maritime transport and logistics-8!9!54

48
LOGISTICS MANAGEMENT ¾ กระบวนการโลกาภิวัตน์ (Globalization Process) ตลาดโลกาภิวัตน์ (Globalization of Markets ) การผลิตโลกาภิวัตน์ (Globalization of Production ) ตัวขับเคลื่อนโลกาภิวัตน์ (Drivers of Globalization ) Why do we need logistics Management? S.Boontaveeyuwat

Upload: polsongkram-dheerabhat

Post on 03-Mar-2015

234 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

LOGISTICS MANAGEMENT

กระบวนการโลกาภวิัตน์

(Globalization Process)

• ตลาดโลกาภิวัตน์ (Globalization of Markets )

• การผลิตโลกาภิวัตน์ (Globalization of Production )

• ตัวขับเคลื่อนโลกาภิวตัน์ (Drivers of Globalization )

Why do we need logistics Management?

S.Boontaveeyuwat

Page 2: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

บทบาทโลจิสตกิสและซัพพลายเชนในกระบวนการโลกาภิวัตน

(Roles of Logistics and Supply Chain in Globalization Process)

การผลิตที่มีประสิทธิภาพในปจจุบันใชระบบ Just-in-Time Inventory

การสงมอบสินคาที่รวดเร็วและสม่ําเสมอชวยใหลูกคาลดตนทุน

สินคาคงคลัง

การจัดการโลจิสตกิสและซัพพลายเชนที่มีประสิทธิภาพดังกลาว

สามารถทําใหตนทุนโลจิสตกิสลดลงและระดับบริการลูกคาสูงขึ้น

S.Boontaveeyuwat

Page 3: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ตัวอยางการประมวลคําสั่งซื้อ (Order Processing)

การสงคําสั่งซื้อใชเวลาเฉลี่ย 3 วันการบันทึกคําสั่งซื้อใชเวลาเฉลี่ย 1 วันการประมวลคําสั่งซื้อใชเวลาเฉลี่ย 5 วันการหยิบและหีบหอใชเวลาเฉลี่ย 3 วันการขนสงสินคาใชเวลาเฉลี่ย 4 วันการสงมอบสินคาใชเวลาเฉลี่ย 1 วันรวมเวลาเฉลี่ย 17 วัน

S.Boontaveeyuwat

Page 4: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การประมวลคําสั่งซื้อ (Order Processing) ที่ 17 วัน โดย

ลูกคาขายสินคาไดวันละ 20 หนวย

Page 5: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การประมวลคําสั่งซื้อ (Order Processing) ที่ 10 วันโดย

ลูกคาขายสินคาไดวันละ 20 หนวยเทาเดิม

Page 6: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

กิจกรรมโลจิสติกส : Logistics Activities

Source: Eric N Berkowitz (1992), Marketing, Page 406

Page 7: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

โลจิสตกิสขาเขาไดแก การจัดหา (Procurement) หรือการจัดซื้อ (Purchasing) การขนสง วัสดุคงคลัง

กิจกรรมโลจิสตกิสของบริษัทจะประกอบดวย 2 สวนหลัก

โลจิสตกิสขาออกไดแก การประมวลคําสั่งซื้อ (Order Processing) สินคาคงคลัง (Inventory, Raw Materials) การคลังสินคา (Warehousing, After Producing) การ

เคลื่อนยายสินคา (Materials Handling) บรรจุภัณฑ

อุตสาหกรรม (Industrial Packaging) การขนสง

(Transportation) และการบริการลูกคา (Customer Service)

Page 8: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การขนสง (Transportation)

เปนกจิกรรมทางโลจิสตกิสที่สําคัญทั้งดานตนทุนและระดับการ

บริการของลูกคา

การขนสงมีหลายรูปแบบ ซึ่งการเลือกวิธกีารขนสงนัน้มี

ความสําคัญมากทั้งแบบการขนสงตรง Direct Transport แบบ

Cross-Dock และ แบบ Milk Runs

การพิจารณาเลือกผูใหบริการการขนสงจะเลือกจากความสามารถ

ในการใหบริการที่สม่ําเสมอ (Consistency) และเชื่อถือได (Dependability)

Page 9: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การออกแบบการขนสง : TRANSPORTATION DESIGN

การขนสงตรง : Direct Shipment

ขอดี : ไมตองใชคลังสินคา รวดเร็ว ระยะทางขนสงสั้น

Page 10: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การออกแบบการขนสง : TRANSPORTATION DESIGN

การขนสงตรงแบบ Milk Runs : Direct Shipment with Milk Runs ประกอบดวย การขนสงตรงแบบรวบรวมสินคาจากผูผลิตหลายราย

ไปใหลูกคารายเดียว (Model A) การขนสงตรงจากโรงงานไปใหลูกคาหลายราย

( Model B) และ การขนสงตรงแบบรวมสินคา จากผูผลิตหลายรายไปใหลูกคา

หลายราย (Model C)

Model A

Page 11: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การออกแบบการขนสง : TRANSPORTATION DESIGN

Model B

A X

Y

Z

B

C

Producers Customers

Model C

Page 12: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การขนสงแบบใชศูนยกระจายเปนจุดผาน : TRANSPORTATION WITH CROSS DOCKING

- ลดสินคาคงคลัง

- ลดคาใชจายในการเก็บรักษา

- ลดคายกขนสินคา

- สินคาเคลื่อนไหวเร็ว

Page 13: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การออกแบบขนสงตามขนาดลูกคา : Transportation Design by Size of Customer

- ลูกคารายใหญที่ซื้อสินคามากควรใชการขนสงแบบตรงแบบเต็มคันรถ (direct shipment)

- ลูกคารายเล็กที่ซื้อสินคาไมเต็มคันรถใชวิธีรวมสินคาไปในรถคนัเดียวกันแบบ

milk runs

- คาขนสงลูกคารายใหญหรือรายเล็กใชอัตราเดียวกัน

- แนวทางปฏิบัติบริษัทตองกําหนดระดับบริการที่เหมาะสมกับลูกคา

Page 14: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

สินคาคงคลัง (Inventory)

เปนกจิกรรมทางโลจิสตกิสที่สําคัญประกอบดวยวัสดุคงคลังและ

สินคาคงคลังสําเร็จรูป สินคาคงคลังมีความสําคัญ 2 ประการคือ

เปนกจิกรรมที่ใชทรัพยากรบริษัทมาก ไดแก เงินทุน ที่เก็บรักษาและ

พนักงาน และความพึงพอใจของลูกคา

ตนทนุสินคาคงคลังประกอบดวย เงินทุนที่จมอยูในสินคา คาเกบ็

รักษา คาสินคาหมดสมัย คาประกนัภัย คาสินคาเสื่อมสภาพหรือการ

ขาดจํานวนและภาษี

ระดับสินคาคงคลังเกีย่วของกับการผลิตแบบ Lean Production หรือ mass Production รูปแบบการขนสง

วิธีการขนสง นโยบายคลังสินคา และระดับบริการลูกคา

Page 15: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การคลังสินคา (Warehousing)

ใชเกบ็รักษาคลังสินคา เมื่ออุปสงคและอุปทานไมสอดคลองกัน

วัสดุมีตามฤดูกาล อุปสงคตามฤดูกาล ความไมแนนอนการขนสง

ปริมาณการซื้อและการขนสงที่ประหยัด การใหบริการเพิ่มคุณคา

(Value-Added Services)

การมีคลังสินคามากจะลดคาใชจายการขนสง แตตนทุนสินคาคง

คลังจะสูง แนวโนมในปจจุบันคือบริษัทพยายามจะลดจาํนวน

คลังสินคาและมาลงทุนคลังสินคากลาง (Central Warehouse) ขนาดใหญ

Page 16: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การเคลื่อนยายสินคา (Material Handling)

กิจกรรมนี้ครอบคลุมการเคลื่อนยายสินคาในโรงงาน

ประสิทธิภาพการเคลื่อนยายเกีย่วของกับการออกแบบคลังสินคา ผัง

การจัดเก็บและอุปกรณจัดเก็บสินคา อุปกรณเคลื่อนยายสินคา

ประกอบ

หลักการเลือกอุปกรณเคลื่อนยายที่สําคัญไดแก อุปกรณมีน้ําหนัก

เบาแตยกสินคาไดมาก ขณะยกสินคาสามารถเคลื่อนที่ไดและใช

พื้นที่เดินทางนอย

การเคลื่อนยายสินคาตองหลีกเลี่ยงการยกซ้ําซอน เคลื่อนยายใน

ระยะทางสั้นที่สุดและใชอุปกรณเคลื่อนยายใหไดประโยชนสูงที่สุด

Page 17: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

บรรจุภัณฑ (Packaging)

เนนใหความสําคัญกับการดึงดูดของลูกคาเนนที่ขนาดและสีสัน

ในแงของโลจิสตกิสมุงการใชระวางบรรทุก ชั้นวางของและ

อุปกรณเคลื่อนยายใหเกดิประโยชนสูงสุดและปลอดภัยจากการ

เสียหายโดยบรรจุลงในกลอง ลัง หรือหอดวยแผนฟลม

ในการเคลื่อนยายหรือจัดเก็บโดยทั่วไปจะนาํสินคามาวางไวใน

แครรองสินคาที่เรียกวา Pallet

Page 18: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การบริการลูกคา (Customer Service)

ความพึงพอใจของลูกคาประกอบดวย “5 Rights” คือ Right Products, Right Place, Right Time, Right Condition

และ Right Cost

บริษัทตองมีสินคาที่ลูกคาตองการ ในเวลาและสถานที่ที่ลูกคา

ตองการ การสงมอบสินคาตองมีความถูกตองและอยูในสภาพ

สมบูรณ และบริษัทตองบูรณาการกิจกรรมโลจิสติกสเพื่อใหได

ตนทนุต่าํสุด

Page 19: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

โลจิสติกสทางการทหาร (Military Logistics)

Logistics Revolution (วิวัฒนาการโลจิสตกิส)

โลจิสติกสมีการศึกษาครั้งแรกเมื่อกลางทศวรรษ 1910 ตาํราดานโลจิสตกิสมีการออกพิมพจําหนายเมื่อตนทศวรรษ 1960

พันตรี Chauncey B. Baker อธิบาย Logistics วาเปน

วิทยาการแขนงหนึ่งของการทําสงครามซึ่งเกี่ยวกับการเคลื่อนยาย

และการสนับสนุนกองทัพ

เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝายพันธมิตรรบชนะดวยการจัดการ

โลจิกสติกสที่มีประสิทธิภาพ

S.Boontaveeyuwat

Page 20: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ยุคที่ 1 การกระจายสินคา Physical Distribution (1960-1970)

การศึกษาวิชาการโลจิสติกส : The Study of Logistics

วิวัฒนาการโลจิสติกสอาจแบงออกเปน 3 ยุค

บริษัทมุงความสนใจไปที่การกระจายสินคา ไดแก การขนสง

คลังสินคา บรรจุภัณฑ การยกขนสินคาและการสงมอบสินคา

ผลิตสินคาหลายหลายชนิด ทําใหประสบปญหาตนทุนสินคาคง

คลังสูง

บริษัทตระหนักถึง ปฏิสัมพันธ (Interaction) ของตนทุนการขนสงและตนทุนสินคาคงคลัง

S.Boontaveeyuwat

Page 21: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ยุคที่ 2 การจัดการโลจิสตกิสแบบบูรณาการ : Integrated Logistics Management (1970-1980)

การศึกษาวิชาการโลจิสติกส : The Study of Logistics

วิวัฒนาการโลจิสติกสอาจแบงออกเปน 3 ยุค

บริษัทผนวกงานดานขาเขาและขาออกเรียกวา Business Logistics ภายใตผูบริหารคนเดียวทําใหมีอํานาจในการตอรองกับ

ผูใหบริการขนสง

โลจิสติกสขาเขาที่ถูกเพิ่มเขามาไดแก การจัดซื้อ การขนสง การ

ตรวจรับ วัสดุคงคลัง และการเก็บรักษา

Page 22: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ยุคที่ 2 (ตอ) การจัดการโลจิสตกิสแบบบูรณาการ : Integrated Logistics Management (1970-1980)

การศึกษาวิชาการโลจิสติกส : The Study of Logistics

การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการขนสงใหรวดเร็วยิ่งขึ้น และสินคา

ไดรับความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น

การแขงขันระหวางประเทศ (Global Competition)ทําใหบริษัทหาวิธีลดตนทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน

โดยมีการนําหลักการ Just-in-Time (JIT) มาใช หลักการนี้จะไมมี

สินคาคงคลัง (Zero Inventory)

ปจจัยทางเศรษฐกิจชะลอตัวเนื่องจากราคาพลังงานและอัตรา

ดอกเบี้ยที่สูงขึ้น

Page 23: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ยุคที่ 3 การจัดการซัพพลายเชน : (Supply Chain Management) (1980-1990)

การศึกษาวิชาการโลจิสติกส : The Study of Logistics

บริษัทจะกระทําการเพื่อใหตนทุนรวมตลอดเสนทางเดนิของวัสดุ

และสินคาตัง้แตจดุเริ่มตนจนถึงจุดบริโภคมีประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลเรียกวา ซัพพลายเชน (Supply Chain) โดยมีการ

ขยายกระบวนการโลจิสติกสครอบคลุมไปถึงบริษัทภายนอกเพื่อให

กระบวนการซัพพลายเชนมีประสิทธิภาพและสรางความพึงพอใจ

ใหลูกคามากที่สุด

Page 24: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ยุคที่ 3 (ตอ) การจัดการซัพพลายเชน : (Supply Chain Management)

การศึกษาวิชาการโลจิสติกส : The Study of Logistics

• ปจจัยที่กดดันใหบริษัทตองขยายระบบโลจิสตกิสไปสูระบบซัพพลายเชน ไดแก

• การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค

• โลกาภิวัฒนทางเศรษฐกิจและตลาด

• การเปลี่ยนแปลงปรัชญาการจัดการวัสดุ

• การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ

• นโยบายรัฐบาลและการผอนคลายกฎระเบียบ

Page 25: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

นิยามของโลจิสตกิส ของ สภาการจัดการโลจิสตกิสแหง

สหรัฐอเมริกา (Council of Logistics Management : CLM)

แนวคิดการจัดการโลจิสตกิสและซัพพลายเชน : Logistics and Supply Chain Concepts

“Logistics is the part of the supply chain process that plans, implements and control the efficient, effective flow and storage of goods, services and related information from the point of origin to the point of consumption in order to meet customers’ requirements”

Page 26: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

นิยามของโลจิสตกิส ของ สภาการจัดการโลจิสตกิสแหง

สหรัฐอเมริกา (Council of Logistics Management : CLM)

แนวคิดการจัดการโลจิสตกิสและซัพพลายเชน : Logistics and Supply Chain Concepts

“โลจิสติกสคือสวนของกระบวนการซัพพลายเชนที่เปนแผนการปฏิบัตติามแผนและการควบคุมการเคลื่อนยายและเกบ็รักษาสินคา

บริการและสารสนเทศที่เกี่ยวของจากจดุเริ่มตนจนถึงจุดบริโภค

เพื่อใหเปนไปตามความตองการของลูกคาอยางมีประสิทธิภาพ ”

Page 27: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ซัพพลายเชนเปนเรื่องการเคลื่อนยายและเก็บรักษาผลิตภัณฑ

ตั้งแตจุดเริ่มตนจนถึงปลายทางผูบริโภค กระบวนการในแตละขั้น

(Stage) ซัพพลายเชนจะเพิ่มคุณคาสินคาซึ่งเกิดจากการประสานงาน (Coordination) ของสมาชิกซัพพลายเชนและ

บูรณาการโลจิสตกิสในทุกขั้นตอนตลอดเสนทางซัพพลายเชนอยาง

มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและผูเกี่ยวของไดประโยชนรวมกัน

แนวคิดการจัดการโลจิสตกิสและซัพพลายเชน : Logistics and Supply Chain Concepts

Page 28: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

• โลจิสติกสประกอบดวยกิจกรรมตางๆมีปฏิสัมพันธกนั ปฏิบัตกิาร

กิจกรรมโลจิสตกิสหนึ่งจะมีผลกระทบตอกิจกรรมอื่น ปฏิสัมพันธ

กิจกรรมโลจิสตกิสดังกลาวนําไปสูการพัฒนาแนวคิดโลจิสตกิส

ไดแก

แนวคิดเชิงระบบ (System Concept)

แนวคิดเชิงตนทนุรวม (Total Cost Concept) แนวคิดไดกับเสีย (Trade-Offs Concept)

แนวคิดการจัดการโลจิสตกิสและซัพพลายเชน : Logistics and Supply Chain Concepts

Page 29: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

แนวคิดการจัดการโลจิสตกิสและซัพพลายเชน : Logistics and Supply Chain Concepts

• แนวคิดเชิงตนทนุรวม : Total Cost Concept

- จะไมใชตนทนุต่าํสุดของแตละกิจกรรมมาคิดเพราะจะเกดิความขัดแยงกัน เชน ฝายการเงินตองการใหสินคาคงคลังต่าํสุด แตจะมีผล

ตอตนทุนการขนสง หรือฝายการตลาดตองการตอบสนองความ

ตองการของลูกคาอยางรวดเร็วดวยการมีคลังสินคามากและผลิต

ปริมาณนอย (Lean Production) ซึ่งฝายการเงินกบัฝายการผลิต

จะไมเห็นดวย

• แนวคิดเชิงระบบ : System Concept

Page 30: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

• แนวคิดเชิงตนทนุรวม (ตอ) : Total Cost Concept

- แนวคิดของตนทุนรวมโลจิสติกสของบริษัทต่าํสุดคือ ตนทุนรวม

ของแตละกจิกรรมรวมกันแลวใหนอยหรือต่ําที่สุด

• แนวคิดการพิจารณาระหวางไดกับเสีย : Trade-Offs Concept

- แนวคิดนี้แนะใหพิจารณาหาจุดแลกระหวางไดกับเสีย (Trade-Offs) ที่ตนทุนรวมโลจิสตกิสต่ําสุด

Page 31: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

• แนวคิดการพิจารณาระหวางไดกับเสีย : Trade-Offs Concept

Source: Eric N Berkowitz (1992),Marketing, Page 411

Page 32: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

แนวคิดเรื่องตนทุนรวม

TDC = TC + FC + CC + IC + HC + PC + MC

TDC = ตนทุนรวมของการกระจายสินคา TC = คาขนสง

FC = คาสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เชน โกดัง

CC = คาใชจายในการติดตอสื่อสาร เชน การสั่งซื้อ

IC = คาใชจายในการจัดการดานคลังสินคา HC = คาใชจายในการยกขน

PC = คาใชจายในการหีบหอ

MC = คาใชจายในการกระจายสินคา

Page 33: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

หลักการโลจิสตกิสและซัพพลายเชน : Logistics and Supply Chain Principles

• หลักการประสิทธิภาพ : Efficiency

- การใชทรัพยากรอยางประหยัด และขจัดความสูญเสียของ Bullwhip Effect

- Bullwhip Effect เปนภาวะที่ระบบซัพพลายเชนมีสินคาคงคลังมากเกนิไป สามารถขจัดไดดวยการแบงปนขอมูล ณ จุดขาย

(Point of Sale) ระหวางสมาชิกในซัพพลายเชน

Page 34: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

หลักการโลจิสตกิสและซัพพลายเชน : Logistics and Supply Chain Principles

• หลักการผูบริโภคพึงพอใจ : Customer Satisfaction

- การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชนจะตองใหลูกคาพึงพอใจ

ควบคูไปกับประสิทธิภาพ ซึ่งตองอยูในระดับบริการที่บริษัท

สามารถแขงขันในตลาดได

• หลักการไดประโยชนรวมกัน : Mutual Benefit

- กําไรที่เกิดจากการซัพพลายเชนที่มีประสิทธิภาพจะตองเปนธรรม

สําหรับสมาชิกทุกคนในระบบ

Page 35: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

Maritime Logistics

ในปจจุบัน ลูกคามีความตองการใหผูขนสงนําเสนอบริการใหดีที่สุดและครบวงจร

ซึ่งการจัดการโซอุปทานเขามามีบทบาทอยางสูงและมีผลกระทบตอธุรกิจพาณิชยนาวี

ในอดีตผูประกอบการขนสงทางเรือยังมีความลาหลังในการรับกิจกรรมดานโลจิสติกส

และโซอุปทานเขามาเกี่ยวของ

ขอไดเปรียบของการขนสงสินคาดวย Container Shipping คอื ประหยัด

คาขนสงและเวลา ประหยัดคาใชจายในโรงพักสินคา สามารถนําเขาและสงออกสินคา

ไดในปริมาณที่เหมาะสม

Page 36: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

กจิกรรมการจัดการโซอุปทานกับธุรกิจการขนสงทางเรือ

การออกแบบผลิตภัณฑ – การวางแผนการผลิต การวางแผนความตองการของวัสดุ

ความสัมพันธกับผูขาย – การจัดการอุปสงค ระบบคลังสินคา ทางเลือกของผูขาย

การวางแผนความตองการการกระจายสินคา

ความสัมพันธกับลูกคา – บริการเอกสารการขนสง ระบบขอมลูโลจิสติกส

Page 37: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ทักษะของผูจดัการโซอปุทานในธุรกจิการขนสงทางเรือ

1. ความเขาใจในเรื่องราคา และบริการ

2. ความสามารถในการทําใหบรรลุเปาหมายของเครือขายอยางไดผลดี

ที่สุดในเรื่องของปจจัยผลการดําเนนิงาน

3. ทักษะในการวิเคราะหและใชขอมูลเพื่อการจัดการจากเครือขาย

4. ความรูดานการผลิตและลูกคา เพื่อใหมั่นใจไดวาทุกฝายที่เกี่ยวของใน

โซอุปทานจะประสบความสําเร็จในการบรรลุวัตถุประสงคของตนทั้งผู

ใหบริการและผุใชบริการ

Page 38: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

การจัดการความเสี่ยง

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากความสลับซับซอนของเครือขาย

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุปสงค

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเลือกผูจัดการโซอุปทาน

ความเสี่ยงทางธุรกิจ

Page 39: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

MARITIME TRANSPORT AND LOGISTICS

การขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transport)

ในป 1977 สภาหอการคาหรือ I.C.C. (International Chamber of Commerce) และองคการสากลอื่นๆไดยอมรับการบริการการขนสงรวมแหงนี้ เนือ่งจากทําใหการขนสงสินคามี

ประสิทธิภาพมากขึ้น และผูใชบริการเองมีความสะดวกในการเรียกรอง

คาเสียหายในกรณีที่สินคาเกิดความเสียหายระหวางการเดินทาง

เนื่องจากการขนสงแบบนี้มีผูประกอบการรายเดียว เปนผูรับผิดชอบ

ขนสงตลอดทาง

Page 40: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

แนวคิดการขนสงรวม

การขนสงแบบ Landbridge คือการขนสงทางเรือเปนหลักจากเมือง

ตนทางมาสูเมืองทาปลายทาง แลวทําการขนสงตอไปยังจุดหมายปลายทาง

สุดทายซึ่งเปนสถานที่ที่อยูในแผนดิน ไมใชอยู ณ ชายฝงทะเล

การขนสงทางทะเลกับทางอากาศ (Sea-Air Transport) เปน

การขนสงที่ไดรับการยอมรับและนํามาใชมากที่สุด จากการที่การ

ขนสงทางทะเลและอากาศมีบทบาทที่สําคัญในการขนสงระหวาง

ประเทศอยางมาก จึงมีการปรับปรุงและพัฒนาระบบ ตลอดจน

วิธีการขนสงตางๆเปนอยางมากจากอดีตมาจนถึงปจจุบัน

Page 41: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ประเภทของระบบการขนสงระหวางประเทศ

การขนสงทางอากาศโดยตรง (Direct Airfreight)

การขนสงระบบผานจุดถายลํา (Consolidation Air-Air)

การขนสงทางทะเลโดยตรง (Direct Sea freight)

การขนสงทางทะเลและตอทางอากาศ (Sea-Air Cargo)

Page 42: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

เสนทางการขนสงระบบ Sea - Air

Page 43: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

องคประกอบที่เกี่ยวของกับการพัฒนาระบบขนสง Sea - Air

Page 44: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

FCL – T (FULL CONTAINER LOAD) สินคา

เต็มตู ซึ่งเปนสินคาถายลํา (Transhipment)

ประเภทของการขนสงแบบ Sea - Air

FCL – T/I สินคาเต็มตูซึ่งบรรจุสินคาถายลํา และสินคานําเขาปะปนมาดวย

LCL – T (Less than Container Load) สินคาบรรจุ

ไมเตม็ตูและเปนสินคาถายลําลวนๆ

LCL – T/I สินคาบรรจุไมเตม็ตู ประกอบดวยสินคาถายลําและสินคานาํเขาปะปนมาดวย

Page 45: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

องคประกอบของการขนสงแบบ Sea - Air

จุดตนทาง Origin ผูสงออกและผูรับจัดการขนสงสินคาคือตลาดที่สําคัญที่ประเทศไทยจะใชกระทรวงคมนาคมหรือกระทรวงการตางประเทศไปทําการ

ประชาสัมพันธใหเขามาใชบริการ sea-air ในไทย ในขณะเดียวกันสายการ

เดินเรือควรมีการศึกษาและประมวลผลตารางการเดินเรือสําเร็จรูป เพื่อใหงาย

และสะดวกในการดึงดูดตลาด

จุดถายลํา Transit Point มีองคประกอบดังนี้ สายการเดินเรือ ผูรับจัดการขนสง

ศุลกากร และสายการบิน

จุดหมายปลายทาง Destination Point

Page 46: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ประโยชนที่ไดรับจากการพัฒนาการสงสินคาแบบ SEA-AIR

ประเทศไทยสามารถกาวขึ้นมาเทียบเคียงประเทศอื่นๆ ในดานการขนสง

ระหวางประเทศ

การพัฒนานโยบายการขนสงแบบ Sea – Air จะชวยสงเสริมการขนสงแบบ Back Hauling

การขนสงแบบ Sea – Air เปนในรูปแบบสินคาผานแดน จะชวย

สงเสริมในการนําเงินตราตางประเทศเขามายังประเทศ

การสรางงานที่เพิ่มมากขึ้นทั้งที่ทาเรือและสนามบินรวมทั้งเปนการสงเสริม

สินคาขาออกทางอากาศของประเทศ

Page 47: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

เงื่อนไขการเป็นท่าเรือศูนย์กลางระหว่างประเทศ

กระบวนการทางราชการทีง่่ายและไม่ซับซ้อน เวลาในการตรวจปล่อยเรือและ

สินค้าน้อยที่สุด ที่ตั้งท่าเรือ ท่าเรือควรจะต้องอยู่ในละแวกใกล้กับเส้นทางเดินเรือสากล

ปัจจุบันมีเส้นทางเดินเรือสาบหลักคือ 1) ยุโรป-อเมริกาเหนือ 2) ยุโรป-เอเชีย

ตะวันออก 3) อเมริกาเหนือ - เอเชียตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต้

Port Facilities ต้นทุนการขนส่งลดลง แต่มีต้นทุนค่าใช้จ่ายเข้าท่าสูงขึ้น

1. Deep Seaport

2. Number of Berths

3. Advance Port Equipment – เครนหน้าท่า, อุปกรณ์ใช้ในการเคลื่อนย้าย

สินค้า จํานวนครั้งที่ยก/ชม. ความยาวของแขนที่ยื่นออกไป, เคลียร์สินค้าหน้า

ท่า

Page 48: Maritime Transport and Logistics-8!9!54

ใชร้ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สู่ระบบ Paperless ในการตรวจปล่อยสินค้า

และอื่นๆ

ต้นทุนที่เพียงพอ สําหรับการปรับปรุงประสิทธิภาพ

มีเครือข่ายเรือ Feeder ที่ดีเยี่ยม ต้องประสานตารางเดินเรือกับเรือแม่อย่างดี

กลุ่มบริการโลจิสติกส์ที่ตั้งอยู่ในท่าเรือเพื่อให้บริการกับสินค้านําเข้า-ส่งออก

อย่างบูรณาการ (One Stop Service)

การพัฒนาเครือข่ายขนส่งภายในประเทศให้เหมาะสม

มีอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ อยู่บริเวณรอบๆ ท่าเรือ เชน่

อุตสาหกรรมต่อและซ่อมเรือ อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์และอะไหล่เรือ