motorcycle and helmet

8
สถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ ของเด็กและเยาวชนศู นย์วิ ชาการเพือความปลอดภัยทางถนน(ศวปถ.) สนั บสนุ นโดยส านั กงานกองทุ นสนั บสนุ นการสร้ างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) 1.ภาพรวม การศึกษาสถิติสําคัญของอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ การศึกษาข้อมูลใบมรณะบัตร จากแหล่งข้อมูลของสํานักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่าจํานวนการตายด้วยอุบัติเหตุ ขนส่ง .. 2553 ในภาพรวมทั้งประเทศ เท่ากับ 13,766 ราย และในปี .. 2554 เท่ากับ 14,033 ราย (เพิ่มขึ้นจํานวน 267 ราย) ในส่วนของอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์ พบว่า ปี .. 2553 มีจํานวนการตายด ้วยอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์เท่ากับ 4,365 ราย และในปี .. 2554 เท่ากับ 5,710 ราย (เพิ่มขึ้นจํานวน 1,345 ราย) (ตารางที1) นอกจากนี้ยังพบว่าจํานวนผู ้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ จําแนกตามเพศ และ กลุ่มอายุ ..2553 และ .. 2554 ผู้ขับขี่ที่มีช่วงอายุ 15-19 ปีเกิดอุบัติเหตุมาก ที่สุด รองลงมา คือ ช่วงอายุ 20-24 ปี และจํานวนผู้เสียชีวิตในช่วงอายุดังกล่าว เพิ่มขึ้น จํานวน 129 ราย (ตารางที2) ตารางที1 จํานวนการตายด ้วยอุบัติเหตุขนส่ง และรถจักรยานยนต์ปี .. 2553 เปรียบเทียบกับ .. 2554 แหล่งข ้อมูล:สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประเภท ..2553 ..2554 ความ ความ อุบ ัติเหตุ อุบ ัติเหตุ ร้อยละ อุบ ัติเหตุ อุบ ัติเหตุ ร้อยละ รวม 13,766 4,365 31.71 14,033 5,710 40.69 +1,345 +8.98 ชาย 10,889 3,626 33.30 11,068 4,675 42.24 +1,049 +8.94 หญิง 2,877 739 25.69 2,965 1,035 34.91 +296 +9.22

Upload: helmet-rsg

Post on 16-Mar-2016

212 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

conclusion of situation

TRANSCRIPT

สถานการณ์การบาดเจ็บและเสยีชวีติจากอบุตัเิหตรุถจกัรยานยนต ์“ของเด็กและเยาวชน”

ศนูยว์ชิาการเพือ่ความปลอดภัยทางถนน(ศวปถ.)

สนับสนุนโดยสํานักงานกองทนุสนับสนุนการสรา้งเสรมิสขุภาพ (สสส.)

1.ภาพรวม – การศกึษาสถติสิําคญัของอบุตัเิหตรุถจกัรยานยนต ์ การศึกษาขอ้มูลใบมรณะบัตร จากแหล่งขอ้มูลของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร ์สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ พบว่าจํานวนการตายดว้ยอุบัตเิหตุขนสง่ พ.ศ. 2553 ในภาพรวมทัง้ประเทศ เทา่กับ 13,766 ราย และในปี พ.ศ. 2554 เทา่กบั 14,033 ราย (เพิม่ขึน้จํานวน 267 ราย) ในสว่นของอบุัตเิหตจุากรถจักรยานยนต์พบวา่ ปี พ.ศ. 2553 มจํีานวนการตายดว้ยอบุัตเิหตรุถจักรยานยนตเ์ทา่กบั 4,365 ราย และในปี พ.ศ. 2554 เทา่กบั 5,710 ราย (เพิม่ขึน้จํานวน 1,345 ราย) (ตารางที ่1) นอกจากนีย้ังพบวา่จํานวนผูเ้สยีชวีติจากอบุัตเิหตรุถจักรยานยนต ์จําแนกตามเพศ และกลุม่อาย ุพ.ศ.2553 และ พ.ศ. 2554 ผูข้ับขีท่ีม่ชีว่งอาย ุ15-19 ปีเกดิอบุัตเิหตมุากที่สุด รองลงมา คือ ช่วงอายุ 20-24 ปี และจํานวนผูเ้สียชีวติในช่วงอายุดังกล่าวเพิม่ขึน้ จํานวน 129 ราย (ตารางที ่2) ตารางที ่1 จํานวนการตายดว้ยอบุตัเิหตขุนสง่ และรถจักรยานยนตปี์ พ.ศ. 2553 เปรยีบเทยีบกบั พ.ศ. 2554

แหลง่ขอ้มลู:สํานักนโยบายและยทุธศาสตร ์สํานักงานปลดักระทรวงสาธารณสขุ

ประเภท

พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 ความแตกตา่งของจาํนวนอบุตัเิหตุรถจกัรยานยนต ์

ความแตกตา่งของรอ้ยละ

อบุตัเิหตุขนสง่ท ัง้หมด

อบุตัเิหตุรถจกัรยานยน

ต ์รอ้ยละ

อบุตัเิหตุขนสง่ท ัง้หมด

อบุตัเิหตุรถจกัรยานยนต ์

รอ้ยละ

รวม 13,766 4,365 31.71 14,033 5,710 40.69

+1,345

+8.98

ชาย 10,889 3,626 33.30 11,068 4,675 42.24 +1,049 +8.94

หญงิ 2,877 739 25.69 2,965 1,035 34.91 +296 +9.22

‐ 2 ‐ 

 

ตารางที ่2 ชว่งอายทุีเ่สยีชวีติดว้ยอบุตัเิหตรุถจักรยานยนตปี์ พ.ศ. 2553 เปรยีบเทยีบกบั พ.ศ. 2554

ประเภท

พ.ศ.2553 พ.ศ.2554

ชว่งอาย ุ ชว่งอาย ุ

10-14 15-19 20-24 25-29 10-14 15-19 20-24 25-29

รวม 197 709 491 459 279 838 643 525

ชาย 151 618 431 400 216 706 559 459

หญงิ

46 91 60 59 63 132 84 66

แหลง่ขอ้มลู:สํานักนโยบายและยทุธศาสตร ์สํานักงานปลดักระทรวงสาธารณสขุ

นอกจากนีย้งัพบดว้ยวา่จากฐานขอ้มลูผูป่้วยใน ชดุขอ้มลูมาตรฐานโรงพยาบาล 12 แฟ้ม จํานวนผูป่้วยใน (IPD Case) ในปี 2554 ลดลงจากปี 2553 รอ้ยละ 17 เมือ่เปรยีบเทยีบจํานวนและสัดสว่นของผูป่้วยใน (ทัง้หมด และทีบ่าดเจ็บทีศ่รีษะ) จําแนกตามประเภทการใชร้ถใชถ้นนปี 2553-2554 (มค-มยิ.) สดัสว่นของการบาดเจ็บทีศ่รีษะของผูป่้วยในจากอบุัตเิหตรุถจักรยานยนต ์พบวา่ ในปี 2554 เพิม่ขึน้เล็กนอ้ยจากปี 2553 จากรอ้ยละ 58.64 เป็นรอ้ยละ 58.79 (ตารางที ่3)

‐ 3 ‐ 

 

ตารางที ่3 เปรยีบเทยีบจํานวนและสัดส่วนของผูป่้วยในทัง้หมดและผูป่้วยในที่บาดเจ็บทีศ่รีษะ จําแนกตามประเภทการใชร้ถใชถ้นน ปี พ.ศ. 2553-2554 (เดอืนมกราคม – มถินุายน)

แหลง่ขอ้มลู : ฐานขอ้มลูผูป่้วยในรายบคุคล หลกัประกนัสขุภาพถว้นหนา้ สวสัดกิารรักษาพยาบาลขา้ราชการและครอบครัว ( ไมร่วมสทิธปิระกนัสงัคม ) รวบรวม/วเิคราะห ์: สํานักนโยบายและยทุธศาสตร ์สํานักงานปลดักระทรวงสาธารณสขุ

2.ขอ้มลูจากรายงานการวจิยัทีเ่ก ีย่วขอ้ง รายงานการศกึษาการบาดเจ็บและเสยีชวีติจากอบุตัเิหตทุางถนน สํานกันโยบายและยุทธศาสตร ์สํานกังานปลดักระทรวงสาธารณสุข พบว่าขอ้มูลจาก ใบมรณะบัตร พ.ศ. 2548 – 2552 รถจักรยานยนตเ์ป็นพาหนะทีทํ่าใหม้ผีูเ้สยีชวีติมากทีส่ดุ คดิเป็นสดัสว่นถงึครึง่หนึง่ของผูเ้สยีชวีติทัง้หมด (50.13%) ตามมาดว้ย รถยนต ์ ( 26.75%) คนเดนิเทา้ (18.73%) รถบรรทกุหรอืรถตู ้(2.19%) รถบรรทกุขนาดใหญ ่(1.20%) นอกจากนี้ยังพบว่า กลุ่มอายุเฉลีย่ของผูเ้สยีชวีติจากรถจักรยานยนต ์ สงูทีส่ดุ ไดแ้ก ่ 15-19 ปี (18.7%) 20-24 ปี (16.0%) และ 25-29 ปี (12.8%) รวมกลุม่อาย ุ 15-29 ปี เทา่กบั 47.4% และเพศชายเสยีชวีติจากอบุัตเิหตทุางถนนมากกวา่เพศหญงิถงึ 4-5 เทา่ และเสยีชวีติจาก รถจักรยานยนตม์ากกวา่ 5-8 เทา่ รวมทัง้ขอ้มลูผูป่้วยในบง่ชีว้า่จํานวนผูป่้วยจากอบุัตเิหตรุถจักรยานยนตย์ังคงมสีัดสว่นทีส่งูทีส่ดุเมือ่เทยีบกบัยานพาหนะประเภทอืน่ โดยมสีดัสว่นเฉลีย่สงูถงึ 77.9%

‐ 4 ‐ 

 

ขอ้มูลทีพ่บขา้งตน้สอดคลอ้งกับหนงัสอืสถานการณ์แนวโนม้การบาดเจ็บ

และเสยีชวีติจากอบุตัเิหตกุารขนสง่ พ.ศ.2541 – 2550 สํานกัระบาดวทิยา กระทรวงสาธารณสุข ทีร่วบรวมขอ้มลูจากแหลง่ขอ้มลูทตุยิภมู ิจากระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (Injury Surveillance system) สํานักระบาดวทิยา กระทรวงสาธารณสขุ โดยมจัีงหวัดเครอืขา่ย 29 แหง่ ในระยะ 10 ปี และบง่ชีว้า่รถจักรยานยนตเ์ป็นพาหนะที่ทําใหเ้กดิการบาดเจ็บสงูทีส่ดุ รอ้ยละ 75.7 กลุม่อาย ุ0-14 ปี และ 15 – 19 ปี มีการขับขีร่ถจักรยานยนตท์ีม่แีนวโนม้สงูขึน้รอ้ยละ 88.6 สว่นใหญเ่ป็นการขับขีท่ีฝ่่าฝืนกฎหมาย เนื่องจากผูข้ับขี่อายุค่อนขา้งนอ้ย และยังไม่ไดรั้บอนุญาตใหม้ีการขับขี่รถจักรยานยนตไ์ดต้ามกฎหมายกําหนด และรว่มกบัการขับขีท่ีไ่มส่วมหมวกนริภัย โดยจํานวนและรอ้ยละของการสวมและไม่สวมหมวกนิรภัยของผูข้ับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต ์ในประเทศไทยมคีวามแตกตา่งกันอยา่งชดัเจน (ตารางที ่4) ทัง้นี้ยังพบวา่อวัยวะทีไ่ดรั้บการบาดเจ็บรุนแรงจากการขับขีร่ถจักรยานยนตโ์ดยไม่สวมหมวกนริภัยไดแ้กก่ารบาดเจ็บทีศ่รีษะ ถงึรอ้ยละ 45.1

สถานการณ์แนวโนม้การบาดเจ็บและเสยีชวีติจากอบุตัเิหตกุารขนสง่ในเด็กอายุ

ตํา่กวา่ 15 ปี พบวา่มจํีานวนทัง้หมด 75,807 ราย รถจักรยานยนตเ์ป็นยานพาหนะที่ประสบเหตสุว่นใหญถ่งึรอ้ยละ 56.9 ของผูป้ระสบเหตทุัง้หมด โดยกลุม่อาย ุ10 – 14 ปีมผีูไ้ดร้บับาดเจ็บสูงสุดถงึรอ้ยละ 70.4 และเสยีชวีติรอ้ยละ 75 ทีสํ่าคัญ แนวโนม้ของการเกดิอบุัตเิหตจุากรถจักรยานยนต ์ในเด็กอายตํุา่กวา่ 15 ปี สงูขึน้ทกุปี จาก พ.ศ. 2541-2550 คดิเป็นรอ้ยละ 53.5 – 62.6 ซึง่บง่ชีใ้หเ้ห็นวา่มกีารขับขี่รถจักรยานยนตใ์นกลุ่มเด็กทีก่ฎหมายไม่ไดอ้นุญาต และไม่มคีวามพรอ้มในการขับขี่ทางดา้นรา่งกาย มคีวามเสีย่งสงูตอ่การเกดิอบุตัเิหตไุดง้า่ย ตารางที ่4 จํานวนและรอ้ยละการไม่สวมหมวกนิรภัยของผูข้ับขีแ่ละโดยสารรถจักรยานยนต ์ประเทศไทย พ.ศ.2541 - 2550 ประเภทผูบ้าดเจ็บ 2541 - 2550 ความแตกตา่ง

จาํนวนสวมหมวกนริภยั(รอ้ยละ)

จาํนวนผูบ้าดเจ็บ

จาํนวนไมส่วมหมวกนริภยั จาํนวนสวมหมวกนริภยั จาํนวน รอ้ยละ จาํนวน รอ้ยละ

ผูข้บัขีแ่ละโดยสารรถจกัรยานยนต ์

455,860

400,582 87.87 55,278 12.13 75.74

ผูข้บัขี่รถจกัรยานยนต ์

362,332 311,499 85.97 50,833 14.03 71.94

ผูโ้ดยสารรถจกัรยานยนต ์

93,528 89,083 95.25 4,445 4.75 90.5

แหลง่ขอ้มลู: สํานักระบาดวทิยา กระทรวงสาธารณสขุ

‐ 5 ‐ 

 

จากการวเิคราะหข์อ้มูลสถานการณ์ผูบ้าดเจ็บและเสยีชวีติที่สวมและไม่สวมหมวกนริภัย แยกตามกลุม่อายใุนปี พ.ศ. 2553 พบวา่ กลุม่อายรุะหวา่ง 15-19 ปี ทีไ่ม่สวมหมวกนริภัยมจํีานวนการบาดเจ็บและตายสงูเป็นอันดับที ่1 (จํานวน 2,366 ราย) รองลงมาคอื กลุม่อายรุะหวา่ง 20-24 ปี (จํานวน 1,650 ราย) (ตารางที ่5) ตารางที ่5 จํานวนผูบ้าดเจ็บและเสยีชวีติทีส่วมและไมส่วมหมวกนริภัย แยกตามกลุม่อาย ุปี พ.ศ. 2553

แหลง่ขอ้มลู : 33 Sentinel Site Hospital of Severe Injury Surveillance วเิคราะหข์อ้มลูโดย: พญ.พมิพภ์า เตชะกมลสขุ

ข้อมูลจากงานวิจ ัย เ ร ื่อ งการศึกษาการบาดเ จ็บจากการข ับขี่

รถจกัรยานยนต ์ของคุณศริกิุล กุลเลยีบ และโรงพยาบาลขอนแกน่ ทีศ่กึษากลุม่เป้าหมายผูท้ีไ่ดรั้บบาดเจ็บจากการขับขีร่ถจักรยานยนต ์จํานวน 1,200 คนทีเ่ขา้รับการรักษาในหอ้งฉุกเฉนิของโรงพยาบาลจังหวัด โดยสุม่เก็บตัวอยา่งจํานวน 4 ภาคภาคละ 3 โรงพยาบาลรวมจํานวน 12 แหง่ ปรากฏขอ้คน้พบสําคญั ดงันี ้

‐ 6 ‐ 

 

-ผูบ้าดเจ็บสว่นใหญเ่ป็นผูข้ับขีท่ีอ่ยูใ่นกลุม่อาย ุ19 – 30 ปี จํานวน 444 คน (รอ้ยละ 37) เป็นผูข้ับขีท่ีม่อีาย ุ15-18 ปี จํานวน 176 คน (รอ้ยละ 14.7) ทีสํ่าคัญมผีู ้ขับขีท่ีอ่ายนุอ้ยกวา่ 15 ปี ถงึ 85 คน (รอ้ยละ 7) ซึง่ในกลุม่นี้กฎหมายไมใ่หข้ับขีแ่ละไมส่ามารถสอบใบขบัขีไ่ด ้

-กวา่ 480 คน (รอ้ยละ 40.2) ศกึษาอยูใ่นระดบัมธัยม รองลงมาคอืระดบัประถมจํานวน 437 คน (รอ้ยละ 36.4)

-สว่นใหญเ่ริม่ขับขีค่รัง้แรกในชว่งอายนุอ้ยกวา่ 15 ปี จํานวน 523 คน (รอ้ยละ 43.5) ผูข้บัขีค่ร ัง้แรกทีอ่ายตุํา่ทีส่ดุคอื 9 ปี และสว่นใหญห่ัดขับรถเองถงึ 652 คน (รอ้ยละ 54.3) รองลงมาคอื บดิามารดา ญาตผิูใ้หญส่อนให ้จํานวน 390 คน (รอ้ยละ 32.5)

-มากกวา่ครึง่ของกลุม่ตวัอยา่ง หรอืเทา่กบั จํานวน 772 คน (รอ้ยละ 64.3) ไมม่ใีบขบัขี ่

-กลุม่ตัวอยา่งกวา่ 919 คน (รอ้ยละ 76.6) ไมเ่คยถกูจับในกรณีไมส่วมหมวกนริภัย และผูเ้กดิอบุัตเิหตสุว่นใหญไ่มส่วมหมวกนริภัยมากถงึ 947 คน (รอ้ยละ 78.9) และสว่นใหญเ่หตผุลทีไ่มใ่สค่อื เพราะเดนิทางไมไ่กลหรอือยูใ่นเขตมหาวทิยาลัยหรอืหมูบ่า้น จํานวน 769 คน (รอ้ยละ 81.2)

-ผูข้บัขีท่ีไ่มส่วมหมวกนริภัย สว่นใหญเ่กดิอบุัตเิหตใุนชว่งเวลา 16.01 – 20.00 น. จํานวนถงึ 207 คน คดิเป็นรอ้ยละ 21.9

-ลักษณะการเกดิอุบัตเิหตุส่วนใหญ่ของผูข้ับขี่รถจักรยานยนต์พบว่าลม้เอง จํานวนถงึ 529 คน (รอ้ยละ 44.1) รองลงมาคอืขับขีร่ถจักรยานยนตช์นรถยนต ์จํานวน 370 คน (รอ้ยละ 30.8)

นอกจากนี้ หนงัสอืสถานการณ์อบุตัเิหตทุางถนนของประเทศไทย ปี พ.ศ.2553 ซึง่สนบัสนุนการจดัทําโดยศนูยว์ชิาการเพือ่ความปลอดภยัทางถนน ได ้รวบรวมสถติทิีเ่กีย่วขอ้งกบั 11 ตัวชีว้ัดดา้นความปลอดภัยทางถนน มขีอ้มลูทีน่่าสนใจ ดงันี ้

-ผูใ้ชร้ถจักรยานยนตไ์ดรั้บบาดเจ็บจากอบุัตเิหตทุางถนนกลุ่มใหญ่ทีส่ดุ (รอ้ยละ 70 – 80)

-อบุัตเิหตทุางถนนในชว่งเทศกาลพบวา่ยานพาหนะทีป่ระสบอบุัตเิหตมุากทีส่ดุ คอืรถจักรยานยนต ์คดิเป็นรอ้ยละ 70 ของยานพาหนะทีป่ระสบเหตทุัง้หมด

‐ 7 ‐ 

 

-รถจักรยานยนต์คือยานพาหนะที่มีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บรุนแรงจากอบุัตเิหตมุากทีส่ดุ โดยมากกวา่รถโดยสาร 2 เทา่ มากกวา่รถบรรทกุและรถยนต ์4 ลอ้ เกนิ 4 เทา่ นอกจากนี้ยังพบดว้ยวา่ประเภทของอบุัตเิหตบุนถนนหลวงเนื่องจากความเร็วมสีดัสว่นของรถจักรยานยนตช์นกบัรถยนตม์ากถงึ รอ้ยละ 23

ในสว่นของการทําใบขับขีจ่าก รายงานการสํารวจประวตักิารไดใ้บขบัขีก่ารทดสอบการขบัขี่ของเยาวชน และหน่วยงานที่เก ี่ยวข้อง กรณีศึกษาสถาบนัการศกึษาจงัหวดัพษิณุโลก ณฐักานต ์ ไวยเนตร และคณะ สนับสนุนการวจัิยโดยพบวา่มกีลุม่เด็กทีอ่าย ุไมถ่งึ 15 ปี ขับขีร่ถจักรยานยนตบ์นถนนแลว้มากกวา่รอ้ยละ 70 ซึง่ยังไมม่กีระบวนการใหค้วามรูท้ีเ่กีย่วขอ้งกับกฎหมายขอ้บังคับหรอืขอ้ควรปฎบิัตเิรือ่งกฎจราจร และพฤตกิรรมดา้นความปลอดภัยทีเ่ป็นรูปแบบในระบบการเรยีนการสอนปกต ิการไดรั้บการฝึกอบรมภายหลังจากทีว่ัยรุ่นมปีระสบการณ์การขับขี่มาแลว้พบวา่ มผีลตอ่การปรับเปลีย่นพฤตกิรรมนอ้ยมาก มกีลุม่ทีเ่ขา้ถงึโรงเรยีนฝึกขับขี่หรือผ่านการอบรมการฝึกขับขี่ปลอดภัยที่ไดม้าตรฐานจํานวนนอ้ย ทําใหไ้ม่พบความสมัพันธท์ีเ่ป็นขอ้ยนืยันหนักแน่นวา่การฝึกในชว่งอายใุดจะสง่ผลดทีีส่ดุ

3.ขอ้มลูสถติอิ ืน่ๆ ทีเ่กีย่วขอ้ง

3.1 จํ านวนและสัดส่วนการเกิดคดีอุบัติเหตุจราจรทางบก จากการขับขี่รถจักรยานยนต ์เปรยีบเทยีบระหวา่งปี พ.ศ.2553 และ พ.ศ.2554 พบวา่ปี 2553 มีการรับแจง้เหตคุดรีถจักรยานยนต ์19,839 คด ีจากจํานวนคดทีัง้หมด 83,261 คด ีคดิเป็นรอ้ยละ 23.83 ในปี 2554 มกีารรับแจง้เหตคุดรีถจักรยานยนต ์20,101 คด ีจากจํานวนคดทีัง้หมด 68,583 คด ีคดิเป็นรอ้ยละ 29.31 (เพิม่ข ึน้รอ้ยละ 5.48)

-แหลง่ทีม่า:คดจีราจร (เฉพาะคดทีีเ่ป็นอบุตัเิหต)ุ กลุม่งานสารสนเทศฯ ศนูยเ์ทคโนโลยสีารสนเทศกลาง- สถติคิดอีบุตัเิหตจุราจร ขอ้มลูสถติ ิสํานักงานตํารวจแหง่ชาต ิ

3.2 ขอ้มลูเทศกาลสงกรานต ์ในปี พ.ศ. 2555 ทีผ่า่นมา -ผู เ้สียชีว ิตส่วนใหญ่ (ร อ้ยละ 59.9) ยังคงเ ป็นผู ข้ับขี่และผู ซ้ อ้นทา้ย

รถจักรยานยนต์ เฉพาะผูท้ี่ทราบขอ้มูลการสวมหมวกนิรภัย พบว่า เกือบทัง้หมด (รอ้ยละ 89.94) ไมไ่ดส้วมหมวกนริภัย (สงกรานต ์2554 ไมส่วม 92.2%)

-ขอ้มลูจากสถาบนัการแพทยฉุ์กเฉนิแหง่ชาต ิ(สพฉ.)-

-สรปุยอดสถติ ิ7 วันอนัตรายชว่งสงกรานตปี์นี ้ยอดผูเ้สยีชวีติรวม 320 คน ยานพาหนะทีเ่กดิอบุัตเิหตสุงูทีส่ดุในชว่ง 7 วันทีผ่่านมา ยังคงเป็นรถจักรยานยนต ์รอ้ยละ 82.14 กวา่ครึง่ (รอ้ยละ 54.15) ของผูบ้าดเจ็บรุนแรงและเสยีชวีติอยูใ่นวัยแรงงาน (อาย ุ20-49 ปี) และ 1 ใน 4 (รอ้ยละ 27.66) เป็นกลุม่เด็กทีม่อีายตํุา่กวา่ 20 ปี

‐ 8 ‐ 

 

-ศนูยอํ์านวยการความปลอดภยัทางถนน (ศปถ.)-

3.3 อตัราการสวมหมวกนริภัยของผูใ้ชร้ถจักรยานยนตใ์นประเทศไทย

ผลจากการสํารวจการสวมหมวกนิรภัยทุกจังหวัด ทั่วประเทศ จํานวน 1,230,197 คน โดย มลูนธิไิทยโรดส ์ พบว่า สัดสว่นการสวมหมวกนริภัยในภาพรวมของประเทศเพิม่สงูขึน้เพยีง 2 เปอรเ์ซ็นต ์เท่านัน้ โดยเพิม่จาก 44 เปอรเ์ซ็นต ์ในปี 2553 เป็น 46 เปอรเ์ซ็นต ์ในปี 2554 และพบวา่กลุม่ผูโ้ดยสารมสีดัสว่นการสวมหมวกนริภัยทีเ่พิม่ขึน้มากกว่าผูข้ับขี ่คอืเพิม่ขึน้รอ้ยละ 5 (เพิม่จากรอ้ยละ 19 เป็นรอ้ยละ 24) ในขณะที่ผูข้ับขี่มีอัตราการสวมหมวกเพิม่ขึน้เพียงรอ้ยละ 1 เท่านั้น เมื่อพจิารณาเปรียบเทยีบรายภูมภิาค พบว่า ภาคเหนือ ภาคใต ้ภาคกลาง มสีัดส่วนการสวมหมวกนริภัยเพิม่ขึน้รอ้ยละ 6 , รอ้ยละ 5 และรอ้ยละ 1 ตามลําดับ ในขณะทีภ่าคตะวันออกเฉียงเหนือ กลับมีอัตราการสวมหมวกลดลง คอืในปี 2553 อยู่ที่รอ้ยละ 38 ในขณะที่ ปี 2554 ลดลงเหลอืรอ้ยละ 37 ในสว่นของ 5 จังหวัดแรกทีม่สีัดสว่นการสวมหมวกนริภัยสงูสดุ คือ กรุงเทพมหานคร (รอ้ยละ 82) ภูเก็ต (รอ้ยละ 71) นนทบุรี (รอ้ยละ 64) สมุทรปราการ (รอ้ยละ 62) และ พิษณุโลก (รอ้ยละ 58) ในขณะที่ 5 จังหวัดที่มีสัดส่วนการสวมหมวกนิรภัยตํ่าสุด (ไม่รวม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต)้ คือ จังหวัดบรุรัีมย ์ยโสธร แพร่ สระแกว้ ชยัภมู ิ(เฉลีย่ สวมหมวกนริภัยเพยีงรอ้ยละ 23 เทา่นัน้) ทัง้นี้อัตราการสวมหมวกนริภัยจําแนกตามกลุม่อาย ุพบวา่ในปี พ.ศ.2553 วัยรุ่นสวมหมวกนริภัยคดิเป็นรอ้ยละ 32 และในปี พ.ศ.2554 วัยรุน่สวมหมวกนริภัยคดิเป็นรอ้ยละ 34 (เพิม่ขึน้รอ้ยละ 2) ชว่งเวลาทีม่กีารสวมหมวกนริภัยมากทีส่ดุคอื 9.00 น. – 10.00 น. และ 11.00 น. – 12.00 น. (รอ้ยละ 63) และลดลงมากทีส่ดุในชว่งเวลาเย็น 19.00 – 20.00 น. (รอ้ยละ 41)