size 1.43 mb

32
แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัย ระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร 1

Upload: lehuong

Post on 03-Feb-2017

224 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

1

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

2

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

3

ตามมาตรา 18 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. 2550 กําหนดให

คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ (กดยช.) มีอํานาจแตงต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อทําหนาที่

พิจารณาหรือปฏิบัติการอยางหน่ึงอยางใดตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย ประกอบกับแผนยุทธศาสตรชาติ

ดานเด็กปฐมวัย (แรกเกิดจนถงึกอนเขาประถมศึกษาปที่ 1) ตามนโยบายรัฐบาลดานเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2555 - 2559

ในยทุธศาสตรที ่4 กลไกการดาํเนนิงานพฒันาเดก็ปฐมวยั กาํหนดใหกรมกจิการเดก็และเยาวชน กระทรวงการพฒันาสงัคม

และความมัน่คงของมนษุย สงเสรมิการจดัตัง้คณะอนกุรรมการท่ีรบัผดิชอบงานดานปฐมวยัในระดับจงัหวดั อาํเภอและ

ตําบล ภายใต กดยช.โดยในระดับจังหวัดใหมหีนาท่ีรับผิดชอบการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับพื้นที่ใหมีการทํางานรวมกัน

แบบบรูณาการ และเชือ่มโยงการทํางานระดับนโยบายสูภมูภิาคไดอยางเปนระบบ รวมทัง้กาํกบัตดิตามทีม่ปีระสทิธภิาพ

ดังนั้น คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติจึงมีคําสั่งแตงต้ังกลไกสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย

2 ระดบั คอื คณะอนกุรรมการประสานและสงเสรมิการพัฒนาเดก็ปฐมวยั คณะอนุกรรมการสงเสริมการพฒันาเดก็ปฐมวยั

ระดับจังหวัด และคณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2558

ตามอํานาจหนาที่ประการหนึ่งของคณะอนุกรรมการประสานและสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย คือ

การจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยใหเปนปจจุบัน และอํานาจหนาที่ของคณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ระดับจังหวัด และกรุงเทพมหานคร คือ การจัดทํารายงานสถานการณเด็กปฐมวัยในระดับจังหวัด ปละ 1 ครั้ง

คณะอนุกรรมการประสานและสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย จึงมีมติเห็นชอบใหมีการจัดประชุมแบบมีสวนรวมจาก

หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อจัดทําแบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด และกรุงเทพมหานคร พรอมคู มือ

การจัดเก็บขอมูล และนําเสนอใหคณะอนุกรรมการประสานและสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง

ซึ่งคณะอนุกรรมการประสานและสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยเห็นชอบเปนที่เรียบรอยแลว

กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยในฐานะหนวยงานเชิงนโยบาย

วิชาการ และปฏิบัติ มีภารกิจเกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพ การคุมครองและพิทักษสิทธิเด็กและเยาวชน

เหน็ถงึความสําคญัของการจัดเกบ็ขอมลูเดก็ปฐมวัย โดยมวีตัถปุระสงคเพือ่ใหทราบถึงสถานการณและความตองการใน

การพัฒนาเด็กปฐมวยั การวิเคราะหสถานการณในภาพรวมของประเทศไทย เพ่ือใชในการกําหนดนโยบายและมาตรการ

กลไกการพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งในระดับจังหวัด และกรุงเทพมหานคร รวมทั้งระดับประเทศ กรมกิจการเด็กและเยาวชน

จงึไดจดัพมิพแบบจัดเก็บขอมลูเดก็ปฐมวัยระดับจงัหวัดและกรุงเทพมหานคร เพือ่ใหคณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนา

เด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานครใชเปนแบบในการจัดเก็บขอมูลดังกลาวตอไป

คํานํา

กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เมษายน 2559

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

4

คํานํา

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

คูมือการจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1 คําสั่งคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ ที่ 3/2558 เรื่องแตงตั้งคณะอนุกรรมการประสานและสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ภาคผนวก 2 คําสั่งคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ ที่ 6/2558 เร่ืองแตงตัง้คณะอนกุรรมการสงเสรมิการพฒันาเดก็ปฐมวยักรงุเทพมหานคร

ภาคผนวก 3 คําสั่งคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ ที่ 7/2558 เรื่องแตงตั้งคณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด

ภาคผนวก 4 คณะผูรวมจัดทําแบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจงัหวัดและกรุงเทพมหานคร

หนา

3

5

16

24

26

28

30

สารบัญ

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

5

ดวยคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ เห็นชอบแตงตั้งคณะอนุกรรมการสงเสริม

การพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร โดยกําหนดอํานาจหนาที่ ประการหน่ึง คือ จัดทํารายงาน

สถานการณเดก็ปฐมวยัระดบัจงัหวดัและกรงุเทพมหานคร ปละ 1 ครัง้ กรมกจิการเดก็และเยาวชน จงึไดจดัทาํแบบการ

จัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ 1) เพือ่ใหจงัหวดัและกรุงเทพมหานครทราบถึงสถานการณและความตองการของการพัฒนาเด็กปฐมวัย

2) เพื่อวิเคราะหสถานการณการพัฒนาเด็กปฐมวัยในระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานครตลอดจน

ภาพรวมของประเทศไทย

3) เพื่อใชในการกําหนดนโยบายและมาตรการ กลไกการพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งในระดับจังหวัดและ

กรุงเทพมหานคร และระดับประเทศ

เน้ือหา สวนท่ี 1 ขอมูลทั่วไป สวนท่ี 2 สถานการณเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร สวนท่ี 3 สถานการณการเสียชีวิตของเด็ก สวนท่ี 4 มาตรการ/วิธีการสงเสริม/พัฒนา/แกไขปญหา นิยามศัพท เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กทุกคนตั้งแตแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ป 11 เดือน 29 วัน

ขอมูลที่ใชในการจัดเก็บ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกป

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร ป 2558

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

6

สวนท่ี 1 ขอมูลทั่วไป 1.1 ดานประชากร 1.1.1 ขอมูลประชากรท้ังหมดของจังหวัด ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

1.2 ขอมูลเด็กปฐมวัย 1.2.1 จํานวนเด็กที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน 1) จํานวนเด็กอายุนอยกวา 1 ป ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

(อายุแรกเกิด - 11 เดือน 29 วัน)

2) จํานวนเด็กอาย ุ1 ป ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

(อายุ 1 ป - 1 ป 11 เดือน 29 วัน)

3) จํานวนเด็กอายุ 2 ป ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

(อายุ 2 ป - 2 ป 11 เดือน 29 วัน)

4) จํานวนเด็กอายุ 3 ป ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

(อายุ 3 ป - 3 ป 11 เดือน 29 วัน)

5) จํานวนเด็กอายุ 4 ป ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

(อายุ 4 ป - 4 ป 11 เดือน 29 วัน)

6) จํานวนเด็กอายุ 5 ป ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

(อายุ 5 ป - 5 ป 11 เดือน 29 วัน)

1.2.2 จํานวนเด็กที่ไมมีชื่อในทะเบียนราษฎร (ตางดาว/ไมมีหลักฐาน) ชาย..........คน หญิง..........คน รวม..........คน

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

7

1.3 ขอมูลหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ใหบริการและดูแลเด็กปฐมวัย

ที ่

หนวยงานท่ีดูแลเด็กปฐมวัย

จํานวน (แหง)

จํานวนเด็กที่เขารับบริการ (จําแนกเพศ)

รวม แรกเกิด – 2 ป

(0-2 ป 11 เดือน 29 วัน) 3 – 5 ป

(3 - 5 ป 11 เดือน 29 วัน)

ชาย (คน)

หญิง (คน)

ชาย (คน)

หญิง (คน)

1. สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด

1.1 สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน (ที่จดทะเบยีน)

1.2 สถานสงเคราะหของรัฐ 1.3 สถานสงเคราะหเอกชน

2. สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถ่ินจังหวัด

2.1 สังกัดองคการบริหารสวนจงัหวัด 2.1.1 โรงเรียนอนุบาล 2.1.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก (จัดต้ังเอง) 2.2 สังกัดเทศบาล 2.2.1 โรงเรียนอนุบาล 2.2.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

(ตั้งเอง/ถายโอน)

2.3 สังกัดองคการบริหารสวนตาํบล 2.3.1 โรงเรียนอนุบาล 2.3.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

(ตั้งเอง/ถายโอน)

3. กรุงเทพมหานคร 3.1 ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน 3.1.1 สํานักอนามัย 3.1.2 สํานักการแพทย 3.1.3 สํานักพัฒนาสังคมและ สํานักงานเขต

3.2 โรงเรียนที่จัดการสอนระดับอนุบาล 4. เมืองพัทยา

4.1 โรงเรียนเมืองพัทยา 1-10 (อนุบาล) 4.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

8

หมายเหตุ ชื่อศูนยเด็กเล็กของหนวยงานแตละสังกัดเรียกชื่อแตกตางกัน ขอความกรุณาหนวยงานโปรดระบุ

ชื่อศูนยเด็กเล็กภายใตสังกัดดวย เชน เรียกวา ศูนยเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก หรือศูนยอบรมเด็กปฐมวัย

เปนตน

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

9

1.4 ขอมูลดานบุคลากรและคุณภาพของหนวยงานที่ใหบริการและดูแลเด็กปฐมวัย

ที ่ หนวยงานที่ดูแลเด็กปฐมวัย

จํานวนครูและ พี่เลี้ยง (คน)

วุฒิ การศึกษาครู

(คน)

วิชาเอก ครู

(คน)

วุฒิการศึกษา พี่เลี้ยง (คน)

วิชาเอก พี่เล้ียง (คน)

รวม

คร ู

พี่

เลี้ยง

ต่ํากวา ป.ตร ี

ป.ตร ี

สูงกวา ป.ตร ี

ปฐมวัย

อ่ืน ๆ

ต่ํากวา ป. ตร ี

ป.ตร ี

สูงกวา ป.ตร ี

ปฐมวัย

อ่ืน ๆ

1. สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด

1.1 สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน (ที่จดทะเบียน) 1.2 สถานสงเคราะหของรัฐ 1.3 สถานสงเคราะหเอกชน

2. สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัด

2.1 สังกัดองคการบริหารสวนจงัหวัด 2.1.1 โรงเรียนอนุบาล 2.1.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก (จัดตั้งเอง) 2.2 สังกัดเทศบาล 2.2.1 โรงเรียนอนุบาล 2.2.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

(ตั้งเอง/ถายโอน)

2.3 สังกัดองคการบริหารสวนตําบล 2.3.1 โรงเรียนอนุบาล 2.3.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

(ตั้งเอง/ถายโอน)

3. กรุงเทพมหานคร 3.1 ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน 3.1.1 สํานักอนามัย 3.1.2 สํานักการแพทย 3.1.3 สํานักพัฒนาสังคมและสํานักงานเขต

3.2 โรงเรียนที่จัดการสอนระดับอนุบาล 4. เมืองพัทยา

4.1 โรงเรียนเมืองพัทยา 1-10 (อนุบาล) 4.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

10

ที ่

หนวยงานที่ดูแลเด็กปฐมวัย

จํานวนครูและพี่เลี้ยง (คน)

วุฒิ การศึกษาครู

(คน)

วิชาเอก ครู

(คน)

วุฒิการศึกษา พี่เล้ียง (คน)

วิชาเอก พี่เลี้ยง (คน)

รวม

คร ู

พี่

เลี้ยง

ต่ํากวา ป.ตร ี

ป.ตร ี

สูงกวา ป.ตร ี

ปฐมวัย

อ่ืน ๆ

ต่ํากวา ป. ตร ี

ป.ตร ี

สูงกวา ป.ตร ี

ปฐมวัย

อ่ืน ๆ

5. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา 5.1 โรงเรียนในสังกัด สพฐ. ที่จดัการ สอนระดับปฐมวัย

5.2 โรงเรียนในสังกัด สช. ที่จัดการ สอนระดับปฐมวัย

6. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 6.1 ศูนยเด็กเล็ก (สังกัดกรมอนามัย) 6.2 อื่น ๆ โปรดระบุ .....................

7. โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน 7.1 ศูนยเด็กเล็ก

8. คายอพยพ 8.1 ศูนยเด็กเล็ก

9. สํานักงานตรวจคนเขาเมือง (ตม.) 9.1 ศูนยเด็กเล็ก

10. กระทรวงแรงงาน 10.1 ศูนยเด็กเล็กในสถานประกอบ

กิจการท่ีจดทะเบียน

10.2 ศูนยเด็กเล็กในสถานประกอบ กิจการท่ีไมจดทะเบียน

11. กระทรวงยุติธรรม 11.1 ศูนยเด็กเล็กทัณฑสถาน

12. กระทรวงกลาโหม 12.1 สถานรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย กองทัพเรือ

12.2 สถานรับเลี้ยงเด็ก กองทัพอากาศ หรือ ชื่ออ่ืน โปรดระบุ .................

12.3 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก กองทัพบก 13. ศูนยเด็กเล็กอ่ืนๆ (โปรดระบุ)

.............................................................

.............................................................

รวม

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

11

1.5 ขอมูลการดําเนินงานของหนวยงานท่ีดูแลเด็กปฐมวัยที่ผาน หรือไมผานเกณฑมาตรฐาน

ที ่ หนวยงานที่ดูแลเด็กปฐมวัย

มาตรฐานศูนยเด็กเล็กแหงชาติ (แหง)

การผานเกณฑมาตรฐาน (แหง)

ไมเคย ประเมิน (แหง)

มาตรฐาน สถ. มาตรฐาน ตนสังกัด

มาตรฐาน อื่น ขั้นพื้นฐาน ขั้นพัฒนา

ผาน ไมผาน

ผาน ไมผาน

ผาน ไมผาน

ผาน ไมผาน

ผาน ไมผาน

1. สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด

1.1 สถานรับเล้ียงเด็กเอกชน (ที่จดทะเบียน) 1.2 สถานสงเคราะหของรัฐ 1.3 สถานสงเคราะหเอกชน

2. สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัด 2.1 สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัด 2.1.1 โรงเรียนอนุบาล 2.1.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก (จัดตั้งเอง) 2.2 สังกัดเทศบาล 2.2.1 โรงเรียนอนุบาล 2.2.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

(จัดตั้งเอง/ถาย โอน)

2.3 สังกัดองคการบริหารสวนตาํบล 2.3.1 โรงเรียนอนุบาล 2.3.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

(จัดตั้งเอง/ ถายโอน)

3. กรุงเทพมหานคร 3.1 ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน 3.1.1 สํานักอนามัย 3.1.2 สํานักการแพทย 3.1.3 สํานักพัฒนาสังคมและสํานักงานเขต 3.2 โรงเรียนที่จัดการสอนระดบัอนุบาล

4. เมืองพัทยา 4.1 โรงเรียนเมืองพัทยา 1-10 (อนุบาล) 4.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

12

ที่ หนวยงานท่ีดูแลเด็กปฐมวัย

มาตรฐานศูนยเด็กเล็กแหงชาติ (แหง)

การผานเกณฑมาตรฐาน (แหง)

ไมเคย ประเมิน (แหง)

มาตรฐาน สถ. มาตรฐาน ตนสังกัด

มาตรฐาน อื่น ขั้นพื้นฐาน ขั้นพัฒนา

ผาน ไม ผาน

ผาน ไมผาน

ผาน ไมผาน

ผาน ไมผาน

ผาน ไมผาน

5. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา 5.1 โรงเรียนในสังกัด สพฐ. ที่จดัการสอน ระดับปฐมวัย

5.2 โรงเรียนในสังกัด สช. ที่จัดการสอน ระดับปฐมวัย

6. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 6.1 ศูนยเด็กเล็ก (สังกัดกรมอนามัย) 6.2 อื่น ๆ โปรดระบุ .....................

7. โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน 7.1 ศูนยเด็กเล็ก

8. คายอพยพ 8.1 ศูนยเด็กเล็ก

9. สํานักงานตรวจคนเขาเมือง (ตม.) 9.1 ศูนยเด็กเล็ก

10. กระทรวงแรงงาน 10.1 ศูนยเด็กเล็กในสถานประกอบกิจการ ที่จดทะเบียน

10.2 ศูนยเด็กเล็กในสถานประกอบกิจการ ที่ไมจดทะเบียน

11. กระทรวงยุติธรรม 11.1 ศูนยเด็กเล็กทัณฑสถาน

12.

กระทรวงกลาโหม 12.1 สถานรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย กองทัพเรือ

12.2 สถานรับเลี้ยงเด็ก กองทพัอากาศ หรือ ชื่ออ่ืน โปรดระบุ .................................

12.3 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก กองทัพบก 13. ศูนยเด็กเล็ก อ่ืน ๆ โปรดระบุ

.........................................................................

รวม

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

13

สวนท่ี 2 สถานการณของเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด และกรุงเทพมหานคร 2.1 ดานสุขภาพอนามัย

ที ่

ประเด็น

เปาหมายท่ีหนวยงานกําหนด

ผลงาน

รอยละ

1. อัตราการตายของทารก 2. รอยละของทารกแรกเกิดที่มีน้ําหนักต่ํากวา 2500 กรัม 3. จํานวนเด็กแรกเกิดท่ีมีสภาวะการขาดสารไอโอดีน 4. สัดสวนของหญิงต้ังครรภที่มีระดับไอโอดีนในปสสาวะต่ํากวา 150

ไมโครกรัมตอลิตร

5. รอยละของหญิงตั้งครรภที่ไดรับยาเม็ดเสริมไอโอดีน 6. รอยละความครอบคลุมของเกลือเสริมไอโอดีนในระดับครัวเรือน 7. รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ปที่มีสวนสูงระดับดีและรูปรางสมสวน 8. รอยละของมารดาเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวอยางนอย 6 เดือน 9. รอยละของเด็กท่ีไดรับวัคซีน

9.1) เด็กอายุครบ 1 ป ที่ไดรับวัคซีน BCG และ HBV1 และ DTP – OPV3 และ HBV3 และ M/MMR 9.2) เด็กอายุครบ 2 ป ที่ไดรับวัคซีน DTP4 และ OPV4 และ JE 9.3) เด็กอายุครบ 3 ป ที่ไดรับวัคซีน JE และ MMR2 9.4) เด็กอายุครบ 5 ป ที่ไดรับวัคซีน DTP5 และ OPV5

10. การติดเชื้อ HIV 10.1) จํานวนเด็กแรกเกิดจากมารดาท่ีติดเชื้อ HIV และไดรับยาตานไวรัส 10.2) จํานวนเด็ก อายุ 18 – 24 เดือน ที่คลอดจากมารดาท่ีติดเชื้อ HIV ตรวจเลือดพบเชื้อ

11. รอยละของเด็กท่ีมีปญหาฟนผุ 11.1) รอยละเด็กอายุ 3 ป ที่ไดรับการตรวจฟน 11.2) รอยละเด็กอายุ 3 ป ที่มีฟนน้ํานมผุ

12. รอยละการคนพบเด็กพัฒนาการสงสัยลาชา 12.1) เด็กอายุ 9 เดือน 12.2) เด็กอายุ 18 เดือน 12.3) เด็กอายุ 30 เดือน 12.4) เด็กอายุ 42 เดือน

13. รอยละการติดตามเด็กพัฒนาการลาชาที่ขาดการติดตามหลังกระตุน 1 เดือน 13.1) เด็กอายุ 9 เดือน 13.2) เด็กอายุ 18 เดือน 13.3) เด็กอายุ 30 เดือน 13.4) เด็กอายุ 42 เดือน

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

14

2.2 ดานสังคม

หมายเหตุ : 1. เปาหมาย หมายถึง เปาหมายท่ีหนวยงานกําหนด ซึ่งอาจเปนเปาหมายจํานวนประชากรท้ังหมด

หรือเปาหมายจากการสุมตัวอยาง

2. ในเขต กทม. ผูจัดเก็บ คือ สป. กทม. แหลงขอมูลที่จัดเก็บ คือ สํานักอนามัย สํานักการแพทย กทม.

ที ่

ประเด็น

เปาหมายท่ีหนวยงานกําหนด

ผลงาน

รอยละ

14. รอยละของเด็กท่ีมีพัฒนาการสมวัย 14.1) เด็กอายุ 9 เดือน 14.2) เด็กอายุ 18 เดือน 14.3) เด็กอายุ 30 เดือน 14.4) เด็กอายุ 42 เดือน

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

15

สวนท่ี 3 สถานการณการเสียชีวิตของเด็ก

ที ่ ประเด็น ชาย หญิง รวม 1. จํานวนเด็กเสียชีวิตจากโรคภัยไขเจ็บ 2. จํานวนเด็กเสียชีวิตจากการจมนํ้า 3. จํานวนเด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ 4. จํานวนเด็กถูกฆาตาย 5. อ่ืน ๆ โปรดระบุ................................................................... รวม

สวนท่ี 4 มาตรการ/วิธีการสงเสริม/พัฒนา/แกไขปญหา 4.1 ในปที่ผานมา จังหวัดมีมาตรการ/วิธีการสงเสริม/พัฒนา/แกไขปญหาเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย อยางไร.........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

4.2 จากขอมูลและสถานการณเด็กปฐมวัย จังหวัดมีแผน/มาตรการสงเสริม/พัฒนา/แกไขปญหา อยางไร.........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ขอมูล ณ วันที่............เดือน.............................พ.ศ.....................ผูรายงาน ชื่อ – สกุล............................................................................

ตําแหนง..................................................................................... เลขานุการรวมที่ไดรับมอบหมาย

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

16

คูมือการจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

1. วัตถุประสงค 1.1 เพื่อใหจังหวัดและกรุงเทพมหานครทราบถึงสถานการณและความตองการของการพัฒนาเด็กปฐมวัย

1.2 เพื่อวิเคราะหสถานการณการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร รวมทั้งภาพรวม

ของประเทศไทย

1.3 เพื่อใชในการกําหนดนโยบายและมาตรการกลไกการพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งในระดับจังหวัดและ

กรุงเทพมหานคร และระดับประเทศ

2. เน้ือหา สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป

สวนที่ 2 สถานการณเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

สวนที่ 3 สถานการณการเสียชีวิตของเด็ก

สวนที่ 4 มาตรการ/วิธีการสงเสริม/พัฒนา/แกไขปญหา

3. คํายอหนวยงาน สธ. - สาธารณสุข

พช. - พัฒนาชุมชน

ศธ. - ศึกษาธิการ

รพศ. - โรงพยาบาลศูนย

รพท. - โรงพยาบาลทั่วไป

รพช. - โรงพยาบาลชุมชน

อปท. - องคกรปกครองสวนทองถิ่น

กทม. - กรุงเทพมหานคร

สสจ. - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

ปภ. - สํานกังานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

สพฐ. - สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สช. - สํานักงานคณะกรรมการการสงเสริมการศึกษาเอกชน

ศูนย ปคม. - ศูนยปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการคามนุษย

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

17

พมจ. - สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด

พก. - กรมสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (พม.)

ศดร. - ศูนยปฏิบัติการโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด พม.

4. ระยะเวลาการจัดเก็บขอมูล : ขอมูลที่ใชในการจัดเก็บ เปนขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปที่ผานมา

5. วิธีการจัดเก็บขอมูล 5.1 การจัดเก็บขอมูล ประธานคณะอนุกรรมการสงเสริมกาพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและ

กรุงเทพมหานคร มอบหมายใหหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ

5.2 ฝายเลขานุการฯรวม รวบรวมขอมูล และนําเสนอใหคณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร รับรองกอนสงขอมูลใหกรมกิจการเด็กและเยาวชน

5.3 คณะอนกุรรมการสงเสรมิการพฒันาเดก็ปฐมวยัระดับจงัหวดัและกรงุเทพมหานครจัดสงขอมลูเดก็ปฐมวยั

ใหกับกรมกิจการเด็กและเยาวชน ปละ 1 ครั้ง อยางไรก็ตามคณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนา

เด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานครสามารถจัดเก็บขอมูลเปนรายเดือน หรือ 3 เดือน 6 เดือน

9 เดือน ได เพื่อเปนประโยชนตอการวางแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยในระดับจังหวัด โดยไมตองสงให

กรมกิจการเด็กและเยาวชน

6. นิยามศัพท 6.1 เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กทุกคนตั้งแตแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ป 11 เดือน 29 วัน

6.2 สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1) ดานประชากร ใชขอมูลตามทะเบียนราษฎร ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปที่ผานมา

2) ขอมูลหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ใหบริการและดูแลเด็กปฐมวัย - ในขอ 5. หนวยงานที่ดูแลเด็กปฐมวัยของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หมายถึง โรงเรียน

ทุกแหงในทุกเขต

3) ขอมูลดานบุคลากรและคุณภาพของหนวยงานท่ีใหบริการและดูแลเด็กปฐมวัย มีนิยามศัพท

ที่เกี่ยวของ ดังนี้

- คร ู หมายถงึ บคุลากรวิชาชพีซ่ึงทาํหนาทีห่ลกัทางดานการเรียนการสอน และสงเสริมการเรยีนรู

ของผูเรียนดวยวิธีการตางๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

- พี่เลี้ยง หมายถึง บุคลากรผูมีหนาที่ดูแลเด็กใหคําปรึกษาหรือชวยเหลือเด็ก

- มาตรฐานตางๆ ดังนี้

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

18

ที่1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

ชื่อมาตรฐานมาตรฐานศูนยเด็กเล็กแหงชาติ หมายถึง มาตรฐานชาติ

ซึง่คณะรัฐมนตรีมมีตเิหน็ชอบเม่ือวนัที ่3 พฤษภาคม 2554

ใหใชเปนมาตรฐานกลางของประเทศ

มาตรฐาน สถ. หมายถึง

มาตรฐานการศึกษาพื้นฐานศูนยพัฒนาเด็กขององคกร

ปกครองสวนทองถิ่น และมาตรฐานการศึกษาขั้นพัฒนา

ศูนยพัฒนาเด็กเล็กขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขใน

การขอรับใบอนุญาตจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก

มาตรฐานสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับเด็กใน

สถานรองรับเด็ก

1) กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไข

ในการขอรับใบอนุญาตจัดตั้งสถานแรกรับ

สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ และ

สถานพัฒนาและฟนฟู พ.ศ. 2549

2) ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ของมนุษยวาดวย วธิีการดําเนินงานของสถานแรกรับ

สถาน-สงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ และ

สถานพัฒนาและฟนฟู พ.ศ. 2547 (หมวด 2)

3) กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไข

ในการติดตั้งหรือถอดถอนผูปกครองสวัสดิภาพของ

สถานแรกรบั สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวสัดภิาพ

และสถานพัฒนาและฟนฟู พ.ศ. 2549

มาตรฐานศูนยเด็กเล็กกอนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร

มาตรฐาน ศูนยเด็กเล็กนาอยู คูนมแม

การผานเกณฑมาตรฐาน- ผลการประเมินระดับคุณภาพ อยูในระดับพอใชขึ้นไป

คือ รอยละ 60 - 74 หรือ ระหวาง 60 - 74 คะแนน

- มาตรฐานข้ันพื้นฐาน กําหนดใหผานทุกมาตรฐาน

(12 มาตรฐาน 24 ตัวบงชี้)

- มาตรฐานข้ันพัฒนา กําหนดใหผานเกณฑการประเมิน

ในระดับพอใชทุกมาตรฐาน (23 มาตรฐาน 94 ตัวบงชี้)

- ผานเกณฑ ตองปฏิบัติตามกฎกระทรวงทุกขอ

- มี 5 มาตรฐาน และตองไดคะแนนรวม 5 มาตรฐาน

ไมนอยกวารอยละ 80

- ผานเกณฑ ตองดาํเนินงานตามกฎกระทรวง

และระเบียบ

- องคประกอบ 7 ดาน 35 ตัวชี้วัดและการผานเกณฑ

ระดับพื้นฐาน จํานวน 12 ตัวชี้วัด

- มี 32 ตัวชี้วัด และการผานเกณฑมาตรฐาน ตองปฏิบัติ

ตามตัวชี้วัดไมนอยกวา 26 ตัวชี้วัด

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

19

ที่ ชื่อมาตรฐาน การผานเกณฑมาตรฐาน8.

9.

10.

มาตรฐานการศกึษาปฐมวยัเพือ่การประกนัคณุภาพภายใน

ของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเพื่อประกันคุณภาพภายนอก

ในสถานศึกษา สพฐ. เปนมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย โดย

ระดับคุณภาพและตัวบงชี้

มาตรฐานศูนยเด็กเล็ก

สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

- กําหนดเกณฑการประเมินระดับคุณภาพไว 5 ระดับ

และระดับการผานเกณฑ ทางโรงเรียนจัดการสอนท่ีมี

คุณภาพตั้งแตระดับพอใชขึ้นไป

คําอธิบาย : เกณฑการประเมินระดับคณุภาพ (ใชเกณฑ

เดียวกับการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อพัฒนาการ

ศกึษาระดับปฐมวัยใหมคีณุภาพเทาเทยีมกนั) 5 ระดบั คอื

ดีมาก (คะแนนต้ังแตรอยละ 90 ขึ้นไป)

ดี (คะแนนระหวางรอยละ 75 - 89)

พอใช (คะแนนระหวางรอยละ 60 - 74)

ควรปรับปรุง (คะแนนระหวางรอยละ 50 - 59)

ตองปรับปรุง (คะแนนต่ํากวารอยละ 50)

- สถานศึกษาจะตองสามมารถทําไดที่คุณภาพระดับ 3

(ระดับดี) ขึ้นไป

- ผลการประเมินภายในแตละดาน มีคะแนนรวมรอยละ

80 ขึ้นไป ทุกดาน และไดรับการรับรองเปน

ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ

- อายุการรับรอง 3 ป นับจากวันประกาศรับรองเปน

ศูนยเด็กเล็กคุณภาพ

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

20

6.3 สวนที่ 2 สถานการณของเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด ขอ 2.1 ดานสุขภาพอนามัย 1) อตัราการตายของทารก หมายถึง ทารกท่ีเกิดมชีพีแลวตายเม่ืออายุตํา่กวา 1 ป ตอจํานวน

การมชีพีทัง้หมดในปเดียวกนั (แหลงขอมลูทีจ่ดัเกบ็ สาํนกันโยบายและยทุธศาสตร สธ./สสจ.)

2) รอยละของทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักตํ่ากวา 2500 กรัม หมายถึง ทารกเกิดมีชีพที่มี

นํ้าหนักแรกเกิดนอยกวา 2500 กรัม (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ ฐานขอมูล 43 แฟม)

3) จํานวนเด็กแรกเกิดท่ีมีสภาวะการขาดสารไอโอดีน หมายถึง ทารกเกิดมีชีพไดรับ

การเจาะสนเทาเพื่อตรวจ TSH และมีคา TSH มากกวา 25 MU/L (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ

รพศ./รพท./รพช. ทุกแหง)

4) สดัสวนของหญงิต้ังครรภทีม่รีะดบัไอโอดนีในปสสาวะตํา่กวา 150 ไมโครกรมั ตอลติร หมายถงึ การสุมเกบ็ตวัอยาง โดยการเกบ็ปสสาวะของหญงิต้ังครรภทีม่าฝากครรภครัง้แรก

และไมไดรับยาเสริมไอโอดีน (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ รพศ./รพท./รพช. ทุกแหง)

5) รอยละของหญงิตัง้ครรภทีไ่ดรบัยาเมด็เสริมไอโอดนี หมายถึง หญงิต้ังครรภทีม่ารับบริการ

ฝากครรภและไดรบัยาเมด็ท่ีมไีอโอดนี ปรมิาณ 150 - 200 ไมโครกรมัตอเมด็ (แหลงขอมลู

ที่จัดเก็บ ฐานขอมูล 43 แฟม)

6) รอยละความครอบคลุมของเกลือเสริมไอโอดีนในระดับครัวเรือน หมายถงึ การสุมตรวจ

เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนในครัวเรือนทุกตําบล อําเภอละอยางนอย 300 ครัวเรือน

โดยใชชุด 2-kit และมีคาไอโอดีนระหวาง 20 - 40 ppm (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ สสจ.)

7) รอยละของเด็กอายุตํ่ากวา 5 ปที่มีสวนสูงระดับดีและรูปรางสมสวน เด็กที่มีสวนสูง

ระดับดีและรูปรางสมสวน หมายถึง เด็กที่มีลักษณะการเจริญเติบโต 3 แบบ คือ

1) เด็กมีสวนสูงระดับสูงตามเกณฑและมีรูปรางสมสวน 2) เด็กมีสวนสูงระดับคอนขางสงู

และมีรปูรางสมสวน 3) เดก็มสีวนสงูระดบัทีส่งูกวาเกณฑและมรีปูรางสมสวน (แหลงขอมลู

ที่จัดเก็บ ฐานขอมูล 43 แฟม)

8) รอยละของมารดาเล้ียงลูกดวยนมแมอยางเดยีวอยางนอย 6 เดอืน หมายถงึ เด็กทารกแรกเกิด จนถึง 5 เดอืน 29 วัน กินนมแมอยางเดียว เปนขอมูลจากการสอบถามมารดาท่ีมีลูกอายุ

ดังกลาว และ มาใชบริการ ณ คลีนิกเด็กดี Well Child Clinic (WCC) โดยสอบถามวา

“ภายใน 24 ชม. ที่ผานมาใหลูกกินอะไรบาง” และนับเฉพาะแมที่ตอบวากินนมแม

อยางเดียวเทานั้น (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ ฐานขอมูล 43 แฟม)

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

21

9) รอยละของเด็กที่ไดรับวัคซีน 9.1) เด็กอายุครบ 1 ป ที่ไดรับวัคซีน BCG และ HBV1 และ

DTP - OPV3 และ HBV3 และ M/MMR 9.2) เด็กอายุครบ 2 ป ที่ไดรับวัคซีน DTP4 และ

OPV4 และ JE 9.3) เด็กอายุครบ 3 ป ที่ไดรับวัคซีน JE และ MMR2 9.4) เด็กอายุครบ

5 ป ที่ไดรับวัคซีน DTP5 และ OPV5 (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ ฐานขอมูล 43 แฟม)

10) การติดเชือ้ HIV 10.1) จาํนวนเดก็แรกเกดิจากมารดาทีต่ดิเชือ้ HIV และไดรบัยาตานไวรสั

10.2) จํานวนเด็ก อายุ 18 - 24 เดือน ที่คลอดจากมารดาท่ีติดเชื้อ HIV ตรวจเลือดพบเช้ือ

(แหลงขอมูลที่จัดเก็บ รายงาน PHIMS)

11) รอยละของเด็กที่มีปญหาฟนผุ 11.1) รอยละเด็กอายุ 3 ป ที่ไดรับการตรวจฟน

11.2) รอยละเด็กอายุ 3 ป ที่มีฟนนํ้านมผุ หมายถึง เด็กอายุ 2 ป 11 เดือน 29 วัน ไดรับ

การตรวจชองปาก พบวา มีฟนนํ้านมมีรูผุที่ดานใดดานหนึ่งบนฟน หรือเปนฟนผุที่กนลึก

เขาไปใตเคลือบฟนที่มีพื้น หรือผนังนิ่ม (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ ฐานขอมูล 43 แฟม)

12) รอยละการคนพบเด็กสงสัยพัฒนาการลาชา คือ เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน

ที่ไดรับการคัดกรองพัฒนาการโดยใชเคร่ืองมือ DSPM/DAIM โดยบุคลากรสาธารณสุข

และสามารถคนพบเด็กสงสัยพัฒนาการลาชาอยางนอย 1 ดาน (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ

สสจ./กทม. และ สสจ. รวบรวมขอมูลทุกไตรมาสเพ่ือนําเสนอคณะอนุกรรมการสงเสริม

การพัฒนาเดก็ปฐมวัยระดับจังหวัด และกรุงเทพมหานคร

13) รอยละของการติดตามเดก็สงสัยพฒันาการลาชาทีข่าดการติดตามหลังกระตุน 1 เดอืน คือ เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ไดรับการคัดกรองพัฒนาการโดยใชเครื่องมือ

DSPM/DAIM โดยบุคลากรสาธารณสุข และพบมีสงสัยพัฒนาการลาชาอยางนอย 1 ดาน

และแนะนาํใหพอแม ผูปกครอง สงเสรมิพัฒนาการ 1 เดือน แลวไมนาํเดก็กลับมาประเมินซํา้กบั

เจาหนาท่ีสาธารณสุข (แหลงขอมูลท่ีจัดเก็บ สสจ./กทม. และ สสจ. รวบรวมขอมูล

ทุกไตรมาส เพ่ือนําเสนอคณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด

และกรุงเทพมหานคร)

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

22

ขอ 2.2 ดานสังคม 1) เด็กถูกละเมิดทางเพศ หมายถึง รูปแบบการกระทําทารุณตอเด็ก ที่ผูใหญหรือเยาวชน

หรือวัยรุนที่มีอายุมากกวาและตางระดับพัฒนา โดยใชเด็กกระตุนความรูสึกทางเพศ

มรีปูแบบตัง้แตการขอหรือบงัคบัใหเด็กมสีวนรวมในกจิกรรมทางเพศ (แหลงขอมลูทีจ่ดัเก็บ

ศูนยพึ่งไดของ รพ./OSCC/ศูนยดํารงธรรม/สถานีตํารวจ)

2) เด็กถูกกระทําความรุนแรงจากบุคคลในครอบครัว หมายถึง เด็กถูกกระทําความรุนแรง

ในครอบครัว เด็กถูกกระทําใดๆ โดยมุงใหเกิดอันตรายแกรางกาย จิตใจ หรือสุขภาพ หรือ

กระทําโดยเจตนาจากบุคคลในครอบครัว หรือการใชอํานาจครอบงําใหบุคคลหน่ึง

กระทําโดยมิชอบ แตไมรวมถึงการกระทําโดยประมาท (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ ศูนยพึ่งได

ของ รพ./OSCC/ศูนยดํารงธรรม/สถานีตํารวจ)

3) เด็กถูกกระทําความรุนแรงจากบุคคลภายนอกครอบครัว แหลงขอมูลท่ีจัดเก็บ

ศูนยพึ่งได ของ รพ./OSCC/ศูนยดํารงธรรม/สถานีตํารวจ

4) เด็กที่อยูในภาวะเสี่ยง 4.1) เด็กเรรอน หมายถึง เด็กที่ไมมีบิดา มารดา หรือผูปกครอง หรือมีแตไมสามารถ

เลีย้งดู หรือไมเลีย้งดู จนเปนเหตุใหเด็กตองเรรอนไปในท่ีตางๆ (ตามพระราชบัญญตัิ

คุมครองเด็ก พ.ศ. 2546) (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ ศูนยไรที่พึ่ง/อปท.)

4.2) เด็กอยูในภาวะยากลําบากหรือครอบครัวยากจน เด็กอยูในภาวะยากลําบาก

หมายถึง เด็กที่อยูในครอบครัวยากจนหรือบิดามารดาหยาราง ทิ้งราง ถูกคุมขัง

หรือแยกกันอยูและไดรับความลําบากหรือเด็กที่ตองรับภาระหนาที่ในครอบครัว

เกินวัยหรือกําลังความสามารถและสติปญญา หรือเด็ก ที่ไมสามารถชวยเหลือ

ตัวเองได (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ จปฐ./กชช.2ค/อปท.1)

4.3) เด็กถูกบิดาหรือมารดาทอดทิ้งและอยูในภาวะยากลําบาก แหลงขอมูลที่จัดเก็บ

ขัอมูลไดแก ศูนยขอมูลบุตรบุญธรรม/อปท./ศูนย OSCC รพ.

4.4) เด็กในกระบวนการคามนุษย หรือเด็กขอทาน หมายถึง เด็กที่อยูในกระบวนการ

คามนษุย หรอืเด็กขอทาน เด็กทีถ่กูขูเขญ็ หรอืถูกใชกาํลงับบีบงัคบัในรปูแบบอืน่ใด

ดวยการลักพาตัว ฉอโกง หลอกลวง ใชอํานาจโดยมิชอบ ถูกใชเปนเครื่องมือ

ในการกระทําหรือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ถูกทารุณกรรม หรือตกอยูใน

ภาวะอืน่ใด อนัเปนเหตใุหเดก็มคีวามประพฤตเิสือ่มเสยีทางศลีธรรม (แหลงขอมลู

ที่จัดเก็บ ศูนย ปคม.)

4.5) เด็กที่อยูกับผูสูงอายุตามลําพัง แหลงขอมูลที่จัดเก็บ อปท.1/จปฐ.

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

23

4.6) เด็กที่อยูกับเด็กตามลําพัง หมายถึง เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการดูแล หรืออยูกับเด็ก

ที่มีอายุนอยกวา 15 ป (แหลงขอมูลที่จัดเก็บ อปท.1/จปฐ.)

4.7) เด็กที่ผูปกครองเปนผูตองขัง แหลงขอมูลที่จัดเก็บ เรือนจํา/สถานพินิจ

4.8) เด็กที่อยูกับครอบครัวติดเช้ือเอชไอวี แหลงขอมูลที่จัดเก็บ สธ.

4.9) เด็กที่มีมารดาอายุนอยกวา 20 ป แหลงขอมูลที่จัดเก็บ สธ.

4.10) เด็กเลนเกมส ดูโทรทัศน ใชสื่อเทคโนโลยีอื่น หมายถึง เด็กที่พอแม ผูปกครอง

ปลอยใหเลนเกมส ดโูทรทัศน ใชสือ่เทคโนโลยีอืน่ (เชน มอืถือ แทปเล็ต) ตามลําพงั

มากกวา 1 ชัว่โมง ในแตละวัน (หรือมากกวาเวลาท่ีบคุลากรทางการแพทยกาํหนด)

5) เดก็ไรสญัชาต ิหมายถึง เดก็ท่ีไมสามารถระบุไดวาเปนผูมสีถานะท่ีเปนสมาชิกประเทศใด

หรอืไมมปีระเทศใดรับวาเปนสมาชกิ หรอืเคยเปนสมาชกิของประเทศ ซึง่อาจมคีนตางดาวจรงิๆ

และผูมฐีานะทางกฎหมายท่ีเปนผูมสีญัชาติไทย เพยีงแตยงัไมมกีารพิสจูน หรือไมมโีอกาส

พิสูจน ซึ่งถือวาเปนการลิดรอนความเปนผูมีสัญชาติไทย ทําใหเสียสิทธิตางๆ อยางมาก

แหลงขอมูลที่จัดเก็บ หนวยงานปกครอง

6) จํานวนเด็กพิการ หมายถึง เด็กที่แพทยวินิจฉัยแลวแตยังไมไดจดทะเบียน คนพิการ

แหลงขอมูลที่จัดเก็บ สธ./รพ.

7) จํานวนเด็กพิการที่ไดรับการจดทะเบียน แหลงขอมูลที่จัดเก็บ พมจ./พก.

8) เดก็ทีไ่ดรบัเงนิอดุหนุนเพือ่การเลีย้งดเูดก็แรกเกิด แหลงขอมลู ทีจ่ดัเกบ็ ศดร. พม.

6.4 สวนที่ 3 สถานการณการเสียชีวิตของเด็ก ผูจัดเก็บ คือผูที่คณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

มอบหมาย แหลงขอมูลที่จัดเก็บ ไดแก ปภ./รพ./อปท./สถานีตํารวจ

6.5 สวนที่ 4 มาตรการ/วิธีการสงเสริม/พัฒนา/แกไขปญหา 1) ขอ 4.1 คณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร ประมวลจากโครงการ กิจกรรม

ที่ดําเนินการดานเด็กปฐมวัยของหนวยงานในปที่ผานมา

2) ขอ 4.2 คณะอนุกรรมการฯ ระดบัจังหวัดและกรุงเทพมหานคร วเิคราะหจากขอมลูและสถานการณ

ของเดก็ปฐมวัยสวนที ่1 - 3 และกาํหนดมาตรการ วธิกีารสงเสริม/พฒันา/แกไขปญหาในระยะตอไป

-------------------------------------------------------

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

24

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

25

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

26

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

27

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

28

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

29

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

30

คณะผูรวมจัดทํา

ที่ปรึกษา1. นางก่ิงแกว อินหวาง มูลนิธิศูนยศึกษาและสงเสริมกิจกรรมสังคม

2. นางขนิษฐา กมลวัฒน มูลนิธิศูนยศึกษาและสงเสริมกิจกรรมสังคม

3. นางสิริรักษ หงสสิงห มูลนิธิศูนยศึกษาและสงเสริมกิจกรรมสังคม

หนวยงานและผูมีสวนรวม 1. คณะอนุกรรมการประสานและสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย

2. นางวิจิตรา ผจงวิริยาทร สํานักงานสถิติแหงชาติ

3. นางสาวปยจิตต แสงครุฑ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

4. นางกรพินธุ วงศเจริญ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจังหวัดลําปาง

5. นางสาวอรสา เนียมศิริ สํานักพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจังหวัดนนทบุรี

6. นางแจมจันทร เกียรติกุล สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจังหวัดกาฬสินธุ

7. นางปทมา อินทรชู สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจังหวัดหนองคาย

8. นางมนัสนันท ศุภพิศักษสกุล สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจังหวัดสุพรรณบุรี

9. นางสาววรัชญา เซ็นรัมย สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันของมนุษยจังหวัดสมุทรสงคราม

10. นางจิรพา เรนเรือง สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันของมนุษยจังหวัดกาญจนบุรี

11. นางสาวพัชรี ศรีงาม สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจังหวัดจันทบุรี

12. นางสาวพิมพรวีย พรหมบุตร กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดสมุทรปราการ

13. นายอุเทน สวัสดิ์จุน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น

14. นายอนันต ถํ้าทอง สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดสุพรรณบุรี

15. นายทรงเกียรติ เชาวนโอภาส สํานักงานสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม

16. นายสุรวุฒิ วุฒิสมบูรณ สํานักงานสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดจันทบุรี

17. นางสาวเกษศิรินทร ศรีสัมฤทธิ์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสมุทรสงคราม

18. นางสาวกรกมล จึงสําราญ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

31

19. นางพิชญา อารีรอบ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี

20. นางวรนุช สายทอง สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเขต 1 จังหวัดจันทบุรี

21. นางจันจิรา ใจดี สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี

22. นางสาวพัชรศิญา เทพภิบาล สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร

23. นางสาวลลิตา มหาวานิชวงศ สํานักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร

24. นางนวพร เหมะ สํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร

25. นางศิริลักษณ แสงสุริยงค สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร

จัดทําตนฉบับและประสานจัดพิมพกลุมสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย กองสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน

กรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

โทร/โทรสาร 02 651 6498

Website : [email protected]

แบบจัดเก็บขอมูลเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

32