q&a intro law4

24
1 การสอบไลภาค 1 ปการศึกษา 2551 ขอสอบกระบวนวิชา LAW 1004 (LA 104) (LW 104) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป คําสั่ง ใหนักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (ขอสอบมีทั้งหมด 120 ขอ) 1. ระบบกฎหมายใดที่ศาลสามารถใชจารีตประเพณีแหงทองถิ่นมาปรับใชกับขอเท็จจริงแหงคดีไดกรณีทีไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรบัญญัติไว (1) ระบบคอมมอน ลอว ( 2) ระบบซีวิล ลอว (3) ระบบกฎหมายจารีตประณีต ( 4) ระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร ตอบ 2 หนา 101 - 102 การที่ศาลสามารถใชจารีตประเพณีแหงทองถิ่นมาปรับใชกับขอเท็จจริงแหงคดี ไดในกรณีที่ไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรบัญญัติไวนั้น เปนวิธีอุดชองวางแหงกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 วรรคสอง ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชอยูในประเทศไทย ซึ่งเปนประเทศที่ใชกฎหมายระบบซีวิล ลอว หรือกฎหมายลายลักษณอักษร 2. ยุคกฎหมายใดที่หลักกฎหมายเกิดขึ้นจากขอพิพาทและการนํากฎหมายประเพณีมาปรับใชเหมาะสม (1) ยุคกฎหมายลายลักษณอักษร ( 2) ยุคกฎหมายชาวบาน (3) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย (4) ยุคกฎหมายเทคนิค ตอบ 3 หนา 10 – 11 ( บรรยาย ) เนื่องจากสังคมมนุษยมีขนาดใหญขึ้น เจริญขึ้นและมีการพัฒนา ไปมากพอสมควร ขอพิพาทจึงเกิดขึ้นมากตามไปดวย ดังนั้นการที่จะนํากฎหมายประเพณี หรือกฎหมายชาวบานมาปรับใชจึงไมเหมาะสม ไมพอใชบังคับกับชีวิตในสังคมที่เจริญแลว กฎหมายของนักกฎหมายจึงถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการของสังคม และ เพื่อแกไขปญหาที่เกิดในคดีสลับซับซอน ทําใหเกิดกฎเกณฑขึ้นใหมเปนการเสริมกฎเกณฑเกา 3. เงื่อนไขของการตราพระราชกําหนด จะกระทําไดเฉพาะเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นวา (1) จําเปนรีบดวนมิอาจหลีกเลี่ยงได (2) เพื่อรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (3) เพื่อประโยชนแกบุคคลที่มีโทษทางการเมือง (4) ถูกทั้งขอ (1) และ (2) ตอบ 4 หนา 32 ( คําบรรยาย) พระราชกําหนด มี 2 ประเภท ไดแก 1. พระราชกําหนดทั่วไป เปนกรณีที่ตราพระราชกําหนดเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัย ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความจําเปนรีบดวนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได และ 2. พระราชกําหนดเกี่ยวดวยภาษีเงินตรา เปนกรณีที่ตราพระราชกําหนดเกี่ยวกับภาษีอากร หรือเงินตรา ซึ่งตองพิจารณาโดยดวนละลับเพื่อรักษาประโยชนของแผนดินในระหวาง สมัยประชุมสภาเทานั้น 4. การตราพระราชกําหนดเรื่องใดที่สามารถกระทําในสมัยประชุมสภาได (1) ปองปดภัยพิบัติสาธารณะ ( 2) ความปลอดภัยของประเทศ (3) ภาษีอากร ( 4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 3. ประกอบ 5. องคกรที่มีหนาที่ตรวจสอบเงื่อนไขในการตราพระราชกําหนดวาเปนไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือไม (1) ผูตรวจการแผนดิน (2) วุฒิสภา (3) ศาลปกครอง (4) ศาลรัฐธรรมนูญ

Upload: thanawatn-estafan-kaewnet

Post on 11-Apr-2016

13 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

Intro7763388

TRANSCRIPT

Page 1: Q&A Intro Law4

1

การสอบไลภาค 1 ปการศึกษา 2551

ขอสอบกระบวนวิชา LAW 1004 (LA 104) (LW 104) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายท่ัวไป

คําส่ัง ใหนักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (ขอสอบมีทั้งหมด 120 ขอ)

1. ระบบกฎหมายใดที่ศาลสามารถใชจารีตประเพณีแหงทองถ่ินมาปรับใชกับขอเท็จจริงแหงคดีไดกรณีที ่

ไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรบัญญัติไว

(1) ระบบคอมมอน ลอว ( 2) ระบบซีวิล ลอว

(3) ระบบกฎหมายจารีตประณีต (4) ระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร

ตอบ 2 หนา 101 - 102 การที่ศาลสามารถใชจารีตประเพณีแหงทองถ่ินมาปรับใชกับขอเท็จจริงแหงคดี

ไดในกรณีที่ไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรบัญญัติไวนั้น เปนวิธีอุดชองวางแหงกฎหมาย

ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 วรรคสอง ซ่ึงเปนกฎหมายที่ใชอยูในประเทศไทย

ซ่ึงเปนประเทศที่ใชกฎหมายระบบซีวิล ลอว หรือกฎหมายลายลักษณอักษร

2. ยุคกฎหมายใดที่หลักกฎหมายเกิดขึ้นจากขอพิพาทและการนํากฎหมายประเพณีมาปรับใชเหมาะสม

(1) ยุคกฎหมายลายลักษณอักษร (2) ยุคกฎหมายชาวบาน

(3) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย (4) ยุคกฎหมายเทคนิค

ตอบ 3 หนา 10 – 11 ( บรรยาย ) เนื่องจากสังคมมนุษยมีขนาดใหญขึ้น เจริญขึ้นและมีการพัฒนา

ไปมากพอสมควร ขอพิพาทจึงเกิดขึ้นมากตามไปดวย ดังนั้นการที่จะนํากฎหมายประเพณี

หรือกฎหมายชาวบานมาปรับใชจึงไมเหมาะสม ไมพอใชบังคับกับชีวิตในสังคมที่เจริญแลว

กฎหมายของนักกฎหมายจึงถูกพัฒนาขึ้นมาเพ่ือตอบสนองความตองการของสังคม และ

เพ่ือแกไขปญหาที่เกิดในคดีสลับซับซอน ทําใหเกิดกฎเกณฑขึ้นใหมเปนการเสริมกฎเกณฑเกา

3. เงื่อนไขของการตราพระราชกําหนด จะกระทําไดเฉพาะเม่ือคณะรัฐมนตรีเห็นวา

(1) จําเปนรีบดวนมิอาจหลีกเล่ียงได (2) เพ่ือรักษาความม่ันคงทางเศรษฐกิจ

(3) เพ่ือประโยชนแกบุคคลที่มีโทษทางการเมือง (4) ถูกทั้งขอ (1) และ (2)

ตอบ 4 หนา 32 ( คําบรรยาย) พระราชกําหนด มี 2 ประเภท ไดแก

1. พระราชกําหนดทั่วไป เปนกรณีที่ตราพระราชกําหนดเพ่ือประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัย

ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความจําเปนรีบดวนอันมิอาจหลีกเล่ียงได และ

2. พระราชกําหนดเก่ียวดวยภาษีเงินตรา เปนกรณีที่ตราพระราชกําหนดเก่ียวกับภาษีอากร

หรือเงินตรา ซ่ึงตองพิจารณาโดยดวนละลับเพ่ือรักษาประโยชนของแผนดินในระหวาง

สมัยประชุมสภาเทานั้น

4. การตราพระราชกําหนดเรื่องใดที่สามารถกระทําในสมัยประชุมสภาได

(1) ปองปดภัยพิบัติสาธารณะ ( 2) ความปลอดภัยของประเทศ

(3) ภาษีอากร ( 4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 3. ประกอบ

5. องคกรที่มีหนาที่ตรวจสอบเงื่อนไขในการตราพระราชกําหนดวาเปนไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือไม

(1) ผูตรวจการแผนดิน (2) วุฒิสภา (3) ศาลปกครอง (4) ศาลรัฐธรรมนูญ

Page 2: Q&A Intro Law4

2

LW 104 page 2 1/51

ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน มาตรา 185 ไดบัญญัติใหอํานาจแกประธานราษฎรและ

ประธานวุฒิสภาในการสงความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพ่ือใหวิจัยวา พระราชกําหนด

ที่ออกมาใชบังคับนั้นเปนไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือไม

6. นายสิน อายุ 40 ป จดทะเบียนกับ น.ส.เดือน อายุ 22 ป ซ่ึง น.ส.เดือนเปนบุตรบุญธรรมของนายสิน

โดยที่ผูแทนโดยชอบธรรมของ น.ส.เดือน มิไดยินยอมดวย เชนนี้ การสมรสระหวางนายสิน และ น.ส.เดือน

จะมีผลทางกฎหมายอยางไร

(1) สมบูรณ ( 2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 1 หนา 177 ผูรับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไมได ในกรณีที่มีการฝาฝน ใหถือวา

การรับบุตรบุญธรรมยอมเปนอันยกเลิกไป แตการสมรสยังมีผลสมบูรณ

7. คูสารสที่ชอบดวยกฎหมายจะตอง ( 1) ทําการหม่ันกอนเสมอ

(2) จดทะเบียนสมรสเทานั้น ( 3) ตองจดทะเบียนสมรสและมอบสินสอดดวย

ตอบ 2 การสมรสนั้นเปนการตกลงระหวางชายหญิงที่จะอยูกินฉันสามีภริยา ซ่ึงสามารถ

กระทําไดโดยไมตองมีสัญญาหม่ันกันกอนแตอยางใด อีกทั้งในการสมรสนั้นกฎหมายก็มิได

บังคับใหตองมีสินสอดดังเชนการหม่ันที่ถือวาของหม่ันนั้นเปนสาระสําคัญของสัญญาหม่ัน

เพราะกฎหมายถือวาการสมรสที่ชอบดวยกฎหมายก็คือการจดทะเบียนสมรสเทานั้น

8. บุตรในกรณีใดตอไปนี้ถือวาคือบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของบิดา

(1) บุตรที่บิดาอุปาระเล้ียงดูอยางดี (2) บุตรที่บิดาใหใชนามสกุล

(3) บุตรที่บิดาไดจดทะเบียนสมรสกับหญิงมารดา (4) บุตรที่บิดาไดแจงเกิดในสูติบัตรวาเปนบิดา

ตอบ 3 หนา 173, 192, (คําบรรยาย) กรณีที่จะถือวาบุตรนั้นเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของบิดานั้น

จะตองเปนบุตรที่เกิดจากบิดามารดาซ่ึงไดจดทะเบียนสมรสกัน เวนแตถาเปนบุตรที่เกิดจาก

บิดามารดาไมไดจดทะเบียนสมรสกัน จะเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของบิดาก็ตอเม่ือบิดา

มารดาไดสมรสกันภายหลัง หรือบิดาไดจดทะเบียนวาเปนบุตร หรือศาลพิพากษาวาเปนบุตร

9. การสมรสในกรณีใดตอไปนี้ที่การสมรสจะสมบูรณ

(1) การสมรสกับบุคคลวิกลจริต ( 2) การสมรสกับคนไรความสามารถ

(3) การสมรสกับคนเสมือนไรความสามารถ (3) การสมรสกับบุพการี

ตอบ 3 หนา 175, (คําบรรยาย) ตามกฎหมายหามมิใหสมรสกับบุคคลวิกลจริตหรือบุคคลไรความสามารถ

และหามมิใหสมรสกับญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรือลงมาหรือกับพ่ีนองรวมบิดาหรือมารดา

ถามีการฝาฝนการสมรสจะตกเปนโมฆะ แตอยางไรก็ดี การสมรสกับคนเสมือนไรความสามารถนั้น

ไมมีกฎหมายบัญญัติหามไว การสมรสจึงมีผลสมบูรณ

10. การสมรสใดตอไปนี้ที่การสมรสส้ินสุดลงไดเพราะศาลพิพากษาใหเพิกถอน

(1) การสมรสซอน ( 2) การสมรสโดยปราศจากความยินยอม

(3) การสมรสกับผูสืบสันดาร ( 4) การสมรสเพราะเหตุสําคัญผิด

Page 3: Q&A Intro Law4

3

LW 104 page 3 1/51

ตอบ 4 หนา 176 การสมรสที่จะตกเปนโมฆียะ และศาลอาจเพิกถอนการสมรสนั้นได ไดแก

1. การสมรสที่ชายและหญิงมีอายุไมครบ 17 ปบริบูรณ

2. ผูเยาวไดทําการสมรสโดยปราศจากความยินยอมจากบิดามารดาหรือผูปกครอง

3. การสมรสโดยสําคัญผิดตัวคูสมรสอีกฝายหนึ่ง

4. การสมรสโดยถูกกลฉอฉลถึงขนาด 5. การสมรสโดยถูกขมขูอันถึงขนาด

11. การสมรสในกรณีใดตอไปนี้ที่การสมรสไดส้ินสุดลงแลว

(1) การสมรสที่คูสมรสตกลงแยกกันอยูมาหลายปแลว

(2) การสมรสที่คูสมรสฝายใดที่ศาลไดมีคําส่ังเปนผูสาบสูญแลว

(3) การสมรสที่เกิดขึ้นเพราะเหตุขมขู

(4) ไมมีขอใดถูกตอง

ตอบ 4 หนา 161, 184 – 185 การสมรสจะส้ินสุดลงไดดวยเหตุ 3 ประการเทานั้น ไดแก

1. ความตาย 2. ศาลพิพากษาเพิกถอน และ 3. การหยา (การที่คูสมรสสมัครใจแยกกันอยู

หรือการที่ศาลส่ังใหคูสมรสฝายใดฝายหนึ่งเปนคนสาบสูญนั้น เปนเพียงเหตุที่ทําใหอีกฝายหนึ่ง

ฟองหยาไดเทานั้น แตไมทําใหการสมรสส้ินสุดลง)

12. นายเออยูกินกับนางจันทรโดยมิไดจดทะเบียนสมรส มีบุตรคือ นายพุธและนายศุกร ซ่ึงนายเอไดใหนายพุธ

และนายศุกรใชนามสกุล ตอมาหากนายเอตาย มรดกของนายเอจะตกทอดใครบาง

(1) นางจันทร ( 2) นายพุธและนายศุกร

(3) นางจันทร นายพุธ และนายศุกร (3) แผนดิน

ตอบ 2 หนา 191 - 194 เม่ือนายเอตาย มรดกของนายเอจะตกไดแกนายพุธและนายศุกร เพราะแม

นายพุธและนายศุกรจะเปนบุตรนอกกฎหมายของนายเอเจามรดก แตเม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา

นายเอใหนายพุธและนายศุกรใชนามสกุลถือวานายเอไดรับรองวานายพุธและนายศุกรเปนบุตร

ทั้งสองจึงมีสิทธิรับมรดกในฐานะผูสืบสันดาร สวนนางจันทรเปนภริยาที่ไมไดจดทะเบียนสมรส

จึงไมใชคูสมรสและไมใชทายาทโดยธรรมจึงไมมีสิทธิรับมรดก

13. นายภพ อายุ 22 ป ตกลงหม่ันกับ น.ส. เจน อายุ 191 ป ซ่ึงรับการจดทะเบียนเปนบุตรบุญธรรมของ

นายสินและเปนบุตรของนายดําและนางแดง น.ส.เจนตกลงหม่ันโดยไดรับความยินยอมจากนายดําและ

นางแดงแลว เชนนี้ การหม่ันนี้จะมีผลทางกฎหมายอยางไร

(1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล

ตอบ 2 หนา 172 ในกรณีที่ผูเยาวมีฐานะเปนบุตรบุญธรรมบุคคลใด เม่ือจะทําการหม้ันก็ตองไปขอ

ความยินยอมจากผูรับบุตรบุญธรรมนั้น เพราะนับตั้งแตวันที่ผูเยาวไปเปนบุตรบุญธรรมอํานาจ

ปกครองของบิดามารดายอมหมดไป ผูรับบุตรบุญธรรมจะตองเปนผูใชอํานาจปกครองแทน

14. นายคม อายุ 22 ป ตกลงหม้ันกับ น.ส. ดาว อายุ 18 ป ซ่ึงเปนบุตรของนายเขียวและนางพุธ ซ่ึงมิได

จดทะเบียนสมรสกัน น.ส.ดาว ตกลงหม้ันกับนายคมโดยไดรับความยินยอมจากนางพุธเทานั้น เชนนี ้

การหม้ันนี้จะมีผลทางกฎหมายอยาไร

(1) สมบูรณ ( 2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 1 หนา 173 ในกรณีที่ผูเยาวเกิดจากมารดา ซ่ึงมิไดจดทะเบียนกับบิดา กฎหมายถือวาผูเยาวนั้น

เปนบุตรชอบดวยกฎหมายของมารดาเพียงผูเดียวและมารดาเทานั้นที่เปนผูใชอํานาจปกครอง

ดังนั้นเม่ือผูเยาวจะทําการหม้ันจึงตองขอความยินยอมจากมารดาเทานั้น ไมตองขอจากบิดาอีก

Page 4: Q&A Intro Law4

4

LW 104 page 4 1/51

15. นายเอกตกลงวาจะไปทําพิธีหม้ันที่บาน น.ส.โท ในอีก 7 วันขางหนาโดยตกลงวาจะมอบแหวนเพชรและ

นาฬิกาฝงเพชรให เม่ือถึงวันหม้ันนายเอกไดมอบแหวนใหแก น.ส. โท ในการทําสัญญาหม้ันเชนนี ้

ทรัพยสินใดที่ถือเปนของหม้ัน

(1) แหวนเพชรและนาฬิกาฝงเพชร ( 2) แหวนเพชรเทานั้น

(3) นาฬิกาฝงเพชรเทานั้น ( 3) ไมมีของหม้ันเลย

ตอบ 2 หนา 173 - 174 ของหม้ันนั้นจะตองมีลักษณะดังตอไปนี ้

1. เปนทรัพยสิน

2. เปนทรัพยสินที่ฝายชายใหแกหญิงเพ่ือเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้น

3. ของหม้ันจะตองใหไวแกหญิง กลาวคือ จะตองมีการสงมอบใหกันในเวลาทําสัญญาหม้ัน

และจะตองปรากฏวาฝายชายไดมีการมอบของหม้ันใหแกหญิงอยางแทจริงดวย และหญิง

ตองไดรับไวแลว โดยของหม้ันนั้นจะตกเปนสิทธ์ิของหญิงนั้น

16. นายพิชัย อายุ 16 ป จดทะเบียนสมรสกับ น.ส. อ๋ิว อายุ 16 ป เชนนี้ การสมรสระหวางนายพิชัย และนางสาว อ๋ิว

จะมีผลกระทบทางกฎหมายอยางไร

(1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 2 หนา 176 การสมรสจะทําไดก็ตอเม่ือชายและหญิงมีอายุครบ 17 ปบริบูรณ ( ถาทําการสมรส

โดยฝาฝนเงื่อนไขดังกลาว การสมรสนั้นเปนโมฆียะ แมวาจะไดรับความยินยอมจากบิดามารดา

หรือผูปกครอง ) เวนแตในกรณีที่มีเหตุอันควรศาลอาจอนุญาตใหทําการสมรสกอนนั้นได และ

ถาผูเยาวจะสมรสตองไดรับความยินยอมจากบิดามารดาหรือผูปกครองดวย

17. บุคคลใดตอไปนี้คือคูสมรสที่ชอบดวยกฎหมาย

(1) นายเหลืองอยูกินกับนางฟามาเปนเวลานานกวา 30 ป

(2) นายปรุงจดทะเบียนสมรสกับ น.ส. ดํา ตอมาจดทะเบียนหยากัน แตกลับยังอยูกินดวยกัน

(3) นายทองจดทะเบียนสมรสกับ น.ส. พู ตอมาตกลงแยกกันอยู

(4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 7 และขอ 11 ประกอบ

18. นายสนไดใชปนขมขู น.ส. เพชร ใหจดทะเบียนสมรสกับตนมิฉะนั้นจะยิงน.ส.เพชร ดวยความกลัว

น.ส. เพชรจึงยอมจดทะเบียนสมรสกับนายสน เชนนี้ การสมรสระหวางนายสนกับ น.ส.เพชร จะมีผล

ทางกฎหมายอยางไร

(1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 2 หนา 176 การสมรสโดยถูกขมขูมีผมเปนโมฆียะ โดยจะตองเปนการขมขูอันถึงขนาดซ่ึงถา

มิไดมีการขมขูนั้นจะไมทําการสมรส กลาวคือ จะตองมีการขมขูที่จะใหเกิดภัยอันใกลจะถึง

และรายแรงถึงขนาดเปนเหตุที่จะจูงใจใหผูขมขูตองกลัว

19. นางบุญจดทะเบียนกับนายขาวหลังจากจดทะเบียนหยากับนายดําคูสมรสคนเกาเพียง 7 วัน เชนนี้

(1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 1 หนา177, ( คําบรรยาย ) หญิงที่สามีตายหรือที่การสมรสนั้นส้ินสุดลงดวยประการอ่ืน

จะทําการสมรสใหมไดก็ตอเม่ือระยะเวลา 310 วัน นับแตส้ินสุดแหงการสมรส ไดผานพนไป

แตอยางไรก็ตาม ถาหากมีการฝาฝนการสมรสนั้นก็มีผลสมบูรณ เพราะกฎหมายมิไดบัญญัติให

มีผลเปนโมฆะหรือโมฆียะแตอยางใด

Page 5: Q&A Intro Law4

5

LW 104 page 5 1/51

20. นายหนึ่งตกลงทําสัญญาซ้ือลาจากนายสองเพ่ือนําไปทํางานลากไม เชนนี้สมบูรณ

(1) ตองทําเปนหนังสือ ( 2) ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียน

(3) ตองจดทะเบียน ( 4) ตองสงมอบชาง

ตอบ 2 หนา 205 การทํานิติกรรมจําหนายจายโอนสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ ซ่ึงปจจุบันไดแก

1. เรือที่มีระวางตั้งแต 5 ตันขึ้นไป 2. แพ และ 3. สัตวพาหนะซ่ึงไดแก ชาง มา โค กระบือ

ลา ลอ จะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนังงาเจาหนาที่เชนเดียวกับการจําหนาย

จายโอน อสังหาริมทรัพยดวย นิติกรรมนั้นจึงจะสมบูรณ

21. เรือนแพถือเปนทรัพยสินประเภทใด

(1) อสังหาริมทรัพยทั่วไป ( 2) สังหาริมทรัพยทั่วไป

( 3) อสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ ( 4) สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ

ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ 20 ประกอบ

22. รถบรรทุกสิบลอถือเปนทรัพยสินประเภทใด

(1) อสังหาริมทรัพยทั่วไป ( 2) สังหาริมทรัพยทั่วไป

( 3) อสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ ( 4) สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ

ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 20 ประกอบ

23. เรือยนตและเรือกลไฟที่มีระวางตั้งแต 5 ตันขึ้นไป ถือเปนทรัพยสินประเภทใด

(1) อสังหาริมทรัพยทั่วไป ( 2) สังหาริมทรัพยทั่วไป

( 3) อสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ ( 4) สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ

ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ 20 ประกอบ

24. หากนายเอไดตกลงทําสัญญาหม้ันกับ น.ส.จันทรแลว ปรากฏวาตอมา น.ส.จันทร ไมยอมสมรสกับนายเอ

เชนนี้ นายเอจะฟองบังคับ น.ส.จันทร ใหสมรสกับตนตามสัญญาหม้ันนั้นไดหรือไม เพราะเหตุใด

(1) ได เพราะสัญญาหม้ันคือสัญญาจะสมรสกันในวันขางหนา

(2) ไมได เพราะเปนสัญญาที่ไมอาจนําไปบังคับใหอีกฝาสมรสได

(3) ได หากมีการทําสัญญาหม้ันเปนลายลักษณอักษรใหฟองได

(4) ไมได การฟองบังคับเชนนี้ตองใหฝายหญิงฝายชายเทานั้น

ตอบ 2 หนา 174 สัญญาหม้ัน คือสัญญาวาชายกับหญิงจะสมรสกันในวันขางหนา แตเม่ือมีการหม้ันแลว

ตอมามีเหตุอันจะทําใหไมสามารถสมรสกันไดไมวาจะเพราะเหตุผิดสัญญาหม้ันหรือมีการบอก

เลิกสัญญาหม้ันก็ตาม คูหม้ันก็มิอาจรองขอใหศาลบังคับใหมีการสมรสได คงมีเพียงสิทธิใน

การเรียกคาทดแทนไดเทานั้น

25. นายเขียว อายุ 16 ป ตกลงทําสัญญาหม้ันกับ น.ส. พุธ อาย 16 ป โดยทั้งนายเขียว และ น.ส. พุธ ไดรับ

ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมของตนแลว เชนสัญญาหม้ันนี้จะมีผลทางกฎหมายอยางไร

(1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 3 หนา 171 – 172 การหม้ันจะทําไดก็ตอเม่ือชายและหญิงมีอายุครบ 17 ปบริบูรณ ซ่ึงการหม้ัน

ที่ฝาฝนเงื่อนไขดังกลาว มีผลเปนโมฆะ แมจะไดรับความยินยอมจากบิดามารดาหรือผูปกครอง

แลวก็ตาม และถาผูเยาวจะทําการหม้ันตองไดรับความยินยอมจากบิดามารดาหรือผูปกครองดวย

มิฉะนั้นการหม้ันจะมีผลเปนโมฆียะ

Page 6: Q&A Intro Law4

6

LW 104 page 6 1/51

26. นายฉัตร อายุ 23 ป ตกลงทําสัญญาหม้ันกับ น.ส. อิน อายุ 18 ป เชนนี้ การหม้ันนี้จะมีผลทางกฎหมายอยางไร

(1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 25 ประกอบ

27. นายเทิด อายุ 19 ป แอบตกลงทําสัญญาหม้ันกับ น.ส.ทอง อายุ 19 ป โดยไมใหใครรู เชนนี้ การหม้ันนี ้

จะมีผลทางกฎหมายอยางไร

(1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศาล

ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 25 ประกอบ

28. ขอใดทําใหสิทธิระงับ

(1) ขาดตัวผูทรงสิทธิ (2) การชําระหนี้ตามกําหนด (3) การสูญส้ินวัตถุแหงสิทธิ (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 หนา 134 สิทธิอาจจะระงับไดดวยเหตุตอไปนี้ คือ 1. ขาดตัวผูทรงสิทธิ 2 การชําระหนี้ตามกําหนด

เชน การชําระหนี้ การปลดหนี้ เปนตน 3 การสูญส้ินวัตถุแหงสิทธิ 4. การระงับแหงสิทธิโดย

บทบัญญัติแหงกฎหมาย

29. องคประกอบในการรองขอศาลใหบุคคลใดเปนบุคคลเสมือนไรความสามารถ ไดแก

(1) จิตฟนเฟองไมสมประกอบ (2) ตาบอดหูหนวก

(3) ติดการพนัน ( 4) มีความบกพรองทางรางกายและไมสามารถจัดการงานของตนเองได

ตอบ 4 หนา 151-152 (คําบรรยาย) บุคคลที่จะเปนคนเสมือนไรความสามารถนั้น จะตองประกอบดวย

หลักเกณฑที่สําคัญ 3 ประกอบ คือ 1. มีเหตุบกพรองบางอยางตามที่กฎหมายกําหนดไว

2. ไมสามารถจัดทําการงานของตนไดหรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเส่ือมเสียแกทรัพยสิน

ของตนเองหรือครอบครัวเพราะเหตุบกพรอง และ 3. ศาลส่ังใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ

30. ผูเยาวจะใหสัตยาบันโมฆียกรรมไดเม่ือใด

(1) เม่ือรูถึงโมฆียกรรมนั้น (2) เม่ือบรรลุนิติภาวะแลว

(3) ภายใน 10 ปนับแตทํานิติกรรม (4) ภายใน 10 ปนับแตรูถึงโมฆียกรรม

ตอบ 2. หนา 119 (เลขพิมพ 44289 หนา 175) การใหสัตยาบันแกโมฆียกรรม จะสมบูรณตอเม่ือ

ไดกระทําภายหลังเวลาที่มูลเหตุใหเปนโมฆียกรรมนั้นหมดส้ินไปแลว (ป.พ.พ. มาตรา 179)

ดังนั้นผูเยาวจะใหสัตยาบันแกโมฆียกรรมนั้นไดก็ตอเม่ือผูเยาวไดบรรลุนิติภาวะแลว

31. ขอใดมิใชลักษณะของความยินยอมที่ผูแทนโดยชอบธรรมจะอนุญาตใหผูเยาวทํานิติกรรม

(1) ทําหนังสือ ( 2) ใหความยินยอมดวยวาจาก็ได

(3) ใหภายหลังจากผูเยาวทํานิติกรรมแลว (4) ใหความยินยอมโดยปริยาย

ตอบ 3 (เลขพิมพ 44289 หนา 152) (คําบรรยาย) การใหความยินยอมของผูแทนโดยชอบทํานั้น

ไมมีแบบจะใหความยินยอมเปนลายลักษณอักษร หรือดวยวาจา หรือโดยปริยายก็ได

แตจะตองใหกอนหรือทํานิติกรรม ถาใหความยินยอมภายหลังจากทํานิติกรรมไปแลว

กฎหมายถือวาเปนการรับรองนิติกรรมที่เปนโมฆียะ ซ่ึงเรียกวาเปนการใหสัตยาบัน

32. เกงโดยสารเรือสําราญออกเดินทางเม่ือวันที่ 22 ธันวาคม 2549 เกิดคล่ืนพายุทําใหเรืออับปาง เม่ือวันที ่

26 ธันวาคม 2549 เกงไดสูญหายไปโดยไมมีใครทราบ ดังนี้ญาติของเกง จะรองขอใหศาลส่ังใหเกงเปน

บุคคลสาบสูญไดเม่ือใด

(1) 23 ธันวาคม 2551 (2) 23 ธันวาคม 2554 (3) 27 ธันวาคม 2551 (4) 27 ธันวาคม 2554

Page 7: Q&A Intro Law4

7

LW 104 page 7 1/51

ตอบ 3 หนา 159-160 การรองขอใหศาลส่ังใหบุคคลใดเปนคนสาบสูญไดนั้น จะกระทําไดตอเม่ือ

บุคคลนั้นไดหายไปมีกําหนดระยะเวลา 5 ปในกรณีธรรมดา หรือ 2 ป ในกรณีพิเศษ (ในกรณี

ของเกงถือวาเปนกรณีพิเศษ จะครบกําหนด 2 ปนับแตเม่ือเรืออับปางคือวันที่ 26 ธันวาคม 2551

และญาติของเกงจะรองขอใหศาลส่ังใหเกงเปนบุคคลสาบสูญได หลังจากครบกําหนด 2 ปแลว

คือตั้งแตวันที่ 27 ธันวาคม 2551)

33. ขอใดตอไปนี้ไมใชทรัพย

(1) เสนผมที่นํามาทําวิก (2) ตุกตาหมี (3) วิทยุติดรถยนต (4) ลิขสิทธ์ิ

ตอบ 4 หนา 201 “ทรัพย” หมายถึง วัตถุมีรูปราง ซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาไดเชน รองเทา

นาฬิกา ตุกตาหมี เสนผมที่นํามาทําวิก วิทยุติดรถยนต ฯลฯ สวน “ทรัพยสิน” หมายถึง

ทรัพย และวัตถุไมมีรูปรางซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได เชน พลังงานปรมาณู แกส

กรรมสิทธ์ิ ลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร ฯลฯ ดังนั้นถาส่ิงใดเปนทรัพยส่ิงนั้นยอมเปนทรัพยสินเสมอ

34. ดอกเบี้ย คือ

(1) ดอกผลธรรมดา ( 2) ดอกผลนิตินัย

(3) ดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย (4) ไมใชดอกผล

ตอบ 2 หนา 211-212 ดอกผลของทรัพยแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก

1. ดอกผลธรรมดา คือ ส่ิงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพยซ่ึงไดมาจากตัวทรัพยหรือจาก

ตัวแมทรัพย เม่ือไดขาดตกออกจากตัวแมทรัพยแลวโดยม่ีตัวแมทรัพยไมไดเปล่ียนสภาพ

หรือเปล่ียนรูปรางไป เชน ผลไม หรือลูกของสัตว เปนตน

2. ดอกผลนิตินัย เปนดอกผลที่มิไดเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แตเกิดขึ้นจากการที่ผูอ่ืนไดใชทรัพย

และจากการใชทรัพยนั้น ไดใหประโยชนเปนการตอบแทน เชน

ดอกเบี้ย คาเชา เปนตน

35. ขอใดตอไปนี้คือสวนควบ

(1) ที่งอกริมตล่ิง (2) ตะเกียบ 1 คู (3) วิทยุติดรถยนต (4) ปลอกใสแวนตา

ตอบ 1 หนา 208 “สวนควบ” ของทรัพยคือสวนซ่ึงโดยสภาพแหงทรัพยหรือโดยจารีตประเพณีแหง

ทองถ่ินเปนสาระสําคัญในความเปนอยูของทรัพยนั้น และไมอาจแยกจากกันได นอกจากจะ

ทําลายทําใหบุบสลาย หรือทําใหทรัพยนั้นเปล่ียนแปลงรูปหรือสภาพไป เชน บานบนที่ดิน และ

ที่งอกรอมตล่ิงเปนสวนควบของที่ดิน แวนตาเปนสวนควบของเลนส เปนตน

36. ขอใดตอไปนี้คือสาธารณสมบัติของแผนดิน

(1) ทรัพยที่ศาลส่ังริบ (2) ทางหลวง (3) รถยนตของทางราชการ (4) เอกสารของทางราชการ

ตอบ 2 หนา 207 (คําบรรยาย) สาธารณสมบัติของแผนดิน เปนทรัพยนอกพาณิชยอยางหนึ่ง กลาวคือ

ในฐานะเอกชนได เพราะมีกฎหมายบัญญัติหามโอน แตถาภายหลังมีกฎหมายบัญญัติใหโอนได

ก็ถือวาทรัพยสินนั้นส้ินสุกจากการเปนทรัพยนอกพาณิชย เชน ทางหลวง ที่ชายตล่ิง

สํานักราชการบานเมือง ฯลฯ

Page 8: Q&A Intro Law4

8

LW 104 page 8 1/51

37. ขอใดไมถูกตอง

(1) บุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนบุคคลสาบสูญแลวกฎหมายถือวาถึงแกความตาย

(2) เม่ือบุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนบุคคลสาบสูญ มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกทายาท

(3) การเปนคนสาบสูญอาจมีการเพิกถอนคําส่ังได

ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 11 ประกอบ

38. การส้ินสภาพบุคคลธรรมดา ไดแก

(1) ถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุกตลอดชีวิต ( 2) สาบสูญ

(3) ลมละลาย ( 4) ถูกศาลส่ังใหเปนบุคคลไรความสามารถ

ตอบ 2 หนา 154-155 สภาพบุคคลยอมส้ินสุดลงเม่ือตาย ซ่ึงการตายนั้นมี 2 กรณีคือ

1. ตายธรรมดา และ 2. ตายโดยผลของกฎหมาย คือ เม่ือบุคคลนั้นถูกศาลส่ัง

ใหเปนบุคคลสาบสูญ และไดประกาศคําส่ังนั้นในราชกิจจานุเบกษาแลว

39. นิติบุคคลแสดงเจตนาตางๆไดโดย

(1) ผานตัวแทน (2) แสดงเจตนาเปนลายลักษณอักษร (3) แสดงเจตนาไดเอง (4) ผานผูแทนนิติบุคคล

ตอบ 4 หนา 167-168 นิติบุคคล เปนส่ิงไมมีชีวิตจิตใจ จึงไมสามารถที่จะแสดงเจตนาหรือทําการใด

โดยตนเองได ดังนั้น กฎหมายจึงบัญญัติใหนิติบุคคลแสดงเจตนาตางๆ โดยผานผูแทนนิติบุคคล

ซ่ึงอาจมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได เชน รัฐมนตรเีปนผูแทนกระทรวง อธิบดเีปนผูแทนกรม

เจาอาวาสเปนผูแทนวัดวาอาราม หุนสวนผูจัดการเปนผูแทนหางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว

กรรมการเปนผู แทนของบริษัทจํากัด คณะกรรมการของสมาคมเปนผูแทนของสมาคม

คณะกรรมการมูลนิธิเปนผูแทนของมูลนิธิ เปนตน

40. ขอใดถือเปนภูมิลําเนาของนิติบุคคล

(1) ที่ตั้งที่ทําการ (2) ภูมิลําเนาเฉพาะการตามขอตกลง (3) สาขา (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 หนา 168-169 ภูมิลําเนาของนิติบุคคลแยกเปน 3 ประเภท 1. ส่ิงที่ตั้งสํานักงานใหญ หรือ

ที่ตั้งที่ทําการ 2. ถ่ินที่เลือกเปนภูมิลําเนาเฉพาะการตามขอตกลงหรือคราสารจัดตั้ง

3. ถ่ินของสํานักงานสาขาในสวนที่กิจการนั้นไดทําขึ้น

41. ผูปกครองของผูเยาวมีไดในกรณี

(1) ผูเยาวไมมีบิดามารดา ( 2) บิดามารดาถูกถอนอํานาจการปกครอง

(3) บิดามารดาหยาขาดจากกัน ( 4) ถูกเฉพาะขอ (1) และ (3)

ตอบ 4 หนา 147 ผูปกครองของผูเยาวซ่ึงจะเปนผูแทนโดยชอบธรรม จะมีไดใน 2 กรณีคือ

(1) ผูเยาวไมมีบิดามารดา (กรณีบิดามารดาตายหรือไมปรากฏบิดามารดา)

(2) บิดามารดาถูกถอนอํานาจการปกครอง

42. บุคคลธรรมดาที่กฎหมายมิไดกําหนดภูมิลําเนาใหไดแก

(1) คนเสมือนไรความสามารถ ( 2) คนไรความสามารถ

(3) ผูเยาว ( 4) ผูถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดของศาล

ตอบ 1 หนา 144-145 บุคคลที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาใหไดแก 1. ผูเยาว 2. คนไรความสามารถ

3. สามีและภริยา 4. ขาราชการ 5. ผูถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดของศาล

Page 9: Q&A Intro Law4

9

LW 104 page 9 1/51

43. ขอใดถูกตอง

(1) บุคคลฝายเดียวสามารถทําสัญญาได

( 2) สัญญาเกิดขึ้นเม่ือคําเสนอคําสนองถูกตองตรงกัน

(3) สัญญาที่ทําขึ้นนั้นจะกอใหเกิดผลผูกพันในทางกฎหมายทุกกรณี

(4) การเลิกสัญญาตองตกลงกันไวในเนื้อหาของสัญญาเสมอ

ตอบ 2 หนา 122, 125 สัญญาเกิดขึ้นไดตองมีองคประกอบ ดังนี้

1. ตองมีบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไปเปนคูสัญญา 2. ตองมีการตกลงยินยอมระหวางคูสัญญา

กลาวคือคูสัญญาฝายหนึ่งแสดงเจตนาเปนคําเปนคําเสนอ และอีกฝายแสดงเจตนาเปนคําสนอง

รับคําเสนอนั้น สัญญาจึงจะเกิดขึ้น 3.ตองมีวัตถุประสงคแหงสัญญา ซ่ึงวัตถุประสงคนี้จะตอง

ไมเปนการตองหามตามกฎหมายตองไมเปนการพนวิสัย และตองไมขัดตอความสงบเรียบรอย

หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มิฉะนั้นสัญญาจะตกเปนโมฆะไมกอใหเกิดผลผูกพันในทางกฎหมาย

44. การกระทําที่เปนโมฆียะจะมีผลคือ

(1) การใหสัตยาบันไมได ( 2) การกลาวอางไมกําหนดเวลา

(3) สมบูรณจนกวาจะบอกลาง ( 4) ผูมีสวนไดเสียทุกคนกลาวอางได

ตอบ 3 หนา 116 นิติกรรมที่เปนโมฆียะ คือ นิติกรรมซ่ึงเม่ือไดทําขึ้นมาแลวจะมีผลใชบังคับกันได

ตามกฎหมาย ซ่ึงอาจมีการบอกลางใหตกเปนโมฆะ หรืออาจมีการสัตยาบันเพ่ือให

นิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณก็ได ( ขอ (1), (2) และ(4) เปนผลของนิติกรรมที่เปนโมฆะ)

45. ขอใดมิใชนิติเหต ุ

(1) การเกิด ( 2) การตาย (3) การให (4) กาละมิด

ตอบ 3 หนา 125 – 129 นิติเหตุ หรือเหตุที่กอใหเกิดผลทางกฎหมาย โดยอาจจะเปนเหตุที่เกิดจาก

พฤติการณตามธรรมชาติ เชน การเกิด การตาย หรือเปนเหตุที่เกิดจากการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได

และละเมิด หรืออาจจะเปนเหตุที่ไดมาตาม ป.พ.พ. ลักษณะทรัพยและสิน เชน

การไดกรรมสิทธ์ิโดยหลักสวนครบ เปนตน (การใหเปนนิติกรรมประเภทหนึ่ง)

46. ขอใดถูกตอง

(1) คนไรความสามรถทํานิติกรรมรับรองบุตรได

(2) คนไรความสามารถทํานิติกรรมรับการปลดหนี้จากเจาหนี้ไมได

(3) คนไรความสามารถรับรองการสมรสได

(4) คนไรความสามารถทํานิติกรรมที่เปนการอันจําเปนในการดํารงชีพไดตามสมควร

ตอบ 2 หนา 150 -151 คนไรความสามาทํานิติกรรมใดๆ นิติกรรมนั้นจะตกเปนโมฆียะทั้งส้ินไมวา

จะไดทํานิติกรรมในขณะจริตวิกลหรือไมก็ตาม หรือไดทํานิติกรรมโดยผูอนุบาลจะไดยินยอมหรือ

ไมก็ตาม (คนไรความสามารถ กฎหมายหามทําการสมรส ถามีการฝาฝน การสมรสเปนโมฆะ)

47. ขอใดถูกที่สุด

(1) ทารกในครรภมารดาถือเปนทายาทแลว

(2) สภาพบุคคลเริ่มแตเม่ือคลอด

(3) เม่ือทารกคลอดแลวปรากฏวามีการเตนของหัวใจเชนนี่ ทารกมีสภาพบุคคล

(4) เม่ือทารกคลอดแลวตองมีการหายใจอยางนอย 1 ช่ัวโมง จึงจะถือวามีสภาพบุคคล

Page 10: Q&A Intro Law4

10

LW 104 page 10 1/51

ตอบ 3 หนา 137-139 สภาพบุคลยอมเริ่มแตเม่ือคลอดแลวอยูรอดเปนทารก ซ่ึงการอยูรอด

เปนทารกนั้น อาจดูที่การเตนของหัวใจ การเคล่ือนไหวของกลามเนื้อหรือดูที่การหายใจ

ซ่ึงการหายใจนั้นไมจํากัดวาจะมีระยะเวลาเทาใด ดังนั้นทารกที่อยูในครรภมารดาจึงยังไมมี

สภาพบุคคล

48. ทารกในครรภมารดา ขณะที่เจามรดกถึงแกความตาย

(1) มีสภาพบุคคล

(2) ไมมีสิทธิรับมรดก

(3) มีสิทธิรับมรดกหากเกิดมารอดอยูภายใน 310 วันนับแตวันเจามรดกตาย

(4) มีสิทธิรับมรดกถาเจามรดกทําพินัยกรรมให

ตอบ 1 หนา 139 ทารกในครรภมารดายังไมมีสภาพบุคคล (ดูคําอธิบายขอ 47. ประกอบ) แตสามารถมี

สิทธิตาง ๆ ได เชน สิทธิในการรับมรดก ถาหากวาภายหลังเกิดมาแลวอยูรอดเปนทารก

49. นิติบุคคลมีสิทธิ

(1) เปนโจทกฟองคดีแพง (2) รับโทษทางอาญาทุกโทษ (3) รับรองบุตร (4) สมรส

ตอบ 1 หนา 166-167 นิติบุคคลมีสิทธิหนาที่ภายในขอบวัตถุประสงคของตน เชน อาจเปนโจทก

ฟองคดี หรืออาจถูกฟองตอศาล อีกทั้งยังมีสิทธิหนาที่เหมือนบุคคลธรรมดา เวนแตสิทธิและหนาที่

ซ่ึงโดยสภาพจะพึงเปนไดแกบุคคลธรรมดาเทานั้นเชน การสมรส การการรับรองบุตร ฯลฯ

50. ขอใดมิใชผูแทนนิติบุคคล

(1) กรรมการสมาคมเปนผูแทนสมาคม ( 2) พระในวัดเปนผูแทนวัด

(3) หุนสวนผูจัดการเปนผูแทนหางหุนสวนจํากัด (4) อธิบดีเปนผูแทนกรม

ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 39. ประกอบ

51. ผูเยาวทํานิติกรรมตอไปนี้ไดโดยไมตองรับใบอนุญาตจากศาล

(1) ทํานิติกรรมเม่ืออายุครบ 15 ป ( 2) ประนีประนอมยอมความ

(2) ใหกูยืมเงิน ( 4) ขายอสังหาริมทรัพย

ตอบ 1 หนา 149 – 150 นิติกรรมที่ผูเยาวสามารถทําไดเองโยไมตองรับใบอนุญาตจากศาล ไดแก

1. นิติกรรมที่ทําใหผูเยาวไดซ่ึงสิทธิ หรือหลุดพนจากหนาที่ เชน การทํานิติกรรมรับการปลดหนี ้

จากเจาหนี้ โดยปราศจาดเงื่อนไขหนาหรือภาระติดพัน

2. นิติกรรมที่ผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว เชน การจดทะเบียนรับรองบุตร

3. นิติกรรมที่สมแกฐานนุรูปและจําเปนในการดํารงชีวิตพอสมควร เชน ซ้ืออาหรารับประทาน

4. ผูเยาวอาจทําพินัยกรรมไดเม่ืออายุครบ 15 ป บริบูรณ

52. ขอใดที่คนเสมือนไรความสามารถ ทํานิติกรรมไดดวยตนเอง

(1) การนําทรัพยไปลงทุน ( 2) กูยืมเงิน

(3) ใหกูยืมเงิน ( 4) เชาบานอยูอาศัยเปนระยะเวลา 1 ป

ตอบ 4 หนา 152 คนเสมือนไรความสามารถ โดยหลักแลวสามารถทํานิติกรรมไดทุกประเภท

ยกเวนบางประเภทที่ไดรับการยินยอมจากผูพิทักษเสียกอน เชน การนําทรัพยสินไปลงทุน

กูยืมเงิน หรือ ใหกูยืมเงิน เชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย มีกําหนดระยะเวลาเกินกวา 6 เดือน

หรืออสังหาริมทรัพยเกินกวา 3 ป เปนตน

Page 11: Q&A Intro Law4

11

LW 104 page 11 1/51

53. คนไรความสามารถทํานิติกรรมขอใดได หากผูอนุบาลยินยอม

(1) นิติกรรมที่เปนการเฉพาะตัว ( 2) นิติกรรมที่เก่ียวกับสังหาริมทรัพย

(3) นิติกรรมที่ไดไปซ่ึงสิทธิ ( 4) ทํานิติกรรมใดๆ ก็ไมไดทั้งส้ิน

ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ 46. ประกอบ

54. ขอใดคือผูหยอนความสามารถ

(1) คนลมละลาย (2) คนตาบอดขายล็อตเตอรี่ (3) คนไรความสามารถ (4) คนสาบสูญ

ตอบ 3 หนา 146, (คําบรรยาย) ผูหยอนความสามารถ คือ บุคคลบางประเภทที่กฎหมายไดจํากัด

หรือตัดทอนความสามารถปจจุบันมี 3 ประเภท คือ 1. ผูเยาว 2. คนไรความสามารถ

3. คนเสมือนไรความสามารถ

55. นิติกรรมขอใดที่ผูเยาวทําไดเอง

(1) นายเออายุ 15 ป ทํานิติกรรมรับการปลดหนี้จากเจาหนี้โดยไมมีเงื่อนไขใด ๆ

(2) นายหนึ่งอายุ 14 ป ทําพินัยกรรม

(3) นายหนุมกับนางสาวสวยอายุ 18 ป ทําการสมรสกันเองโดยบิดามารดาไมยินยอม (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 51 ประกอบ

56. โมฆะกรรม หมายถึง นิติกรรมที ่

(1) ตกเปนอันเสียเปลาใชบังคับไมได เสมือนหนึ่งมิไดอะไรเกิดขึ้นเลย

(2) ตกเปนอันเสียเปลาใชบังคับไมได แตอาจไดรับสัตยาบันใหกับสมบูรณได

(3) มีผลในทางกฎหมายผูกพันกัน แตอาจถูกกลาวอางได

(4) มีผลในทางกฎหมายผูกพันกัน แตอาจถูกบอกลางได

ตอบ 1 หนา 155 โมฆะกรรม หมายถึง นิติกรรมที่ตกเปนอันเสียปาวใชบังคับกันไมไดเลย เสมือนหนึ่งวา

มิไดมีอะไรเกิดขึ้นเลย และจะใหสัตยาบันไมได ผูมีสวนไดเสียคนใดคนหนึ่งจะยกเอา

ความเสียเปลาแหงโมฆะกรรมนั้นขึ้นกลาวอางได

57. บุคคลที่อายุ 16 ปบิบูรณแลว

(1) มีสิทธิสมรสแตยังไมบรรลุนิติภาวะ ( 2) มีสิทธิสมรสและบรรลุนิติภาวะ

(3) บิดามารดาทั้งสองฝายตองใหความยินยอมจึงจะสมรสได (4) ไมมีขอใดถูก

ตอบ 4 หนา146 บุคคลตัวยอมบรรลุนิติภาวะในกรณีใดกรณีหนึ่ง คือ 1. เม่ือมีอายุครบ 20 ปบริบูรณ

หรือ 2. เม่ือไดทําการสมรสในขณะที่มีอายุครบ 17 ปบริบูรณ หรือ อายุไมครบ 17 ปบริบูรณ

แตรับอนุญาตจากศาลใหทําการสมรสได

58. นายนอยไมรูวาเกิดเม่ือใดทราบแตเกิดป พ ศ 2520 ดังนี้ตามกฎหมายถือวานายนอยเกดเม่ือใด

(1) 1 มกราคม 2520 (2) แลวแตนายอําเภอทองที่จะกําหนดวาเกิดเม่ือใดในป 2520

(3) 1 เมษายน 2520 ( 4) แลวแตนายนอยจะเลือกวาเกิดเม่ือใดในป พ ศ 2520

ตอบ 1 หนา 140 (คําบรรยาย) ในกรณที่ไมรูวาบุคคลเกิดวันใด เดือนใด แตรูปเกิด ใหถือวาบุคคลนั้น

ไดเกในวันตนป ซ่ึงเปนปที่บุคคลนั้นเกิด ในกรณีที่เกิดกอนวันที่ 18 ตุลาคม 2438 ใหถือเอา

วันที่ 1 เมษายน เปนวันตนป หากเกิดภายหลังจากนั้นใหถือเอาวันที่ 1 มกราคม เปนวันตนป

เชน นายนอยไมรูวาเกิดเม่ือใดทราบแตเกิดป พ ศ 2520 ดังนี้ถือวานายนอยเกิด

เม่ือวันที่ 1 มกราคม 2520

Page 12: Q&A Intro Law4

12

LW 104 page 12 1/51

59. ผลของการเปนคนไรความสามารถเริ่มตั้งแตเม่ือใด

(1) เริ่มวันที่วิกลจริต ( 2) เริ่มวันที่ฟองศาล

(3) เริ่มวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ( 4) เริ่มวันที่ศาลส่ัง

ตอบ 4 หนา 150 (คําบรรยาย) การเปนคนไรความสามารถนั้น จะตองประกอบดวยหลัดเกณฑ

2 ประการคือ 1. เปนคนวิกลจริต และ 2. ถูกศาลส่ังใหเปนคนไรความสามารถ และเม่ือ

ศาลส่ังใหบุคคลใดเปนบุคคลไรความสามารถแลว ผลของการเปนคนไรความสามารถในเริ่มนับแต

วันที่ศาลส่ัง (การที่ตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนเรื่องของการปฏิบัติเทานั้น

60. สิทธิหมายถึง

(1) การที่บุคคลทุกคนตองปฏิบัติตามที่กฎหมายกําหนด (2) หนาที่ที่ทุกคนตองปฏิบัติตาม

(3) ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองให (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 หนา 105 สิทธิ คือ ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองให แบงออกเปน

1. สิทธิในตัวบุคคล เชน สิทธิในรางกาย อนามัย ช่ือเสียง ความคิดเห็น

2. สิทธิในทรัพยสิน เชน ทรัพยสิทธิ สิทธิที่เรียกรองใหชําระหนี ้

3. สิทธิในครอบครัว เชน สิทธิในการรับมรดก 4. สิทธิในทางการเมือง เชน สิทธิเลือกตั้ง

61. บุคคลวิกลจริตทํานิติกรรมโดยที่ไมมีอาการวิกลจริตและคูกรณีอีกฝายหนึ่งไมรูวาบุคคลหนึ่งวิกลจริต

นิติกรรมที่ทํามีผลเปน

(1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ (4) ไมมีผลทางกฎหมายแตอยางใด

ตอบ 3 หนา 150 คนวิกลจริตศาลยังมิไดส่ังใหเปนคนไรคมสามารถทํานิติกรรมใด ๆ นิติกรรมนั้น

จะมีผลสมบูรณ เวนแตจะเปนโมฆียะกอตอเม่ือ 1 ไดทํานิติกรรมในขณะที่จริตวิกล และ

2. คูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูอยูแลวในขณะทํานิติกรรมวาผูนั้นเปนวิกลจริต

62. ความผิดใดแมทํานอกราชอานาจักรและไมวาบุคคลจะมีสัญชาติใด ศาลไทยมีอํานาจพิจารณาคด ี

(1) ความผิดตาม พ ร บ ยาเสพติด ( 2) ความผิดฐานลักพาคนขามชาต ิ

(3) ความผิดฐานปลนทรัพยซ่ึงกระทําในทะเลหลวง (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 หนา 88 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 7 ไดบัญญัติอํานาจแกศาลไทยที่จะพิจารณา

พิพากษาคดีที่แมจะไดกระทํานอกราชอาณาจักร และผูกระทําความผิดจะมีสัญชาติใดก็ตาม

1. ความผิดเก่ียวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักร

2. ความผิดเก่ียวกับการปลอม และการแปลงเหรียญกษาปณ ธนบัตรหรือส่ิงอ่ืนใด

3. ความผิดฐานชิงทรัพย และปลนทรัพยซ่ึงไดกระทําในทะเลหลวง

63. ความผิดอาญาลหุโทษ คือความผิดที่กฎหมายระวางโทษ (1) จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน

(2) จําคุกไมเกิน 2 เดือน (3) จําคุกไมเกิน 3 เดือน (4) จําคุกไมกิน 4 เดือน

ตอบ 1 หนา 67 ความผิดหลุโทษเปนความผิดเล็ก ๆ นอย ๆ มีอัตราโทษจําคุกไมเกิน 1 เดือน หรือ

ปรับไมเกิน 1000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

64. ศาลแพงมีคําพิพากษาถึงที่สุด ใหนายดําชําระหนี้ใหแกนายงก เม่ือพนเวลาที่ศาลกําหนดนายดําไมยอมชําระหนี้ดังนี ้

(1) นายงกเขามายึดทรัพยของนายดําชําระหนี้ได

(2) นายกใหเจาพนักงานตรวจจับตัวนายดําดําเนินคด ี

(3) นายงกนําเจาพนักงานบังคับคดียึดทรัพยนายดําได

(4) ผิดทุกขอ

Page 13: Q&A Intro Law4

13

LW 104 page 13 1/51

ตอบ 4 หนา 76, 245 ในกรณีที่ลูกหนี้ไมชําระหนี้ภายในกําหนดระยะเวลาที่ศาลกําหนด

ตามคําพิพากษาจะตองขอใหศาลออกหมายบังคับคดียึดทรัพยสินของจําเลยกอน จากนั้นจึงจะ

มีการบังคับคดีตามคําพิพากษาคือใหเจาพนักงานบังคับคดียึดทรัพยของลูกหนี้เพ่ือนําออกขาย

ทอดตลาด

65. ขอใดเปนการยกเลิกกฎหมาย

(1) กฎหมายนั้นประกาศใชมาครบ 100 ปแลว

(2) มีกฎหมายที่มีลักษณะเดียวกันระบุยกเลิก

(3) เม่ือไดมีการประกาศพระราชกําหนด แตตอมารัฐสภาไมอนุมัติ (4) ถูกเฉพาะขอ (2) และ (3)

ตอบ 4 หนา 82-83 เม่ือไดเริ่มใชกฎหมายแลว กฎหมายก็จะใชบังคับอยูตอไปจนกวาจะไดมีการ

ยกเลิก ซ่ึงอาจจะเปนการยกเลิกโดยตรง เชน มีกฎมายใหมที่มีลักษณะเชนเดียวกับระบุยกเลิกไว

โดยตรง หรือเม่ือไดมีการประกาศใชพระราชกําหนด แตตอมารัฐสภาไมอนุมัติพระราชกําหนดนั้น

เปนตน หรืออาจจะเปนการยกเลิกกฎหมายโดยปริยายก็ได เชน กรณีที่กฎหมายเกามีความขัดแยง

กับกฎหมายใหม ดังนี้ใหถือวาเปนการยกเลิกกฎหมายเกาไปโดยปริยาย เปนตน

66. โทษทางอาญาที่รองจากโทษจําคุก

(1) กักกัน (2) ปรับ ( 3) กักขัง ( 4) ยึดทรัพย

ตอบ 3 หนา 16 สภาพบังคับในมางกฎหมายอาญา คือ โทษนั้น เรียงจากหนักที่สุดไปเบาที่สุด ไดแก

1. ประหารชีวิต 2. ปรับ 3. กักขัง 4. ปรับ 5. ริบทรัพยสิน

67. นายดําขับรถโดยประมาทเปนเหตุใหชนนายขาวถึงแกความตาย คดีนี้เปนความผิดอาญาแผนดิน

ดังนี้เม่ือนายดําชดใชคาเสียหายใหบิดามารดาของนายขาวแลว ถือวาคดีนี ้

(1) ถือวาคดีอาญาเลิกกัน ( 2) บิดามารดานายขาวถอนฟองได

(3) ศาลตองจําหนายคดี ( 4) คดีอาญายังไมระงับ

ตอบ 4 (คําบรรยาย) สิทธินําคดีอาญามาฟองยอมระงับไปดังตอไปนี้ 1. โดยความตายของผูกระทําผิด

2. ในคดีความผิดตอสวนตัว เม่ือไดถอนคํารองทุกข ถอนฟอง หรือยอมความกันโดยถูกตอง

ตามกฎหมาย 3. เม่ือคดีเลิกกัน เชน คดีมีโทษปรับสถานเดียว และผูกระทําผิด

ยอมเสียคาปรับในอัตราอยางสูงสําหรับความผิดนั้น ( ป.ว.อาญา มาตรา 39)

68. บุคคลมีอํานาจเปนโจทกฟองคดีอาญา ไดแก

(1) ผูเสียหาย ( 2) พนักงานอัยการ

(3) พนักงานสอบสวน ( 4) ถูกเฉพาะขอ (1) และ (2)

ตอบ 4 หนา 73 ในการฟองคดีอาญานั้น บุคคลผูมีสิทธิฟองคดีนั้น ไดแก

1. พนักงานอัยการ ซ่ึงจะฟองคดีไดก็ตอเม่ือมีการสอบสวนของพนักงานสอบสวนแลว

2. ผูเสียหาย ซ่ึงในกรณีที่ผูเสียหายเปนโจทกฟองคดีอาญาดวยตัวเองนั้น ศาลจะตองไตสวน

มูลฟองกอนเสมอ เพราะเปนการฟองคดีโดยไมมีการสอบสวน

69. ผูเสียหายที่มีสิทธิขอรับคาตอบแทนจากกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ จะตองเปนผูเสียหายในความผิด

เก่ียวกับ

(1) ทรัพยสิน ( 2) ถูกฆาถูกทําราย

(3) ถูกบุกรุกที่ดิน ( 4) ความผิดทุกประเภท

Page 14: Q&A Intro Law4

14

LW 104 page 14 1/51

ตอบ 2 ตาม พ ร บ คาตอบแทนผูเสียหายและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ ศ 2544

มาตรา 17 ไดบัญญัติวา ความผิดกระทําตอผูเสียหาย อันอาจขอรับคาตอบแทนไดตองเปน

ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ไดแก 1. ความผิดเก่ียวกับเพศ 2. ความผิดตอชีวิต

3. ความผิดตอรางกาย 4. ความผิดฐานทําใหแทงลูก 5. ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก

คนปวยเจ็บ และคนชรา

70. นายช่ัวไปลวงผูหญิงมาใหนายเลวกับพวกขมขืนกระทําชําเรา โดยกฎหมายระวางโทษจําคุกตั้งแต 15 ป

ถึงตลอดชีวิตโดยนายช่ัวไมไดขมขืนดวยแตดื่มสุราอยูหนาหอง ดังนี้นายช่ังตองรับผิดรวมกับนาเลวกับพวก

ในฐานเปน

(1) ผูสนับสนุน ( 2) ผูชวยเหลือ (3) ผูใช (4) ตัวการ

ตอบ 4 หนา 67 ความผิดฐานเปนตัวการนั้นหมายถึงการที่บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมกระทําความผิด

ดวยกัน ซ่ึงอาจเปนการรวมกระทําสวนหนึ่งของการกระทําทั้งหมดที่รวมกันเปนความผิดขึ้น

หรืออาจเปนการแบงหนาที่กันทําก็ได ดังนั้นนายช่ังถึงแมจะไมไดขมขืนผูหญิง แตการที่ยานช่ัวได

ไปลวงผูหญิงมาใหนายเลวกับพวกขมขืนกระทําชําเรา ความผิดที่เกิดขึ้นถือวานายช่ัวมีสวนรวม

ในการกระทําความผิดนั้นดวย

71. นายดําจางนายขาวไปลักพระพุทธรูปบานนายรวยขณะนายขาวอยูหนาบานนายดําเพ่ือจะปนเขาไปลัก

ถูกงูกัดตายเสียกอน ดังนี้ นายดํา

(1) ไมมีความผิดเพราะนายขาวยังไมไดลัก ( 2) มีความผิด แตไมตองรับโทษ

(3) มีความผิดเปนผูใช รับโทษ 1 ใน 3 ( 4) ผิดทุกขอ

ตอบ 3 หนา 68 ความผิดฐานเปนผูใชนั้น ถาผูถูกใชไดกระทําความผิดผูใชตองรับโทษเสมือนเปนตัวการ

ถาความผิดมิไดกระทําลง ไมวาจะเปนเพราะถูกใชไมยอมกระทํา ยังไมไดกระทําหรือเหตุอ่ืนใด

ผูใชตองระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษที่กําหนดไวสําหรับความผิดนั้น

72. ขอใดไมเปนความผิดอาญา

(1) นายซ่ิงขับรถยนตโดยประมาทชนรถยนตของ น ส ดวงดาวเสียหาย

(2) นายซ่ิงขับรถยนตโดยประมาทชนสุนัขของ น ส ดวงดาวตาย

(3) นายซ่ิงขับรถยนตเจตนาชนรถของ น ส ดวงดาวใหเสียหาย

(4) ถูกเฉพาะขอ (1) และ (2)

ตอบ 4 หนา 58 62 การกระทําที่ถือวาเปนความผิดทางอาญานั้น จะตองเปนการกระทําที่กฎหมาย

ที่ใชในขณะกระทําไดบัญญัติวาเปนความผิด และไดกําหนดโทษไว ความผิดฐานทําใหเสียทรัพย

ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 358 จะเปนความผิดก็ตอเม่ือไดกระทําโดยเจตนาเทานั้น

ดังนั้นการกระทําโดยประมาททําใหทรัพยสินของผูอ่ืนเสียหาย ผูกระทําจึงไมมีความผิดทางอาญา

เพราะกฎหมายมิไดบัญญัติวาเปนความผิดนั่นเอง

73. เม่ือศาลมีคําพิพากษาใหถึงที่สุดใหจําคุก เจาพนักงานผูมีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษาคือ

(1) เจาหนาที่ตํารวจ ( 2) เจาหนาที่ศาล

(3) เจาพนักงานบังคับคดี ( 4) เจาพนักงานราชทัณฑ

ตอบ 4 (เลขพิมพ 44289 หนา 99) ในคดีอาญา เม่ือถึงที่สุดและศาลส่ังพิพากษาลงโทษจําเลย

ใหประหารชีวิตหรือจําคุก ก็จะเปนหนาที่ของ “เจาหนาที่ของฝายราชทัณฑ” จะเปนผูดําเนินการ

บังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษาตอไป

Page 15: Q&A Intro Law4

15

LW 104 page 15 1/51

74. นายกลาเดินมาตามถนน เห็นรถยนตจอดอยูมีเด็กกําลังดิ้นรน เนื่องจากอากาศรอนและขาดอากาศหายใจ

นายกลาจึงเขาไปเปดประตูรถยนตแตเปดไมไดเพราะถูกล็อกไว นายกลาจึงใชไมทุบกระจกรถแตกชวยเด็ก

ออกมาไดดังนี้ การกระทําของนายกลา

(1) กระทําผิดดวยความจําเปนไมตองรับโทษ (2) เปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายไมมีความผิด

(3) เปนการบันดาลโทสะไมตองรับโทษ (4) มีความผิดเจตนาทําใหทรัพยผูอ่ืนเสียหาย

ตอบ 1 หนา 63 การกระทําของนายกลา เปนการกระทําความผิด (ฐานทําใหเสียทรัพย) แตเปนการ

กระทําความผิดดวยความจําเปน เพราะเพราะเพ่ือใหผูอ่ืนพนจากภยันตรายที่ใกลจะถึงและไมสามารถ

หลีกเล่ียงใหพนโดยวิธีอ่ืนใดได เม่ือภยันตรายนั้นตนมิไดกอใหเกิดขึ้นเพราะความผิดของตน

จึงไดรับการยกเวนโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 67

75. การอุดชองวางแหงกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มีลําดับขั้นตอนดังนี ้

(1) การเทียบเคียงกฎหมายที่ใกลเคียง-จารีตประเพณี-หลักกฎหมายทั่วไป

(2) จารีตประเพณี-การเทียบเคียงกฎหมายที่ใกลเคียง-หลักกฎหมายทั่วไป

(3) การเทียบเคียงกฎหมายที่ใกลเคียง-หลักกฎหมายทั่วไป-จารีตประเพณี

(4) หลักกฎหมายทั่วไป-จารีตประเพณี-การเทียบเคียงกฎหมายที่ใกลเคียง

ตอบ 2 หนา 102 - 103 กฎหมายกําหนดวิธีการอุดชองวางแหงกฎหมายไว 3 วิธี ตามลําดับกลาวคือ

ถาไมมีกฎหมายมาใชปรับกับคดีไดใหใชจารีตประเพณี แหงทองถ่ินวินิจฉัยคดีนั้นกอน ถาไมมี

จารีตประเพณีดังกลาวก็ใหใชการเปรียบเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางย่ิง ซ่ึงเปนการใชกฎหมาย

โดยการเทียบเคียงกับกฎหมายอ่ืนที่มีความคลายคลึงกันหรือใกลเคียงกัน แลวถาบทใกลเคียง

อยางย่ิงก็ไมมีดวยแลวก็ตองใชหลักกฎหมายทั่วไปมาปรับกับคดี

76. รัฐธรรมนูญ พ ศ 2550 กําหนดใหนายกรัฐมนตรีตองแตงตั้งจาก

(1) หัวหนาพรรคการเมืองเทานั้น ( 2) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบสัดสวน

(3) สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ( 4) ผูที่เคยดํารงตําแหนงไมต่ํากวาอธิบดีมากอน

ตอบ 3 รัฐธรรมนูญฯ พ ศ 2550 มาตรา 172 กําหนดใหนายกรัฐมนตรีตองแตงตั้งจาก

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเทานั้น โดยใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณาใหความเห็นชอบบุคคลซ่ึงสมควร

ไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีใหแลวเสร็จภายใน 30 วันนับแตวันที่มีการเรียกประชุมรัฐสภา

เปนครั้งแรก

77. ขอใดไมใชวัตถุประสงคของกฎหมายปกครอง

(1) เพ่ือปกครองบังคับพลเมืองที่อยูในปกครอง

(2) จัดบริการสาธารณะเพ่ือสนองความตองการของปะชาชน

(3) จัดระเบียบการปกครองภายในรัฐ

(4) กําหนดความสัมพันธระหวางเจาหนาที่ฝายปกครองกับเอกชน

ตอบ 1 หนา 54 กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายวาดวยการจัดระเบียบการปกครองหรือการบริหาร

ภายในรัฐ ซ่ึงเปนเรื่องเก่ียวกับการจัดการสาธารณะ ( Public Service ) ในดานตาง ๆ

เพ่ือสนองความตองการสวนรวมของประชาชนซ่ึงเปนภารกิจของรัฐ ทั้งยังเปนกฎหมายที่วาง

หลักการวาดวยความสัมพันธระหวางเจาหนาที่ฝายปกครองกับเอกชน

78. การย่ืนคําขอเปนผูจัดการมรดก ตองทําเปน

(1) คําฟอง ( 2) คํารอง (3) ประกาศ (4) ผิดทุกขอ

Page 16: Q&A Intro Law4

16

LW 104 page 16 1/51

ตอบ 2 หนา 75, (คําบรรยาย) คดีไมมีขอพิพาท เปนคดีที่ไมมีการโตแยงสิทธิกัน แตเปนเรื่องที่บุคคล

มีความจําเปนที่จะใชสิทธิทางศาล เพ่ือใหศาลแสดงสิทธิของตนหรือใหตนมีสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง

เชน การย่ืนคําขอเปนผูจัดการมรดก เปนตน บุคคลนั้นจะตองดําเนินการโดยการย่ืนเปนคํารองตอศาล

79. ความผิดทางอาญาอันยอมความได ผูเสียหายจะตองรองทุกขภายในระยะเวลาเทาใดนับแตวันกระทําความผิด

มิฉะนั้นจะทําใหขาดอายุความไมสามารถฟองใหศาลลงโทษผูกระทําความผิดได

ตอบ 3 (คําบรรยาย) ในกรณีความผิดอันยอมความได ถาผูเสียหายมิไดรองทุกขภายใน 3 เดือน

นับแตวันที่รูเรื่องความผิด และรูตัวผูกระทําผิด เปนอันขาดอายุความ (ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 96 )

80. ความผิดใดที่กฎหมายใหถือเปนความผิดอันยอมความได

(1) สามีทํารายรางกายภรรยาจนบาดเจ็บสาหัส ( 2) ภรรยาลักทรัพยสามี

(3) นองสาวลักทรัพยพ่ีชาย ( 4) บุตรเขยลักทรัพยพอตา

ตอบ 2 หนา 63, (คําบรรยาย) ในความผิดอาญาเก่ียวกับลักทรัพยบางประเภท คือ ลักทรัพย ว่ิงราวทรัพย

ฉอโกง โกงเจาหนี้ ยกยอก รับของโจร ทําใหเสียทรัพยและบุกรุกถาเปนการกระทําที่สามี

กระทําตอภรรยา หรือภรรยากระทําตอสามี ผูกระทําไมตองรับโทษ แตถาเปนการกระทําที่บุพการ ี

กระทําตอผูสืบสันดาน ผูสืบสันดานกระทําตอบุพการี หรือพ่ีนองรวมบิดามารดาเดียวกัน

กระทําตอกัน แมกฎหมายมิไดบัญญัติใหเปนความผิดอันยอมความได ก็ใหเปนความผิด

อันยอมความได และนอกจากนั้นศาลจะลงโทษนอยกวาที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดนั้น

เพียงใดก็ได (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 71 )

81. ขอใดไมใชกฎหมายของมหาชน

(1) กฎหมารัฐธรรมนูญ (2) กฎหมายอาญา (3) กฎหมายแรงงาน (4) กฎหมายปกครอง

ตอบ 3 หนา 45-49, 54, 57 กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่กําหนดความสัมพันธระหวางรัฐ หรือ

หนวยงานของรัฐกับราษฎร หรือระหวางหนวยงานของรัฐดวยกันเอง เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ

กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญาฯลฯสวนกฎหมายเอกชนเปนกฎหมายพาณิชย กฎหมายแรงงาน เปนตน

82. นายเขียวถือปนไปยิงนายแกวที่บาน ในตอนกางคืนเห็นหุนโชวเส้ือผา เขาใจวาเปนนายแกวจึงใชปนยิง

ไปถูกหุนเสียหายดังนี้

(1) ไมมีความผิดเพราะขาดองคประกอบ

(2) มีความผิดฐานเจตนาทําใหทรัพยของผูอ่ืนเสียหาย

(3) มีความผิดฐานพยายามฆาซ่ึงไมสามารถบรรลุผลอยางแนแท

(4) มีความผิดฐานประมาททําใหเสียทรัพย

ตอบ 3 หนา 66 – 67 (คําบรรยาย) การกรทําของนายเขียวถือวาเปนการพยายามกระทําความผิด

ที่ไมสามารถบรรลุผลอยางแนแท เพราะเหตุแหงวัตถุที่มุงหมายกระทําตอ ซ่ึงตามกฎหมาย

ถือวามีความผิดฐานพยายามกระทําความผิด แตใหลงโทษไมเกินก่ึงหนึ่งของโทษที่กฎหมาย

ไดกําหนดไวสําหรับความผิดนั้น

Page 17: Q&A Intro Law4

17

LW 104 page 17 1/51

83. นายโกดื่มสุราจนเมาเห็นกลุมวัยรุนว่ิงแขงกันมา นึกสนุกเอาปนยิงใสกลุมวัยรุน ปรากฏวาลูกกระสุน

ถูกนายแกนนองชายนายโกถึงแกความตาย ดังนี้นายโกมีความผิด

(1) ประมาทเปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตาย (2) ฆาคนตายโดยไมเจตนา

(3) มีความผิดแตไดลดโทษเพราะกระทําขณะมึนเมา (4) ฆาคนตายโดยเจตนา

ตอบ 4 หนา 62 เจตนายอมเล็งเห็นผล หมายถึง ไมไดประสงคตอผลของการกระทํา แตโดยลักษณะ

ของการกระทํายอมเล็งเห็นไดวาการกระทําของตนจะเกิดผลขึ้นอยางไร (การกระทําของนายโก

เปนการกระทําโดยเจตนา โดยหลักยอมเล็งเห็นผล

84. กฎหมายมหาชน ไดแก

(1) กฎหมายรัฐธรรมนูญ ( 2) กฎหมายปกครอง

(3) กฎหมายการคลังและภาษีอากร ( 4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 หนา 49-69, 73, (คําบรรยาย) กฎหมายซ่ึงจัดอยูในหมวดหมูกฎหมายมหาชน ไดแก

1 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 2 กฎหมายปกครอง 3. กฎหมายอาญา

4 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม 5 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เปนตน

85. ขอใดไมใชเหตุผลที่ทําใหกฎหมายรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด

(1) ปองกันการปฏิวัติรัฐประหาร

(2) เปนสัญญาประชาคมที่สมาชิกทุกคนในสังคมตกลงรวมกันสราง

(3) จัดตั้งองคการทางการเมืองและแบงแยกการใชอํานาจอธิปไตย

(4) เปนหลักคุมครองสิทธิมนุษยชน ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

ตอบ 1 หนา 50-51 รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด เพราะ

1. สมาชิกในสังคมทุกคนรวมกันสรางขึ้นเปนกฎเกณฑในการปกรองสังคม

2. กระบวนการตรารัฐธรรมนูญเปนกระบวนการพิเศษ

3. รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายกอตั้งทางการเมือง

4. รัฐธรรมนูญกําหนดการใชอํานาจอธิปไตรของรัฐ อีกทั้งยังรับรองและคุมครองสิทธิเสรีภาพ

ของบุคคล

86. ลําดับช้ันกฎหมายเรียงลําดับช้ันลงไป

(1) รัฐธรรมนูญ พระราชกฤษฎีกา พระราชกําหนด เทศบัญญัติ

(2) รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง พระราชกฤษฎีกา

(3) รัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง

(4) รัฐธรรมนูญ กฎกระทรวง เทศบัญญัติ พระราชกําหนด

ตอบ 3 หนา 77 -79 ในระบบกฎหมายลายลักษณอักษรนั้น จะมีการจัดลําดับของช้ันกฎหมาย

(Hierarchy of Law) โดยเรียงตามลําดับช้ันสูงที่สุดดังตอไปนี ้

1. กฎหมายรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด

2. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติและพระราชกําหนด

3. พระราชกฤษฎีกา 4. กฎกระทรวง 5. กฎหมายที่ออกโดยองคกรบริหารสวนทองถ่ินตาง ๆ

ไดแก ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบล เทศบัญญัติ ขอบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ขอบัญญัติเมืองพัทยา เปนตน

Page 18: Q&A Intro Law4

18

LW 104 page 18 1/51

87. ขอใดไมใชลักษณะของกฎหมายอาญา

(1) ไมมีกฎหมาย ไมมีความผิด ไมมีโทษ ( 2) ออกกฎหมายยอนหลังลงโทษได

(3) ตองตีความโดยเครงครัด ( 4) ออกกฎหมายยอนหลังลดโทษได

ตอบ 2 หนา 58 – 59 สาระสําคัญทางกฎหมายอาญา คือ ตองมีกฎหมายบัญญัติวา การกระทําใด

เปนความผิด และตองเปนกฎหมาย ซ่ึงมีผลบังคับใชอยูในขณะซ่ึงเกิดการกระทํานั้นดวย และ

ไมมีผลยอนหลังไปลงโทษบุคคลใหหนักขึ้นเปนอันขาด แตอาจยอนหลังเปนคุณแกผูกระทําผิด

กลาวคือ อาจยอนหลังไปบัญญัติวาการกระทํานั้นๆ ไมเปนความผิด หรือเปนความผิดแต

ยกโทษให หรือลงโทษบุคคลนอยกวาที่กําหนดไวในกฎหมายที่ใชอยูในขณะทําความผิดได

88. การยุบสภาผูแทนราษฎรตองทําเปน

(1) คําส่ังนายกรัฐมนตรี (2) พระราชกําหนด (3) กฎกระทรวง (4) พระราชกฤษฎีกา

ตอบ 4 รัฐธรรมนูญแหงราชอาญาจักรไทย ฉบับปจจุบัน มาตรา 108 บัญญัติวา

“พระมหากษัตริยทรงไวซ่ึงพระราชอํานาจที่จะยุบสภาผูแทนราษฎรเพ่ือใหมีการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหม

การยุสภาผูแทนราษฎรใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา”

89. รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 กําหนดใหจํานวนวุฒิสมาชิกซ่ึงมาจากการสรรหามีจํานวน

(1) 50 คน (2) 74 คน ( 3) 76 คน ( 4) 100 คน

ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 มาตรา 111 กําหนดใหจํานวนวุฒิสมาชิกวุฒิสภาจํานวนทั้งสิน

150 คน โดยมาจากการเลือกตั้งในแตละจังหวัด จังหวัดละ 1 คน และมาจากการสรรหา 74 คน

90. รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 กําหนดใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรซ่ึงมาจากการเลือกตั้งแบบสัดสวนจํานวน

(1) 50 คน ( 2) 80 คน (3) 100 คน (4) 150 คน

ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 มาตรา 93 กําหนดใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จํานวน

ทั้งส้ิน 480 คน โยมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง 400 คน แลมาจากการเลือกตั้ง

แบบสัดสวน 80 คน

91. สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภามีกําหนดคราวละ

(1) 3 ป ( 2) 4 ป ( 3) 5 ป ( 4) 6 ป

ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 มาตรา 117 กําหนดใหมีสมาชิกสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภามีกําหนด

คราวละ 6 ป นับแตวันเลือกตั้งหรือวันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศการสรรหา

แลวแตกรณี โดยสมาชิกวุฒิสภาจําดํารงตําแหนงติดตอกันเกินกวาวาระไมได

92. ผูที่มีอํานาจตราพระราชกฤษฎีกา

(1) พระมหากษัตริย (2) นายกรัฐมนตรี (3) ประธานสภาผูแทนราษฎร (4) ประธานวุฒิสภา

ตอบ 1 หนา 32 พระราชกฤษฎีกา คือกฎหมายที่ตราขึ้นโดยพระมหากษัตริย โดยคําแนะนําของ

คณะรัฐมนตรี

93. ขอใดถูกตองที่สุด

(1) ระบบคอมมอน ลอว ศาลจะเปนผูสรางกฎหมาย

(2) ระบบซีวิล ลอว คําพิพากษาเปนที่มาของกฎหมาย

(3) ระบบคอมมอน ลอว ไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรบังคับใช

(4) ระบบซีวิล ลอว จะตีความกฎหมายตามตัวอักษรโดยเครงครัด

Page 19: Q&A Intro Law4

19

LW 104 page 19 1/51

ตอบ 1 หนา 20 – 21 ตามหลักของระบบกฎหมาย Common Law นั้น

1. ถามีหลักกฎหมายซ่ึงเปนหลักเกณฑทั่วไปอยูแลว ศาลหรือผูพิพากษาเปนแตเพียง

ผูแสดงหลัดเกณฑนั้นๆ แลวนํามาปรับแกคดีเทานั้น

2. ถาไมมีกฎหมายดังกลาว ก็ใหศาลหรือผูพิพากษาเปนผูสรางหลักกฎหมายขึ้นมา

โดยคําพิพากษาเปนผูสรางหลักกฎหมายขึ้นมา

ซ่ึงเรียกวา “ Jude Made Low ”

94. กฎเกณฑ (Norm) ควบคุมความประพฤติของบุคคลใด บุคคลหนึ่งจะฝาฝนหรือไมขึ้นออยูกับจิตสํานึกทาง

ศีลธรรมของผูบัญญัติ

(1) การทํารายผูอ่ืน ( 2) การขับรถฝาสัญญาณไฟแดง

(3) การหลบเล่ียงภาษี ( 4) การตัดไมทําลายปา

ตอบ 1 หนา 8 – 12 ยุคกฎหมายชาวบาน(กฎหมายประเพณี) เปนกฎหมายที่มีลักษณะเปนกฎเกณฑ

ควบคุมความประพฤติที่ออกมาในรูปของขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีที่มีอยูในความรูสึกนึกคิด

ของประชาชนโดยทั่วไป ซ่ึงมีวิวัฒนาการมาจากศีลธรรมหรือความรูสึกผิดชอบช่ัวดีของมนุษยวา

ถาไมปฏิบัติตามแลวจะรูสึกวาเปนความผิด ซ่ึงจะแตกตางกับกฎหมายในยุคกฎหมายเทคนิค

ที่เปนกฎเกณฑที่ตั้งขึ้นเพ่ือวัตถุประสงคบางอยางไมเก่ียวกับศีลธรรม เชน กฎหมายเก่ียวกับภาษี

กฎหมายปาไม หรือกฎจราจร เปนตน

95. รูปแบบกฎหมายใดที่จะตองมีบทกําหนดโทษสูงและใหมีการบังคับลงโทษอางสมํ่าเสมอเพ่ือใหการบังคับใช

กฎหมายมีประสิทธิภาพ

(1) กฎหมาประเพณี ( 2) หลักกฎหมาย

(3) กฎหมายที่บัญญัติขึ้น ( 4) กฎหมายชาวบาน

ตอบ 3 หนา 11 – 12 กฎหมายที่บัญญัติขึ้นในยุคกฎหมายเทคนิค เปนกฎเกณฑที่ตั้งขึ้นเพ่ือ

วัตถุประสงคเฉพาะเจาะจงบางอยางหรือเพ่ือไขปญหาเฉพาะหนาบางอยางโดยไมคํานึงถึง

ศีลธรรมหรือขนบธรรมเนียมประเพณี เชน การจราจรเปนตน และเพ่ือใหการบังคับใชกฎหมาย

มีประสิทธิภาพจึงตองมีบทกําหนดโทษสูง และใหมีการบังคับใชลงโทษอยูสําหมํ่าเสมอ

96. บอเกิดของกฎหมายในระบบคอมมอน ลอว หรือระบบกฎหมายไมเปนลายลักอักษร ไดแก

(1) กฎหมายโรมัน ( 2) หลักกฎหมายจากคําพิพากษา

(3) กฎหมายสิบสองโตะ ( 4) ปะมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน

ตอบ 2 หนา 19 – 21 กฎหมายในระบบคอมมอน ลอว (กฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร) ซ่ึงนิยมใชกันใน

ประเทศอังกฤษและเครื่องจักรพบอังกฤษ เปนกฎหมายถือเอาคําพิพากษาเปนตัวบทกฎหมาย

ดังนั้นบอเกิดของกฎหมายในระบบนี้จึงมาจากคําพิพากษา

97. การที่รัฐบารณรงคให “เมาไมขับ” มีลักษณะเปนกฎหมายหรือไม

(1) มีเพราะเปนอํานาจของรัฐ ( 2) มีเพราะควบคุมความประพฤติของผูขับรถ

(3) ไมมีเพราะขาดสภาพบังคับ ( 4) ไมมีเพราะตองประกาศใหประชาชนรับทราบ

ตอบ 3 หนา 15 – 17 ลักษณะที่สําคัญของกหมายไดแก 1. ตองมีลักษณะเปนกฎเกณฑ

2. ตองกําหนดความประพฤติของมนุษย (บุคคล) 3. ตองมีสภาพบังคับและ

4. ตองมีกระบวนการบังคับที่จะเปนกิจจะลักษณะ….การขอความรวมมือ หรือการรณรงค

ใหกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง ถือวาขาดสภาพบังคับ เพราะบุคคลจะทําหรือไมทําก็ได

Page 20: Q&A Intro Law4

20

LW 104 page 20 1/51

98. คําวา “UBI SOCIETAS IBI JUS” หมายถึง

(1) ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีความยุติธรรม ( 2) ที่ใดมีชุมชน ที่นั่นมีวัฒนธรรม

(3) ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย ( 4) ที่ใดมีวัฒนธรรม ที่นั่นมีกฎหมาย

ตอบ 3 หนา 4 คําวา “UBI SOCIETAS IBI JUS” หมายถึง “ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย”

เปนคํากลาวที่แสดงวากฎหมายกับสังคมมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด คือการที่มนุษย

จะอยูรวมกันในสังคมและเพ่ือใหสังคมเกิดความสงบสุข จึงตองมีระบบควบคุมสังคม ซ่ึงไดแก

ศีลธรรม จารีตประเพณี ศาสนา และกฎหมาย

99. ระบบกฎหมายใดที่ศีลธรรมและจารีตประเพณีแยกจากกัน ไมสามารถนํามาใชเปนกฎหมายได

(1) ระบบกฎหมายซีวิล ลอว ( 2) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร

(3) ระบบกฎหมายคอมมอน ลอว ( 4) ระบบประมวลกฎหมาย

ตอบ 3 หนา 21 ระบบกฎหมายซีวิล ลอว ยอมรับวากฎหมายลายลักษณอักษรรออยูคูเคียงกับ

จารีตประเพณี และถือวากฎหมายเปนส่ิงค้ําจุนศีลธรรมดวย สวนระบบกฎหมายคอมมอน ลอว

ศีลธรรม และประเพณีเปนคนละเรื่อง

100. ระบบกฎหมายใดที่คําพิพากษาศาลช้ันตนสามารถเล่ียนแปลงแกไขโดยศาลสูงได

(1) ระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร ( 2) ระบบกฎหมายจารีตประเพณี

(3) ระบบคอมมอน ลอว ( 4) ระบบซีวิล ลอว

ตอบ 4 หนา 21 ระบบกฎหมายซีวิล ลอว คําพิพากษาของศาลเปนเพียงคําอธิบายการใชตัวบทกฎหมาย

ปรับแกคดี สามารถเปล่ียนแปลงหรือกับคําพิพากษาไดโดยอาศัยเหตุผลความคลาดเคล่ือน

ไมสอดคลอกับหลักหรือตัวบทกฎหมาย

101. บทบัญญัติรัฐธรรมนูญฯ ฉบับปจจุบันหมวดใดที่ใหผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวา 10000 คน

เขาช่ือเสนอรางพระราชบัญญัติได

(1) หมวด 1 บททั่วไป ( 2) หมวด 4 หนาที่ของชนชาวไทย

(3) หมวด 5 แนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐ ( 4) หมวด 9 คณะรัฐมนตรี

ตอบ 3 รัฐธรรมนูญฯ พ ศ 2550 มาตรา 163 บัญญัติใหประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวา 10000 คน

มีสิทธิเขาช่ือรองขอตอประธานรัฐสภาเพ่ือใหรัฐสภาพิจารณารางพระราชบัญญัติตามที่กําหนด

ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐ ได

102. เหตุใดกฎหมายจราจรเปนกฎหมายเทคนิค

(1) เปนกฎหมายที่ไมมีลักษณะบงคับตามธรรมชาติ (2) มีหลักทางศีลธรรมอยูเบื้องหลัง

(3) หากไมปฏิบัติตามกฎจราจรแลวจะรูสึกผิด (4) ตองใชระยะเวลาประพฤติปฏิบัติเปนเวลานาน

ตอบ 1 หนา 12 กฎหมายเทคนิค เปนกฎหมายที่ไมมีขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรมคอย

หนุนหลัง ถาใครผิดก็ไมรูสึกวาคนนั้นทําช่ัว หรือทําผิดศีลธรรม เพราะฉะนั้นกฎหมายเทคนิค

จึงไมมีลักษณะบังคับตามธรรมชาติ ( ดูคําอธิบายขอ 94, 95 ประกอบ)

103. ขอใดเปนกฎหมายตามแบบพิธี

(1) พระราชบัญญัติการพนัน ( 2) พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป

(3) พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ ( 4) ประมวลกฎหมายอาญา

Page 21: Q&A Intro Law4

21

LW 104 page 21 1/51

ตอบ 4 (เลขที่พิมพ 44289 หนา 40 ) กฎหมายตามแบบพิธี คือกฎหมายที่ออกมาโดยวิธีบัญญัติกฎหมาย

ทั้งนี้โดยมิไดคํานึงถึงวากฎหมายนั้นเขาลักษณะเปนกฎหมายตามเนื้อความหรือไม เชน

พ .ร.บ. งบประมาณรายจายประจําป เปนตน

104. กฎเกณฑใดที่บุคคลใดฝาฝนจะไดรับการตําหนิจากสังคม

(1) จารตีประเพณี (2) ศีลธรรม (3) ศาสนา (4) กฎหมาย

ตอบ 1 ( เลขที่พิมพ 44289 หนา 40 ) การกระทําผิดหรือฝาฝนกฎหมาย ผูกระทําผิดจะมีความผิดและ

ถูกลงโทษ แตการกระทําผิดหรือฝาฝนจารตีประเพณีจะไดรับเพียงการติเตียนจากสังคมเทานั้น

105. ความผิดในทางเทคนิคหมายถึง

(1) ความผิดอาญาที่เปนความผิดศีลธรรมดวย

(2) ความผิดอาญาที่ไมเปนความผิดศีลธรรม

(3) ความผิดอาญาที่ผิดทั้งศีลธรรมและผิดเพราะกฎหมายหาม ( 4) ถูกทุกขอ

ตอบ 2 (คําบรรยาย) ความผิดในทางเทคนิค (Technical Offence) คือความผิดอาญาที่ไมผิดศีลธรรม

แตผิดเพราะกฎหมายหาม

106. บทบัญญัติที่วา “เจาของที่ดินริมทางน้ํา หรือมีทางน้ําผาน ไมมีสิทธิที่จะชักน้ําไวเกินกวาจําเปนแกประโยชน

ของตนตามควร ใหเปนเหตุเส่ือมเสียแกที่ดินแปลงอ่ืนซ่ึงอยูตามทางน้ํานั้น” ทานคิดวาหลักกฎหมายที่อยู

เบื้องหลังบทบัญญัติดังกลาวไดแก

(1) หลักสุจริต ( 2) หลักคุมครองบุคคลที่สามที่กระทําโดยสุจริต

(3) หลักเพ่ือนบานที่ดี ( 4) หลักกรรมเปนเครื่องช้ีเจตนา

ตอบ 3 หนา 44 บทบัญญัติตาม ป.พ.พ. มาตรา 1355 ดังกลาว เม่ือมีการพิเคราะหแลว ก็จะพบ

หลักใหญที่อยูเบื้องหลังบทบัญญัติดังกลาว

107. ขอใดถูกตองเก่ียวกับการใชกฎหมายจารีตประเพณีในระบบกฎหมายซีวิล ลอว

(1) ยกเวนความรับผิดทางอาญาได ( 2) กําหนดความรับผิดทางอาญาได

(3) นําโทษมาใชแทนกฎหมายลายลักษณอักษรได (4) เพ่ิมโทษทางอาญา

ตอบ 1 (คําบรรยาย) ขอจํากัดการใชกฎหมายจารีตประเพณีในระบบกฎหมายซีวิล ลอว มีดังนี ้

1. จะสรางความผิดทางอาญาขึ้นใหมไมได

2. จะนําโทษตามกฎหมายจารีตประเพณีมาใชแทนกฎหมายลายลักษณอักษรไมได

3. จะ เพ่ิมโทษทางอาญาสูงกวาไมได 4. จะกําหนดหนาที่ของบุคคลไมได

108. จํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่สามารถเสนอรางพระราชบัญญัติได

(1) ไมนอยกวา 15 คน (2) ไมนอยกวา 20 คน (3) ไมนอยกวา 25 คน (4) ไมนอยกวา 30 คน

ตอบ 2 ตามรัฐธรรมนูญฯ ฉบับปจจุบัน การเสนอรางพระราชบัญญัติของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

จะกระทําไดตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวา 20 คนรบรอง

109. การศึกษากฎหมายในตางประเทศที่ตองศึกษากฎหมายจากคําพิพากษาเปนเรื่องๆ แสดงใหเห็นไดวา

ประเทศนั้นใชระบบกฎหมายใด

(1) ระบบคอมมอน ลอว ( 2) ระบบซีวิล ลอว

(3) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร ( 4) ระบบประมวลกฎหมาย

ตอบ 2 ตามรัฐธรรมนูญฯ ฉบับปจจุบัน การเสนอรางพระราชบัญญัติของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

จะกระทําไดจะตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวา 20 คนรับรอง

Page 22: Q&A Intro Law4

22

LW 104 page 22 1/51

109. การศึกษากฎหมายตางประเทศที่ตองการศึกษาหลักกฎหมายจากคําพิพากษาเปนเรื่อง ๆ แสดงใหเห็นไดวา

ประเทศนั้นใชระบบกฎหมายใด

(1) ระบบคอมมอน ลอว ( 2) ระบบกฎหมายซีวิล ลอว

(3) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร ( 4) ระบบประมวลกฎหมาย

ตอบ 1 หนา 21 การศึกษาหลักกฎหมายจากคําพิพากษาเปนเรื่อง ๆ นั้น

จะใชกับประเทศที่ใชระบบกฎหมายในระบบคอมมอน ลอว เพราะในระบบคอมมอน ลอว นี้

ถือวาคําพิพากษาเปนตัวบทกฎหมาย ฉะนั้นคําพิพากษาตอ ๆ มาในกรณีอยางเดียวกันยอมตอง

ตัดสินตามแนวคําพิพากษากอนนั้นเสมอ

110. กรณีที่สมาชิกรัฐสภาไดยืนยันเห็นชอบกับรางพระราชบัญญัติอีกครั้ง แมวาสมาชิกสภาจะไมเห็นชอบ

กับรางพระราชบัญญัตินั้นมาแลว ดังนี้

(1) ใหสามาชิกสภานํารางพระราชบัญญัตินั้นกลับมาพิจารณาใหมอีกครั้ง

(2) ใหถือวารางพระราชบัญญัติฉบับนั้นไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภา

(3) ใหสมาชิกทั้งสองรวมพิจารณาใหมอีกครั้ง

(4) ใหนายกรัฐมนตรีประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาไดเลย

ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ ฉบับปจจุบัน มาตรา 167 ถาสภาผูแทนราษฎรลงมติยืนยันรางพระราชบัญญัตินั้น

ดวยคะแนนเสียงมากกวาหนึ่ง ใหถือวารางพระราชบัญญัตินั้นเปนอันไดรับความเห็นชอบ

ของรัฐสภา และใหนายกรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลาฯ เพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธย

111. กฎหมายของฝายบริหารที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ไดแก

(1) พระราชบัญญัติ (2) พระราชกฤษฎีกา (3) กฎกระทรวง (4) ประกาศกระทรวง

ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 92 ประกอบ

112. หลักกฎหมายเก่ียวกับการไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิในทรัพยสิน โดยการครอบครองปรปกษเกิดจากเหตุผลใด

(1) เหตุผลทางเทคนิค ( 2) เหตุผลจากจารีตประเพณี

(3) เหตุผลจากศีลธรรม ( 4) เหตุผลของนักกฎหมาย

ตอบ 4 หนา 10 – 11 เนื่องจากกฎหมายในยุคแรกคือ กฎหมายชาบานหรือกฎหมายประเพณี

มีไมเพียงพอ ดังนั้นนักกฎหมายที่เกิดขึ้นในยุคที่ 2 (ยุคนักกฎหมาย) จึงไดสรางนักกฎหมาย

ขึ้นมาเพ่ือเสริมกับกฎหมายประเพณี ซ่ึงหลักกฎหมายของนักกฎหมายนี้จะเกิดขึ้นจากการปรุงแตง

เหตุผลที่เกิดขึ้นจากความคิดในทางกฎหมายของตน ดังนั้นจึงเปนกฎหมายที่

สามัญชนใชสามัญสํานึกคิดเอาเองไมได ตองอาศัยการศึกษาคนควา และการเรียนรูดวยเหตุผล

จึงเขาใจ ซ่ึงกฎหมายของนักกฎหมายดังกลาวที่ยังมีใชอยูในปจจุบัน ไดแก การปกครองปรปกษ

สิทธิเรียกรองขาดอายุความ เปนตน

113. กฎเกณฑใดที่ควบคุมความประพฤติภายนอกและภายในของมนุษย

(1) ศีลธรรม ( 2) ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี

(3) กฎหมาย ( 4) วัฒนธรรม

ตอบ 1 (เลขที่พิมพ 44289 หนา 39) ศีลธรรม เปนเกณฑที่กําหนดและควบคุมความประพฤต ิ

ทั้งภายในและภายนอกของมนุษย แตกฎหมายและจารีตประเพณีจะกําหนดความประพฤติ

ภายนอกของมนุษยเทานั้น

Page 23: Q&A Intro Law4

23

LW 104 page 23 1/51

114. ขอใดเปนโทษทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา

(1) ปรับ ยึดทรัพยสิน ( 2) กักขัง ริบทรัพยสิน

(3) กักขัง ควบคุมความประพฤติ ( 4) ประหารชีวิต ยึดทรัพยสิน

ตอบ 2 หนา 16 – 17 สภาพบังคับของกฎหมายนั้น ถาเปนกฎหมายอาญาสภาพบังคับคือโทษนั่นเอง

ซ่ึงเรียกจากหนักที่สุดไปเบาที่สุดไดแก 1) ประหารชีวิต 2) จําคุก 3) กักขัง 4) ปรับ

และ 5) ริบทรัพยสิน สวนสภาพบังคับในทางกฎหมายแพงไดแก การชดใชคาสินไหมทดแทน

หรือความเปนโมฆะกรรม หรือโมฆียกรรม ซ่ึงเปนสภาพบังคับที่เปนผลราย สวนสภาพบังคับ

ที่เปนผลดี เชน การไดรับการลดยอนภาษี เปนตน

115. ประเทศใดที่ใชระบบกฎหมายคอมมอน ลอว

(1) ฝรั่งเศส (2) เยอรมัน ( 3) อังกฤษ (4) ไทย

ตอบ 3 ดูคําตอบขอ 96. ประกอบ

116. การพิจารณารางพระราชบัญญัติของสภาผูแทนราษฎรเพ่ือพิจารณาวาจะรับหลักการของรางพระราชบัญญัต ิ

ดังกลาวหรือไม เปนการพิจารณาในวาระใด

(1) วาระที่ 1 (2) วาระที ่ 2 ( 3) วาระที่ 3 (4) วาระที่ 4

ตอบ 1 (เลขที่พิมพ 44289 หนา 64) ในการพิจารณารางพระราชบัญญัตินั้น มี 3 วะระคือ วาระที ่ 1

ขั้นรับหลักการ เปนการพิจารณาหลักการโดยทั่วๆ ไป วาสมควรไดรับพระราชบัญญัตินั้น

ไวพิจารณาหรือไม วาระที่ 2 ขั้นพิจารณา เปนการพิจารณาเรียงตามลําดับมาตรา ในกรณีที่มี

การแกไข เพ่ิมเติมหรือเปล่ียนแปลงจากรางเดิม คณะกรรมาธิการตองช้ีแจงเหตุผลในการแกไข

หรือเพ่ิมเติมดวย และ วาระที่ 3 ขั้นใหความเห็นชอบ คือ การลงมติวารางพระราชบัญญัตินั้น

สมควรตราเปนพระราชบัญญัติหรือไม

117. นายเอออยูกินกับนางจันทรโดยมิไดจดทะเบียนสมรส มีบุตร คือ นายพุธและนายศุกร ซ่ึงนายเอไดให

นายพุธและนายศุกรใชนามสกุล ตอมาหากนายพุธตาย มรดกของนายพุธจะตกทอดใครบาง

(1) นายเอและนางจันทร ( 2) นายเอ

(3) นางจันทร ( 4) นายเอ นางจันทรและนายศุกร

ตอบ 3 หนา 191 – 194 เม่ือนายพุธตายจะมีทายาทโดยธรรมอยู 2 คน คือ นางจันทรซ่ึงเปนมารดา

โดยชอบดวยกฎหมาย และเปนทายาทในลําดับที่ 2 สวนนายศุกรเปนทายาทลําดับที ่ 3

จึงไมมีสิทธิรับมรดกตามหลักญาติสนิทตัดญาติหาง ดังนั้นนางจันทรจึงมีสิทธิรับมรดกของนายพุธ

แตเพียงผูเดียว สําหรับนายเอ เปนบิดาที่ไมชอบดวยกฎหมายจึงไมใชทายาทโดยธรรม

ตามมาตรา 1629(2) จึงไมมีสิทธิรับมรดก

118. นายธงจดทะเบียนสมรสกับนางศรี แตไมมีบุตร นายธงจึงจดทะเบียนรับนายดํามาเปนบุตรบุญธรรมของตน

โดยนางศรีใหความยินยอม ตอมานางศรีมีบุตรคือนายเขียว ตอมานายธงตาย มรดกของนายธงตกทอดแกใครบาง

(1) นายธง และนายเขียว ( 2) นายเขียว และนายดํา

(3) นางศรี นายเขียว และนายดํา ( 4) นางศรี และนายดํา

ตอบ 3 หนา 191 – 194 เม่ือนายธงเจามรดกตาย มรดกของนายธงจะตกไดแก

1. นางศรี ซ่ึงเปนทายาทโดยธรรมที่เปนคูสมรส

2. นายเขียว บุตรของนายธงซ่ึงเปนทายาทโดยธรรมในฐานะผูสืบสันดาร

3. นายดํา ซ่ึงเปนบุตรบุญธรรมของนายธงซ่ึงตามกฎหมายถือวาบุตรบุญธรรมยอมมีสิทธิรับมรดก

Page 24: Q&A Intro Law4

24

LW 104 page 24 1/51

119. นายธงจดทะเบียนสมรสกับนางศรี แตไมมีบุตร นายธงจึงจดทะเบียนรับนายดํามาเปนบุตรบุญธรรมของตน

โดยนางศรีใหความยินยอม ตอมานางศรีมีบุตรคือนายเขียว ตอมานางศรีตาย มรดกของนางศรี ตกทอดแกใคร

บาง

(1) นายธง และนายเขียว ( 2) นายเขียว และนายดํา

(3) นางศรี นายเขียว และนายดํา ( 4) นายธง และนายดํา

ตอบ 1 หนา 191 – 194 เม่ือนางศรีตาย มรดกของนางศรีจะตกไดแก

1. นายธง สามีของนางศรี ซ่ึงเปนทายาทโดยธรรมที่เปนคูสมรส

2. นายเขียว บุตรของนางศรีซ่ึงเปนทายาทโดยธรรมในฐานะผูสืบสันดาร

สวนนายดํา บุตรบุญธรรมของนายธงไมมีสิทธิรับมรดก เพราะไมใชบุตรบุญธรรมของนางศรี

120. นายธงจดทะเบียนสมรสกับนางศรี แตไมมีบุตร นายธงจึงจดทะเบียนรับนายดํามาเปนบุตรบุญธรรมของตน

โดยนางศรีใหความยินยอม ตอมานางศรีมีบุตรคือนายเขียว ตอมานายดําตาย มรดกของนายดํา ตกทอดแกใคร

(1) นายธง และนางศรี (2) นายธง ( 3) นางศรี (4) แผนดิน

ตอบ 4 หนา 191 – 194 เม่ือบุคคลใดตายลงโดยไมมีทายาทโดยธรรมและมิไดธรรมพินัยกรรมไว

มรดกของบุคคลนั้นยอมตกทอดแกแผนดิน (นายธง และนางศรี มิใชบิดามารดาที่ชอบดวยกฎหมาย

จึงไมใชทายาทโดยธรรม และตามกฎหมายบิดาบุญธรรมไมมีสิทธิรับมรดกบุตรบุญธรรม

สวนนายเขียวไมใชพ่ีหรือนองรวมบิดามารดาเดียวกับนายดําจึงไมใชทายาทโดยธรรม

ที่จะมีสิทธิรับมรดกของนายดํา)

MY LECTURE ..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

........................................................... ......................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................

เอ็มเจ ชีทราม คลังดาวโหลดเฉลยขอสอบ มหาวิทยาลัยรามคําแหง http://www.mjsheetramfree.com