paraquat poisoning - คณะแพทยศาสตร์...

2
Paraquat poisoning พาราควอท เปนสารเคมีปราบวัชพืชหรือยาฆาหญาที่รูจักกันดีในชื่อทางการคา “Gramoxone” ซึ่งสามารถ ทําใหเสียชีวิตไดในขนาดปริมาณประมาณ 1 กรัมเทานั้น มีคุณสมบัติ เปนของเหลวสารสีน้ําเงิน รสเผ็ด ขม มีกลิ่นฉุน ไมระเหย มีความเขมขนสูงสามารถกัดกรอนโลหะ ดีบุก สังกะสีและอลูมิเนียมได ละลายไดดีในน้ํา ละลายไดนอยใน แอลกอฮอล หรือสารที่มีประจุลบและดินเหนียว การเกิดพิษ เมื่อสารพาราควอทเขาสูรางกายจะถูกรีดิวซ และถูกออกซิไดซโดยออกซิเจนไปเปนอนุมูลอิสระ และถูกเปลี่ยนโดยเอ็นไซม superoxide dismutase(2H + ) ไปเปนไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H 2 O 2 ) ซึ่งทั้ง superoxide radical และไฮโดรเจนเปอรออกไซดจะทําลายเซลลของอวัยวะตาง ในรางกาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง อวัยวะที่มี O 2 มาก คือ ปอด เนื่องจากมีการเกิดอนุมูลอิสระของออกซิเจนไดมาก อาการและอาการแสดง ระยะแรก พบแผลบวมแดงในปาก เจ็บปากเจ็บคอ อาเจียน ปวดทอง ทองเสีย ในรายที่มีอาการมาก อาจจะ มีการ rupture ของ esophagus ทําใหเกิด ลมรั่วเขาชองอก (pneumomediastinum) ระยะ 1-4 วัน จะมี อาการไตวายและตับวาย อาการแสดงคือปสสาวะออกนอย คา BUN/Cr SGOT SGPT สูงขึ้น ระยะ 10-14 วัน อาการไตวายและตับวายจะคอยๆ ดีขึ้น แตผูปวยจะมีอาการทรุดลงอีกดวยอาการของ progressive respiratory failure และเสียชีวิตภายใน 3 สัปดาห

Upload: tranthu

Post on 16-Jul-2019

220 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Paraquat poisoning

พาราควอท เปนสารเคมีปราบวัชพืชหรือยาฆาหญาที่รูจักกันดีในช่ือทางการคา “Gramoxone” ซึ่งสามารถทําใหเสียชีวิตไดในขนาดปริมาณประมาณ 1 กรัมเทานั้น มีคุณสมบัติ เปนของเหลวสารสีน้ําเงิน รสเผ็ด ขม มีกล่ินฉุน ไมระเหย มีความเขมขนสูงสามารถกัดกรอนโลหะ ดีบุก สังกะสีและอลูมิเนียมได ละลายไดดีในน้ํา ละลายไดนอยในแอลกอฮอล หรือสารที่มีประจุลบและดินเหนียว

การเกิดพิษ เมื่อสารพาราควอทเขาสูรางกายจะถูกรีดิวซ และถูกออกซิไดซโดยออกซิเจนไปเปนอนุมูลอิสระ

และถูกเปลี่ยนโดยเอ็นไซม superoxide dismutase(2H+) ไปเปนไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) ซึ่งทั้ง superoxide radical และไฮโดรเจนเปอรออกไซดจะทําลายเซลลของอวัยวะตาง ๆ ในรางกาย โดยเฉพาะอยางยิ่งอวัยวะที่มี O2 มาก คือ ปอด เนื่องจากมีการเกิดอนุมูลอิสระของออกซิเจนไดมาก

อาการและอาการแสดง ระยะแรก พบแผลบวมแดงในปาก เจ็บปากเจ็บคอ อาเจียน ปวดทอง ทองเสีย ในรายที่มีอาการมาก อาจจะ

มีการ rupture ของ esophagus ทําใหเกิด ลมรั่วเขาชองอก (pneumomediastinum) ระยะ 1-4 วัน จะมีอาการไตวายและตับวาย อาการแสดงคือปสสาวะออกนอย คา BUN/Cr SGOT SGPT สูงข้ึน ระยะ 10-14 วัน อาการไตวายและตับวายจะคอยๆ ดีข้ึน แตผูปวยจะมีอาการทรุดลงอีกดวยอาการของ progressive respiratory failure และเสียชีวิตภายใน 3 สัปดาห

ความรนุแรงของอาการ ข้ึนอยูกับปจจัยดังนี ้

1. ปริมาณ paraquat พบวาถาไดรับนอยกวา 15 ซีซีมักจะรอดชีวิต แตถามากกวา 50 ซีซี มักจะเสียชีวิต และถาไดรับยามากกวา 60 ซีซีจะมีอาการแสดงที่รุนแรงและเร็วและมักเสียชีวิตภายใน 24-48 ช่ัวโมง

2. อายุ ผูที่มีอายุนอยมีโอกาสรอดชีวิตสูงกวา 3. จํานวน WBC คือ WBC ต่ํากวา 10,000 cell/mm3 มีโอกาสรอดชีวิตสูงกวา 4. การไดรับการรกัษาทีร่วดเร็วและถูกวิธีเพื่อยับยั้งการดูดซึมของยาเขาสูกระแสเลือด การรกัษา การปฏบิัติเบื้องตน พยายามใหผูปวยอาเจียนเอาพาราควอทออกมามากที่สุดเชน ลวงคอ, ใหกินไขขาว, หรือใหด่ืมน้ําเกลือ

เขมขนอุน ๆ หรือใหด่ืมนม แลวรีบนําผูปวยสงโรงพยาบาลโดยดวน การปฏิบัติในโรงพยาบาล แบงออกเปน 3 ข้ันตอนคือ

1. ปองกันการดูดซึมทางลําไสเขาสูกระแสเลือด ใหดินเหนียว Fuller's Earth 150 กรัม ผสมน้ํา 1 ลิตร ใหทางปาก หรือให 7.5%bentonite 100-150 กรัม หรือ activated charcoal 100-150g(2 gm/k) และใหรวมกับยาระบาย MOM 30 มล. ทุก 4-6 ช่ัวโมง จนผูปวยถาย โดยทั่วไปถือวาข้ันตอนนี้เปนข้ันตอนสําคัญที่สุดในการรักษาภาวะเปนพิษ เพราะวาดินสามารถ ลดพิษพาราควอทไดเปนอยางดี

2. เรงการขับถายออกจากเลือด โดยใหน้ําเกลือทางหลอดเลือดดําดวยอัตรา 250 มล./ช่ัวโมง รวมกับฉีดยาขับปสสาวะ furosemide จนปสสาวะออกประมาณ 3 มล./นาที จะชวยเพิ่มการกําจัดพาราควอททางไตได ขอควรระวังคือ ภาวะน้ําเกิน หรือใชวิธี Haemodialysis(ไมชวยลดพิษพาราควอทแตรักษาไต)หรือ Haemoperfusionได โดยเฉพาะในผูปวยที่เพิ่งไดรับยามาภายใน 3 วัน และอาการไมเปนแบบ multiple organ failure

3. ปองกันการทําลายเนื้อเยื่อของรางกาย โดยงดใหออกซิเจน เพื่อยับยั้งกลไกลการเกิด Oxdation ของพาราควอท มีการปองกันการเกิดพังผืดในปอดดวย สเตียรอยด เชน ให dexamethasone 5 มก. IV ทุก 6 ช่ัวโมง และยา cytotoxic เชน cyclophosphamide 5 มก./กก./วัน IV แบงใหทุก 8 ช่ัวโมง ผลการรักษาอาจจะดี แตยังไมมี controlled trial พิสูจนอยางชัดเจน

เอกสารอางองิ ดาริกา วอทอง. (2556). Paraquat. สืบคนเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2556, สืบคนจาก

http://www.summacheeva.org/index_thaitox_paraquat.htm

ฝายวิชาการบรษิัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด. (2547). แนวทางการวนิจิฉยั การปฐมพยาบาล และการดูแลรกัษาภาวะเปนพษิจากพาราควอท (PARAQUAT POISONING) :การรักษาภาวะเปนพิษจากการกนิพาราควอท. สืบคนเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2557, สืบคนจาก http://www.slideshare.net/AimmyKhumpuangdee/paraqaut

วีระศักด์ิ จรัสชัยศรี.(2553). พิษพาราควอท (Paraquat). สืบคนเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2556, สืบคนจาก http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=muforensic&month=19-01-2010&group=3&gblog=13

ศูนยพิษวิทยา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). ภาวะเปนพิษจาก paraquat. สืบคนเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2556, สืบคนจาก http://www.ra.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/pois-cov/PQ