module1

14
หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที1: ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการวางแผนการเงิน สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย .. 2552 หนา 1 ชุดวิชาที1: ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการวางแผนการเงิน (Foundation in Financial Planning) ภาพรวมของเนื้อหา การวางแผนทางการเงินมีบทบาทและความสําคัญที่ทําใหเกิดความมั่นคงทางการเงิน ความมั่นคงในการ ดําเนินชีวิต และอิสรภาพทางการเงินในอนาคต ตลอดจนสามารถตอบสนองความตองการและเปาหมายเฉพาะของ แตละบุคคลได อยางไรก็ตามในปจจุบันบุคคลโดยสวนใหญละเลยและไมไดใหความสําคัญกับการวางแผนทาง การเงินเทาที่ควร ทั้งนี้เปนผลเนื่องมาจากปจจัยที่สําคัญ 2 ประการ คือ ปจจัยทางดานสถานภาพหรือฐานะทาง การเงิน และปจจัยทางดานความเชื่อและทัศนคติที่ผิด ทั้งนี้การละเลยและไมไดใหความสําคัญกับการวางแผนทาง การเงินอาจนํามาซึ่งผลเสียตอบุคคลดังกลาว ทําใหไมสามารถบรรลุถึงเปาหมายทางการเงินตามที่ตองการได หรือ ในกรณีที่รายแรงอาจกอใหเกิดความสูญเสียทางการเงินหรือโอกาสในการหารายได สําหรับการใชจายในการดํารงชีพ ทั้งของตนเองและของผูที่อยูในอุปการะ นอกจากนี้ในระยะยาวอาจทําใหบุคคลดังกลาวตองประสบกับปญหาความ ยากลําบากในการดํารงชีวิตในบั้นปลายของชีวิตหรือหลังเกษียณอายุได ทั้งนี้องคประกอบของแผนทางการเงิน ซึ่งเกิดจากการบูรณาการแผนทางการเงินในหลากหลายดานเขา ดวยกันที่ประกอบดวย การจัดทํางบการเงิน งบประมาณสวนบุคคลและการจัดการกระแสเงินสด การวางแผนการ ลงทุน การบริหารความเสี่ยงและการวางแผนการประกัน การวางแผนเพื่อวัยเกษียณ และการวางแผนภาษีและมรดก โดยกระบวนการในการวางแผนทางการเงิน ประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ ศึกษาและวิเคราะหความตองการและ เปาหมายของผูรับคําปรึกษา หลังจากนั้นจะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งจะนําไปสูกระบวนการวิเคราะหขอมูล เพื่อจัดทําและนําเสนอแผนทางการเงินตอผูขอรับคําปรึกษา กอนที่จะมีการนําแผนทางการเงินที่ผูขอรับคําปรึกษา เห็นชอบไปลงมือปฏิบัติ และในขั้นตอนสุดทายจะตองมีการทบทวนและตรวจสอบแผนทางการเงินอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหแผนทางการเงินดังกลาวทันสมัยและสอดคลองกับปจจัยแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้นในสวนของความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน นักวางแผนการเงินจึงตองเขาใจ ความหมายและความสําคัญของการวางแผนทางการเงิน บทบาทและหนาที่ของนักวางแผนทางการเงิน บุคคลทีเกี่ยวของและองคประกอบของการวางแผนทางการเงิน เพื่อใหการวางแผนการเงินมีประสิทธิภาพสูงสุด หัวขอการเรียนรูที1 : ความรูเบื องตนเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน

Upload: kasemsan-thanumpai

Post on 31-Oct-2014

73 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

Ex

TRANSCRIPT

Page 1: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 1

ชุดวิชาที่ 1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน (Foundation in Financial Planning)

ภาพรวมของเนื้อหา

การวางแผนทางการเงินมีบทบาทและความสําคัญที่ทําใหเกิดความม่ันคงทางการเงิน ความม่ันคงในการ

ดําเนินชีวิต และอิสรภาพทางการเงินในอนาคต ตลอดจนสามารถตอบสนองความตองการและเปาหมายเฉพาะของ

แตละบุคคลได อยางไรก็ตามในปจจุบันบุคคลโดยสวนใหญละเลยและไมไดใหความสําคัญกับการวางแผนทาง

การเงินเทาที่ควร ทั้งนี้เปนผลเน่ืองมาจากปจจัยที่สําคัญ 2 ประการ คือ ปจจัยทางดานสถานภาพหรือฐานะทาง

การเงิน และปจจัยทางดานความเชื่อและทัศนคติที่ผิด ทั้งนี้การละเลยและไมไดใหความสําคัญกับการวางแผนทาง

การเงินอาจนํามาซ่ึงผลเสียตอบุคคลดังกลาว ทําใหไมสามารถบรรลุถึงเปาหมายทางการเงินตามที่ตองการได หรือ

ในกรณีที่รายแรงอาจกอใหเกิดความสูญเสียทางการเงินหรือโอกาสในการหารายได สําหรับการใชจายในการดํารงชีพ

ทั้งของตนเองและของผูที่อยูในอุปการะ นอกจากนี้ในระยะยาวอาจทําใหบุคคลดังกลาวตองประสบกับปญหาความ

ยากลําบากในการดํารงชีวิตในบั้นปลายของชีวิตหรือหลังเกษียณอายุได

ทั้งนี้องคประกอบของแผนทางการเงิน ซึ่งเกิดจากการบูรณาการแผนทางการเงินในหลากหลายดานเขา

ดวยกันที่ประกอบดวย การจัดทํางบการเงิน งบประมาณสวนบุคคลและการจัดการกระแสเงินสด การวางแผนการ

ลงทุน การบริหารความเส่ียงและการวางแผนการประกัน การวางแผนเพื่อวัยเกษียณ และการวางแผนภาษีและมรดก

โดยกระบวนการในการวางแผนทางการเงิน ประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ ศึกษาและวิเคราะหความตองการและ

เปาหมายของผูรับคําปรึกษา หลังจากน้ันจะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งจะนําไปสูกระบวนการวิเคราะหขอมูล

เพื่อจัดทําและนําเสนอแผนทางการเงินตอผูขอรับคําปรึกษา กอนที่จะมีการนําแผนทางการเงินที่ผูขอรับคําปรึกษา

เห็นชอบไปลงมือปฏิบัติ และในขั้นตอนสุดทายจะตองมีการทบทวนและตรวจสอบแผนทางการเงินอยางสม่ําเสมอ

เพื่อใหแผนทางการเงินดังกลาวทันสมัยและสอดคลองกับปจจัยแวดลอมที่มีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้นในสวนของความรูเบื้องตนเก่ียวกับการวางแผนทางการเงิน นักวางแผนการเงินจึงตองเขาใจ

ความหมายและความสําคัญของการวางแผนทางการเงิน บทบาทและหนาที่ของนักวางแผนทางการเงิน บุคคลท่ี

เก่ียวของและองคประกอบของการวางแผนทางการเงิน เพื่อใหการวางแผนการเงินมีประสิทธิภาพสูงสุด

หัวขอการเรยีนรูที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงนิ

Page 2: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 2

หนังสืออานประกอบการสอบ (Reading Assignments) 1. การวางแผนการเงิน ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนการเงิน โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. PowerPoint Presentation ชุดวิชาที่ 1 : การวางแผนการเงิน : หัวขอ : ความรูเบื้องตนเก่ียวกับการวางแผน

ทางการเงิน โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

หนังสืออานเพ่ิมเติม (Suggested Readings) 1. Gitman, Lawrence J., and Joehnk, Michael D. Personal Financial Planning.South-

Western/Thomson Corporation,2005.

2. Hallman, V.G. and Rosenbloom, J.S., Personal Finance Planning, 6th

ed., McGraw-Hill, 2000

3. Louis Cheng, Leung Tak Yan and Wong Yiu Hing. Financial Planning and Wealth Management

an international perspective.Singapore:McGraw-Hill,2009.

4. สุขใจ น้ําผุด. 2551. กลยุทธการบริหารการเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) เพื่อใหผูเขาสอบ :

1. เขาใจความหมายและความสําคัญของการวางแผนทางการเงิน

2. เขาใจบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของวิชาชีพนักวางแผนทางการเงิน

3. เขาใจและสามารถระบุองคประกอบของหลักในการจัดการความม่ังค่ัง (Wealth Management)ได

4. เขาใจและสามารถอธิบายกระบวนการวางแผนทางการเงินในแตละขั้นตอนได

5. เขาใจลักษณะของเปาหมายทางการเงินที่ดีและสามารถกําหนดเปาหมายทางการเงินที่ดีได

Page 3: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 3

ชุดวิชาที่ 1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน (Foundation in Financial Planning)

ภาพรวมของเนื้อหา เงินสดเปนสินทรัพยที่มีสภาพคลองสูงที่สุดของบุคคล และบุคคลจําเปนตองถือเงินสดไวเพื่อใชจายในการ

ดํารงชีวิต (pocket money) เพื่อสํารองไวใชในยามฉุกเฉิน (emergency reserves) และเพื่อสะสมมูลคา (store of

value) แตการถือเงินสดไวจํานวนมากจะทําใหไมปลอดภัย ไมไดรับผลตอบแทนและเกิดตนทุนคาเสียโอกาส ดังนั้น

บุคคลจึงจําเปนตองมีการบริหารเงินสดเพื่อใหมีจํานวนเงินที่เพียงพอตอการใชจายที่จําเปน ไมมากจนกอใหเกิดตนทุน

คาเสียโอกาส แตไมนอยจนเกิดการขาดแคลนในยามที่ตองการใชเงิน และนําเงินสดสวนที่เหลือไปลงทุนในสินทรัพย

สภาพคลองประเภทอื่นๆ เพื่อใหไดรับผลตอบแทนท่ีสูงขึ้น ทั้งนี้ทางเลือกหรือแนวทางในการบริหารเงินสดมี

หลากหลายชองทาง ไดแก การฝากเงินกับธนาคารพาณิชย ซึ่งแบงออกเปนหลายประเภท เชน บัญชีเงินฝากกระแส

รายวัน บัญชีเงินฝากออมทรัพย บัญชีเงินฝากประจํา บัตรเงินฝาก นอกจากการฝากเงินกับธนาคารพาณิชยแลว

บุคคลยังสามารถซ้ือต๋ัวเงินคลัง ลงทุนในต๋ัวสัญญาใชเงิน หรือลงทุนในกองทุนตลาดเงิน เปนตน ซึ่งการที่จะเลือก

แนวทางใดในการบริหารเงินสดน้ันบุคคลควรเปรียบเทียบขอดีและขอดอยของแตละทางเลือก เพื่อพิจารณาเลือก

ทางเลือกที่เหมาะสมและใหประโยชนสูงสุด โดยอาจพิจารณาจากปจจัยที่สําคัญ คือ อัตราผลตอบแทน อัตราภาษี

และความเส่ียง ของแตละทางเลือกประกอบการตัดสินใจ

ในสวนของการกอหนี้หรือการบริหารสินเช่ือ มีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือ เพื่อตอบสนองตอการบริโภค

(consumption) เพื่อความสะดวก (convenience) หรือเพื่อการสํารองไวใชในยามฉุกเฉิน (contingency) และ

ถึงแมวาการใชสินเช่ืออาจจะมีความจําเปนหรือความสะดวกสบายดังที่กลาวมาแลว แตการใชสินเช่ือก็มีขอเสียที่แตละ

บุคคลพึงระวัง คือ การใชสินเช่ือเกินความจําเปนซ่ึงอาจทําใหบุคคลประสบปญหาทางการเงินถึงขั้นถูกฟองรอง

ลมละลายได และการขอสินเช่ือจะมีตนทุนของสินเช่ือหรือดอกเบ้ียเสมอ โดยประเภทของสินเช่ือสามารถแบงออกได

เปนสินเช่ือระยะส้ัน ที่มีกําหนดระยะเวลาในการชําระคืนภายใน 1 ปและสินเช่ือระยะยาวท่ีมีระยะเวลาในการชําระคืน

นานเกินกวา 1 ป

ทั้งนี้ผูกูควรที่จะมีแนวทางในการบริหารสินเช่ืออยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหสามารถชําระเงินกูคืนไดภายในระยะเวลาท่ี

กําหนด และควรมีความรูความเขาใจเก่ียวกับกระบวนการอื่นๆ ที่เก่ียวของเปนอยางดี ไดแก ขั้นตอนการขอกูยืมเงิน

จากธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินแตละแหง การจัดเตรียมขอมูลเบื้องตนสําหรับการขอกูยืมเงิน การจายคืน

เงินกู และผูที่เก่ียวของกับการขอกูยืมเงิน นอกจากน้ีควรที่จะรูถึงขอดีและขอเสียหรือขอเปรียบเทียบระหวางการซ้ือ

และการเชา สําหรับเปนขอมูลประเมินเพื่อการตัดสินใจ ที่เหมาะสม ดังนั้นในการวางแผนทางการเงิน นักวางแผนการเงินตองเขาใจแนวคิดความจําเปนในการบริหารเงินสด

และสามารถเลือกทางเลือกในการบริหารเงินสดตลอดจนการเลือกใชบริการสินเช่ือที่เหมาะสม รวมถึงกระบวนการ

ตัดสินใจเปรียบเทียบขอดีและขอเสียระหวางการซื้อหรือการเชา ในฐานะเปนแหลงที่มาของสภาพคลองสวนท่ีขาด

เพื่อบริหารสภาพคลองใหกับผูรับคําปรึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ

หัวขอการเรยีนรูที่ 2 : เครื่องมือทางการเงินสําหรบัการบรหิารสภาพคลองสวนบุคคล

Page 4: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 4

หนังสืออานประกอบการสอบ (Reading Assignments) 1. การวางแผนการเงิน ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนการเงิน โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. PowerPoint Presentation ชุดวิชาที่ 1 : การวางแผนการเงิน : หัวขอ : Consumption Planning จุดเร่ิมตน

ของการสรางความม่ังค่ัง โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หนังสืออานเพ่ิมเติม (Suggested Readings)

1. Gitman, Lawrence J., and Joehnk, Michael D. Personal Financial Planning.South- Western/Thomson

Corporation,2005.

2. Louis Cheng, Leung Tak Yan and Wong Yiu Hing. Financial Planning and Wealth Management

an international perspective.Singapore:McGraw-Hill,2009.

3. Stillman, Richard J. Guide to Personal Finance : A lifetime Program of Money Management.

Englewood Cliffs, NJ : Prentice-Hall,1988.

4. สุขใจ น้ําผุด. 2551. กลยุทธการบริหารการเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

5. สถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. 2548.ตลาดการเงินและการกํากับ

ดูแล. กรุงเทพ : บริษัทอมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชชิ่ง.

6. อัญญา ขันธวิทย.2545. กลไกของตลาดการเงินในระบบเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพ ฯ : อมรินทรพร้ินต้ิง

แอนดพับลิชชิ่ง.

7. ศิรินุช อินละคร.2550.การเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) เพื่อใหผูเขาสอบ :

1. เขาใจแนวคิดในการบริหารเงินสดและความจําเปนที่บุคคลตองถือเงินสดหรือรักษาสภาพคลอง

2. เขาใจและสามารถเปรียบเทียบขอดีและขอดอยของทางเลือกในการบริหารเงินสดแตละทางเลือกได

3. สามารถเลือกทางเลือกในการบริหารเงินสดที่เหมาะสมใหกับผูรับคําปรึกษาได

4. สามารถอธิบายความแตกตางในวิธีการคิดดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย และคํานวณหาดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย

ในวิธีตาง ๆ ได

5. สามารถอธิบายความแตกตางในวิธีการคิดตนทุนของสินเช่ือ (ดอกเบี้ย) และคํานวณหาตนทุนของสินเช่ือ

(ดอกเบี้ย) ในวิธีตาง ๆ ได

6. สามารถอธิบายถึงลักษณะ ขอดี ขอจํากัด และเลือกใชบริการสินเช่ือประเภทตางๆ ไดอยางเหมาะสม

7. สามารถอธิบายวิธีการและส่ิงจําเปนที่เก่ียวของกับการขอสินเช่ือ เชน ขั้นตอนการขอสินเช่ือ การเตรียมขอมูลใน

การขอสินเช่ือ การจายคืนเงินกู ผูที่เก่ียวของกับการขอสินเช่ือ และการรักษาความสัมพันธกับผูใหสินเช่ือได

8. สามารถเปรียบเทียบขอดีและขอเสียระหวางการซื้อกับการเชาตลอดจนระบุปจจัยที่ใชพิจารณาในการตัดสินใจ

ระหวางการซื้อกับการเชาได

9. สามารถอธิบายถึงประเภทสถาบันการเงินที่ใหบริการในการบริหารเงินสดและบริการสินเช่ือสําหรับบุคคลได

Page 5: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 5

ชุดวิชาที่ 1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน (Foundation in Financial Planning)

ภาพรวมของเนื้อหา

แนวคิดมูลคาเงินตามเวลา (time value of money) หมายถึง แนวคิดที่บงบอกวาเงินจํานวนเดียวกันในเวลา

ที่ตางกันจะมีมูลคาไมเทากัน เปนแนวคิดที่ใชในการแปลงมูลคาของเงินที่ไดรับหรือที่ตองจายไปในเวลาตางๆ กัน ให

เปนมูลคาของเงินในเวลาเดียวกัน เพื่อที่จะสามารถเปรียบเทียบมูลคาเงินในเวลาท่ีตางกัน หรือทําการบวกลบมูลคาเงิน

ในเวลาที่ตางกันสําหรับการตัดสินใจทางการเงินตางๆ ไมวาจะเปนการลงทุน การจัดหาเงินทุน หรือการซื้อสินคาและ

บริการตางๆ ได

ในสวนของการตัดสินใจทางดานการเงินสวนบุคคล (personal finance) มีความจําเปนอยางย่ิงในการ

ประยุกตใชแนวคิดมูลคาเงินตามเวลา (time value of money) ไมวาจะเปนการคํานวณเงินออมเพื่อใหบรรลุเปาหมาย

ทางการเงินที่กําหนดไว ซึ่งจะทําใหเราสามารถทราบวาบุคคลนั้นๆ จะตองออมเงินในแตละงวดเทาใดเพื่อใหไดเงิน

จํานวนหน่ึงที่ตองการในอนาคต นอกจากนั้นเรายังสามารถนําแนวคิดดังกลาวน้ีไปประยุกตในการคํานวณจํานวนเงิน

ที่จะตองชําระคืนเงินกูทั้งในสวนของการชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยตามอัตราท่ีกําหนดไวใหแกเจาหนี้ ซึ่งถาหากการ

ชําระคืนในแตละงวด มีจํานวนชําระคืนเทาๆ กันภายในระยะเวลาที่กําหนด เราจะเรียกการผอนชําระคืนเงินกูนี้วา loan

amortization ทั้งนี้เงินที่ชําระคืนทั้งหมดทุกงวดรวมกันจะมีมูลคาปจจุบันเทากับจํานวนเงินที่ลูกหนี้ไดกูยืมมาใชใน

ปจจุบัน การประยุกตใชแนวคิดดังกลาวยังมีประโยชนในการเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน หรือ ใน

กรณีที่มีทางเลือกในการลงทุนหลายๆ ทางเลือก ซึ่งผูลงทุนอาจจะใชแนวคิดมูลคาเงินตามเวลา (time value of

money) ในการคํานวณหาอัตราผลตอบแทนจากแตละทางเลือกเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกลงทุนได

ทั้งนี้ความเขาใจในแนวคิดมูลคาเงินตามเวลา (time value of money) ในการตัดสินใจทางการเงิน นัก

วางแผนการเงินจําเปนที่จะตองมีความรูพื้นฐานเก่ียวกับคําศัพทตางๆ ไมวาจะเปนเงินตน (principal) ดอกเบี้ย

(interest) การคิดทบตน (compounding) การคิดลด (discounting) แกนของเวลา (time line) มูลคาอนาคต (future

value) และมูลคาปจจุบัน (present value) วิธีการแปลงมูลคาเงินตามเวลาท้ังในกรณีที่มีเงินเพียงจํานวนเดียว กรณี

กระแสเงินสดหลายๆจํานวน กรณีเงินงวด และกรณีเงินงวดตลอดชีพ เพื่อนําไปประยุกตใชในการวางแผนทาง

การเงินใหแกผูรับคําปรึกษาได

หนังสืออานประกอบการสอบ (Reading Assignments)

1. การวางแผนการเงิน ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนการเงิน โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. PowerPoint Presentation ชุดวิชาที่ 1 : การวางแผนการเงิน : หัวขอ : มูลคาของเงินตามเวลา โดยตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทย

หัวขอการเรยีนรูที่ 3 : มูลคาเงินตามเวลา

Page 6: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 6

หนังสืออานเพ่ิมเติม (Suggested Readings) 1. Louis Cheng, Leung Tak Yan and Wong Yiu Hing. Financial Planning and Wealth Management

an international perspective.Singapore:McGraw-Hill,2009.

2. Eugene F.Brigham , Joel F.Houston .Fundamentals of Financial Management .Ninth Edition,2001.

3. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย..การวิเคราะหเชิงปริมาณ หลักสูตร CISA ระดับ 1.

4. เริงรัก จําปาเงิน. 2544. การจัดการการเงิน.พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพมหานคร : บริษัท บุคเน็ท จํากัด.

5. ศิรินุช อินละคร.2550.การเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) เพื่อใหผูเขาสอบ : 1. เขาใจและสามารถอธิบายแนวคิดเก่ียวกับมูลคาเงินตามเวลาได

2. เขาใจความแตกตางระหวางมูลคาอนาคตและมูลคาปจจุบัน

3. สามารถคํานวณหามูลคาเงินตามเวลาในกรณีเงินจํานวนเดียว ทั้งการคํานวณหามูลคาอนาคต และมูลคาปจจุบัน

4. สามารถคํานวณหามูลคาเงินตามเวลาในกรณีกระแสเงินสดหลายจํานวน ทั้งการคํานวณหามูลคาอนาคต และ

มูลคาปจจุบัน

5. สามารถคํานวณหามูลคาเงินตามเวลาในกรณีเงินงวด ทั้งการคํานวณหามูลคาอนาคต และมูลคาปจจุบัน

6. สามารถคํานวณหามูลคาเงินตามเวลาในกรณีเงินงวดตลอดชีพ ทั้งการคํานวณหามูลคาอนาคต และมูลคาปจจุบัน

7. สามารถนําความรูเร่ืองการคํานวณหามูลคาเงินตามเวลามาประยุกตใชเพื่อการวางแผนทางการเงินแก

ผูรับคําปรึกษาได

Page 7: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 7

ชุดวิชาที่ 1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน (Foundation in Financial Planning)

ภาพรวมของเนื้อหา

การวางแผนทางการเงินสวนบุคคลน้ันจะตองเริ่มตนจากการเก็บรวบรวมขอมูลเบื้องตนสวนบุคคล ซึ่ง

ประกอบไปดวยขอมูลทั่วไปของผูรับคําปรึกษาและผูที่อยูในอุปการะ ขอมูลเก่ียวกับการทํางาน ขอมูลเก่ียวกับ

เปาหมายชีวิตของผูรับคําปรึกษาและครอบครัว ขอมูลดานการจัดการความเสี่ยงและการทําประกันภัย ขอมูลดาน

การลงทุน ขอมูลดานการออมเพื่อวัยเกษียณ รวมทั้งขอมูลการวางแผนภาษี ทั้งนี้ขอมูลดังกลาวอาจอยูทั้งใน

รูปแบบของขอมูลเชิงคุณภาพและขอมูลเชิงปริมาณ

หลังจากเก็บรวบรวมขอมูลเบื้องตนสวนบุคคลแลว ผูวางแผนทางการเงินจะตองนําขอมูลเบื้องตนสวน

บุคคลดังกลาวมาทําการวิเคราะหสถานะทางการเงินของบุคคล เพื่อจะทําใหการกําหนดเปาหมายทางการเงินอยูบน

พื้นฐานของความเปนไปไดในทางปฏิบัติ โดยการวิเคราะหสถานะทางการเงินของบุคคลจะตองอาศัยขอมูลทาง

การเงินสวนบุคคลตางๆ ซึ่งจะถูกบันทึกและนําเสนอใหเปนระบบระเบียบในลักษณะของงบทางการเงินสวนบุคคล

ไดแก งบดุลสวนบุคคล และงบกระแสเงินสดสวนบุคคล

งบดุลสวนบุคคล (personal balance sheet) เปนรายการทางบัญชีที่แสดงถึงฐานะทางการเงินของบุคคลที่

พิจารณา ณ เวลาใดเวลาหน่ึง โดยจะแสดงถึงสินทรัพย (assets) ที่แตละบุคคลเปนเจาของ แสดงถึงภาระหนี้สิน

(liabilities) ซึ่งบุคคลน้ันๆ มีภาระผูกพันตองชําระคืนในอนาคต และแสดงความม่ังค่ังสุทธิ (net worth) ที่เหลือใน

สินทรัพยหลังจากชําระหน้ีสินตางๆ ครบถวนแลว ซึ่งถาเปนความม่ังค่ังสุทธิที่วัดในเชิงธุรกิจจะเรียกวา สวนของผูถือ

หุน (equity)

งบกระแสเงินสดสวนบุคคล (personal statement of cash flows) เปนงบทางการเงินที่แสดงถึงกระแสเงิน

สดรับ (cash inflow) และกระแสเงินสดจาย (cash outflow) ในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยอางอิงจากเกณฑเงินสด (cash

basis) ทั้งนี้องคประกอบของงบกระแสเงินสดสวนบุคคลประกอบดวยกระแสเงินสดรับ ซึ่งเปนรายไดมีแหลงที่มาจาก

การทํางานหรือการลงทุนตางๆ จะขึ้นอยูกับหนาที่การงานและอายุการทํางานของแตละบุคคล และกระแสเงินสดจาย

เปนรายจายที่เกิดขึ้นจากการใชจายตางๆ ซึ่งปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอกระแสเงินสดจาย ไดแก อายุ สถานภาพ

ทางครอบครัว และพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคตางๆ ถาหากแตละบุคคลมีการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ

ยอมจะสงผลตอความกาวหนาในตําแหนงหนาที่การงาน ทําใหกระแสเงินสดรับเพิ่มขึ้น และถาแตละบุคคลสามารถ

จํากัดการอุปโภคบริโภคใหเหมาะสม ก็จะสงผลทําใหกระแสเงินสดจายลดลงได ทั้งนี้การกระทําดังกลาวยอมจะสงผล

ทําใหกระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น และในที่สุดจะสงผลตอความม่ังค่ังสุทธิของบุคคลดังกลาวเพิ่มขึ้นดวย ดังนั้น ในการวางแผนทางการเงิน นักวางแผนการเงินตองเขาใจถึงวิธีการ และทักษะในการจัดเก็บ

รวบรวมขอมูล เพื่อนํามาใชในการรวบรวมขอมูลที่ถูกตองและครบถวน และสามารถนํามาจัดเก็บใหเปนระบบระเบียบ

ในรูปแบบของงบการเงิน คือ งบดุลสวนบุคคลและงบกระแสเงินสดสวนบุคคล เพื่อนําไปใชในการวิเคราะหและการ

วางแผนทางการเงินใหแกผูรับคําปรึกษาได

หัวขอการเรยีนรูที ่4 : การรวบรวมขอมูลทางการเงนิสวนบุคคล

Page 8: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 8

หนังสืออานประกอบการสอบ (Reading Assignments)

1. การวางแผนการเงิน ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนการเงิน โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. PowerPoint Presentation ชุดวิชาที่ 1 : การวางแผนการเงิน : หัวขอ : การรวบรวมขอมูลทางการเงินสวน

บุคคล โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

หนังสืออานเพ่ิมเติม (Suggested Readings)

1. Hallman, V.G. and Rosenbloom, J.S., Personal Finance Planning, 6th

ed., McGraw-Hill, 2000

2. Louis Cheng, 1. Gitman, Lawrence J., and Joehnk, Michael D. Personal Financial Planning.

South- Western/Thomson Corporation,2005.

3. Leung Tak Yan and Wong Yiu Hing. Financial Planning and Wealth Management

an international perspective.Singapore:McGraw-Hill,2009.

4. สุขใจ น้ําผุด. 2551. กลยุทธการบริหารการเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

5. ศิรินุช อินละคร.2550.การเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) เพื่อใหผูเขาสอบ : 1. สามารถอธิบายถึงความสําคัญและประโยชนของขอมูลเพื่อใชในการจัดทําแผนทางการเงินสวนบุคคลเบ้ืองตนได

2. เขาใจขอมูล วิธีการรวบรวมขอมูล และสามารถจําแนกประเภทของขอมูลทั้งขอมูลในเชิงคุณภาพและปริมาณได

3. สามารถอธิบายการเก็บรวบรวมขอมูลเบื้องตนของบุคคลและขอมูลที่ใชในการจัดทํางบการเงินสวนบุคคลได

4. เขาใจวัตถุประสงค และการใชงานของงบดุลสวนบุคคลได

5. สามารถอธิบายองคประกอบของงบดุลสวนบุคคล จัดทํางบดุลสวนบุคคลและวิเคราะหสถานภาพทางการเงิน

สวนบุคคลได

6. เขาใจวัตถุประสงค และการใชงานของงบกระแสเงินสดสวนบุคคลได

7. สามารถอธิบายองคประกอบของงบกระแสเงินสดสวนบุคคล และจัดทํางบกระแสเงินสดสวนบุคคลได

Page 9: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 9

ชุดวิชาที่ 1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน (Foundation in Financial Planning)

ภาพรวมของเนื้อหา

การวางแผนทางการเงินสวนบุคคลนั้นจะตองเร่ิมตนจากการเก็บรวบรวมขอมูลทางการเงินสวนบุคคล ทั้ง

ในสวนของขอมูลสวนบุคคลเบื้องตน และขอมูลทางการเงินที่ไดรับจากการจัดทํารายงานในรูปแบบของงบทางการเงิน

ไมวาจะเปนงบดุลสวนบุคคลหรืองบกระแสเงินสดสวนบุคคล หลังจากนั้นแลวผูวางแผนทางการเงินจะตองทําการ

วิเคราะหสถานะทางการเงินของผูรับคําปรึกษาบนพื้นฐานของขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมมาแลวดังกลาว โดยอาจจะ

แบงเปนการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลเบื้องตน และการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงินสวนบุคคล ทั้งนี้การวิเคราะห

สถานะทางการเงินของบุคคล เพื่อจะทําใหการกําหนดเปาหมายทางการเงินอยูบนพื้นฐานของความเปนไปไดในทาง

ปฏิบัติ

การวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลเบ้ืองตน จะเปนการวิเคราะหภาพรวมทางการเงินเบื้องตน เพื่อประเมินถึง

การตระหนักและรับรูถึงความสําคัญของการจัดทําแผนทางการเงินสวนบุคคล รวมถึงการคาดการณปญหาทางการเงิน

ที่อาจเกิดขึ้นกับผูรับคําปรึกษา โดยจะแบงการวิเคราะหออกเปน การวิเคราะหความตองการขั้นพื้นฐานในแตละชวง

ของอายุ การวิเคราะหดานการจัดการความเส่ียงและการทําประกันภัย การวิเคราะหดานการลงทุน การวิเคราะห

ดานการออมเพื่อวัยเกษียณ และการวางแผนทางการเงินสําหรับทายาท ซึ่งการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลเบ้ืองตน

ทั้งหมดดังกลาวจะครอบคลุมทั้งการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพและการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ

การวิเคราะหสถานะทางการเงินของบุคคลจากอัตราสวนทางการเงินสวนบุคคล จะตองอาศัยขอมูลทาง

การเงินสวนบุคคลตางๆ ซึ่งจะถูกบันทึกและนําเสนอใหเปนระบบระเบียบในลักษณะของงบการเงินสวนบุคคล ทั้งจาก

งบดุลสวนบุคคลและงบกระแสเงินสดสวนบุคคล โดยจะถูกนํามาวิเคราะหสถานะทางการเงินของบุคคล เพื่อนําไป

กําหนดแผนทางการเงินใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว

หลังจากทําการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลทางการเงินของผูรับคําปรึกษาแลว ผูวางแผน

ทางการเงินจะตองนําขอมูลดังกลาวมาจัดทําแผนทางการเงิน ทั้งนี้แผนทางการเงินในระยะส้ันที่กําหนดเปาหมาย

ทางการเงินในกรอบระยะเวลาไมเกิน 1 ป ซึ่งเรียกวา งบประมาณสวนบุคคล (personal budget) ซึ่งงบประมาณสวน

บุคคลจะเปนเคร่ืองมือชวยในการตรวจสอบและควบคุมการเงินของบุคคลใหบรรลุเปาหมายทางการเงินระยะยาวท่ีได

กําหนดไวลวงหนา โดยจะตองทําการตรวจสอบวาคาใชจายตางๆเปนไปตามที่ประมาณการหรือไม หากไมเปนไป

ตามที่คาดการณไวจะไดสามารถแกไขพฤติกรรมการใชจายท่ีไมเหมาะสมไดอยางถูกตอง โดยนําหลักในการบริหาร

เงินสดและการบริหารสินเช่ือมาประยุกตใช ดังนั้น ในการวางแผนทางการเงิน นักวางแผนการเงินตองมีความเขาใจและความสามารถในการ วิเคราะห

ขอมูลสวนบุคคลเบ้ืองตนและการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงินสวนบุคคลตลอดจนสามารถจัดทํางบประมาณสวน

บุคคล เพื่อนํามาใชวางแผนทางการเงินใหแกผูรับคําปรึกษาบรรลุเปาหมายทางการเงินที่กําหนดไวได

หัวขอการเรยีนรูที่ 5 : การวิเคราะหขอมูลสวนบุคคล

Page 10: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 10

หนังสืออานประกอบการสอบ (Reading Assignments)

1. การวางแผนการเงิน ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนการเงิน โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. PowerPoint Presentation ชุดวิชาที่ 1 : การวางแผนการเงิน : หัวขอ : การวิเคราะหขอมูลสวนบุคคล โดย

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

หนังสืออานเพ่ิมเติม (Suggested Readings)

1. Louis Cheng, 1. Gitman, Lawrence J., and Joehnk, Michael D. Personal Financial Planning.

South- Western/Thomson Corporation,2005.

2. Leung Tak Yan and Wong Yiu Hing. Financial Planning and Wealth Management

an international perspective.Singapore:McGraw-Hill,2009.

3. สุขใจ น้ําผุด. 2551. กลยุทธการบริหารการเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

4. ศิรินุช อินละคร.2550.การเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) เพื่อใหผูเขาสอบ : 1. สามารถอธิบายถึงความสําคัญและประโยชนของการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลได

2. สามารถอธิบายและวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลเบ้ืองตนในสวนของการวิเคราะหความตองการพื้นฐานในแตละชวง

ชีวิตของบุคคลได

3. สามารถอธิบายและวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลเบ้ืองตนในสวนของการวิเคราะหดานความเส่ียงและการทําประกันได

4. สามารถอธิบายและวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลเบ้ืองตนในสวนของการวิเคราะหดานการลงทุนได

5. สามารถอธิบายและวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลเบ้ืองตนในสวนของการวิเคราะหดานการออมเพื่อวัยเกษียณได

6. สามารถจัดทํา Common-Size ของงบดุลสวนบุคคลเพื่อวิเคราะหโครงสรางทางการเงินของบุคคลได

7. สามารถจัดทํา Common-Size ของงบกระแสเงินสดสวนบุคคลบุคคล เพื่อวิเคราะหแหลงที่มาของรายได

และความจําเปนในการใชจายของบุคคลได

8. สามารถคํานวณอัตราสวนทางการเงินและวิเคราะหสภาพคลอง ระดับหนี้สิน การออมและการลงทุนของบุคคลได

9. เขาใจวัตถุประสงคและการใชงานของงบประมาณสวนบุคคล

10. สามารถอธิบายองคประกอบของงบประมาณสวนบุคคล และจัดทํางบประมาณสวนบุคคลได

11. สามารถอธิบายองคประกอบของแผนทางการเงินเบื้องตน และจัดทํารายงานแผนทางการเงินสวนบุคคลเบ้ืองตนได

Page 11: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 11

ชุดวิชาที่ 1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน (Foundation in Financial Planning)

ภาพรวมของเนื้อหา

หัวขอการเรียนรูที่ 6 : ความรูเบื้องตนเก่ียวกับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

จากหลักการท่ัวไปของภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา เงินไดทุกประเภทที่ไดจากกิจการ หรือทรัพยสินใน

ประเทศไทยตองนํามาเสียภาษี เวนแตกฎหมายระบุยกเวนให ฉะนั้นภาษีจึงเปนตนทุนที่สําคัญของผูมีเงินไดอยาง

หนึ่ง ผูมีเงินไดจึงควรวางแผนภาษีเพื่อลดตนทุนนั้น เพื่อใหมีเงินไดสุทธิเพิ่มขึ้น ทั้งนี้หลักในการจัดเก็บภาษีในกรณี

ของประเทศไทย สวนใหญจะใชทั้งหลักแหลงเงินไดและหลักถ่ินที่อยูในการจัดเก็บภาษี การเสียภาษีจากหลักแหลง

เงินได หมายถึง การจัดเก็บภาษีจากผูมีเงินได ที่ไดรับเงินไดจากประเทศไทย อันเนื่องมาจากหนาที่การงาน กิจการท่ี

ทําในประเทศไทย หรือเนื่องจากกิจการของนายจางในประเทศไทย หรือเนื่องจากทรัพยที่อยูในประเทศไทยโดยไม

คํานึงวาผูมีเงินไดจะมีสัญชาติใด และจะอาศัยอยูในประเทศไทยหรือไมก็ตาม ในขณะท่ีการจัดเก็บภาษีจาก

หลักถ่ินที่อยู หมายถึง การจัดเก็บภาษีจากผูที่อยูในประเทศไทยเกินกวา 180 วันในปภาษีนั้น และนําเงินไดจาก

ตางประเทศเขามาในประเทศไทยไมวาเงินไดนั้นจะไดเนื่องจากหนาที่งานกิจการที่ทําในตางประเทศ หรือเนื่องจาก

ทรัพยสินที่อยูในตางประเทศก็ตาม หากถือวาเปนผูที่อยูในประเทศไทยและนําเงินไดเขามาในปภาษีนั้นจะตองเสีย

ภาษีในประเทศไทย โดยไมคํานึงวาผูมีเงินไดจะมีสัญชาติใด และไดรับเงินไดจากที่ใด

ทั้งนี้กอนวางแผนภาษี ผูวางแผนภาษีควรทราบถึงความแตกตางของการวางแผนภาษีอากร(tax

planning) การหนีภาษี (tax evasion) และการหลบหลีกภาษี (tax avoidance) เนื่องจากทั้ง 3 คํานี้มีสวนที่ใกลเคียง

กัน อาจทําใหเกิดความสับสนเขาใจผิดไดวาการวางแผนภาษีเปนการกระทําที่ถูกตองตามกฎหมายหรือไม

หัวขอการเรียนรูที่ 7 : ขอมูลพื้นฐานภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

การศึกษาถึงภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ควรทําความเขาใจกับภาพรวมและองคประกอบของภาษีเงินได

บุคคลธรรมดาเพ่ือจะไดเห็นและเขาใจถึงกระบวนการตามท่ีกฎหมายกําหนด โดยผูมีหนาที่เสียภาษีหรือหนวยภาษี

ของภาษีเงินไดบุคคลธรรมดามีทั้งส้ิน 4 ประเภท ไดแก บุคคลธรรมดา หางหุนสวนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใชนิติ

บุคคล ผูถึงแกความตายระหวางปภาษี และกองมรดกที่ยังมิไดแบง

จากประมวลรัษฎากร มาตรา 39 และมาตรา 40 กําหนดถึงความหมายของเงินไดพึงประเมิน และประเภท

ของเงินไดพึงประเมิน ซึ่งมีความหมายครอบคลุมไมเฉพาะแตเงินไดเทานั้น แตยังรวมถึงทรัพยสิน ประโยชนอื่นที่ไดรับ

อันอาจคํานวณเปนเงินได คาภาษีอากรท่ีผูอื่นออกแทน และเครดิตภาษี โดยแบงประเภทของเงินไดทั้งส้ินออกเปน

8 ประเภท ซึ่งเปนเงินไดที่ตองเสียภาษีเวนแตจะมีกฎหมายกําหนดยกเวนไวโดยเฉพาะ

หัวขอการเรยีนรูที่ 6-8 : ภาษีเงนิไดบุคคลธรรมดา

Page 12: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 12

เงินไดพึงประเมิน กอนที่จะนําไปคํานวณภาระภาษี จะตองนําไปหักออกดวยคาใชจาย และคา

ลดหยอนตามหลักเกณฑที่ประมวลรัษฎากรกําหนด โดยวิธีการหักจะแตกตางกันตามแตกฎหมายจะกําหนดไวสําหรับ

เงินไดแตละประเภท ทั้งนี้เนื่องจากเงินไดแตละประเภทมีที่มาแตกตางกันนั้นเอง โดยการหักคาใชจายมีวิธีการหัก

คือ แบบเหมา หรือ แบบตามความจําเปนและสมควร สวนการหักคาลดหยอนนั้นเปนกรณีที่รัฐออกกฎหมายเพื่อ

บรรเทาภาระการเสียภาษีของผูมีหนาที่เสียภาษี และเพื่อนโยบายตางๆ ของรัฐในขณะนั้น เชน เพื่อสนับสนุนการ

ออม เปนตน

หัวขอการเรียนรูที่ 8: การคํานวณและวิธีชําระภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

การวางแผนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ผูวางแผนภาษี นอกจากจะตองมีความรูในเร่ืององคประกอบของภาษี

ที่ประกอบดวย หนวยภาษี เงินไดพึงประเมิน เงินไดที่ไดรับการยกเวนไมตองนํามาคํานวณภาษี คาใชจายและคา

ลดหยอนแลว ในเบื้องตน ยังจะตองมีความรูในเรื่องของการคํานวณภาษี ภาระหนาที่ของผูเสียภาษี และการ

ประเมินเพื่อเสียภาษีเงินไดสวนบุคคลในรูปแบบ การหักภาษี ณ ที่จาย อีกดวย

อัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาท่ีกําหนดไวในประมวลรัษฎากร เปนการจัดเก็บภาษีในอัตรากาวหนา ซึ่ง

กําหนดต้ังแตอัตรารอยละ 10 ถึงรอยละ 37 เปนการกระจายรายไดอยางเปนธรรมในสังคม เนื่องจากผูมีรายไดมากเสีย

ภาษีมาก ผูมีรายไดนอยเสียภาษีนอย โดยมีวิธีการคํานวณภาษี 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 การคํานวณภาษีเงินไดบุคคล

ธรรมดาจากเงินไดสุทธิ และวิธีที่ 2 การคํานวณภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจากเงินไดพึงประเมิน ในการคํานวณแต

ละคร้ังตองคิดคํานวณภาษีทั้ง 2 วิธี หากเขาเงื่อนไขท่ีกฎหมายกําหนดไว เวนแตเงินไดพึงประเมินที่ไดรับเปนเงินได

พึงประเมินตามมาตรา 40(1) กําหนดใหคํานวณตามวิธีที่ 1 เพียงวิธีเดียวเทานั้น ซึ่งเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนดไว

สําหรับการคํานวณตามวิธีที่ 2 คือมีเงินไดพึงประเมินประเภทอื่นนอกจากเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40(1) ต้ังแต

60,000 บาท ในปภาษีนั้น ตองคิดคํานวณเสียภาษีทั้ง 2 วิธี และถาวิธีใดมีคาภาษีมากกวา ใหชําระภาษีตามวิธีนั้น

สวนภาษีหัก ณ ที่จายเปนภาษีเงินไดอยางหนึ่งโดยผูมีเงินไดมีหนาที่ตองเสียภาษีตามอัตราท่ีกฎหมายกําหนด

ของเงินไดที่ไดรับในขณะน้ัน และตองนําเงินไดที่ไดรับมารวมคํานวณเพ่ือเสียภาษี เวนแตมีกฎหมายกําหนดยกเวนไว

สําหรับภาษีที่ไดหัก ณ ที่จายไปแลวนั้นถือเปนภาษีลวงหนา เม่ือนําเงินไดทั้งหมดมารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีแลวหากผู

มีเงินไดยังมีหนาที่เสียภาษีเพิ่ม ผูมีเงินไดมีหนาที่เสียภาษีในสวนตางที่ยังมิไดเสียภาษี แตหากภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จายมี

จํานวนเกินกวาภาษีที่จะตองเสีย ผูมีเงินไดสามารถขอคืนภาษีที่ชําระเกินได

การวางแผนภาษีเปนสวนหน่ึงของการวางแผนทางการเงิน ดังนั้น นักวางแผนการเงินตองมีความรู ความ

เขาใจเบื้องตนเก่ียวกับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ทั้งในเร่ืองของกฎหมายภาษี ภาพรวมและโครงสรางของภาษีเงินได

บุคคลธรรมดา วิธีการคํานวณภาษีและสามารถคํานวณภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาได เพื่อนํามาใชวางแผนภาษี

เบื้องตนใหแกผูรับคําปรึกษาได

Page 13: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 13

หนังสืออานประกอบการสอบ (Reading Assignments)

1. การวางแผนการเงิน ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนการเงิน โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. PowerPoint Presentation ชุดวิชาที่ 1 : การวางแผนการเงิน : หัวขอ : ภาษเีงินไดบุคคลธรรมดา โดย

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

หนังสืออานเพ่ิมเติม (Suggested Readings)

1. Louis Cheng, 1. Gitman, Lawrence J., and Joehnk, Michael D. Personal Financial Planning.

South- Western/Thomson Corporation,2005.

2. Leung Tak Yan and Wong Yiu Hing. Financial Planning and Wealth Management

an international perspective.Singapore:McGraw-Hill,2009.

3. ชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม. 2548. การวางแผนภาษีอากร.พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพมหานคร : สถาบัน T. Training Center.

4. บริษัท ไอ เอ็ม บุคส จํากัด. 2550. Quality Tax Planning. กรุงเทพมหานคร : ส.เจรฺญการพิมพ.

5. สุขใจ น้ําผุด. 2551. กลยุทธการบริหารการเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

6. ศิรินุช อินละคร.2550.การเงินบุคคล.พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) :

หัวขอการเรียนรูที่ 6 : ความรูเบื้องตนเก่ียวกับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

เพื่อใหผูเขาสอบ : 1. ทราบถึงความรูทั่วไปของระบบภาษีอากรของประเทศไทย

2. เขาใจถึงหลักการในการจัดเก็บภาษีและสามารถอธิบายความแตกตางระหวางหลักแหลงเงินไดและหลักถ่ินที่อยู ได

3. เขาใจถึงความสําคัญของการวางแผนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

4. เขาใจความหมายและสามารถอธิบายถึงความแตกตางระหวางการวางแผนภาษี การหลบหลีกภาษี และการหนีภาษี

ได วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) :

หัวขอการเรียนรูที่ 7 : ขอมูลพื้นฐานภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

เพื่อใหผูเขาสอบ :

1. เขาใจถึงกฎหมายที่เก่ียวของกับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

2. สามารถอธิบายถึงผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ประเภทของเงินไดพึงประเมิน และเงินไดที่ไดรับการ

ยกเวน

3. สามารถอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางเงินไดแตละประเภทได

4. เขาใจและสามารถอธิบายวิธีการหักคาใชจาย และการหักคาลดหยอนของเงินไดพึงประเมินแตละประเภทได

Page 14: Module1

หลักสูตร CFP (Paper 1): Certified Financial Planner: Paper 1 ชุดวิชาที ่1: ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวางแผนการเงิน

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2552 หนา 14

วัตถุประสงคการเรียนรู (Learning Outcomes Statement: LOS) :

หัวขอการเรียนรูที่ 8: การคํานวณและวิธีชําระภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

เพื่อใหผูเขาสอบ :

1. เขาใจในเร่ืองอัตราภาษี ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย วิธีการคํานวณภาษี และสามารถคํานวณภาษีเงินไดบุคคล

ธรรมดาได

2. เขาใจการย่ืนแบบและการชําระภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

3. เขาใจหลักพื้นฐานในการวางแผนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาและสามารถวางแผนภาษีเบื้องตนใหกับผูรับคําปรึกษาได