kku engineering journal vol. 33 no.4 (391- 402) july ... for...

12
วิศวกรรมสาร มข. ปที33 ฉบับที4 (391- 402) กรกฎาคม - สิงหาคม 2549 KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July – August 2006 การจําลองสภาพการเกิดเงาบนหนาตางจาก อุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและแนวตั้งดวย คอมพิวเตอร * นุภาพ แยมไตรพัฒน 1) 1) อาจารย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จังหวัด กรุงเทพฯ 10530 Email : [email protected] บทคัดยอ บทความนี้นําเสนอการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรจําลองสภาพการเกิดเงาและการคํานวณพื้นทีเกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวตั้งและแนวนอน ผลจากการวิเคราะหดวยโปรแกรมถูก นํามาเปรียบเทียบกับผลการทดลองจากแบบจําลองอุปกรณบังแดดแบบยอสวน ชนิดแนวตั้งขนาด 20 x 10 cm 2 และชนิดแนวนอนขนาด 25x10 cm 2 ในชวงเวลาระหวาง 13.30-16.30 . จากการเปรียบเทียบ พื้นที่การเกิดเงาพบวามีความแตกตางกันประมาณ10% คาที่คํานวณไดจากโปรแกรมนี้สามารถนําไปใช หาคา สัมประสิทธิ์การบังแดด สําหรับใชในสมการคํานวณคา OTTV ของอาคารได คําสําคัญ : การเกิดเงา, อุปกรณบังแดด, โปรแกรมคอมพิวเตอร * รับตนฉบับเมื่อวันที16 มีนาคม 2549 และไดรับบทความฉบับแกไขเมื่อวันที13 มิถุนายน 2549

Upload: others

Post on 06-Nov-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

วิศวกรรมสาร มข. ปที่ 33 ฉบับที่ 4 (391- 402) กรกฎาคม - สิงหาคม 2549 KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July – August 2006

การจําลองสภาพการเกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและแนวตั้งดวย

คอมพิวเตอร *

นุภาพ แยมไตรพัฒน 1)

1) อาจารย ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จังหวัด กรุงเทพฯ 10530

Email : [email protected]

บทคัดยอ

บทความนี้นําเสนอการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรจาํลองสภาพการเกิดเงาและการคํานวณพ้ืนที่เกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวตัง้และแนวนอน ผลจากการวิเคราะหดวยโปรแกรมถูกนํามาเปรียบเทยีบกับผลการทดลองจากแบบจําลองอุปกรณบังแดดแบบยอสวน ชนดิแนวตั้งขนาด 20 x

10 cm2 และชนิดแนวนอนขนาด 25x10 cm2 ในชวงเวลาระหวาง 13.30-16.30 น. จากการเปรียบเทียบพ้ืนที่การเกิดเงาพบวามีความแตกตางกันประมาณ10% คาที่คํานวณไดจากโปรแกรมนี้สามารถนําไปใชหาคา สัมประสิทธิ์การบังแดด สําหรับใชในสมการคํานวณคา OTTV ของอาคารได

คําสําคัญ : การเกิดเงา, อุปกรณบังแดด, โปรแกรมคอมพิวเตอร

*

รับตนฉบับเมือ่วันที่ 16 มนีาคม 2549 และไดรับบทความฉบับแกไขเมื่อวันที่ 13 มถิุนายน 2549

Page 2: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

392 นุภาพ แยมไตรพัฒน

Computer simulation of shading profile on windows from overhang and fin

shading devices*

Nuparb Yamtraipat 1)

1) Lecture, Department of Mechanical Engineering, Faculty of Engineering, Mahanakorn University of Technology, Bangkok, 10530

Email: [email protected]

ABSTRACT

This paper presents the use of computer program to simulate shading profile and to calculate the shading area from the shading devices, which are fin type and overhang type. The results from the program were conducted to compare with the experiment. The shading device models of the 20 x 10 cm2 fin type and the 25 x 10 cm2 overhang type were used in the experiment during 1.30-4.30 PM. The compared results of shading area show that it was about 10% in difference. The obtainable values from this program could determine the shading coefficient value for solving the OTTV equation for buildings.

Keywords : Shading profile, Shading devices, Computer program

*

Original manucript submitted: March 16, 2006 and Final manucript received: June 13, 2006

Page 3: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

การจําลองสภาพการเกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและแนวตั้งดวยคอมพิวเตอร 393

บทนํา

ความรอนจากภายนอกที่เขาสูอาคารเกิดขึ้นไดหลายทางเชนการนําความรอนผานทางผนังภายนอก พ้ืนหลังคา การแผรังสีจากดวงอาทิตยโดยตรงผานพ้ืนที่โปรงแสงเชนหนาตาง และหลังคาโปรงแสง (Sky light) ความรอนเหลานี้มีผลทําใหเกิดภาระความรอนขึ้นภายในอาคาร สงผลกระทบโดยตรงตอการใชพลังงานไฟฟาของระบบปรับอากาศ หากพิจารณาเฉพาะในสวนของหนาตางอาคาร ความรอนจากภายนอกสามารถผานเขามาไดโดย

- การนําความรอนผานทางกระจก เนื่องจากความแตกตางของอุณหภูมิระหวางภายในและภายนอกอาคาร การปองกันความรอนโดยวิธีนี้อาจทําไดยากเนื่องจากประเทศไทยมีอุณหภูมิเฉล่ียของอากาศภายนอกอาคารคอนขางสูงทั้งป การเพิ่มอุณหภูมิภายในอาคารเพื่อใหความแตกตางของอุณหภูมินอยลงอาจจะกระทบตอสภาวะสบายเชิงความรอนของคนในอาคาร

- การแผรังสีความรอนจากดวงอาทิตยหรือทองฟา ที่ตกกระทบหนาตางโดยตรง การลดปริมาณความรอนในสวนนี้ทําไดงายกวาวิธีแรก และมีแนวทางปองกันไดหลายวิธี เชน การใชกระจกติดฟลม การติดตั้งกระจกแบบสองชั้น หรือการติดอุปกรณบังแดดจากภายนอก (Passive solar shading)

ปริมาณความรอนที่เขามาทางหนาตางขึ้นอยูกับ 3 องคประกอบหลักคือ 1) ขนาดของพื้นที่กระจกที่ถูกแสงอาทิตยสอง 2) ตําแหนงและทิศทางของอาคาร 3) คาสัมประสิทธิ์การบังแดดของหนาตาง (Shading Coefficient ; SC) ซึ่งองคประกอบนี้เกี่ยวของกับการใชอุปกรณบังแดดภายนอกหนาตางที่ทําไดหลายวิธี เชน การติดตั้งผาใบบังแดด (Awnings) การติดบานเกล็ด (Louvers) และกันสาดเปนตน จากที่กลาวมาทั้งหมดนี้องคประกอบสุดทายเปนวิธีการควบคุมปริมาณความรอนเขามาทางหนาตางที่ทําไดงายที่สุด โดยเฉพาะอาคารที่ปลูกสรางไปแลว การออกแบบอุปกรณบังแดดที่ดีจะทําใหไดคา SC ตํ่า ความรอนรับที่ผานเขามาจะนอยลง เนื่องจากวา เมื่อรังสีอาทิตยกระทบหนาตางที่มีอุปกรณบังแดด พ้ืนที่บริเวณที่เกิดเงาจะไดรับพลังงานจากรังสีกระจายเทานั้น ในขณะที่บริเวณที่ไมเกิดเงาจะไดรับพลังงานทั้งจากรังสีตรงและรังสีกระจาย ดงันั้นหากมีสวนของพ้ืนที่เกิดเงาบนหนาตางมากเทาใดจะทําใหพลังงานรวมจากรังสีอาทิตยที่สงผานเขามานอยลงหรือกลาวไดวาคา SC ลดลง

ในการคํานวณคา SC จําเปนตองทราบ พ้ืนที่ในสวนที่เกิดเงาและไมเกิดเงา ซึ่งจะแปรเปล่ียนไปตามเวลาที่ดวงอาทิตยเคล่ือนที่ตลอดเวลา ดังนั้นคา SC จึงมีคาไมคงที่ในแตละวัน การคํานวณอยางละเอียดแมนยําอาจดูยุงยาก ในการคํานวณแบบงายจึงนิยมใชเปนคาเฉล่ียตลอดทั้งป คาที่ไดนี้จะถูกนํามาใช รวมกับคาการแผรังสีอาทิตย (Chirarattananon S., et al., 1989) ในสมการการคํานวณคาการถายเทความรอนรวมของอาคาร (Overall Thermal Transfer Value; OTTV) ในลําดับตอไป (Vechaphutti, T., 1989)

บทความวิจัยนี้ตองการนําเสนอการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเขามาชวยในการคํานวณพื้นที่เกิดเงา และจําลองสภาพของลักษณะเงาที่เกิดขึ้นบนหนาตางในชวงเวลาตางๆของวัน ในจังหวัดกรุงเทพฯ โดยงานวิจัยนี้จะศึกษาจากแบบจําลองอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอน (Overhang type) และชนิดแนวตั้ง (Fin type) การวิจัยจะเริ่มตนจากการใชขอมูลจากแบบจําลองทางคณิตศาสตรและสมการ

Page 4: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

394 นุภาพ แยมไตรพัฒน

คํานวณการเกิดเงาบนระนาบของงานวิจัยที่ผานมา (Budin, R. and Budin, L., 1982),

(Chirarattananon, S., 1985) จากนั้นนําไปเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรประมวลผลเพื่อคํานวณพื้นที่เกิดเงาและจําลองภาพของเงาได แลวนํามาตรวจสอบเปรียบเทียบกับผลการทดลองจริง ประโยชนที่จะไดจากงานวิจัยนี้สามารถใชเปนแนวทางในการออกแบบอุปกรณบังแดดที่เหมาะสม และคาพ้ืนที่เงาที่คํานวณไดสามารถนําไปหาคาสัมประสิทธิ์การบังแดดของหนาตาง (SC) ไดทุกชวงเวลา เพ่ือใหการคํานวณคาการถายเทความรอนรวมของอาคาร (OTTV) มีความละเอียดแมนยําขึ้น โดยสมการและวิธีการคํานวณคา OTTV จะไมขอกลาวถึงในบทความวิจัยนี ้

งานวิจัยที่ผานมา (รวี สุวนาคกุล, 2541) ไดศึกษาแบบจําลองทางคณิตศาสตรของอุปกรณบังแดดแบบแนวนอน ดวยโปรแกรม Visual Basic แตงานวิจัยจะคํานวณพื้นที่เกิดเงาเทานั้นไมไดจําลองภาพการเกิดเงาดวยโปรแกรม งานวิจัยลาสุด (นุภาพ แยมไตรพัฒน, 2548) ไดทําการศึกษาลักษณะเดียวกันแตเปนอุปกรณบังแดดชนิดผสม (Egg crate)

ทฤษฎีและสมการที่เก่ียวของ

การพิจารณาตําแหนงเงาบนระนาบเอียงใดๆ ของจุด P ตามรูปที่ 1 นั้น จะวิเคราะหแบบเวคเตอรบนพิกัดของระนาบ x (ขนานกับพ้ืน) และ y (ระนาบเอียง) โดยใชความสัมพันธระหวางเวคเตอรหนึ่งหนวยของระนาบเอียงใดๆ, เวคเตอรหนึ่งหนวยแสดงตําแหนงดวงอาทิตย และเวคเตอรตําแหนงของจุดที่ทําใหเกิดเงา แลวนํามาสรางเปนสมการทางคณิตศาสตรเพ่ือหาพิกัดของเงา โดยมีสมการที่เกี่ยวของดังนี้

รูปที่ 1 เวคเตอรในการคํานวณเงา

Zenith

P

x1

x2

x3

y3

y2

pyuuv

syuuv

Page 5: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

การจําลองสภาพการเกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและแนวตั้งดวยคอมพิวเตอร 395

- การคํานวณพิกัดของเงาบนระนาบใดๆ

p y

s p ss y

y vy y v

v v⎡ ⎤⋅

= − ⋅⎢ ⎥⋅⎢ ⎥⎣ ⎦

v vv v v

v v (1)

เมื่อ syv = เวคเตอรของจุดเกิดเงาบนระนาบเอียง

pyv = เวคเตอรของจุดที่จะทําใหเกิดเงา

svv = เวคเตอรหนึ่งหนวยแสดงตําแหนงดวงอาทิตย yvv = เวคเตอรหนึ่งหนวยของระนาบ - พิจารณาบน x - coordinate

s

s

sin α-cos α sin γ-cos α cos γ

s

v

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

v (2)

cos β-sin β sin γ -sin β cos γ

yv ⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

v (3)

= cos θy sv v⋅v v (4)

เมื่อ θ : มุมตกกระทบระหวางแนว svv และ yvv β : มุม tilt angle = 90o (กรณีระนาบตั้งฉาก) γ : มุม plane azimuth

γs : มุม solar azimuth

α : มุม elevation (หรือ altitude) - สมการแปลงเวคเตอรจาก x เปน y – coordinate

= AXYy xv v (5)

1

2 2

3 3

cos β -sin γ sin β -cos γ sin β0 cosγ -sin γsin β sin γ cos β cos γ cos β

1y xy xy x

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦⎣ ⎦ ⎣ ⎦

(6)

โดยที่ AXY : Transform matrix

Page 6: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

396 นุภาพ แยมไตรพัฒน

- การหามุม solar azimuth

scos δ sin ωsin γ =

cos

φ (7)

- การหามุม elevation sin α = cos cos δ cos ω + sin sin δφ φ (8)

เมื่อ φ : มุมเสนรุง (กรุงเทพฯ = + 13.7 o)

δ : มุม declination

δ = 28423.45 360

365+n sin ⎡ ⎤⎛ ⎞

⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠⎣ ⎦ (9)

n : ลําดับที่ของวันในรอบป ω : มุมชั่วโมง (hour angle) ω = 15 (Solar time – 12) (10) - จากสมการมุมชั่วโมง ตองแปลงเวลามาตรฐานทองถ่ินที่กําหนดใหเปน Solar time Solar time = Standard time + 4(Lst – Lloc) + E (11) โดยที่ Standard time = เวลาตามมาตรฐานทองถ่ิน (ประเทศไทยใชจังหวัดอุบลราชธานีเปนเวลามาตรฐาน) Lst = -105.0 o (เสนแวงอุบล) Lloc= -100.5 o (เสนแวงกรุงเทพฯ) E = 9.87 sin2B – 7.53 cosB – 1.5 sinB (12) เมื่อ

( )360 81B

365

n- = (13)

การดําเนินการทดลอง

การเขียนโปรแกรม งานวิจัยนี้เลือกใชโปรแกรม MATLAB เริ่มโดยการเขียน Source code โปรแกรมจากแบบจําลองทางคณิตศาสตรและสมการคํานวณ ตามที่แสดงในผังการทํางานรูปที่ 2 สําหรับการประมวลผล เริ่มโดยการปอนคา ตัวแปร input ไดแก วันที่, เดือน (แปลงใหเปนคา n) และเวลา(มาตรฐาน) ที่ตองการคํานวณ โดยกําหนดชวงเวลาใหโปรแกรมคํานวณไดระหวาง 12.00 -18.00น.

จากนั้นใสคาขนาดของอุปกรณบังแดดซึ่งจะใชคาเปนพิกัด (จุดที่จะทําใหเกิดเงา)จากแกนอางอิง

Page 7: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

การจําลองสภาพการเกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและแนวตั้งดวยคอมพิวเตอร 397

ตอจากนั้นโปรแกรมจะคํานวณหาพิกัดของจุดเกิดเงาบนผนังและนําคาไปคํานวณพื้นที่การเกิดเงารวมทั้งหมดและพ้ืนที่เงาที่ตกบนหนาตาง สําหรับ output จะแสดงคาที่คํานวณไดเปนตัวเลข และแสดงภาพเงาที่เกิดขึ้นบนกราฟ

START

CALCULATEDeclination Angle

CALCULATEHour Angle, Evaluation AngleX-Coordinate, Y-Coordinate

CALCULATEArea, Plot graph

End

INPUTn, coordinate of shading

Shading Point, Area, Plot

รูปที่ 2 Flow chart ของโปรแกรม

การสรางอุปกรณบังแดดจําลอง

อุปกรณบังแดดจําลองทําขึ้นจากพลาสติกแข็งยึดติดกับแผงไมที่สมมติเปนผนังอาคาร (แสดงในรูป 3) โดยแผงไมนี้จะมีสเกลกระดาษกราฟสําหรับบอกพิกัดของเงาที่จะเกิดขึ้น เพ่ือใหงายตอการคํานวณพื้นที่เงาจริง หนาตางจําลองบนแผงไมมีขนาด กวาง 25 cm x สูง 20 cm อุปกรณบังแดดแบบแนวนอนมีขนาด 25 cm x 10 cm อุปกรณบังแดดแบบแนวตั้งมีขนาด 20 cm x 10 cm

วิธีการทดลอง

ในการทดลองไดนําแผงอุปกรณไปวางบนดาดฟาอาคารแหงหนึ่งในจังหวัดกรุงเทพฯ โดยหันหนาไปทางเดียวกับอาคารดานทิศตะวันตกทํามุม plane azimuth (γ) = 92o คานี้ไดจากการวัดพิกัดดังแสดงในรูปที่ 4 การทดลองครั้งนี้ทําในชวงเวลา 13.30-16.30 น. (ตามเวลามาตรฐานทองถ่ินประเทศไทย) ระหวางเดือน มกราคม – มีนาคม ในการทดลองแตละครั้งจะทําการพล็อตตําแหนงจุดพิกัดเงาที่เกิดขึ้นบนแผงทดลอง 2 จุดปลายของอุปกรณบังแดด โดยเก็บขอมูลทุกครึ่งชั่วโมง (แสดงในรูปที่ 5) เสร็จแลวก็นําไปคํานวณหาพื้นที่เงาที่เกิดขึ้นจริงบนแผงทดลอง

Page 8: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

398 นุภาพ แยมไตรพัฒน

รูปที่ 3 ลักษณะแผงทดลอง

รูปที่ 4 การหาทิศของอาคารและกําหนดตําแหนงทดลอง

รูปที่ 5 วิธีการกําหนดพิกัดเงาบนแผงทดลอง

25

20

10

Page 9: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

การจําลองสภาพการเกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและแนวตั้งดวยคอมพิวเตอร 399

ผลการทดลอง

ผลการทดลองจากแบบจําลอง

ในรูปที่ 6 a) เปนตัวอยางผลการทดลองของอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนวันที่ 8/2/2548 เวลา

14.30 น. จากผลการทดลองคํานวณคาพ้ืนที่เงาที่เกิดขึ้นทั้งหมดประมาณ 425.0 cm2 พ้ืนที่เงาในสวนของหนาตาง 325.10 cm2 ในรูปที่ 6 b) เปนผลการทดลองของอุปกรณบังแดดชนิดแนวตั้งวันที่ 8/2/48

เวลา 14.31 น. จากการคํานวณคาพ้ืนที่เงาที่เกิดขึ้นทั้งหมดประมาณ 220.0 cm2 พ้ืนที่เงาในสวนของหนาตาง 117.90 cm2

a) b) รูปที่ 6 ผลการทดลองอุปกรณบังแดด a) ชนิดแนวนอน b) ชนิดแนวตั้ง

ผลการทดลองจากการใชโปรแกรม

ในรูปที่ 7a) เปนผลการคํานวณพื้นที่การเกิดเงาและการจําลองภาพการเกิดเงาของอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนดวยโปรแกรมเปรียบเทียบผลการทดลองในรูปที่ 6a) ซึ่งเปนวันและเวลาเดียวกัน โดยโปรแกรมสามารถคํานวณพื้นที่เงาทั้งหมดได 469.71 cm2 พ้ืนที่เงาบนหนาตาง 359.26 cm2 สวนในรูปที่ 7 b) เปนผลคํานวณจากโปรแกรมของอุปกรณบังแดดชนิดแนวตั้ง เปรียบเทียบกับผลการทดลองในรูปที่ 6 b) ผลการคํานวณพื้นที่เงารวมคือ 233.77 cm2 พ้ืนที่เงาบนหนาตาง 124.72 cm2 จากการเปรียบเทียบผลการคํานวณพื้นที่เงารวมจากโปรแกรมกับการทดลองพบวามีคาความคลาดเคลื่อนเฉล่ียประมาณ 9.5 % ในกรณีอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและ 5.89 % ของอุปกรณบังแดดชนิดแนวตั้ง

Page 10: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

400 นุภาพ แยมไตรพัฒน

a) b)

รูปที่ 7 ภาพจากโปรแกรมของอุปกรณบังแดด a) ชนิด แนวนอน b) ชนิดแนวตั้ง

ผลการทดลองทั้งหมดที่บันทึกคาไดถูกนํามาเปรียบเทียบกับผลจากโปรแกรมเพื่อดูคาเฉล่ียความคลาดเคลื่อนแสดงในกราฟรูปที่ 8 และ 9 ซึ่งทําใหเห็นวามีความคลาดเคลื่อนอยูบาง แมวาการทดลองไดทําอยางระมัดระวังแลว ซึ่งสาเหตุมาจากความคลาดเคลื่อนจากการกําหนดพิกัดแผงทดลองที่ไมสามารถทําไดแมนยํา ความคลาดเคลื่อนจากลักษณะของขอบเงาที่ทอดยาวโดยเฉพาะชวงบายโมงครึ่ง ทําใหการพล็อตพิกัดอาจไมตรงจุดจริง ซึ่งเมื่อคํานวณพื้นที่เงาออกมาแลวจะทําใหคาผิดพลาดเมื่อเทียบกับการใชโปรแกรมคํานวณ แตลักษณะรูปรางและทิศทางของเงาที่เกิดขึ้นเหมือนกัน

Page 11: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

การจําลองสภาพการเกิดเงาบนหนาตางจากอุปกรณบังแดดชนิดแนวนอนและแนวตั้งดวยคอมพิวเตอร 401

0200400600800

10001200140016001800

13.00 14.00 15.00 16.00 17.00

เวลา

พื้นที่เงารวม

(cm

2 )คาจากการทดลองคาจากโปรแกรมExpon. (คาจากโปรแกรม)Expon. (คาจากการทดลอง)

รูปที่ 8 เปรียบเทยีบผลของอปุกรณบังแดดชนิดแนวนอน

0

100

200

300

400

500

600

700

13.00 14.00 15.00 16.00 17.00

เวลา

พื้นที่เงารวม

(cm

2 )

คาจากการทดลองคาจากโปรแกรมExpon. (คาจากโปรแกรม)Expon. (คาจากการทดลอง)

รูปที่ 9 เปรียบเทยีบผลของอปุกรณบังแดดชนิดแนวตั้ง

สรุป

โปรแกรมคอมพิวเตอรนี้ สามารถจําลองภาพลักษณะของเงาของอุปกรณบังแดดชนิดแนวตั้งและแนวนอนที่เกิดขึ้นบนผนังและหนาตางได จากการเปรียบเทียบผลการคํานวณพื้นที่เงาระหวางโปรแกรมที่สรางจากแบบจําลองสมการทางคณิตศาสตรและจากผลการทดลอง พบวามีความ

Page 12: KKU Engineering Journal Vol. 33 No.4 (391- 402) July ... for ThaiScience/Article/62/10026811.pdfพื้นที่การเกิดเงาพบว ามีความแตกต

402 นุภาพ แยมไตรพัฒน

คลาดเคลื่อนกัน ซึ่งเปนผลมาจากการทดลอง คาพ้ืนที่เงาที่ไดนี้สามารถนําไปใชคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์การบังแดดเพื่อนําไปสูการคํานวณคา OTTV ของอาคารในลําดับตอไป นอกจากนั้นประโยชนที่ไดจากโปรแกรมนี้ยังสามารถใชศึกษาลักษณะของเงาที่เกิดขึ้นเวลาตางๆในรอบปได เพ่ือเปนแนวทางในการออกแบบอุปกรณบังแดดใหเหมาะสมกับอาคาร สําหรับขอจํากัดของโปรแกรมในงานวิจัยนี้คือสามารถใชศึกษาไดเฉพาะอาคารที่ต้ังอยูในจังหวัดกรุงเทพเทานั้น

เอกสารอางอิง

Budin, R. and Budin, L. 1982. A Mathematical Model for Shading Calculations. Solar Energy. 29: 339-349.

Chirarattananon, S., 1985. Shading of Solar Radiation on Building. Proceedings ASEAN Conference on Energy Conservation, 21-22 October 1985 Chiangmai, Thailand. 170-

176. Chirarattananon, S., Rakwamsuk, P., Kaewkiew, J.,1989. A Proposed Building

Performance standard for Thailand : An Introduction and Preliminary Assessment of the Potential for Energy Management. Far East Conference on Air Conditioning in Hot Climates, Kuala Lumpur, Malaysia. 1-24.

Vechaphutti, T., 1989. Overall Thermal Transfer Values (OTTV) for Thailand. Energy and Buildings. 129-133. นุภาพ แยมไตรพัฒน, 2548. การวิเคราะหพื้นท่ีเกิดเงาบนหนาตางของอุปกรณบังแดดโดยใช โปรแกรม คอมพิวเตอรรวมกับแบบจําลอง. บทความการประชุมเชิงวิชาการเครือขาย\

พลังงานแหงประเทศไทยครั้งที่ 1. 11-13 พค 2548., จ.ชลบุร.ี 255-258.

รวี สุวนาคกุล, 2541. การพัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตรของอุปกรณบังแดดภายนอก ชนิดแนวนอนสําหรับอาคารบานพักอาศัยในประเทศไทย. วิทยานิพนธปริญญาวิทยา

ศาสตรมหาบัณฑิต, สายวิชาเทคโนโลยีการจัดการพลังงาน คณะพลังงานและวัสดุมหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.