professional development:classroom action research for sped teachers

3
การพัฒนาวิชาชีพ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับ ครูการศึกษาพิเศษ Professional Development : Classroom Action Research for Special Education Teachers Associate Professor Dr. Jarunee Maneekul Associate Professor Dr. Siwarak Siwarom Faculty of Education, Chiang Mai University งานวิจัยนี้ไดรับเงินสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2554

Upload: jarunee-maneekul

Post on 06-Mar-2015

138 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

Research Abstract

TRANSCRIPT

Page 1: Professional Development:Classroom Action Research for SPED Teachers

การพัฒนาวิชาชีพ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับ

ครูการศึกษาพเิศษ Professional Development : Classroom Action Research

for Special Education Teachers

Associate Professor Dr. Jarunee Maneekul Associate Professor Dr. Siwarak Siwarom Faculty of Education, Chiang Mai University

งานวิจัยนี้ไดรับเงินสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยเชียงใหม 2554

Page 2: Professional Development:Classroom Action Research for SPED Teachers

ชื่อเรือ่งวิจัย การพัฒนาวิชาชีพ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษ คณะผูวิจัย รองศาสตราจารย ดร.จารุณี มณกีุล หัวหนาโครงการวิจัย รองศาสตราจารย ดร.ศิวรักษ ศิวารมย ผูรวมวิจัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผลงานวิจัย กุมภาพนัธ 2554

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค 3 ประการคือ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษ 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของรูปแบบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษ 3) เพื่อพัฒนาทักษะการวิ จัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษ กลุมเปาหมายที่ใชในการศึกษาประกอบดวย ครูการศึกษาพิเศษจากโรงเรียนแกนนําเรียนรวมทางการศึกษาพิเศษจังหวัดนานและจังหวัดพะเยา จํานวน16 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก แบบสอบถามครูการศึกษาพิเศษเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการสําหรับครูการศึกษาพิเศษ เปนแบบสอบถามปลายเปด โดยใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการของ Kemmis and McTaggart ประกอบดวยการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผนและการสังเกต (Act and Observe) และการสะทอนคิด (Reflect) การเก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะหขอมูลใชการแจงนับความถี่ รอยละ และการวิเคราะหเน้ือหาเชิงพรรณนา สรุปผลการวิจัยไดดังน้ี 1. ผลการพัฒนารูปแบบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษ พบวา รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษที่เหมาะสม คือ กรอบแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการของ Kemmis and McTaggart ประกอบดวย 4 ขั้นตอน ไดแกการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Act) การสังเกต (Observe) และการสะทอนคิด (Reflect) หรือ PAOR

2. ผลของประสิทธิภาพของรูปแบบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษ พบวา ครูการศึกษาพิเศษทุกคนที่เขารวมโครงการ สามารถจัดทํารายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนได แบงเปนดานการดําเนินการของโรงเรียน ดานครูผูสอน ดานนักเรียน และดานผูปกครอง ในทางปฏิบัติการสะทอนคิด พบวา โครงการวิจัยน้ีใหความรู ประสบการณ สามารถนําใชแกปญหาการศึกษาพิเศษไดจริง ตลอดจนสามารถพัฒนางาน พัฒนาตนเอง และพัฒนานักเรียนไดดีขึ้น

3. ผลการพัฒนาทักษะการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสําหรับครูการศึกษาพิเศษ พบวาครูการศึกษาพิเศษที่เขารวมโครงการมีความสามารถในการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามรูปแบบของ PAOR ได โดยในภาพรวมครูการศึกษาพิเศษทุกคนมีทักษะในการตั้งปญหา ความเปนมา การศึกษากลุมเปาหมาย วิธีดําเนินการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย การวิเคราะหขอมูลและการเขียนผลการวิจัย ตลอดจนดําเนินงานวิจัยอยางไดตอเน่ืองและสามารถเขียนงานวิจัยไดสําเร็จ

Page 3: Professional Development:Classroom Action Research for SPED Teachers

Title Professional Development : Classroom Action Research for Special Education

Teachers Research Team Associate Professor Dr. Jarunee Maneekul Associate Professor Dr. Siwarak Siwarom Report February 2011

Abstract

The three objectives of this research were 1) To develop a classroom action research model for special education teachers. 2) To study the efficiency of a classroom action research model for special education teachers. 3) To develop classroom action research skill of special education teachers. The target group of this research comprised 16 special education teachers from Nan and Payao. Research methodology were seminar, focus group and field trip. The research tool was a questionnaire for a follow up of the participants of the research design. The data were analyzed by descriptive statistics for percentage. The qualitative data was analyzed through content analysis. The research results were concluded as follows: (1) Classroom action research model for special education teacher was the model of Kemmis and McTaggart which composed of 4 stages: Plan, Act, Observe and Reflect (PAOR). (2) All participants were able to finish the classroom action research projects. The research topics were about administration, teachers, students with special needs and parents. In practical all special education problems were solved by the classroom action research. Reflection of the participants indicated that the project was beneficial by giving them knowledge and experience also help in work, students, and teacher themselves. (3) All participants were able to create the classroom action research using PAOR . As for all aspects of the research problems, methodology, and results, the participants conducted the classroom research simultaneously and completely.