

กระตุนอาการแพจากการไดสัมผัส” (Contact sensitizer) ของแข็ง (Solid) หมายถึง สารหรือสารผสมที่ไมเปนไปตามคําจํากัดความของเหลวหรือกาซ

ความสัมพันธระหวางโครงสรางและสมบัติของสาร (SPR: Structure Property Relationship) สารเดี่ยว (Substance) หมายถึง องคประกอบและสวนประกอบทางเคมีตามธรรมชาติหรือไดจากกระบวนการผลิตซ่ึงรวมถึงสารปรุงแตงที่ใชในการรักษาความเสถียรของผลิตภัณฑและส่ิงเจือปนใดๆ ที่ไดจากกระบวนการที่ใช

แตไมรวมถึงสารละลายท่ีอาจแยกตัวออกมาโดยไมมีผลตอความเสถียรของสารหรือทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง

สวนประกอบของสาร

สารที่สัมผัสกับน้ําใหกาซไวไฟ (Substance which, in contact with water, emits flammable gases) หมายถึง สารหรือสารผสมที่อยูในสถานะของแข็งหรือของเหลวที่เม่ือสัมผัสกับน้ําแลวมีความเปนไปไดที่จะกลายเปนสาร

ไวไฟไดเองหรือใหกาซไวไฟออกมาในปริมาณท่ีเปนอันตราย

องคประกอบเสริมของฉลาก (Supplement label element) หมายถึง ชนิดของขอมูลซึ่งเพิ่มเติมเขามาท่ีไมใช

ขอมูลภายใตระบบ GHS ติดที่ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑอันตรายซึ่งไมไดกําหนดหรือระบุไวในระบบ GHS ในบาง

Page 73: GHS university educational contentwebdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/.../3GHS_university... · GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) หมายถึง

73

กรณีขอมูลดังกลาวนี้อาจกําหนดใหมีโดยเจาหนาที่ผูมีอํานาจในสวนอื่นหรืออาจเปนขอมูลเพิ่มเติมโดยดุลยพินิจ

ของผูผลิต ผูจัดจําหนาย

สัญลักษณ (Symbol) หมายถึง องคประกอบที่เปนรูปภาพซ่ึงจัดทําขึ้นเพื่อส่ือขอมูลแบบยอ

ช่ือทางเทคนิค (Technical name) หมายถึง ชื่อที่ใชโดยทั่วไปในทางการคา กฎหมายหรือประมวลกฎหมายเพื่อ

ระบุสารหรือสารผสมที่ไมมีชื่อภายใต IUPAC หรือ CAS และช่ือที่ไดรับการรับรองโดยกลุมนักวิทยาศาสตร

ตัวอยางของชื่อทางเทคนิครวมถึงชื่อที่ใชสําหรับสารผสมที่ซับซอน (complex mixture) (เชน องคประกอบยอยของ

ปโตรเลียม (petroleum fraction) หรือผลิตภัณฑทางธรรมชาติ), สารกําจัดศัตรูพืช (pesticides) (เชน ระบบ ISO หรือ

ANSI) สียอม (dyestuffs) (Colour Index system)และแรธาตุ

ที่ประชุมสหประชาชาติวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา (UNCED: United Nations Conference on Environmental and Development) คณะกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงสหประชาชาติวาดวยการขนสงสินคาอันตรายและการจําแนกประเภท

การติดฉลากสารเคมีใหเปนระบบเดียวกันทั่วโลก (UNCETDG/GHS: United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods and on the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals) สถาบันเพ่ือการฝกอบรมและวิจัยแหงสหประชาชาติ (UNITAR: United Nations Institute for Training and Research) คณะอนุกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงสหประชาชาติวาดวยระบบการจําแนกประเภทและติดฉลาก

สารเคมีที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลก (UNSCEGHS: United Nations Sub-Committee of Experts on the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals) คณะอนุกรรมาธิการผูเช่ียวชาญแหงสหประชาชาติวาดวยการขนสงสินคาอันตราย (UNSCETDG: United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods)