research article ความหลากหลายของพืช… ·...

16
วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ ปีท5 ฉบับที3 (กรกฎาคม-กันยายน): 36-51, 2561 Songklanakarin Journal of Plant Science, Vol. 5, No. 3 (July-September): 36-51, 2018 Online open access e-journal : www. natres.psu.ac.th/department/plantScience/sjps/default.htm Published by Department of Plant Science, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University. All rights reserved. For Permissions, please e-mail: [email protected]. ความหลากหลายของพืชพรรณในสวนยางพาราทางภาคใต้ของประเทศไทย: การใช้ประโยชน์ และมูลค่าทางเศรษฐกิจในระบบพืชร่วมยางพารา Diversity of plant species in an ecological rubber plantation in southern Thailand: Utilization and economic value for a rubber-based intercropping system ปิยะนุช มุสิกพงศ์ 1 ระวี เจียรวิภา 1* และ อมรรัตน์ จันทนาอรพินท์ 2 Musigapong, P. 1 Chiarawipa, R. 1* and Chantanaorrapint, A. 2 1 ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญํ จังหวัดสงขลา 1 Department of Plant Science, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Songkhla 2 กลุํมงานวิจัยและนวัตกรรม คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญํ จ. สงขลา 90112 2 Research and Innovation Section, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Hat Yai, Songkhla 90112 * Corresponding author: [email protected] Received 12 March 2018; Revised 01 May 2018; Accepted 10 May 2018 บทคัดย่อ สภาพแวดล๎อมสวนยางพารามีลักษณะเหมาะสมตํอเจริญเติบโตของพืชพรรณหลายชนิด จึงสารวจความหลากหลาย พร๎อมประเมินลักษณะการใช๎ประโยชน์และมูลคําทางเศรษฐกิจของพืชพรรณตามที่สามารถปรับตัวและเจริญเติบโตได๎ใน สภาพแวดล๎อมสวนยางพาราบริเวณ 9 จังหวัด ภาคใต๎ของประเทศไทย โดยบันทึกภาพและเก็บตัวอยํางเพื่อจาแนกชนิดตาม อนุกรมวิธานพืช ตามชํวงอายุสวนยางพารา 4 ชํวง คือ 4-6 ปี (ระยะกํอนเปิดกรีด) 7-15 ปี (ระยะหลังเปิดกรีด1-2 หน๎ากรีด) 16-25 ปี (ระยะหลังเปิดกรีด 3-4 หน๎ากรีด) และ มากกวํา 25 ปี (ระยะยางแกํ) พร๎อมกับบันทึกสภาพแวดล๎อมภายในสวน ยางพารา (ความเข๎มแสง และความชื้นดิน) ลักษณะการเจริญเติบโตของต๎นยางพารา (ความสูงต๎น ความสูงคาคบ เส๎นผําน ศูนย์กลางลาต๎น จานวนกิ่งหลัก และดัชนีพื้นที่ใบ) ผลการสารวจพบวํา ความสูงต๎น ความสูงคาคบ เส๎นผํานศูนย์กลางลาต๎น และดัชนีพื้นที่ใบยางพาราสูงขึ้นตามชํวงอายุที่เพิ่มขึ้น ทาให๎ความเข๎มแสงลดลงอยูํในชํวง 6.54-9.69% ในระยะหลังเปิดกรีด หรือตั้งแตํ 7-มากกวํา 25 ปี ซึ่งความเข๎มแสงที่ลดลงในสวนยางพาราสํงผลให๎มีความชื้นในดินที่ระดับ 0-60 ซม. สูงขึ้นเล็กน๎อย เมื่อเปรียบเทียบระหวํางที่อายุ 16-25 ปี ( 18.91-23.37%) และ 4-6 ปี (15.66-15.93%) ผลการสารวจพบความหลากหลาย ของพืชในแตํละชํวงอายุยางพาราจานวนทั้งหมด 98 ชนิด แบํงได๎เป็น 7 ประเภทพืชพรรณ ได๎แกํ เฟิร์น (15 ชนิด) สมุนไพร (17 ชนิด) พืชวงศ์ปาล์ม (10 ชนิด) ไม๎ยืนต๎น (20 ชนิด) ไม๎ผล (6 ชนิด) กล๎วยไม๎ (7 ชนิด) และกลุํมอื่นๆ (23 ชนิด) ทั้งนี้ ใน ระยะหลังเปิดกรีด (7-มากกวํา 25 ปี) พบมากอยูํในชํวง 60-68 ชนิด เมื่อเปรียบเทียบกับระยะกํอนเปิดกรีด (4-6 ปี) ซึ่งพบ เพียง 20 ชนิด ขณะเดียวกัน เมื่อประเมินความหนาแนํนและความถี่ พบ กระทือ (Zingiber zerumbet (L.) Sm.) (0.32) และ กนกนารี (Selaginella involvens (Sw.) Spring) (36.40%) มากที่สุดในระยะกํอนเปิดกรีด สํวนไพล (Zingiber cassumunar Roxb.) (0.72) และเกล็ดนาคราช (Pyrosia piloselloides (L.) Price) (73.30%) พบมากที่สุดในระยะหลังเปิด กรีด ตามลาดับ ขณะที่ การประเมินการใช๎ประโยชน์และมูลคําทางเศรษฐกิจ พบวํา สามารถจาแนกได๎ 4 กลุํม ได๎แกํ การ บริโภค พืชสมุนไพร ไม๎ดอกไม๎ประดับ และไม๎ใช๎สอย โดยหากคาดคะเนจากมูลคําสูงสุด (มากกวํา 18,000 บ./ปี) พบวํา พืช กลุํมเฟิร์น ไม๎ใช๎สอย และผักพื้นบ๎าน สามารถสร๎างรายได๎เสริมสาหรับการปลูกเป็นพืชรํวมยางพาราได๎มากที่สุด ผลการสารวจ แสดงให๎เห็นวํา สภาพแวดล๎อมในสวนยางพารามีความเหมาะสมตํอการปรับตัวและการเจริญเติบโตของพืชพรรณหลากหลาย ชนิด จึงสามารถใช๎เป็นแหลํงปลูกพืชรํวมยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดได๎ ทั้งเพื่อเป็นแหลํงอนุรักษ์พรรณพืชและสร๎างรายได๎ เสริมอยํางยั่งยืนให๎กับเกษตรกรสวนยางพารา คาสาคัญ: ความหลากหลายพืชพรรณ, สภาพรํมเงา, พืชรํวมยาง, ระยะหลังเปิดกรีด, นิเวศสวนยางพารา Research article

Upload: others

Post on 20-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร ์ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 3 (กรกฎาคม-กันยายน): 36-51, 2561 Songklanakarin Journal of Plant Science, Vol. 5, No. 3 (July-September): 36-51, 2018

Online open access e-journal : www. natres.psu.ac.th/department/plantScience/sjps/default.htm Published by Department of Plant Science, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University. All rights reserved.

For Permissions, please e-mail: [email protected].

ความหลากหลายของพืชพรรณในสวนยางพาราทางภาคใต้ของประเทศไทย: การใช้ประโยชน์และมูลค่าทางเศรษฐกิจในระบบพืชร่วมยางพารา Diversity of plant species in an ecological rubber plantation in southern Thailand: Utilization and economic value for a rubber-based intercropping system ปิยะนุช มสุิกพงศ์1 ระวี เจียรวิภา1* และ อมรรัตน์ จันทนาอรพินท์2 Musigapong, P.1 Chiarawipa, R.1* and Chantanaorrapint, A.2 1 ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิยาเขตหาดใหญ ํจังหวัดสงขลา 1 Department of Plant Science, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Songkhla 2 กลุํมงานวิจยัและนวัตกรรม คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญํ จ. สงขลา 90112 2 Research and Innovation Section, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Hat Yai, Songkhla 90112 * Corresponding author: [email protected] Received 12 March 2018; Revised 01 May 2018; Accepted 10 May 2018

บทคัดย่อ สภาพแวดล๎อมสวนยางพารามีลักษณะเหมาะสมตํอเจริญเติบโตของพืชพรรณหลายชนิด จึงส ารวจความหลากหลาย

พร๎อมประเมินลักษณะการใช๎ประโยชน์และมูลคําทางเศรษฐกิจของพืชพรรณตามที่สามารถปรับตัวและเจริญเติบโตได๎ในสภาพแวดล๎อมสวนยางพาราบริเวณ 9 จังหวัด ภาคใต๎ของประเทศไทย โดยบันทึกภาพและเก็บตัวอยํางเพื่อจ าแนกชนิดตามอนุกรมวิธานพืช ตามชํวงอายุสวนยางพารา 4 ชํวง คือ 4-6 ปี (ระยะกํอนเปิดกรีด) 7-15 ปี (ระยะหลังเปิดกรีด1-2 หน๎ากรีด) 16-25 ปี (ระยะหลังเปิดกรีด 3-4 หน๎ากรีด) และ มากกวํา 25 ปี (ระยะยางแกํ) พร๎อมกับบันทึกสภาพแวดล๎อมภายในสวนยางพารา (ความเข๎มแสง และความช้ืนดิน) ลักษณะการเจริญเติบโตของต๎นยางพารา (ความสูงต๎น ความสูงคาคบ เส๎นผํานศูนย์กลางล าต๎น จ านวนกิ่งหลัก และดัชนีพื้นที่ใบ) ผลการส ารวจพบวํา ความสูงต๎น ความสูงคาคบ เส๎นผํานศูนย์กลางล าต๎น และดัชนีพื้นที่ใบยางพาราสูงขึ้นตามชํวงอายุที่เพิ่มขึ้น ท าให๎ความเข๎มแสงลดลงอยูํในชํวง 6.54-9.69% ในระยะหลังเปิดกรีดหรือตั้งแตํ 7-มากกวํา 25 ปี ซึ่งความเข๎มแสงท่ีลดลงในสวนยางพาราสํงผลให๎มีความช้ืนในดินที่ระดับ 0-60 ซม. สูงขึ้นเล็กน๎อยเมื่อเปรียบเทียบระหวํางที่อายุ 16-25 ปี (18.91-23.37%) และ 4-6 ปี (15.66-15.93%) ผลการส ารวจพบความหลากหลายของพืชในแตํละชํวงอายุยางพาราจ านวนทั้งหมด 98 ชนิด แบํงได๎เป็น 7 ประเภทพืชพรรณ ได๎แกํ เฟิร์น (15 ชนิด) สมุนไพร (17 ชนิด) พืชวงศ์ปาล์ม (10 ชนิด) ไม๎ยืนต๎น (20 ชนิด) ไม๎ผล (6 ชนิด) กล๎วยไม๎ (7 ชนิด) และกลุํมอื่นๆ (23 ชนิด) ทั้ งนี้ ในระยะหลังเปิดกรีด (7-มากกวํา 25 ปี) พบมากอยูํในชํวง 60-68 ชนิด เมื่อเปรียบเทียบกับระยะกํอนเปิดกรีด (4-6 ปี) ซึ่งพบเพียง 20 ชนิด ขณะเดียวกัน เมื่อประเมินความหนาแนํนและความถี่ พบ กระทือ (Zingiber zerumbet (L.) Sm.) (0.32) และกนกนารี (Selaginella involvens (Sw.) Spring) (36.40%) มากที่สุดในระยะกํอนเปิดกรีด สํวนไพล (Zingiber cassumunar Roxb.) (0.72) และเกล็ดนาคราช (Pyrosia piloselloides (L.) Price) (73.30%) พบมากที่สุดในระยะหลังเปิดกรีด ตามล าดับ ขณะที่ การประเมินการใช๎ประโยชน์และมูลคําทางเศรษฐกิจ พบวํา ส ามารถจ าแนกได๎ 4 กลุํม ได๎แกํ การบริโภค พืชสมุนไพร ไม๎ดอกไม๎ประดับ และไม๎ใช๎สอย โดยหากคาดคะเนจากมูลคําสูงสุด (มากกวํา 18,000 บ./ปี) พบวํา พืชกลุํมเฟิร์น ไม๎ใช๎สอย และผักพ้ืนบ๎าน สามารถสร๎างรายได๎เสริมส าหรับการปลูกเป็นพืชรํวมยางพาราได๎มากที่สุด ผลการส ารวจแสดงให๎เห็นวํา สภาพแวดล๎อมในสวนยางพารามีความเหมาะสมตํอการปรับตัวและการเจริญเติบโตของพืชพรรณหลากหลายชนิด จึงสามารถใช๎เป็นแหลํงปลูกพืชรํวมยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดได๎ ทั้งเพื่อเป็นแหลํงอนุรักษ์พรรณพืชและสร๎างรายได๎เสริมอยํางยั่งยืนให๎กับเกษตรกรสวนยางพารา ค าส าคญั: ความหลากหลายพืชพรรณ, สภาพรมํเงา, พืชรํวมยาง, ระยะหลังเปิดกรีด, นิเวศสวนยางพารา

Research article

Page 2: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

37 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

Abstract Ecological rubber plantation provides a favorable environment for many plant species. In order to

investigate plant diversity and assess its utilization as well as economic value, a survey study was carried out regarding plant density and frequency by naturally-occurring species in rubber plantations covering 9 provinces of Southern Thailand. Plant specimens were photographed, collected and classified for species identification in relation to the age of the rubber plantation. At each site, the survey was carried out for 4 age stages of rubber plantation: 4-6 years (before tapping), 7-15 years (after 1-2 tapping panel), 16-25 years (after 3-4 tapping panel) and >25 years (old rubber). Rubber tree growth (tree height, clear bole height, stem diameter, no. of branches and LAI) and climatic environment (light intensity and soil moisture) were also recorded. Due to the continuous growth of rubber trees, a significant increase in tree height, clear bole height, stem diameter and LAI was apparent. This growth effect could lead to light transmission through the rubber canopy, which would rapidly drop under shady conditions in the after-tapping stage (7 to >25 years) ranging from 6.54 to 9.69%. However, a decrease in light transmission resulted in only a slight increase in soil moisture at 0-60 cm soil depth, which gave the highest value under the 16 to 25-year-old plantation ranging from 18.91-23.37%. The lowest soil moisture was recorded from 15.66 to 15.93% under the 4 to 6-year-old plantation. The survey results also showed that plant diversity was identified and classified 98 species comprising 7 groups: ferns (15 species), medical plants (17 species), Arecaceae (10 species), woody plants (20 species), fruit trees (6 species), Orchidaceae (7 species) and various other species (23 species). The highest number of plant species was found in the after-tapping stage (7 to >25 years), which contained from 60 to 68 species. However, the number decreased by 20 species when compared to the before-tapping stage (4-6 years). Moreover, the before-tapping stage showed the highest plant density and frequency in Zingiber zerumbet (L.) Sm. (0.32) and Selaginella involvens (Sw.) Spring (36.40%), while the after-tapping stage was Zingiber cassumunar Roxb. (0.72) and Pyrosia piloselloides (L.) Price (73.30%), respectively. In addition, utilization could be classified into 4 main types including consumption, woody plants, medical plants and ornamental plants. As for estimating economic value (> 18,000 baht/year), it was noted that ferns, timber and some local vegetables were the 3 most profitable crops in terms of extra income by intercrops. The survey study suggests that rubber plantations provide not only a favorable climatic environment for plant diversity, but could also have the potential to introduce some plant species for rubber based intercropping, especially in the after-tapping stage. Another advantage is that the rubber plantation is an alternative way for conserving biodiversity and maintaining sustainable livelihoods, which is in accordance with the government policy to increase biodiversity and improve rubber smallholder income. Keywords: Plant diversity, shade condition, intercrop, tapping stage, rubber plantation ecology บทน า

ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) เป็นพืชเศรษฐกิจส าคัญทางภาคใต๎ของประเทศไทย และจากผลกระทบราคายางพาราตกต่ าอยํางตํอเนื่องตั้งแตํปี พ.ศ. 2556-2560 จนมีราคายางแผํนดิบและน้ ายางสดเฉลี่ยเทํากับ 57.19 และ 56.25 บ./กก. (ส านักตลาดกลางยางพารา , 2560) ท าให๎เกษตรกรมีความวิตกถึงความไมํมั่นคงของราคาและผลตอบแทนดังกลําว รัฐบาลได๎มุํงเน๎นนโยบายสํงเสริมให๎เกษตรกรสวนยางพาราใช๎ประโยชน์จากพื้นที่วํางระหวํางแถวให๎เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อเสริมรายได๎จากการปลูกพืชแซม

หรือพืชรํวมยาง และลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคายางพาราในอนาคต (ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ, 2557)

โดยปกติในสวนยางพาราอายุ 1-3 ปี เกษตรกรทางภาคใต๎จะมีรายได๎เสริมจากการปลูกพืชแซม เนื่องจากยังไมํมีข๎อจ ากัดด๎านสภาพพ้ืนท่ีหรือแสงที่จะมีผลตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชแซม (สถาบันวิจัยยาง, 2547) ซึ่งการปลูกพืชแซมหรือพืชรํวมยาง (Rubber-based intercropping) เชํน ข๎าวไรํ ข๎าวโพดหวาน กล๎วย สับปะรด มังคุด กระถิน

Page 3: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

38 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

เทพา สะเดาเทียม ยางนา ฯลฯ เป็นแนวทางอยํางหนึ่งที่เกษตรกรสวนยางพาราทางภาคใต๎นิยมปฏิบัต ิเพื่อเสรมิรายได๎และลดความเสี่ยงท่ีต๎องพึ่งพาจากผลผลิตยางพาราเพียงอยํางเดียวสูงถึง 75.80% ของการท าสวนยางพาราในภาคใต๎ (Somboonsuke and Cherdchom, 2000) ขณะเดียวกัน จากการเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนตํอการลงทุน (Benefit Cost Ratio: BCR) ในสวนยางพาราเชิงเดี่ยว ยังมีคําต่ ากวําสวนยางพาราที่มีพืชรํวมด๎วย (สมบูรณ์ และคณะ, 2560) นอกจากน้ี สวนยางพาราทางภาคใต๎ยังมีความหลากหลายของพืชพรรณหลายชนิดในระยะยางแกํ ซึ่งเกษตรกรได๎อนุรักษ์ไว๎เพื่อใช๎ประโยชน์ในด๎านบริโภค หรือใช๎สอยในครัวเรือน รวมถึงการน ามาใช๎ในงานประเพณีท๎องถิ่นและจ าหนํายในตลาดท๎องถิ่น (ระวี และคณะ, 2552; Jongrungrot et al., 2014)

ส าหรับสภาพแวดล๎อมในสวนยางพาราจะผันแปรตามฤดูกาลในแตํละปี โดยปกติระยะยางอํอนจะมีปริมาณการสํองผํานของแสงสูงกวําในระยะหลังเปิดกรีด ( tapping stage) ทั้งนี้ ในสวนยางพาราชํวงอายุ 1-3 ปี มีคําสูงประมาณ 80-90% กํอนลดต่ าลงเหลือเพียง 10-20% ในชํวงหลังจากอายุ 5 ปี แตํอาจเพิ่มสูงขึ้น 30-50% ในชํวงระยะอายุมากกวํา 20 ปีขึ้นไป (Wilson and Ludlow, 1990) เชํนเดียวกับความช้ืนดินในสวนยางพาราที่ผันแปรตามปริมาณน้ าฝนในรอบปี (พงศกร, 2560)

จึงท าให๎บริเวณสวนยางพาราสามารถใช๎ปลูกพืชแซมหรือพืชรํวมที่สามารถปรับตัวในสภาพแวดลอ๎มดงักลําวได๎ดี ซึ่งเกษตรกรสามารถใช๎ประโยชน์จากพื้นที่วํางระหวํางแถวยางให๎มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด๎านการผลิตและการสร๎างรายได๎ อยํางไรก็ตาม ในชํวงหลังเปิดกรีดการใช๎ประโยชน์พ้ืนท่ีระหวํางแถวยางพาราจะปฏิบัติได๎ยาก พืชสํวนใหญํจึงไมํสามารถเจริญได๎ดีภายใต๎สภาพแวดล๎อมสวนยางพาราที่มีรํมเงาหนาทึบและการมีระบบรากยางพาราแผํขยายอยํางหนาแนํน ดังนั้น การค านึงถึงระบบนิเวศในสวนยางพาราตํอความสามารถในการปรับตัวและกระจายพันธุ์ของพืชพรรณตํางๆ ภายใต๎สภาพแวดล๎อมสวนยางพารา จึงนําจะชํวยให๎ทราบถึงชนิดพืชพรรณที่ปรับตัวอาศัยรํวมกันกับยางพาราได๎ โดยเฉพาะสวนยางพาราที่อยูํในชํวงระยะหลังเปิดกรีด เพื่อเป็นประโยชน์ตํอเกษตรกรที่จะน าไปเป็นแนวปฏิบัติตํอไปในอนาคต ภ าย ใต๎ หลั ก การ ใ ช๎พื้ นที่ ส วนยางพารา ให๎ มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมากขึ้น จึงส ารวจความหลากหลายของพืชพรรณที่เจริญเติบโตได๎เองบริเวณสวนยางพาราทางภาคใต๎ของประเทศไทยท่ีมีอายุตํางกัน พร๎อมกับการประเมินมูลคําและการใช๎ประโยชน์ด๎านตํางๆ ของพืชพรรณที่ส ารวจได๎ในสวนยางพารา เพื่อประกอบการตัดสินใจ

ส าหรับใช๎เป็นพืชปลูกทางเลือกของเกษตรกรชาวสวนยางพาราได๎

วัสดุ อุปกรณ์และวิธีการ

ศึกษาสวนยางพาราในพื้นที่ 9 จังหวัดทางภาคใต๎ของประเทศไทยซึ่งมีพื้นที่ปลูกยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจ ครอบคลุมบริเวณภาคใต๎ฝั่งตะวันออกและตะวันตก ได๎แกํ ชุมพร สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา พังงา กระบี่ ตรัง และสตูล โดยสุํมสวนยางพาราที่ไมํมีการปลูกพืชแซมหรือพืชรํวม ซึ่งมีพื้นที่ส ารวจรวมทั้งสิ้น 78 แปลง (Figure 1) แบํงเป็น 4 ชํวงอายุยางพาราตามระยะพัฒนาการและการจัดการสวน คือ อายุ 4-6 ปี (ระยะกํอนเปิดกรีด) อายุ 7-15 ปี (ระยะหลังเปิดกรีดหน๎าที่ 1-2) อายุ 16-25 ปี (ระยะหลังเปิดกรีดหน๎าที่ 3-4) และอายุมากกวํา 25 ปี (ระยะยางแกํ) โดยส ารวจในชํวงเดือน มีนาคม พ.ศ. 2559 ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2560 บันทึกข๎อมูลตํางๆ ดังนี ้

Figure 1 The location surveying of rubber

plantations in Southern Thailand 1. สภาพแวดล้อมในสวนยางพารา

บันทึกข๎อมูลความเข๎มแสง โดยเครื่อง Light meter (Model BQM & QMSW, Spectrum technologies, Inc., Apogee instrument, U.S.A.) แบํงเป็น 3 บริเวณ คือ กลางแจ๎ง (Full sun) ผํานทรงพุํม (Understory) และรํมเงาใต๎ทรงพุํม (Shade) สุํมวัดกระจายทั้งแปลงจ านวน 5 จุด/แปลง ในชํวงเวลา 10.00-14.00 น. บันทึกข๎อมูลความช้ืนดิน โดยสุํมเก็บตัวอยํางดิน จ านวน 3 จุด/แปลง ที่ระดับความลึก

Page 4: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

39 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

0-20, 21-40 และ 41-60 ซม. อบดินที่อุณหภูมิ 95 °ซ เป็นระยะเวลา 72 ชม. เพื่อเปรียบเทียบความแตกตํางระหวํางชํวงอายุยางพาราทั้ง 4 ชํวง 2. การเจริญเติบโตของยางพารา

สุํมบันทึกความสูงต๎นและความสูงคาคบของยางพารา จ านวน 20 ต๎น/แปลง โดยใช๎เครื่องวัดระยะ Laser distance meter (BOSCH, Professional GLM 4.0, Germany) เส๎นผํานศูนย์กลางล าต๎นที่ระดับความสูง 130 ซม. (Diameter at breast height) นับจ านวนกิ่งหลัก และประเมินคําดัชนีพื้นที่ใบ (Leaf area index, LAI) โดยกล๎องถํายภาพดิจิตอลเลนส์ Fisheye (E8400, Nikon, Japan) ด๎วยเทคนิค Hemispherical photography จ านวน 5 จุด/แปลง และวิเคราะห์ข๎อมูลด๎วยโปรแกรม Gap light analyzer (GLA version 2.0) เพื่อเปรียบเทียบความแตกตํางระหวํางชํวงอายุยางพาราทั้ง 4 ชํวง

3. ความหลากหลายของชนิดพืชพรรณ

ส ารวจความหลากหลายของพืชพรรณในสวนยางพาราพื้นที่ 1 ไรํ/แปลง (1,600 ตร.ม.) โดยสุํมจากพื้นที่

ขนาด 10×10 ตร.ม. จ านวน 5 จุด/แปลง รวมเป็นพื้นที่ทั้งสิ้น 500 ตร.ม./แปลง บันทึกลักษณะส าคัญโดยวิธีการถํายรูปด๎วยกล๎องถํายภาพนิ่งแบบดิจิตอล (Nikon, D5600, Japan) และสุํมเก็บตัวอยํางพืชรํวมกับใช๎เอกสารทางอนุกรมวิธานของพืชกลุํมตํางๆ เพื่อตรวจสอบช่ือวงศ์และชนิด ได๎แกํ กลุํมไม๎ต๎นยืน (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2541; วชิรพงศ์, 2543) กลุํมวงศ์ปาล์ม (พูนศักดิ์, 2548) กลุํมวงศ์กล๎วยไม๎ (อบฉันท์, 2550; จักรพันธ์ และกันย์, 2551) กลุํมพรรณไม๎พื้นบ๎าน (กรมป่าไม๎, 2555) กลุํมเฟิร์นและพืชใกล๎เคียงเฟิร์น (จารุพันธ์ และปิยเกษตร, 2550; สุมาลี และคณะ , 2554) รวมทั้งอนุกรมวิธานของพืชอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง (พเยาว์ , 2548) หลังจากนั้น จัดจ าแนกตามลักษณะของกลุํมพืชพรรณออกเป็น 7 กลุํมหลัก ได๎แกํ กลุํมเฟิร์น (Fern) กลุํมสมุนไพร (Medical plants) กลุํมวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) กลุํมไม๎ใช๎สอย (Woody trees) กลุํมไม๎ผล (Fruit trees) กลุํมวงศ์กล๎วยไม๎ (Orchidaceae) และกลุํมอื่นๆ (Others) เชํน วงศ์บอน วงศ์คล๎า และวงศ์กล๎วย เพื่อวิเคราะห์ความหนาแนํน (Density, D) และความถี่ (Frequency, F) ของพืชพรรณ (Mueller-Dombois and Ellenberg, 1974; ดอกรัก, 2554; สาระ และคณะ, 2556) ดังวิธีค านวณ

1) ความหนาแนํนของพืชพรรณ (Density) ความหนาแนํน = จ านวนต๎นทั้งหมดของพืชชนิด A ที่ปรากฏในแปลงตัวอยําง พื้นที่ท้ังหมดของแปลงตัวอยํางท่ีส ารวจ 2) ความถี่ของพืชพรรณ (Frequency; %)

ความถี่ = จ านวนแปลงท่ีมีพืชชนิด A ปรากฏอยูํ ×100 จ านวนแปลงท้ังหมดที่ศึกษา 4. วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

4.1 จ าแนกพืชพรรณที่มีมูลคําทางเศรษฐกิจออกเป็นกลุํมตามลักษณะการใช๎ประโยชน์และมีมูลคําทางเศรษฐกิจ 4 กลุํมใหญํ ได๎แกํ 1) กลุํมที่ ใ ช๎บริ โภค (Consumption) ประกอบด๎วยพืชผัก (Vegetables) และไม๎ผล (Fruit trees) 2) กลุํมไม๎ใช๎สอย (Woody plants) ประกอบด๎วยการใช๎ประโยชน์เพื่องานจักสาน (Basketwork) การใช๎ผล (Fruit) การใช๎ใบ (Leaf) และใช๎ล าต๎น (Timber) 3) กลุํมพืชสมุนไพร (Medical plants) และ 4) กลุํมไม๎ดอกไม๎ประดับ (Ornamental plants) ได๎แกํ เฟิร์น (Fern) กล๎วยไม๎ (Orchid) และอื่นๆ (Others) ที่ใช๎ประโยชน์เพื่อการตกแตํงสถานท่ีได๎

4.2 ประเมินผลตอบแทนหรือรายได๎ตํอพื้นที่ปลูก 1 ไรํ หากเกษตรกรน าไปปลูกในสวนยางพารา ตามหลักเกณฑ์ระยะปลูกและจ านวนพืชแซมหรือพืชรํวมยางของพืชกลุํ มตํางๆ (สถาบันวิจัยยาง, 2547) โดยแบํงกลุํมพืชพรรณ ดังนี้

1) กลุํมไม๎ยืนต๎น ก าหนดจ านวน 20 ต๎น/พื้นที่ 1 ไรํ โดยปลูกระหวํางแถวยางพาราและมีระยะหํางระหวํางต๎น 8 ม.

2) กลุํมไม๎พุํมหรือไม๎ล๎มลุก ก าหนดจ านวน 75 ต๎น/พื้นที่ 1 ไรํ โดยปลูกระหวํางแถวยางพาราและมีระยะหํางระหวํางต๎น 3 ม.

3) กลุํมไม๎เลื้อยหรือวงศ์ขิง ก าหนดจ านวน 900 ตร.ม./พื้นที่ 1 ไรํ โดยปลูกระหวํางแถวยางพารา 5 ม. และมีระยะปลูก 1x1 ม.

4) กลุํมพืชพรรณอิงอาศัยบนต๎นยางพารา ก าหนดจ านวน 75 ต๎น/พื้นที่ 1 ไรํ โดยปลูกตามจ านวนต๎นยางพาราและมีระยะปลูก 3x7 ม.

สํวนราคาซื้อขายใช๎ข๎อมูลในตลาดท๎องถิ่นและราคาอ๎างอิงจากแหลํงจ าหนํายพรรณไม๎ตํางๆ เชํน ร๎านจ าหนํายไม๎ดอกไม๎ประดับในตลาดท๎องถิ่น รวมทั้งข๎อมูลราคาจากตลาดไท (ตลาดไท, 2560) ตลาดสี่มุมเมือง (ตลาดสี่มุมเมือง, 2560) และปากคลองตลาด (ปากคลองตลาด, 2560) เป็นต๎น

Page 5: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

40 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

5. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ วิเคราะห์หาความแปรปรวนแบบ Analysis of

Variance (ANOVA) และเปรียบเทียบความแตกตํางของคําเฉลี่ยด๎วยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมัน 95% โดยใช๎โปรแกรม R ผลการทดลอง 1. สภาพแวดล้อมในสวนยางพารา

บริ เวณสวนยางพารามีปริมาณความเข๎มแสงแตกตํางกันทางสถิติระหวํางระยะกํอนเปิดกรีดหรือชํวงอายุ

4-6 ปี กับระยะหลังเปิดกรีดหรือชํวงอายุตั้งแตํ 7 ปีเป็นต๎นไป โดยมีการสํองผํานของแสงบริเวณใต๎ทรงพุํมและบริเวณรํมเงาของทรงพุํม ซึ่งลดลงอยูํในชํวง 244.09-433.47 และ 55.00-68.34 ไมโครโมล/ตร.ม./วินาที ตามล าดับ ทั้งนี้ จากปริมาณความเข๎มแสงภายนอกทรงพํุม เมื่อประเมินเป็นเปอร์เซ็นต์การสํองผําน พบวํา มีคําแตกตํางกันประมาณ 50% ระหวํางระยะกํอนเปิดกรีดและหลังเปิดกรีด ทั้งระดับความเข๎มแสงใต๎ทรงพุํมและรํมเงา (Table 1)

Table 1 Light intensity and light transmission in different ages of rubber plantations

Age (years) Light intensity (µmol m-2 s-1)

Light transmission (%)

Full sun Understory Shade

Understory Shade 4-6 1553.71±194.19 792.29±325.78a 108.78±16.25a

59.82±19.76a 18.09±5.31a

7-15 1282.18±76.00 433.47±44.46b 68.34±6.57b

29.65±1.87b 7.48±1.02b 16-25 1157.88±109.56 244.09±33.31b 55.00±7.10b

25.63±1.96b 6.54±1.62b

> 25 1187.64±88.50 245.40±35.85b 63.87±5.92b

27.84±4.77b 9.69±0.96b F-test ns ** *

** **

Means with different letters in each column are significantly different at P≤0.05 (*) and P≤0.01 (**) by Duncan’s multiple range test (DMRT) and ns = not significant difference

สํวนปริมาณความช้ืนในดิน พบวํา มีความแตกตํางทางสถิติระหวํางชํวงอายุสวนยางพาราเฉพาะที่ระดับความลึก 20 ซม. โดยมีคําความช้ืนในดินสูงที่สุดในชํวงอายุ 16-25 ปี คือ 23.37±0.87% แตํไมํมีความแตกตํางทางสถิติกับยางพาราชํวงอายุ 7-15 ปี ซึ่งมีคําความช้ืนในดินเทํากับ 17.37±1.87% สํวนความช้ืนในดินที่ระดับความลึก 40 และ 60 ซม. ไมํมีความแตกตํางทางสถิติกันทุกชํวงอายุ แตํมีแนวโน๎มมีคําความช้ืนในดินสูงที่สุดในชํวงอายุ 16-25 ปี (Table 2) Table 2 Soil moistures at 0-20, 20-40 and 40-60 cm

soil depths under the rubber canopy in different ages of rubber plantations

Age (years)

Soil moisture (%) 0-20 cm 20-40 cm 40-60 cm

4-6 15.66±1.75b 15.40±2.22 15.93±2.47 7-15 17.37±1.87ab 15.64±2.00 14.80±2.12 16-25 23.37±0.87a 18.91±0.85 19.21±0.82 > 25 15.91±0.05b 15.13±0.05 13.91±0.05 F-test * ns ns

Means with different letters in each column are significantly different at P≤0.05 (*) by Duncan’s multiple range test (DMRT) and ns = not significant difference

2. ลักษณะการเจริญเติบโตทางล าต้นของยางพารา ลักษณะการเจริญเติบโตทางล าต๎นของยางพาราใน

แตํละชํวงอายุ พบวํา ความสูงต๎น ความสูงคาคบ และเส๎นผํานศูนย์กลางล าต๎น มีแนวโน๎มสูงขึ้นอยํางมีนัยส าคัญ เมื่ออายุยางพาราเพิ่มขึ้น โดยความสูงต๎น ความสูงคาคบ และเส๎นผํานศูนย์กลางล าต๎นของยางพารามีคําสูงสุดในชํวงอายุมากกวํา 25 ปี (33.13 ม., 4.09 ม. และ 33.06 ซม.) ขณะที่ จ านวนกิ่งหลักของยางพารามีจ านวนต่ าสุดในชํวงอายุมากกวํา 25 ปี (3.04 กิ่ง/ต๎น) ซึ่งมีความแตกตํางทางสถิติกับชํวงอายุ 4-6 ปี และ 7-15 ปี สํวนดัชนีพื้นที่ใบยางพารามีคําต่ าอยํางมีนัยส าคัญในชํวงอายุ 4-6 ปี และ 7-15 ปี (2.26 และ 2.38) สํวนในยางพาราชํวงอายุ 16-25 ปี และมากกวํา 25 ปี มีคําใกล๎เคียงกันทางสถิติ (2.93 และ 3.04) (Table 3)

3. ความหลากหลายของชนิดพืชพรรณในสวนยางพารา

ผลการส ารวจในสวนยางพาราทุกชํวงอายุสามารถจ าแนกลักษณะพืชพรรณได๎ 7 กลุํม โดยจ าแนกได๎ทั้งหมด 98 ชนิด ได๎แกํ กลุํมเฟิร์น (Fern) จ านวน 15 ชนิด ซึ่งชนิดที่พบเห็นได๎มาก เชํน Adiantum polyphyllum Willd. (เฟิร์นก๎านด าใบรํม) Asplenium nidus L. (ข๎าหลวงหลังลาย) Lygodium flexuosum L.(sw.) (ลิเภา) Nephrolepis cordifolia (L.) C. Prresl. (เฟิร์นใบมะขาม) Platycerium sp. (ชายผ๎าสีดาปักษ์ใต๎) และ Selaginella involvens (Sw.)

Page 6: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

41 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

Spring (กนกนารี) เป็นต๎น กลุํมสมุนไพร (Medical plants) จ านวน 17 ชนิด เชํน Alpinia galanga (L.) Willd. (ขํา) Kaempferia galangal L. (เปราะหอม) Morinda elliptica Ridl. (ยอป่า) และ Zingiber zerumbet (L.) Sm. (กระทือ) เป็นต๎น กลุํมวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) จ านวน 10 ชนิด เชํน Calamus diepenhorstii Miq. (หวายขม) Caryota mitis Lour. (เตําร๎างแดง) Licuala spinosa Thunb. (กะพ๎อ) และ Livistona speciosa Kurz. (สิเหรง) เป็นต๎น กลุํมไม๎ใช๎สอย (Woody trees) จ านวน 20 ชนิด เชํน Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen (เนียง) Azadirachta excels (Jack) Jacobs. (สะเดาเทียม) Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot. (แซะ) และ Dipterocapus alatus Roxb. ex G. Don. (ยางนา) เป็นต๎น กลุํมไม๎ผล (Fruit trees) จ านวน 6 ชนิด เชํน Artocarpus heterophyllus Lam. (ขนุน) Mangifera indica L. (มะมํวง) และ Sandoricum koetjape (Burm. f.) Merr. (กระท๎อน) เป็นต๎น กลุํมวงศ์

กล๎วยไม๎ (Orchidaceae) จ านวน 7 ชนิด เชํน Bulbophyllum sp. (สิงโต) Cymbidium finlaysonianum Lindl. (กะเรกะรํอนปากเป็ด) Dendrobium crumenatum Sw. (หวายตะมอย) Dendrobium cumulatum Lindl. (เอื้องสายสี่ดอก) และ Geodorum sp. (วํานจูงนาง) เป็นต๎น และพืชในกลุํมอื่นๆ (Others) จ าแนกได๎ 23 ชนิด เชํน Amorphophallus sp. (บุก) Ardisia crenata Sims (ตาเป็ดตาไกํ) Costus sp. (เอื้องหมายนา) Ficus fistulosa Reinw ex. Blume (ช่ิงขาว) Flagellaria indica L. (หวายลิง) Maranta arundinacea L. var. arundinacea (สาคูวิลาส) และ Stachyphrynium jagorianum K. Schum. (กาเล็ดกาเว๎า) เป็นต๎น ซึ่งในยางพาราอายุมากกวํา 25 ปี พบชนิดพืชพรรณจ านวน 66 ชนิด สํวนอายุ 16-25 ปี พบจ านวน 68 ชนิด ขณะที่ ยางพาราชํวงอายุ 7-15 และ 4-6 ปี พบจ านวน 60 และ 20 ชนิด ตามล าดับ (Figure 2)

Table 3 Tree height, clear bole height, stem diameter, no. of branch and LAI in different ages of rubber trees

Age Tree height Clear bole height Stem diameter No. of branch LAI (years) (m) (m) (cm) (branch/tree)

4-6 16.88±0.67c 3.07±0.37b 13.11±0.73d 4.07±0.37a 2.26±0.28c 7-15 28.60±0.50b 3.56±0.14ab 20.06±0.52c 3.66±0.21ab 2.38±0.13bc 16-25 32.52±0.64a 4.07±0.16a 26.69±0.79b 3.23±0.21b 2.93±0.18ab > 25 33.13±1.03a 4.09±0.24a 33.06±0.97a 3.04±0.19b 3.04±0.21a F-test ** ** ** * *

Means with different letters in each column are significantly different at P≤0.05 (*) and P≤0.01 (**) by Duncan’s multiple range test (DMRT)

Figure 2 Group distribution of plant diversity in different ages of rubber plantations

ขณะเดียวกัน หากประเมินความหนาแนํนและความถี่ของพืชพรรณตามชํวงอายุสวนยางพารา พบวํา พืชพรรณที่มีความหนาแนํนและความถี่สูงสุดในยางพาราชํวงอายุ

4-6 ปี คือ Zingiber zerumbet (L.) Sm. (กระทือ) (0.32) และ Selaginella involvens (Sw.) Spring กนกนารี (36.40%) สํวนชํวงอายุ 7-15 ปี คือ Alpinia mutica Roxb.

Page 7: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

42 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

(ขําน้ า) (0.48) และ Lygodium flexuosum L. (sw.) (ลิเภา) ( 67 . 74%) ชํ ว งอายุ 16 -25 ปี คื อ Stachyphrynium jagorianum K. Schum. (กาเล็ดกาเว๏า) (0.40) และ Adiantum polyphyllum Willd. (เฟิร์นก๎านด าใบรํม)

(60.00%) และชํวงอายุมากกวํา 25 ปี คือ Zingiber cassumunar Roxb. (ไพล) (0.72) และ Pyrosia piloselloides (L.) Price (เกล็ดนาคราช) (73.30%) ตามล าดับ (Table 4)

Table 4 Plant diversity and frequency expressed as the different ages of rubber plantations in Southern Thailand

Groups 4-6 years 7-15 years 16-25 years ›25 years Scientific name (Thai name) D F D F D F D F

Ferns Adiantum polyphyllum Willd. (เฟิร์นก๎านด าใบรํม) 0.23 27.27 0.19 41.94 0.38 60.00 0.20 46.67 Asplenium nidus L. (ข๎าหลวงหลังลาย) 0.00 0.00 0.04 3.23 0.12 15.00 0.05 26.67 Davallia solida (G.Forst.) Sw. (เฟิร์นนาคราช) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.10 20.00 0.14 20.00 Dicranopteris lineris (Burm.f.) Underw. (โชน) 0.24 18.18 0.30 54.84 0.20 50.00 0.27 60.00 Dischidia nummularia R.Br. (เกล็ดมังกร) 0.00 0.00 0.17 9.68 0.20 30.00 0.00 0.00 Drynaria quercifolia (L.) J.Sm. (กระแตไตํไม๎) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.15 25.00 0.22 53.33 Helminthostachys zeylanica (L.) Hook (ตีนนกยูง) 0.00 0.00 0.12 6.45 0.15 30.00 0.19 33.33 Lygodium flexuosum (L.) Sw. (ลิเภา) 0.10 18.18 0.24 67.74 0.22 60.00 0.23 66.67 Lygodium microphyllum (Cav.) R.Br. (ลิเภายุํง) 0.00 0.00 0.17 9.68 0.06 5.00 0.32 6.67 Nephrolepis cordifolia (L.) C. Prresl. (เฟิร์นใบมะขาม) 0.19 18.18 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 Platycerium sp. (ชายผ๎าสีดาปกัษ์ใต๎) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.02 10.00 0.00 0.00 Pteris ensiformis Burm.f. (เฟิร์นเงิน) 0.00 0.00 0.14 12.90 0.10 25.00 0.14 13.33 Pyrosia piloselloides (L.) Price (เกล็ดนาคราช) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.22 15.00 0.17 73.33 Selaginella involvens (Sw.) Spring (กนกนารี) 0.24 36.36 0.31 35.48 0.30 50.00 0.37 40.00 Stenochlaena palustris (Burm.f.) Bedd. (ล าเท็ง) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.35 5.00 0.19 6.67 Medical plants Alpinia galanga (L.) Willd. (ขํา) 0.00 0.00 0.15 6.45 0.00 0.00 0.14 13.33 Alpinia macrostaminodia Chaveer. & Sudmoon (ขําป่า) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.09 15.00 0.00 0.00 Alpinia mutica Roxb. (ขําน้ า) 0.00 0.00 0.48 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Centella asiatica (L.) Urban. (บัวบก) 0.15 9.09 0.00 0.00 0.13 5.00 0.00 0.00 Curcuma australasica Hook.f. (กระเจียว) 0.00 0.00 0.22 3.23 0.27 5.00 0.00 0.00 Etlingera littoralis Giesecke (ปุด) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.06 6.67 Globba obscura K. Larsen (ขําลิง) 0.00 0.00 0.18 12.90 0.35 30.00 0.18 20.00 Kaempferia galangal L. (เปราะหอม) 0.00 0.00 0.08 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Micromelum minutum (G.Forst.) Wight & Arn. (หัสคุณ) 0.06 9.09 0.12 22.58 0.06 20.00 0.13 6.67 Molineria sp. (มะพร๎าวนกคํุม) 0.00 0.00 0.36 16.13 0.25 40.00 0.29 46.67 Morinda elliptica Ridl. (ยอปา่) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 6.67 Piper sarmentosum Roxb. (ชะพลู) 0.00 0.00 0.19 3.23 0.00 0.00 0.64 6.67 Sauropus androgynous (L.) Merr. (ผักหวานบ๎าน) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.06 10.00 0.00 0.00 Solanum torvum Sw. (มะเขือพวง) 0.00 0.00 0.07 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Tiliacora triandra (Colebr.) Diels. (เถายํานาง) 0.11 18.18 0.26 29.03 0.22 20.00 0.14 6.67 Zingiber cassumunar Roxb. (ไพล) 0.00 0.00 0.16 29.03 0.24 35.00 0.72 13.33 Zingiber zerumbet (L.) Sm. (กระทือ) 0.32 9.09 0.20 22.58 0.17 40.00 0.19 53.33 Arecaceae Areca catechu L. (หมากสง) 0.00 0.00 0.10 9.68 0.00 0.00 0.09 6.67 Calamus diepenhorstii Miq. (หวายขม) 0.03 9.09 0.15 16.13 0.04 10.00 0.09 20.00 Caryota mitis Lour. (เตําร๎างแดง) 0.00 0.00 0.11 29.03 0.06 25.00 0.05 40.00 Cocos nucifera L. (มะพร๎าว) 0.00 0.00 0.04 9.68 0.04 5.00 0.03 6.67 Dypsis lutescens (H.Wendl.) H.Beentje & J.Dransf. (หมากเหลือง)

0.00 0.00 0.00 0.00 0.08 5.00 0.00 0.00

Page 8: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

43 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

Table 4 Continued Groups 4-6 years 7-15 years 16-25 years ›25 years

Scientific name (Thai name) D F D F D F D F Elaeis guineensis Jacq. (ปาล์มน้ ามนั) 0.00 0.00 0.03 9.68 0.07 15.00 0.08 13.33 Licuala spinosa Thunb. (กะพอ๎) 0.00 0.00 0.06 6.45 0.00 0.00 0.08 13.33 Livistona speciosa Kurz. (สิเหรง) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.19 13.33 Salacca wallichiana Mart. (ระก า) 0.00 0.00 0.02 6.45 0.02 10.00 0.03 6.67 Salacca zalacca (Gaertn.) Voss (สละ) 0.00 0.00 0.03 3.23 0.02 5.00 0.00 0.00 Woody trees Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth (กระถินณรงค์) 0.06 9.09 0.00 0.00 0.04 5.00 0.00 0.00 Alstonia scholaris (L.) R. Br. (ตีนเป็ด) 0.00 0.00 0.10 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Antidesma ghaesembilla Gaertn. (มะเมํา) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 5.00 0.06 6.67 Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen (เนียง) 0.00 0.00 0.03 25.81 0.04 5.00 0.05 13.33 Baccaurea ramiflora Lour. (มะไฟ) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.06 5.00 0.00 0.00 Bambusa bambos (L.) Voss. (ไผํป่า) 0.03 9.09 0.05 25.81 0.02 35.00 0.03 33.33 Barringtonia sp. (จิก) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.05 15.00 0.06 6.67 Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot. (แซะ) 0.00 0.00 0.02 9.68 0.04 10.00 0.03 6.67 Dipterocapus alatus Roxb. ex G.Don. (ยางนา) 0.03 9.09 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 Hopea odorata Roxb. (ตะเคียน) 0.00 0.00 0.03 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Lagerstroemia floribunda Jack (ตะแบก) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.06 6.67 Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. (ก าช า) 0.00 0.00 0.08 3.23 0.06 5.00 0.10 13.33 Litsea grandis Hook.f. (กะทังใบใหญํ) 0.06 9.09 0.07 9.68 0.06 20.00 0.06 40.00 Mangifera caloneure Kurz. (มะมํวงป่า) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 5.00 0.00 0.00 Michelia champaca L. (จ าปาป่า) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 6.67 Parkia speciosa Hassk. (สะตอ) 0.00 0.00 0.04 9.68 0.02 5.00 0.02 6.67 Swietenia macrophylla King. (มะฮอกกานี) 0.06 9.09 0.04 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Syzygium cumini (L.) Skeels. (หว๎า) 0.00 0.00 0.04 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Tectona grandis L.f. (สัก) 0.00 0.00 0.04 6.45 0.04 5.00 0.00 0.00 Fruit trees Artocarpus heterophyllus Lam. (ขนุน) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 5.00 0.00 0.00 Durio zibethinus L. (ทุเรียน) 0.00 0.00 0.04 6.45 0.00 0.00 0.00 0.00 Garcinia mangostana L. (มังคุด) 0.00 0.00 0.05 6.45 0.06 10.00 0.05 6.67 Lansium domesticum Correa (ลองกอง) 0.00 0.00 0.06 16.13 0.00 0.00 0.07 13.33 Mangifera indica L. (มะมํวง) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 5.00 0.00 0.00 Sandoricum koetjape (Burm. f.) Merr. (กระท๎อน) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.02 5.00 0.00 0.00 Orchidaceae Bulbophyllum sp. (สิงโต) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.04 6.67 Cymbidium finlaysonianum Lindl. (กะเรกะรํอนปากเป็ด) 0.00 0.00 0.06 3.23 0.04 10.00 0.08 20.00 Dendrobium crumenatum Sw. (หวายตะมอย) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.12 35.00 0.10 40.00 Dendrobium cumulatum Lindl. (เอื้องสายสี่ดอก) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.02 6.67 Dendrobium keithii Ridl. (หางเปีย) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 6.67 Geodorum sp. (วํานจูงนาง) 0.00 0.00 0.05 6.45 0.07 20.00 0.13 20.00 Luisia thailandica Seidenf. (เอื้องลิ้นด า) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.12 5.00 0.00 0.00 Others Alocasia cucullata (Lour.) G.Don. (นางกวัก) 0.00 0.00 0.15 3.23 0.24 10.00 0.06 6.67 Alocasia longiloba Miq. (แก๎วหนา๎มา๎) 0.00 0.00 0.13 9.68 0.00 0.00 0.00 0.00 Alocasia macrorrhizos (L.) G. Don (กระดาด) 0.00 0.00 0.16 12.90 0.15 15.00 0.14 26.67 Amorphophallus sp. (บุก) 0.10 9.09 0.12 16.13 0.10 20.00 0.12 20.00 Ardisia crenata Sims (ตาเป็ดตาไกํ) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.10 13.33 Caladium sp. (บอนสี) 0.17 9.09 0.00 0.00 0.26 10.00 0.00 0.00 Costus sp. (เอื้องหมายนา) 0.00 0.00 0.16 9.68 0.32 40.00 0.10 40.00

Page 9: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

44 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

Table 4 Continued Groups 4-6 years 7-15 years 16-25 years ›25 years

Scientific name (Thai name) D F D F D F D F Dischidia major (Vahl) Merr. (จุกโรหินี) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 5.00 0.00 0.00 Ficus fistulosa Reinw ex. Blume (ชิ่งขาว) 0.00 0.00 0.14 6.45 0.13 5.00 0.13 6.67 Ficus hispida L.f. (มะเด่ือปล๎อง) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.14 13.33 Flagellaria indica L. (หวายลิง) 0.00 0.00 0.32 3.23 0.29 20.00 0.11 13.33 Hoya sp. (โฮยํา) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.05 5.00 0.05 13.33 Lasia spinosa (L.) Thwaites. (ผักหนาม) 0.00 0.00 0.32 3.23 0.06 5.00 0.00 0.00 lxora Cibdela Craib (เข็มป่า) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.13 6.67 Maranta arundinacea L. var. arundinacea (สาคูวิลาส) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.32 5.00 0.00 0.00 Melastoma sp. (โคลงเคลง) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.13 5.00 0.32 6.67 Microcos tomentosa Sm. (พลับพลา) 0.00 0.00 0.09 3.23 0.00 0.00 0.06 13.33 Musa acuminate Colla (กล๎วยป่า) 0.13 9.09 0.07 32.26 0.09 30.00 0.07 40.00 Musa sapientum L. (กล๎วย) 0.00 0.00 0.04 3.23 0.00 0.00 0.00 0.00 Schumannianthus dichotomus (Roxb.) Gagnep (คล๎า) 0.00 0.00 0.02 6.45 0.04 5.00 0.04 6.67 Stachyphrynium jagorianum K. Schum. (กาเล็ดกาเวา๎) 0.00 0.00 0.18 6.45 0.40 20.00 0.32 13.33 Streblus asper Lour. (ขํอย) 0.10 9.09 0.06 6.45 0.09 10.00 0.08 20.00 Uvaria rufa Blume (นมควาย) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.04 13.33

4. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการสร้างมลูค่าของพืชพรรณในสวนยางพารา

จากความหลากหลายของพืชพรรณที่สามารถเจริญเติบโตในสวนยางพาราตามชํวงอายุตํางๆ สามารถน ามา

จัดกลุํมให๎เหมาะสมตํอการใช๎ประโยชน์และสร๎างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ 4 กลุํมใหญํ (Table 5) ดังนี้

Table 5 Utilizations and estimation of economic values of some plant species as rubber-intercropping system

Benefit groups Scientific names

(Thai name) Density

(tree/rai) Market price (baht/unit)

Value (baht/rai)

Consumption Vegetables Alpinia galanga (L.) Willd. (ขํา) 900 40/kg 1,600

Antidesma ghaesembilla Gaertn. (มะเมํา) 75 25/kg 18,750 Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen (เนียง) 20 50/kg 20,000 Barringtonia sp. (จิก) 20 25/kg 5,000 Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot. (แซะ) 20 25/kg 5,000 Centella asiatica (L.) Urban. (บัวบก) 900 30/kg 900 Ficus fistulosa Reinw ex. Blume (ชิ่งขาว) 20 25/kg 5,000 Lasia spinosa (L.) Thwaites. (ผักหนาม) 900 25/kg 750 Micromelum minutum (G.Forst.) Wight & Arn. (หัสคุณ) 75 25/kg 18,750 Parkia speciosa Hassk. (สะตอ) 20 30/bunch 12,000 Piper sarmentosum Roxb. (ชะพลู) 900 70/kg 4,200 Sauropus androgynous (L.) Merr. (ผักหวานบ๎าน) 900 100/kg 15,000 Solanum torvum Sw. (มะเขือพวง) 900 70/kg 2,100 Stenochlaena palustris (Burm.f.) Bedd. (ล าเท็ง) 900 25/kg 750 Tiliacora triandra (Colebr.) Diels (เถายํานาง) 900 30/kg 1,200

Fruit trees Artocarpus heterophyllus Lam. (ขนุน) 20 20/kg 12,000 Mangifera indica L. (มะมํวง) 20 20/kg 8,000 Salacca wallichiana Mart. (ระก า) 75 30/kg 2,250 Salacca zalacca (Gaertn.) Voss (สละ) 75 50/kg 3,750 Sandoricum koetjape (Burm. f.) Merr. (กระท๎อน) 20 20/kg 12,000

Page 10: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

45 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

Table 5 Continued

Benefit groups Scientific names

(Thai name) Density

(tree/rai) Market price (baht/unit)

Value (baht/rai)

Woody plants Fruit, leaf, timber Areca catechu L. (หมากสง) 20 20/kg 4,000

Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth (กระถินณรงค์) 20 1,000/tree 20,000 Bambusa bambos (L.) Voss (ไผํป่า) 20 30/shoot 12,000 Cocos nucifera L. (มะพร๎าว) 20 20/fruit 2,000 Dipterocapus alatus Roxb. ex G.Don. (ยางนา) 20 15,000/tree 300,000 Hopea odorata Roxb. (ตะเคียน) 20 15,000/tree 300,000 Licuala spinosa Thunb. (กะพอ๎) 75 2/branch 1,800 Livistona speciosa Kurz. (สิเหรง) 75 2/branch 1,800 Tectona grandis L.f. (สัก) 20 15,000/tree 300,000

Basketwork Calamus diepenhorstii Miq. (หวายขม) 75 2/shoot 1,500 Lygodium flexuosum (L.) Sw. (ลิเภา) 10 1,000/1 kg DW 10,000

Medical plants Amorphophallus sp. (บุก) 900 10/kg 400 Kaempferia galangal L. (เปราะหอม) 900 50/kg 2,000 Maranta arundinacea L. var. arundinacea (สาคูวิลาส) 900 50/kg 2,000 Zingiber cassumunar Roxb. (ไพล) 900 25/kg 1,000 Zingiber zerumbet (L.) Sm. (กระทือ) 900 40/kg 1,600

Ornamental plants Ferns Adiantum polyphyllum Willd. (เฟิร์นก๎านด าใบรํม) 900 30/pot 27,000

Asplenium nidus L. (ข๎าหลวงหลังลาย) 75 250/bulb 18,750 Caryota mitis Lour. (เตําร๎างแดง) 20 200/tree 4,000 Davallia solida (G.Forst.) Sw. (เฟิร์นนาคราช) 900 30/pot 27,000 Dischidia nummularia R.Br (เกล็ดมังกร) 75 30/pot 2,250 Drynaria quercifolia (L.) J.Sm. (กระแตไตํไม๎) 75 100/bulb 7,500 Dypsis lutescens (H.Wendl.) H.Beentje & J.Dransf.

(หมากเหลือง) 900 2.5/branch 27,000

Hoya sp. (โฮยํา) 75 50/pot 3,750 Nephrolepis cordifolia (L.) C. Prresl. (เฟิร์นใบมะขาม) 900 20/pot 18,000 Platycerium sp. (ชายผ๎าสีดาปกัษ์ใต๎) 75 500/bulb 37,500 Pteris ensiformis Burm.f. (เฟิร์นเงิน) 900 20/pot 18,000 Selaginella involvens (Sw.) Spring (กนกนารี) 900 20/pot 18,000

Orchids Bulbophyllum sp. (สิงโต) 75 50/pot 3,750 Cymbidium finlaysonianum Lindl. (กะเรกะรํอนปากเป็ด) 75 100/bulb 7,500 Dendrobium crumenatum Sw. (หวายตะมอย) 75 100/pot 7,500 Dendrobium cumulatum Lindl. (เอื้องสายสี่ดอก) 75 50/pot 3,750 Dendrobium keithii Ridl (หางเปีย) 75 20/pot 1,500 Geodorum sp. (วํานจูงนาง) 75 20/pot 1,500 Luisia thailandica Seidenf. (เอื้องลิ้นด า) 75 20/pot 1,500

Others Ardisia crenata Sims (ตาเป็ดตาไก)ํ 75 50/tree 3,750 Caladium sp. (บอนส)ี 900 30/pot 27,000 Costus sp. (เอื้องหมายนา) 75 50/pot 3,750 Curcuma australasica Hook.f. (กระเจียว) 900 5/inflorescence 4,500 Stachyphrynium jagorianum K.Schum. (กาเล็ดกาเวา๎) 900 30/pot 27,000 Streblus asper Lour. (ขํอย) 75 250/tree 18,750

Page 11: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

46 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

1) กลุํมที่ใช๎บริโภค (Consumption) แบํงเป็น 2 กลุํมยํอย คือ พืชผัก (Vegetables) โดยชนิดพืชพรรณที่นิยมบริโภคและสร๎างมูลคําได๎ เชํน Alpinia galanga (L.) Willd. (ขํา) ให๎ผลตอบแทน 1,600 บ./ไรํ/ปี (40 บ./กก.) Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen (เนียง) ให๎ผลตอบแทน 20,000 บ./ไรํ/ปี (50 บ./กก.) สํวนผักพื้นบ๎าน เชํน Antidesma ghaesembilla Gaertn. (มะเมํา) Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot. (แซะ) Ficus fistulosa Reinw ex. Blume (ช่ิงขาว) Micromelum minutum (G.Forst.) Wight & Arn. (หัสคุณ) และ Barringtonia sp. (จิก) ให๎ผลตอบแทน 5,000-18,750 บ./ไรํ/ปี (25 บ./กก.) นอกจากนี้ Parkia speciosa Hassk. (สะตอ) ให๎ผลตอบแทน 12,000 บ./ไรํ/ปี (30 บ./ชํอ) และ Tiliacora triandra (Colebr.) Diels (เถายํานาง) ให๎ผลตอบแทน 1,200 บ./ไรํ/ปี (30 บ./กก.) และไม๎ผล (Fruit trees) เชํน Cocos nucifera L. (มะพร๎าว) ให๎ผลตอบแทน 20,000 บ./ไรํ/ปี (20 บ./ผล) Artocarpus heterophyllus Lam. (ขนุน) Mangifera indica L. (มะมํวง) และ Sandoricum koetjape (Burm. f.) Merr. (กระท๎อน) ให๎ผลตอบแทน 8,000-12,000 บ./ไรํ/ปี (20 บ./กก.)

2) กลุํมไม๎ใช๎สอย (Woody plants) แบํงเป็นใช๎ประโยชน์จากผล คือ Areca catechu L. (หมากสง) ให๎ผลตอบแทน 4,000 บ./ไรํ/ปี (20 บ./กก.) ส าหรับใช๎ในงานจักสาน คือ Lygodium flexuosum L.(sw.) (ลิเภา) ให๎ผลตอบแทน 10,000 บ./ไรํ/ปี (1,000 บ./กก. น้ าหนักแห๎ง) การใช๎ประโยชน์จากใบ คือ Licuala spinosa Thunb. (กะพ๎อ) และ Livistona speciosa Kurz. (สิเหรง) ให๎ผลตอบแทน 1,800 บ./ไรํ/ปี (2 บ./ทางใบ) และการใช๎ประโยชน์จากล าต๎นในระยะเดียวกับการโคํนล๎มต๎นยางพารา (อายุมากกวํา 25 ปี) เชํน Dipterocapus alatus Roxb. ex G. Don. (ยางนา) (15,000 บ./ต๎น) Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth (กระถินณรงค์) (1,000 บ./ต๎น) Tectona grandis L.f. (สัก) (15,000 บ./ต๎น) และ Bambusa bambos (L.) Voss (ไผํป่า) (30 บ./ล า) สามารถให๎ผลตอบแทนในชํวง 12,000-300,000 บ./ไรํ

3) กลุํมพืชสมุนไพร (Medical plants) เชํน Amorphophallus sp. (บุก) ให๎ผลตอบแทน 400 บ./ไร ํ(10 บ./กก.) และ Zingiber cassumunar Roxb. (ไพล) ให๎ผลตอบแทน 1,000 บ./ไร ํ(25 บ./กก.) เป็นต๎น

4) กลุํมไม๎ประดับ (Ornamental plants) แบํงเป็น 3 กลุํมยํอย เชํน Adiantum polyphyllum Willd. (เฟิร์นก๎านด าใบรํม) ให๎ผลตอบแทน 27,000 บ./ไรํ (30 บ./ต๎น) Asplenium nidus L. (ข๎าหลวงหลังลาย) ให๎ผลตอบแทน 18,750 บ./ไรํ (250 บ./ต๎น) Nephrolepis cordifolia (L.)

C. Prresl. (เฟิร์นใบมะขาม) ให๎ผลตอบแทน 18,000 บ./ไร ํ(20 บ./ต๎น) และ Platycerium sp. (ชายผ๎าสีดาปักษ์ใต)๎ ให๎ผลตอบแทน 37,500 บ./ไรํ (500 บ./ต๎น) สํวนกลุมํกล๎วยไม ๎(Orchids) เชํน Cymbidium finlaysonianum Lindl. (กะเรกะรํอนปากเป็ด) และ Dendrobium crumenatum Sw. (หวายตะมอย) ให๎ผลตอบแทน 7,500 บ./ไร ํ (100 บ./กอ) และ Geodorum sp. (วํานจูงนาง) ให๎ผลตอบแทน 1,500 บ./ไร ํ (20 บ./ต๎น) และกลุมํอื่นๆ เชํน Ardisia crenata Sims (ตาเป็ดตาไก)ํ ให๎ผลตอบแทน 3,750 บ./ไร ํ(50 บ./ต๎น) Caladium sp. (บอนสี) และ Stachyphrynium jagorianum K. Schum. (กาเล็ดกาเว๎า) ให๎ผลตอบแทน 27,000 บ./ไร ํ (50 บ./ต๎น) และ Dypsis lutescens (H.Wendl.) H.Beentje & J.Dransf. (หมากเหลือง) ให๎ผลตอบแทน 27,000 บ./ไรํ (2.5 บ./ทางใบ) เป็นต๎น วิจารณ์ อายุสวนยางพาราต่อสภาพแวดล้อมในสวนยางพารา

ความเข๎มแสงผํานทรงพุํมและรํมเงาใต๎ทรงพุํมของยางพารามีคําสูงในชํวงต๎นยางพาราอายุน๎อย และความเข๎มแสงมีแนวโน๎มลดลงเมื่อยางพารามีอายุเพิ่มขึ้น เนื่องจากยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดมีการสร๎างทรงพุํมหนาทึบขึ้น จึงท าให๎มีคําดัชนีพื้นที่ใบสูงขึ้น และท าให๎มีแสงสํองผํานทรงพุํมน๎อยลง ขณะเดียวกัน ยังมีการเจริญเติบโตด๎านความสูงต๎น ความสูงคาคบ และขนาดเส๎นรอบวงล าต๎นเพิ่มขึ้นตามชํวงอายุของยางพาราด๎วย สํวนจ านวนกิ่งหลักของยางพารามีจ านวนลดลงในระยะยางแกํ ทั้งนี้เป็นเพราะต๎นยางพารามักมีการทิ้งกิ่งขนาดเล็กเมื่ออายุมากขึ้น (ระวี และคณะ, 2551) อยํางไรก็ตาม แม๎ดัชนีพื้นที่ใบมีคําเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของอายุยางพารา แตํอาจลดลงได๎ในบางชํวงของฤดูกาลในรอบปี (พงศกร, 2560) ส าหรับความช้ืนในดิน (20 ซม.) มีแนวโน๎มสูงขึ้นในสภาพสวนยางพาราระยะหลังเปิดกรีด เพราะเป็นระยะที่มีการทับถมของใบยางพาราจากการผลัดใบจ านวนมาก หรือมีพืชปกคลุมดินจ านวนมากกวําชํวงอายุอื่นๆ (ปุญญิศา และคณะ, 2559) จากลักษณะทรงพุํมปกคลุมและจ านวนกิ่งก๎านของต๎นยางพารา จึงท าให๎สภาพอากาศในสวนยางพาราในชํวงระยะหลังเปิดกรีด มีปริมาณแสงสํองผํานลดลงและความช้ืนในดินใกล๎เคียงกัน ทั้งนี้ ปริมาณการสํองผํานของแสงบริเวณระหวํางแถว มักมีคําสูงกวําบริเวณรํมเงาใต๎ทรงพุํมประมาณ 40-70% และผันแปรตํางกันในชํวงเวลารอบวัน (Stur and Shelton, 1990) จึงท าให๎สภาพแวดล๎อมในสวนยางพารามีศักยภาพเพียงพอตํอการสังเคราะห์แสงของพืชแซมหรือพืชปลูกตํางๆ ที่สามารถปรับตัวได๎ตามปริมาณการสํองผํานของแสง แม๎การศึกษานี้ พบวํา มีความแตกตํางทางสถิติของความเข๎มแสงระหวํางระยะกํอนและหลังเปิดกรีด

Page 12: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

47 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

แตํแตกตํางกันเพียง 30% หากเปรียบเทียบกับสภาพแวดล๎อมในสวนยางพาราระยะยางอํอนชํวงอายุ 1-3 ปี ที่มีความเข๎มแสงสูงกวําถึง 80-90% (Wilson and Ludlow, 1990) รวมถึงความช้ืนในดินที่ระดับความลึก 20 ซม. แม๎มีความแตกตํางกัน แตํอาจผันแปรใกล๎เคียงกันได๎ตามชํวงเวลาที่มีฝนตกในรอบปี (พงศกร, 2560)

ความหลากหลายของชนิดพืชพรรณที่พบในสวนยางพารา

ลักษณะการเจริญเติบโตของยางพาราแตํละชํวงอายุสํงผลให๎มีสภาพแวดล๎อมบริเวณสวนยางพาราแตกตํางกัน น าไปสูํความหลากหลายของพืชพรรณที่สามารถเจริญเติบโตและปรับตัวได๎ตํางกัน ซึ่งในสวนยางพาราอายุ 16 ปี ขึ้นไป มีแนวโน๎มพบความหลากหลายของพืชพรรณสูงสุด เนื่องจากมีสภาพความเข๎มแสงและมีความช้ืนที่ เหมาะสมตํอการเจริญเติบโตและการขยายพันธุ์ของพืชพรรณตํางๆ ประกอบกับในสวนยางพาราระยะนี้ เกษตรกรสํวนใหญํไมํมีการก าจัดวัชพืชระหวํางแถวยางพารา ท าให๎บริเวณสวนยางพารามีการฟื้นฟูสภาพนิเวศขึ้นมาใหมํ เชํนเดียวกับการฟื้นตัวของพืชพรรณตํางๆ ในสภาพป่ายาง (สาระ และคณะ, 2556) จึงอาจเอื้อให๎พืชพรรณตํางๆ ไมํถูกก าจัดเหมือนกับในสวนยางพาราระยะกํอนเปิดกรีดในชํวงอายุ 4-6 ปี ที่ต๎องก าจัดวัชพืชในสวนยางพาราตามหลักวิชาการ (สถาบันยางพารา, 2547)

ในกลุํมพืชวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) มีการกระจายตัวในสวนยางพาราถึง 10 ชนิด โดยเฉพาะกะพ๎อ และสิเหรง ซึ่งพบได๎ตั้งแตํสวนยางพาราอายุ 7 ปี ขึ้นไป สอดคล๎องกับการส ารวจพืชวงศ์ปาล์มในพื้นที่ป่ าธรรมชาติ ที่พบความหลากหลายถึง 24 ชนิด เนื่องจากสามารถเจริญเติบโตได๎ดีในสภาพรํมเงาและความช้ืนสัมพัทธ์สูง (Bacon et al., 2012) ขณะเดียวกัน ในสวนยางพาราอายุมากกวํา 25 ปี ยังส ารวจพบปุดช๎าง ซึ่งปกติเป็นพืชเจริญได๎ดีในสภาพความช้ืนสูงในสภาพพื้นที่ป่า (Chongkaijak et al., 2013) จึงแสดงให๎เห็นวํา สวนยางพาราระยะหลังเปิดกรีดมีสภาพความช้ืนสัมพัทธ์สู ง เ หม าะสมตํ อการ เ จ ริญของพื ชพร รณหลายชนิ ด เชํนเดียวกับผลการศึกษาในสวนยางพาราอายุ 8 และ 16 ปี ที่มีความช้ืนสัมพัทธ์โดยเฉลี่ยทั้งปีสูงใกล๎ เคียงกันเทํากับ 81.85% และ 86.00% (พงศกร, 2560)

ส าหรับกลุํมเฟิร์นจัดเป็นอีกกลุํมพืชที่กระจายอยูํจ านวนมากในสวนยางพารา เนื่องจากสามารถเจริญและขยายพันธุ์ ได๎ดีทั้ งบริ เวณพื้นดินระหวํางแถวและล าต๎นยางพารา (ระวี และคณะ, 2552) โดยเฉพาะลิเภาที่มีการกระจายตัวทุกจังหวัดที่ท าการส ารวจและทุกชํวงอายุสวนยางพารา เพราะเป็นกลุํมเฟิร์นชนิดที่สามารถเจริญเติบโตได๎ดีในสภาพแสงแดดร าไรหรือรํมเงา รวมถึงกลุํมเฟิร์นอื่นๆ ที่สามารถทนแดดหรืออิงอาศัย (จารุพันธ์ และปิยเกษตร,

2550) สํวนโชนและกนกนารี พบเห็นได๎จ านวนมากตั้งแตํสวนยางพาราอายุ 4-6 ปี ซึ่งมักกระจายตัวหนาแนํนบริเวณที่มีความช้ืนดินและความช้ืนสัมพัทธ์สูง (Setyawan et al., 2017) เ ชํน บริ เวณเขตป่าอนุรักษ์และในสวนยางพารา (Yusuf et al., 2003) ส าหรับขําน้ า ปกติเป็นพืชที่เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ไ ด๎ ดี ใ น ส ภ า พ ป่ า ฝ น เ ข ต ร๎ อ น เ ชํ น กั น (Kittipanangkul and Ngamriabsakul, 2008) จึงท าให๎พบกลุํมเฟิร์นจ านวนมากในสวนยางพาราตั้งแตํระยะหลังเปิดกรีด

ขณะเดียวกัน กาเล็ดกาเว๎าพืชในวงศ์คล๎าที่พบเห็นได๎มากบริเวณป่าดิบช้ืนทางภาคใต๎ มักเจริญเติบโตได๎ดีสภาพแสงแดดร าไรและช้ืนแฉะ และมีระบบรากแบบเหง๎า (อุไร, 2538) จึงท าให๎สามารถแตกหนํอและเจริญเติบโตได๎ดีระหวํางแถวยางพาราในระยะเปิดกรีดแล๎ว แม๎มีปริมาณรากยางพาราหนาแนํนก็ตาม คล๎ายคลึงกับกลุํมพืชสมุนไพรและพืชในวงศ์ขิง ท่ีพบเห็นได๎จ านวนมากระหวํางแถวยางพารา และเจริญได๎ดีในสภาพแสงแดดร าไรในสวนยางพารา เชํน กระทือ และไพล เป็นต๎น

สวนยางพาราระยะหลังเปิดกรีด ยังส ารวจพบวงศ์กล๎วยไม๎ถึง 7 ชนิด โดยเฉพาะหวายตะมอย (เอื้องมะลิ) และกะเรกะรํอนปากเป็ด ซึ่งมักพบเห็นได๎มากบริเวณคาคบและล าต๎นของยางพารา รวมทั้งการส ารวจพบสิงโต เอื้องลิ้นด า เอื้องสายสี่ดอก และหางเปีย แตํกลุํมกล๎วยไม๎ในสวนยางพารายังพบในความถี่น๎อย โดยมีทั้งแบบอิงอาศัย (Epiphytic orchid) และเจริญตามพื้นดินบริเวณพื้นที่วํางระหวํางแถวยางพาราและโคนต๎น (Terrestrial orchid) (อบฉันท์, 2550) เชํนเดียวกับ วํานจูงนางที่มักพบบริเวณพื้นดินในสภาพป่าไม๎ผลัดใบ (นฤมล และคณะ, 2554)

นอกจากนี้ ไ ม๎ ผ ลและ ไม๎ ยื นต๎ นยั ง ส าม า รถเจริญเติบโตได๎ ระหวํางแถวหรือระหวํางต๎นยางพารา โดยเฉพาะสะเดาเทียม ซึ่งเป็นไม๎โตเร็ว ที่พบเห็นได๎จ านวนมากและนิยมเว๎นไว๎ให๎เจริญเติบโตควบคูํกับต๎นยางพารา อยํางไรก็ตาม ควรเว๎นให๎มีจ านวนต๎นไมํเกิน 20 ต๎น/ไรํ จึงไมํกระทบตํอการเจริญเติบโตและการให๎ผลผลิตน้ ายาง (สถาบันยาง, 2547) ทั้งนี้ จากการส ารวจสังเกตพบวํา กลุํมไม๎ยืนต๎นมักมีขนาดล าต๎นเล็กกวําต๎นยางพารา เนื่องจากมีการแพรํกระจายพันธุ์หลังจากสวนยางพาราเข๎าสูํระยะเปิดกรีดแล๎ว จึงท าให๎เจริญเติบโตได๎ช๎ากวําปกติ เมื่อเปรียบเทียบกับสวนยางพาราเชิงวนเกษตร ที่มีการฟื้นตัวของพืชพรรณตามธรรมชาติในสวนยางพาราอายุมากกวํา 40 ปี (ป่ายาง) สามารถพบไม๎ยืนต๎นถึง 70 ชนิด และใช๎ประโยชน์ด๎านเนื้อไม๎ น้ ายาง สมุนไพร และอาหารได๎ (สาระ และคณะ, 2556)

Page 13: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

48 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

การใช้ประโยชน์และผลตอบแทนทางเศรษฐกจิของพืชพรรณในสวนยางพารา

นิเวศสวนยางพาราระยะหลังเปิดกรีดสามารถเป็นแหลํงเสริมรายได๎ โดยเฉพาะในสภาพรํมเงาสวนยางพาราระยะหลังเปิดกรีด หรือมีอายุ 7 ปีเป็นต๎นไป อยํางไรก็ตาม ควรค านึงถึงความเหมาะสมของชํวงอายุสวนยางพาราตํอกลุํมพืชพรรณที่จะน ามาปลูกเป็นพืชรํวม เชํน กลุํมที่ใช๎บริโภคและกลุํมไม๎ใช๎สอย ควรปลูกเป็นพืชรํวมยางตั้งแตํชํวงอายุ 4 ปีขึ้นไป เนื่องจากจ าเป็นต๎นอาศัยปริมาณแสงสํองผํานในระยะแรก และสามารถปลูกซํอมแซมหรือทดแทนต๎นยางพาราที่ตายได๎ (สถาบันยาง, 2547) สํวนกลุํมพืชสมุนไพรและกลุํมไม๎ประดับ ควรปลูกเป็นพืชรํวมยางตั้งแตํชํวงอายุ 7 และ 16 ปีขึ้นไป ซึ่งปรับตัวและเจริญเติบโตได๎ดีในสภาพความช้ืนสัมพัทธ์สูงและแสงแดดร าไร เป็นต๎น

ทั้งนี้มูลคําอาจแตกตํางกันตามจ านวนต๎นตํอพื้นที่ปลูก และราคาที่อาจผันแปรตามความต๎องการของตลาดในแตํละฤดูกาลหรือแตํละสถานที่ โดยในกลุํมไม๎ดอกไม๎ประดับจัดวํามีศักยภาพสูงที่จะเป็นพืชรํวมยางได๎ เชํน เตําร๎างแดง หมากเหลือง กาเล็ดกาเว๎า กะเรกะรํอนปากเป็ด หวายตะมอย วํานจูงนาง ชายผ๎าสีดาปักษ์ใต๎ กระแตไตํไม๎ ข๎าหลวงหลังลาย กนกนารี เฟิร์นก๎านด าใบรํม เฟิร์นใบมะขาม เอื้องหมายนา ขํอย และบอนสี เนื่องจากเป็นพืชพรรณที่นิยมปลูกหรือใช๎ประโยชน์เป็นไม๎ตัดดอกและตัดใบ (Flowering and cut foliage) โดยเฉพาะใบหมากเหลือง และใบเฟิร์นนาคราช ซึ่งนิยมจัดรํวมกับไม๎ดอกชนิดอื่นและมีราคาสูง เพื่อการตกแตํงสถานที่หรืองานประเพณีตํางๆ เชํน งานมงคลสมรส งานศพ งานประชุม ฯลฯ (ชุลีพร, 2558) ขณะที่ในประเทศญี่ปุ่นมีการน าพืชกลุํมเฟิร์นจัดภูมิทัศน์ในสวน เพื่อชํวยให๎ระบบนิเวศสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เชํน ลิเภา เฟิร์นเงิน กนกนารี เฟิร์นก๎านด า และ เฟิร์นใบมะขาม (Kawano, 2015) เชํนเดียวกับชายผ๎าสีดาปักษ์ใต๎ที่นิยมปลูกประดับบริเวณบ๎านเรือนและยังปลูกรํวมกับต๎นปาล์มน้ ามันได๎ดี (ระวี และคณะ, 2555) หรือเฟิร์นใบมะขามที่ได๎รับการสํงเสริมให๎เป็นไม๎ดอกไม๎ประดับเชิงเศรษฐกิจ (กรมสํงเสริมการเกษตร, 2556)

ส าหรับในกลุํมไม๎ใช๎สอยท่ีมีศักยภาพเป็นรายได๎เสรมิ ได๎แกํ กะพ๎อ ซึ่งแม๎เป็นพืชท๎องถิ่นแตํนิยมน ามาใช๎ประโยชน์ในชํวงงานประเพณีของชุมชน หรือสิเหรงที่ ใช๎ใบเพื่อมุงหลังคาหรือท าเครื่องจักสาน (ระวี และคณะ , 2552; Jongrungrot et al., 2014) ซึ่งพบเห็นได๎มากในสวนยางพาราบริเวณจังหวัดสงขลา สํวนสะเดาเทียมจัดวําเป็นไม๎ยืนต๎นที่พบเจอได๎มากที่สุดระหวํางแถวยางพารา ซึ่งนิยมตัดจ าหนํายพร๎อมกับระยะโคํนล๎มต๎นยางพาราและให๎ราคาใกล๎เคียงกับราคาของไม๎ยางพารา รวมทั้งยางนา ตะเคียนและสัก ที่อาจมีราคาสูงถึง 30,000 บ./ต๎น เชํนเดียวกับไผํป่าท่ีร๎าน

จ าหนํายในท๎องถิ่นจ าหนํายในรูปของไม๎ไผํ รวมทั้งการใช๎ประโยชน์จากใบไผํแห๎ง (100 บ./กก.) และการจ าหนํายต๎นกล๎า (30 บ./กอ) เป็นต๎น อยํางไรก็ตาม ในสํวนของการส ารวจยังพบการเจริญเติบโตของต๎นปาล์มน้ ามันในสวนยางพารา แตํไมํน ามาประเมินเป็นการเสริมรายได๎ ซึ่งนําจะเกิดจากการแพรํกระจายโดยนกหรือกระรอก จึงรํวงหลํนบริเวณสวนยางพารา เนื่องจากตามหลักวิชาการไมํควรน าพืชหลักทั้ง 2 ชนิดมาปลูกรํวมกัน แม๎พบแปลงเกษตรกรบริเวณจังหวัดชุมพรและกระบี่มีการปลูกยางพารารํวมกับปาล์มน้ ามันและให๎ผลผลิตได๎ก็ตาม ส าหรับมะพร๎าวถึงแม๎มีขนาดต๎นใหญํ แตํจากการส ารวจพบวํา ต๎นมะพร๎าวสามารถเจริญเติบโตจนมีระดับทรงพุํมใกล๎เคียงกับยางพารา จึงสามารถให๎ผลผลิตได๎อยํางสม่ าเสมอ

สํวนกลุํมพืชสมุนไพร ได๎แกํ เปราะหอม ไพล กระทือ และบุก สามารถจ าหนํายได๎ในท๎องตลาด ขณะที่กลุํมพืชพรรณที่นิยมใช๎บริโภคในครัวเรือน ได๎แกํ สะตอ เนียง เถายํานาง ชะพลู บัวบก ผักหวานบ๎าน มะเขือพวง ล าเท็ง ผักหนาม แซะ จิก กระท๎อน และขนุน สํวนใหญํเป็นพืชพรรณที่เกษตรกรจะปลํอยท้ิงไว๎และมีการเก็บผลผลิตไว๎ส าหรับบริโภคในครัวเรือน รวมทั้งการจ าหนํายตามความนิยมบริโภคในท๎องถิ่นทางภาคใต๎ เชํน ร๎านขนมจีน และร๎านข๎าวราดแกง เป็นต๎น

ดังนั้น สภาพแวดล๎อมในสวนยางพารามีความแตกตํางกันระหวํางกํอนและหลังเปิดกรีด ตามปริมาณการสํองผํานของแสงและความช้ืนในสวนยางพารา ซึ่งจัดเป็นปัจจัยเบื้องต๎นที่จะก าหนดความหลากหลายของพืชพรรณให๎สามารถเจริญเติบโตและปรับตัวให๎มีชีวิตรอดหรือให๎ผลผลิต จึงนับวําเป็นโอกาสของเกษตรกรสวนยางพาราที่จะใช๎พื้นที่ระหวํางแถวยางพาราในระยะหลังเปิดกรีดให๎เกิดประโยชน์สูงสุด เพราะนอกจากพิจารณาถึงรายได๎ ยังเป็นการอนุรักษ์พืชพรรณตํางๆ ให๎สามารถใช๎เพื่อการบริโภค การรักษาโรค และเป็นไม๎ใช๎สอยในครัวเรือนได๎อีกด๎วย ลักษณะเชํนนี้ยังสอดคล๎องกับหลักการด๎านวนเกษตรยางพารา (Rubber agroforestry) (ปราโมทย์, 2557) ที่นอกจากชํวยให๎เกษตรกรมีรายได๎ เพิ่มขึ้น ยั งเกื้อกูลตํอสิ่ งแวดล๎อม และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงกวํายางพาราเชิงเดี่ยว ขณะเดียวกัน อาจใช๎เป็นแนวทางหนึ่งในการพิจารณาการจัดการสวนย า ง พ า ร า อ ยํ า ง ยั่ ง ยื น ต า ม ม า ต ร ฐ า น FSC ( Forest Stewardship Council) ซึ่งจะมีบทบาทส าคัญในการรับรองคุณภาพน้ ายางและไม๎ยางของเกษตรกรในอนาคตด๎วย (บริษัท พาเนล พลัส จ ากัด, 2560) อยํางไรก็ตาม การจะน าพืชพรรณตํางๆ ไปปลูกเป็นพืชแซมหรือพืชรํวมยางนั้น จ าเป็นต๎องค านึงถึงการจัดการสวนให๎เหมาะสม เพราะมีความซับซ๎อนของระบบปลูกซึ่งตํางไปจากสภาพการปลูกเดิม เชํน ระยะปลูกของยางพารา ความหนาแนํนของพืชรํวม ชนิดและ

Page 14: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

49 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

ปริมาณปุ๋ย ฯลฯ จึงจะท าให๎เป็นการผลิตพืชในสภาพพื้นที่เดียวกันได๎อยํางมีประสิทธิภาพและยั่งยืนตํอเกษตรกร

สรุป

ลักษณะทรงพุํมของต๎นยางพาราในแตํละชํวงอายุ ท าใหม๎ีสภาพนิเวศแตกตํางกันระหวํางสวนยางพาราระยะกอํนเปิดกรีด (4-6 ปี) และระยะหลังเปิดกรีด (ตั้งแตํ 7 ปีขึ้นไป) ทั้งปริมาณความเข๎มแสงและความช้ืนในดิน โดยในแตํละชํวงอายุของสวนยางพารา เป็นปัจจัยส าคัญในการก าหนดความหลากหลาย ความถี่และความหนาแนํนของพืชพรรณ ซึ่งพบความหลากหลายของพืชพรรณมากที่สุดในสวนยางพาราอายุตั้งแตํ 16 ปีขึ้นไป ทั้งนี้กลุํมพืชพรรณที่พบในสวนยางพาราทางภาคใต๎ ได๎แกํ กลุํมเฟิร์น กลุํมสมุนไพร กลุํมวงศ์ปาล์ม กลุํมวงศ์กล๎วยไม๎ กลุํมไม๎ใช๎สอย กลุํมไม๎ผล และกลุํมพืชอื่นๆ เชํน วงศ์บอน และวงศ์คล๎า ซึ่งยังมีคุณคําทางเศรษฐกิจสูงเพื่อเป็นรายได๎เสริมให๎แกํเกษตรกร จึงควรใช๎เป็นพืชปลูกทางเลือกส าหรับเกษตรกรสวนยางพาราที่สนใจใช๎เป็นพืชรํวมยางในระยะหลังเปิดกรีดตํอไป กิตติกรรมประกาศ

ผลงานวิจัยนี้เป็นสํวนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง “การส ารวจความหลากหลายของพืชพรรณในสวนยางพาราทางภาคใต๎ของไทย” ภายใต๎ชุดโครงการแผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ปีงบประมาณ 2562 (NAT620160M-1) เรื่อง “การจัดการสวนยางพาราไทยอยํ า งยั่ งยื นตามหลั กมาตรฐานสากล FSC” ซึ่ง “ได๎รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัญญาเลขที่ NAT620160e-1” และทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พร๎อมกันนี้ ผู๎วิจัยขอขอบคุณนักศึกษาปริญญาโทสาขานิเวศสรีรวิทยาพืชทุกคนที่ชํวยเหลือในการส ารวจและบันทึกข๎อมูลจนส าเร็จลุลํวงด๎วยดี รวมทั้งเกษตรกรเจ๎าของสวนยางพาราและผู๎เกี่ยวข๎องทุกทํานที่ให๎ความอนุเคราะห์ข๎อมูลตํางๆ

เอกสารอ้างอิง กรมป่าไม๎ และบริษัทผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ ากัด (มหาชน).

2555. พรรณไม๎ป่าพื้นบ๎านอาหารชุมชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ๎าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555. กรุงเทพฯ: กรมป่าไม๎.

กรมสํงเสริมการเกษตร. 2556. องค์ความรู๎เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสูํการเป็น smart officer: ไม๎ดอกไม๎ประดับ. กรุงเทพฯ: กลุํมสํงเสริมการผลิตไม๎ดอกไม๎ประดับ กรมสํงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

จักรพันธ์ สกุลมีฤทธ์ และกันย์ จ านงค์ภักดี. 2551. คูํมือศึกษากล๎วยไม๎ป่า เลํม 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหํงประเทศไทย.

จารุพันธ์ ทองแถม และปิยเกษตร สุขสถาน. 2550. เฟิน (Ferns). กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์สารคดี.

ชุลีพร เตชะศิลพิทักษ์ . 2558. คูํมือการผลิตไม๎ตัดใบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหํงประเทศไทย.

ดอกรัก มารอด. 2554. เทคนิคการสุํมตัวอยํางและการวิเคราะห์สังคมพืช. กรุงเทพฯ: ภาควิชาชีววิทยาป่าไม๎ คณะวนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ตลาดไท. 2560. ราคาไมด๎อกและไม๎ประดับตัดใบ. เข๎าถึงได๎จาก: http://talaadthai.com/price_page/thai? limit=100&category=22 [เข๎าถงึเมื่อ 20 ธันวาคม 2560].

ตลาดสี่มมุเมือง. 2560. ราคาสินคา๎. บริษัท ดอนเมืองพัฒนา จ ากัด. เข๎าถึงไดจ๎าก: http://www.taladsimummuang.com/dmma/ Portals/default.aspx [เข๎าถึงเมือ่ 29 พฤศจิกายน 2560].

นฤมล โสตะ, โสระยา รํวมรังษี และฉันทนา สุวรรณธาดา. 2554. การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัววํานจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์. ว. เกษตร 27: 187-196.

บริษัท พาเนล พลัส จ ากัด. 2560. คูํมือการจัดการสวนป่าส าหรับสมาชิกสวนป่า. โครงการการจัดการสวนป่าอยํางยั่งยืนตามหลักการ FSCTM. สงขลา: กลุํมบริษัท พาเนล พลัส จ ากัด.

ปราโมทย์ แก๎ววงศ์ศรี. 2557. วนเกษตรในยางพารา. การสัมมนาครูยางประจ าปี 2558 ณ โรงแรมเซาท์เทิร์นวิว อ. เมือง จ. ปัตตานี 24 ธันวาคม 2557 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน๎า 1-22.

ปากคลองตลาด. 2560. ราคาดอกไม๎และใบไม๎. เข๎าถึงได๎จาก: http://www.xn--12cgj6ce6a2ec3e3bh.com/ online.html [เข๎าถึงเมื่อ 29 กรกฎาคม 2560].

ปุญญิศา ตระกูลยิ่งเจริญ, กุมุท สังขศิลา, จิรวัฒน์ พุํมเพชร และภูมินทร์ ยิ้มมิ่ง. 2559. การเปลี่ยนแปลงสมบัติดินบางประการในดินที่ปลูกยางพาราอายุตํางกัน. แกํนเกษตร 44: 67-74.

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ. 2557. แนวทางพัฒนายางพาราทั้งระบบ. ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ประกาศ ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2557. เข๎าถึงได๎จาก: http://www.oae.go.th/download/

Page 15: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

50 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

download_hot/2557/The-rubber-development.pdf [เข๎าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2558].

พงศกร สุธีกาญจโนทัย. 2560. การปรับตัวลักษณะสรีรวิทยาและการเจริญเติบโตของต๎นกาแฟโรบัสต๎าภายใต๎สวนยางพารา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

พเยาว์ อินทสุวรรณ. 2548. อนุกรมวิธานของพืช. สงขลา : ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.

พูนศักดิ์ วัชรากร. 2548. ปาล์มและปรงในป่าไทย. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์บ๎านและสวน.

ระวี เจียรวิภา, มนต์สรวง เรืองขนาบ และอมรรัตน์ บัวคล๎าย. 2555. ความหลากหลายของพืชกลุํมเฟินและการเจริญเติบโตของชายผ๎าสีดาปักษ์ใต๎ (Platycerium coronarium J.G. Koen.ex. Muell, Desv) ในสวนปาล์มน้ ามัน. ว. เกษตรพระจอมเกล๎า 30: 32-42.

ระวี เจียรวิภา, อมรรัตน์ บัวคล๎าย และ Zheng, M.X. 2552. ความหลากหลายของพืชกลุํมเฟินและปาล์มในสวนยางพาราทางภาคใต๎ของประเทศไทย. ว. วิทย. กษ. 40: 517-520.

ระวี เจียรวิภา, อิบรอเฮม ยีด า และสายัณห์ สดุดี. 2551. การตัดสินใจโคํนล๎มยางพาราโดยอาศัยมวลชีวภาพเหนือดินและอาการผิดปกติทางสรีรวิทยา. ว. เกษตรพระจอมเกล๎า 26: 18-27.

วชิรพงศ์ หวลบุตตา. 2543. ไม๎ต๎นประดับ เลํม 2 ชุดไม๎ดอกไม๎ประดับ. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชช่ิง.

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 2541. ทรัพยากรพันธุ์พืชเพื่อการอนุรักษ์. พิษณุโลก: โรงพิมพ์ตระกูลไทย.

สถาบันวิจัยยาง. 2547. เอกสารวิชาการยางพารา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล, อริศรา รํมเย็น และพลากร สัตย์ซื่อ. 2560. พัฒนาการระบบการปลูกพืชรํวมยางในภาคใต๎ ปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อน. ว. วิทย. กษ. (สาขาสังคมศาสตร์) 38: 588-599.

สาระ บ ารุงศรี, จรัล ลีรติวงศ์, และประกาศ สวํางโชติ. 2556. โครงสร๎างของสังคมพืชและความหลากหลายทางชีวภาพของพืชที่ก าลังฟื้นตัวในสวนวนเกษตรยางพาราในจังหวัดสงขลาและพัทลุง. สงขลา: ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ส านักตลาดกลางยางพารา. 2560. ความเคลื่อนไหวราคายางชนิดตํางๆ (Thailand rubber price). การยางแหํงประเทศไทย. เข๎าถึงได๎จาก: http://www.raot.co.th/ rubber2012/rubberprice_yr.php [เข๎าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2560].

สุมาลี เหลืองสกุล, วสินี ไขว๎พันธุ์, นเรศ ชมบุญ, ประยูร ขุํมมาก, กฤติญา แสงภักดี, ศิรินภา ศิริยันต์, กัญจน์ ศิลป์ประสิทธ์ และดวงรัตน์ แพงไทย. 2554. ความหลากหลายของเฟิร์นและพืชใกล๎เคียงเฟิร์นในอุทยานแหลํงชาติภูมําน จังหวัดขอนแกํนและจังหวัดเลย. เข๎ าถึ ง ไ ด๎ จาก : http://ir.swu.ac.th/xmlui/ bitstream/handle/123456789/2508/Wasinee_K_R418783.pdf [เข๎าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2560].

อบฉันท์ ไทยทอง. 2550. กล๎วยไม๎เมืองไทย. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บ๎านและสวน.

อุไร จิรมงคลการ. 2538. คล๎า: ไม๎ใบไม๎ประดับ. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์บ๎านและสวน.

Bacon, C.D., W.J. Baker and M.P. Simmons. 2012. Miocene dispersal drives island radiations in the palm tribe Trachycarpeae (Arecaceae). Syst. Biol. 61: 426-442.

Chongkraijak, W., C. Ngamnriabsakul and A.D. Poulsen. 2013. Morphological diversity and distribution of Etlingera littoralis (Konig) Giseke (Zingiberaceae) in Southern Thailand. Walailak J. Sci. & Tech. 10: 643-656.

Jongrungrot, V., S. Thungwa and D. Snoeck. 2014. Tree-crop diversification in rubber plantations to diversify sources of income for small-scale rubber farmers in Southern Thailand. Bois et Forêts des Tropiques 321: 21-32.

Kawano, T. 2015. Pteridophytes as active components in gardening, agricultural and horticultural ecosystems in Japan. Adv. Hort. Sci. 29: 41-47.

Kittipanangkul, N. and C. Ngamriabsakul. 2008. Zingiberaceae diversity in khao Nan and Khao Luang national parks, Nakhon Si Thammarat, Thailand. Walailak J. Sci. & Tech. 5: 17-27.

Mueller-Dombois, D. and H. Ellenberg. 1974. Aims and Method of Vegetation Ecology. New York: John Willey & Sons.

Setywan, A.D, J. Supriatna, D. Darnaedi, Rokhmatuloh, Sutarno, Sugiyarto, I. Nursamsi, W. R. Komala and P. Pradan. 2017. Impact of climate change on potential distribution of xero-epiphytic selaginellas (Selaginella involvens and S. repanda) in Southeast Asia. Biodiversitas 18: 1680-1695.

Page 16: Research article ความหลากหลายของพืช… · เมื่อเปรียบเทียบระหวางที่อายุ 16-25 ปี

Musigapong et al. (2018)

51 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51 Songklanakarin J. Pl. Sci., 5 (3): 36-51

SJPS-I-M04-12032018

Somboonsuke, B. and P. Cherdchom. 2000. Socio-economic adjustment of small holding rubber-based farming system: a case study in southern region Thailand. Kasetsart J. (Soc. Sci.) 21: 158-177.

Stur, W.W. and H.M. Shelton. 1990. Review of forage resources in plantation crops of Southeast Asia and the Pacific. Proceedings of workshop Sanur Beach, Bali, Indonesia, 27-29 June 1990, pp. 25-31.

Wilson, J.R. and M.M. Ludlow. 1990. The environment and potential growth of herbage under plantations. Proceedings of workshop Sanur Beach, Bali, Indonesia, 27-29 June 1990, pp. 10-24.

Yusuf, F.B., B.C. Tan and I.M. Turner. 2003. What is the minimum area needed to estimate the biodiversity of Pteridophytes in natural and man-made lowland forests in Malaysia and Singapore. Fern Gaz. 17: 1-9.