sustainable business

73
ธุรกิจที่ยั่งยืน สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ปาสาละ จํากัด 27 พฤศจิกายน 2556 © สฤณี อาชวานันทกุล และ บริษัท ปาสาละ จํากัด

Upload: -sal-forest-co-ltd

Post on 06-May-2015

710 views

Category:

Business


3 download

DESCRIPTION

สไลด์จากงาน มูลนิธิโลกสีเขียวและป่าสาละชวนคุยในซีรีย์เสวนาเรื่อง”ความยั่งยืน” B TALK#1 SUSTAINABILITY MATTERS? โดย สฤณี อาชวานันทกุล กรรมการผู้จัดการฝ่ายเผยแพร่ความรู้ บริษัท ป่าสาละ จำกัด พุธ 27 พ.ย. 56 19.00-21.00 น. ณ B House สุขุมวิท 43 (BTS พร้อมพงษ์)

TRANSCRIPT

Page 1: Sustainable Business

ธุรกิจท่ีย่ังยืน

สฤณี อาชวานันทกุล

บริษัท ปาสาละ จํากัด

27 พฤศจิกายน 2556

© สฤณี อาชวานันทกุล และ บริษัท ปาสาละ จํากัด

Page 2: Sustainable Business

ปาสาละคือใคร?

2

“Sustainable Business Accelerator”

ปาสาละเปนบริษัท “ปลูกธุรกิจท่ีย่ังยืน” แหงแรกในประเทศไทย เปาหมายของเราคือ

จุดประกายและดําเนินวาทกรรมสาธารณะเกี่ยวกับธุรกิจท่ีย่ังยืน ผานการจัดสัมมนา

อบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพและออนไลน รวมท้ังผลิตงานวิจัยใน

ประเด็นความย่ังยืนในประเทศไทย และสงเสริมการวัดผลตอบแทนทางสังคม

Page 3: Sustainable Business

บริบทโลก

Page 4: Sustainable Business

“ความยั่งยืน” คืออะไร?

4

Page 5: Sustainable Business

ประวัติศาสตรฉบับยอของ “การพัฒนาท่ียั่งยืน”

5

• 1962 “Silent Spring” โดย Rachel Carson

• 1972 “Limits to Growth” โดย

Club of Rome

• 1972 UN Conference on the Human

Environment ในกรุงสต็อคโฮลมส

• 1973 วิกฤตินํ้ามันครั้งแรก

• 1987 Brundtland Commission Report : “Our Common Future”

• 1989 Montreal Agreement เพ่ือกําจัดสาร CFC

Page 6: Sustainable Business

ประวัติศาสตรฉบับยอของ “การพัฒนาท่ียั่งยืน” (ตอ)

6

• 1991 World Business Council on Sustainable Development กอต้ัง

• 1992 Earth Summit ในกรุงริโอ เดอจาไนโร

• 1997 Kyoto Protocol

• 2005 เฮอริเคน Katrina / GE launch “Ecomagination”

• 2010 Organisation for Economic Co-operation and Development

(OECD): Interim Green Growth Report

• 2011 United Nations Environment Programme (UNEP) Green

Economy Report

• 2011 European Commission’s EU Low Carbon Roadmap

Page 7: Sustainable Business

การปะทะระหวางโลกทัศน หรือเท็จ vs จริง

7

“เรือ่งจําเป็น” ตอ่ ความอยูร่อดในยคุนี ้

“เรือ่งหรหูรา” ที ่ไมจํ่าเป็นยามตกอบั หรอื

การพัฒนาที่ยั่งยืนคืออะไร ระหวาง...

ความเปนจริง

Page 8: Sustainable Business

ที่มา : www.storyofstuff.com, มูลนิธิโลกสีเขียว

กําจัด ขยะ ผลติ

สนิคา้ สกดั วตัถดุบิ

จัดจําหน่าย บรโิภค

การตลาด เพือ่ทิง้ขวา้ง

8

ทุนนิยมอุตสาหกรรม = จากอูสูขยะ

Page 9: Sustainable Business

อุดมคติ: “จากอูสูอู” (cradle to cradle)

พืช

สตัว ์

ผูย่้อยสลาย

สาร อาหารในดิน

“จากอู่สู่อู่” ในระบบนิเวศ “จากอู่สู่อู่” ในระบบมนุษย ์

ผลิต/ประกอบ

วสัด ุ ผลิตภณัฑ ์

บริโภค

9

Page 10: Sustainable Business

การพัฒนาท่ีผานมาไมยั่งยืน

10

Page 11: Sustainable Business

เรากําลังทะลุขีดการรองรับของธรรมชาติ

11 ∏◊ˬ‘: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/

Planetary Boundaries:

Page 12: Sustainable Business

ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ = ตนทุน

12

• ป 2011 ภัยธรรมชาติทั่ว

โลกกอความเสียหาย

380,000 ลานเหรียญ

สหรัฐ สูงเปน

ประวัติการณ

• ทศวรรษ 2000-2010

ภัยธรรมชาติรุนแรง

เพ่ิมขึ้น 200%+ จาก

ทศวรรษกอนหนา

Page 13: Sustainable Business

เราวัดความเสียหายและประโยชนชัดขึ้น

13

• ธนาคารโลก (2007) ประเมินวาการใชนํ้าใตดินเกินขนาดในจีนกอความเสียหาย 0.3% ของจีดีพี และมลพิษอากาศและนํ้ากอความเสียหาย 5.8% ของจีดีพี

• Diao and Sarpong (2007) ประเมินวาดินเสื่อมโทรมจะกอความเสียหาย 5% ของจีดีพีเกษตรกรรมในกานาระหวางป 2006-2015

• The Economics

of Ecosystems

& Biodiversity

(TEEB) (2010)

Page 14: Sustainable Business

TEEB : ตัวอยางมูลคาของบริการนิเวศ

14 ท่ีมา: TEEB, Mainstreaming the Economics of Nature, 2010.

Page 15: Sustainable Business
Page 16: Sustainable Business

มูลคาของการอนุรักษ vs. การถางพื้นท่ี

16

Page 17: Sustainable Business

คนจนพึ่งพาบริการระบบนิเวศมากกวา

17

• เกษตรกรรม ประมง และปาไมคิดเปนสัดสวนคอนขางนอยของจีดีพี แตบริการนิเวศของธรรมชาติเปน

สวนสําคัญใน “จีดีพีคนจน”

• ‘เศรษฐกิจเขียว’ จึงจําเปนตอการลดความจนและความเหล่ือมลํ้า

Page 18: Sustainable Business

ตัวอยางประโยชนและตนทุนของการอนุรักษ

18

Page 19: Sustainable Business

ธุรกิจท่ีพึ่งพาพันธุกรรมธรรมชาติ

19

• ความเสี่ยงตอพันธุกรรมเหลาน้ี = ความเสี่ยงทางธุรกิจ

• ความเสียหายทางธุรกิจที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

= สวนหน่ึงของ “มูลคา”

Page 20: Sustainable Business

“ฟองสบูคารบอน” - คารบอนท่ีถูกขุดขึ้นมาใชไมได

20 ท่ีมา: http://www.carbontracker.org/wastedcapital

Page 21: Sustainable Business

21

ศตวรรษท่ี 21: สูยุค “ธุรกิจแหงคุณคา”?

Page 22: Sustainable Business

นักธุรกิจจํานวนมากขึ้นเร่ือยๆ มองเห็นความจําเปน

22

Page 23: Sustainable Business

เหตุผลท่ีบริษัทอยากทําธุรกิจท่ียั่งยืน

• แรงจูงใจทางศีลธรรม

• ลดตนทุนและลด/บริหารความเสี่ยง

• ประโยชนดานประสิทธิภาพเชิงนิเวศ (eco-efficiency)

• สรางผลิตภัณฑใหมๆ ท่ีแตกตางจากคูแขง (product

differentiation)

• เปนกลยุทธในการเอาตัวรอดในระยะยาว (“creative

destruction”)

23

แตละบริษัทมีเหตุผลที่แตกตางกันในการนําหลัก “การพัฒนาอยางยั่งยืน” มา

ใชในการดําเนินธุรกิจ

เหลาน้ีคือ

“เหตุผลทาง

ธุรกิจ”

Page 24: Sustainable Business

24

ธุรกิจท่ียั่งยืน: “สมดุล” / “สังกัด” / “ผูกพัน”

Page 25: Sustainable Business

“Push factors” เปนท้ังวิกฤตและโอกาส

∏◊ˬ‘: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org 25

ปจจัยผลักดัน 10 ประการ

5 ประเด็นรอน 5 ผูมีสวนไดเสียสําคัญที่

ผลักดัน

ภาวะสภาพภูมิอากาศ

เปลี่ยนแปลง

ผูบริโภคที่ใสใจสิ่งแวดลอม

มลพิษและอันตรายตอ

สุขภาพ

ผูถือหุนนักเคลื่อนไหว

การตอตานโลกาภิวัตนที่ไม

เปนธรรม

ภาคประชาสังคม/เอ็นจีโอ

วิกฤตพลังงาน ผูกํากับดูแลภาครัฐ/

นักวิทยาศาสตร

ความไววางใจของประชาชน

ในภาคธุรกิจเสื่อมถอย

ประชาชน

Page 26: Sustainable Business

“Pull factor” : ธุรกิจใหมท่ียั่งยืนโตเร็ว

26

อตัรา

การเ

ตบิโต

ตอ่ปี

(%)

30%

50%

ůαŃč ∟Θ₧ŔŚ⌂nĿ Śĺ

$2.2 ő ΓŃŢ∟ΘŃ

ⁿůσ╕Źň ∟ΘŹŹŚ⌂₧ĆŃαĆ

$583 Ţ∟ΘŃ

ŹΘŰΘŚŇŢŹĺůΘŚő αŮ

$15.5 ő ΓŃŢ∟ΘŃ

→Ř←čŚ→Ŕ₧ŃŃą ⌂

$7 ő ΓŃŢ∟ΘŃ

10%

20%

40%

ŚΘř→ĺ ∟Ľ↨ŹŇδ (ⁿŰŚδř ď ůŰŚΓę), 2009 ทีม่า: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation

Page 27: Sustainable Business

ผูบริโภคไทยยินดี

“จายเพิ่มใหกับบริษัท

ท่ีรับผิดชอบตอสังคม”

เปนอันดับ 3 ของโลก

27

Page 28: Sustainable Business

“Pull factor” : นักลงทุนเพื่อความยั่งยืน

28

Key elements of Socially Responsible Investing (SRI) funds:

• Screening

• Shareholder Advocacy

• Community Investment

• กองทุนท่ีลงนามใน UN Principles of Responsible Investment : 10% ของเงินทุนภายใตการบริหารจัดการท้ังโลก

Page 29: Sustainable Business

29

“บริษัทท่ีรับผิดชอบ” สรางผลตอบแทนสูงกวาบริษัทอื่น

Page 30: Sustainable Business

“Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ลานลาน

30

• ท่ัวโลกมีคนท่ีมีรายไดต่ํากวา $2 ตอวัน 2.6 พันลานคน รายไดนอย แตมีจํานวนมาก

• ถาบุก “ตลาดคนจน” สําเร็จ ก็จะไดกําไรและชวยสังคม (ชวยคนจน) ไปพรอมกัน

Page 31: Sustainable Business

Green is the new Black

31

Page 32: Sustainable Business

จาก CSR สู CSV (creating shared value)

32 ท่ีมา: ผูเขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January-

February 2011. ดาวนโหลดไดจาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx

CSR CSV คุณคา: การทําดี

การเปนพลเมือง, การกุศล, ความย่ังยืน

ทําตามอําเภอใจ หรือเปนปฏิกิริยาตอแรงกดดันจากภายนอก

แยกจากการมุงทํากําไรสูงสุด

วาระถูกกําหนดดวยภาระการรายงานและรสนิยมสวนตัว

ผลกระทบถูกจํากัดดวยรอยเทาธุรกิจและงบซีเอสอาร

คุณคา: ประโยชนตอสังคมและสิ่งแวดลอมเทียบกับตนทุนท่ีเสียไป

ธุรกิจกับชุมชนสรางคุณคารวมกัน

เปนหัวใจของความสามารถในการแขงขัน

เปนหัวใจของการทํากําไรสูงสุด

วาระถูกกําหนดจากภายในองคกร

ปรับเปลี่ยนงบการลงทุนและการใชจายของท้ังบริษัท

Page 33: Sustainable Business

จาก “การจัดการ” สู “การรวมมือ”

33

ไมเปนเอกภาพ แบงตามสายงาน

เนนการบริหารจัดการความสัมพันธ

เนนการบริหารความเสี่ยงและลดแรงกดดันจากภายนอก

เชื่อมโยงกับเปาหมายทางธุรกิจระยะสั้น

ปฏิบัติอยางไมเปนเอกภาพ เชน ฝายลูกคาสัมพันธดูแลลูกคาดวยแนวทางหนึ่ง ฝายชุมชนสัมพันธดูแลชุมชนดวยอีกแนวหนึ่ง ขึ้นอยูกับความสนใจของแตละฝายและสไตลของผูจัดการแตละคน

บูรณาการท้ังองคกร

เนนการสรางความสัมพันธ

เนนการสรางโอกาสและผลประโยชนรวมกัน

เชื่อมโยงกับเปาหมายทางธุรกิจระยะยาว

มีแนวทางปฏิบัติเปนเอกภาพท้ังองคกร ผลักดันดวยเปาหมายทางธุรกิจ พันธกิจทางสังคม และคุณคาขององคกร

การรวมมือกับผูมีสวนไดเสีย การจัดการผูมีสวนไดเสีย

ท่ีมา: ผูเขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January-

February 2011. ดาวนโหลดไดจาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx

Page 34: Sustainable Business

“ระดับ” ของธุรกิจท่ียั่งยืน

34

1. ลดตนทุน/บริหารความเสี่ยง

3. สรางและขายผลิตภัณฑท่ีย่ังยืน

4. “ย่ังยืนสมบูรณ” (zero footprint)

2. เปลี่ยนวัฒนธรรมองคกร/ดึงคูคาดวย

Page 35: Sustainable Business

Interface: “mission zero”

• บริษัทพรมแบบ modular ช้ันนําของโลก เริ่มเปลี่ยนโมเดลธุรกิจใหเปน

ธุรกิจที่ย่ังยืนในป 1994

• ต้ังเปาหมาย zero footprint ภายในป 2020 ณ ปลายป 2010 ทําไดแลว

ประมาณ 60%

• พลังงานหมุนเวียน 30% + ประสิทธิภาพในการใชพลังงาน ลดพลังงานตอหนวยของผลิตภัณฑลงได 43% และลดคารบอน 35% ต้ังแตป 1996

• เอาเงินที่ประหยัดไดไปลงทุนกับการวิจัยและพัฒนา ทํา Life Cycle

Assessment กับผลิตภัณฑทุกชนิด ฯลฯ

• ใชซังขาวโพดทําพรม + เพ่ิมประสิทธิภาพในการใชวัสดุ ลดของเสียจากโรงงานได 76% ต้ังแตป 1996

35

Page 36: Sustainable Business

Interface: ผูนําดานความยั่งยืน

36 ∏◊ˬ‘: The Sustainability Survey 2009, Globescan: http://www.globescan.com/news_archives/tss_release01/

ยอดขายและกําไรจากการดําเนินงานโตปละ 10%+

“The new course we're on at

Interface ... is to pioneer the next

Industrial Revolution: one that is

kinder and gentler to the earth.”

– Ray Anderson

Page 37: Sustainable Business

GE: ความสําเร็จของ Ecomagination

• บริษัทจีอีเปลี่ยนจุดยืน 180 องศา ต้ังเปาเปน “บริษัทเขียว” ช้ันนํา

• ผลิตภัณฑยั่งยืนย่ีหอ “Ecomagination” ทํารายไดกวา $18 พันลาน คิด

เปน 10% ของรายไดทั้งบริษัท

• ในป 2009 ลดปริมาณคารบอนตอรายไดลงกวา 41% จากระดับป 2005 -

ทําไดเกินเปาหมายที่ต้ังไว 30% และลดปริมาณคารบอนที่ปลอยลงได 13%

• ทําดวยการปรับปรุงการจัดการโรงงาน ใชเทคโนโลยีเพ่ิมประสิทธิภาพ

พลังงาน พลังงานหมุนเวียน

• ต้ังเปาลดการใชนํ้า 20% จากระดับป 2008 และจะลดปริมาณการปลอย

คารบอน (absolute level) ลง 1% ภายใน 2012

37

Page 38: Sustainable Business

GE: Ecomagination smart grid

38

Page 39: Sustainable Business

Campbell Soup: ซุปโซเดียมตํ่า

• อาหารท่ีใสเกลือมากมีสวนกอใหเกิดความดัน

โลหิตสูง เพ่ิมความเสี่ยงท่ีจะเปนโรคหัวใจ

• Campbell Soup ยักษใหญในอุตสาหกรรม

อาหาร รวมโครงการรวมระหวางภาครัฐกับ

เอกชนชื่อ “National Salt Reduction

Initiative” ตั้งเปาลดระดับเกลือในอาหาร

• บริษัทเปดเผยขอมูลโภชนาการอยางละเอียด

และประกาศเปาหมายรายไดจากการขายซุป

โซเดียมต่ํา

• ปจจุบันรายไดจากซุปโซเดียมตํ่าของบริษัทคิด

เปน 30% ของรายไดรวม

39

Page 40: Sustainable Business

CEMEX: บานเพื่อคนจน

• CEMEX บริษัทขายวัสดุกอสรางที่ใหญที่สุดในโลก ริเร่ิม

โครงการ “Patrimonio Hoy” ในป 1998 เพื่อบุกตลาดผูมี

รายไดนอย

• ใชนวัตกรรม “วงจรออม-กู” และชวยเร่ืองชางและสถาปนิก

ชวยใหคนจนสรางบานไดเร็วกวาปกติ 3 เทา และถูกกวา 3

เทา

• ในเวลา 1 ทศวรรษ ปลอยกูไมโครเครดิต $135 ลาน ชวยให

คนกวา 1.3 ลานคนในทวีปอเมริกาใตมีบานที่มีคุณภาพ

• 29% ของลูกคาใชบานทําธุรกิจขนาดเล็ก

• ไดรับรางวัล 2006 World Business Award จาก the

International Chamber of Commerce และ United

Nations HABITAT Business Award ในป 2009 40

Page 41: Sustainable Business

วิถี “ไตรกําไรสุทธิ” ของ Novo Nordisk

• กอตั้งป 1923 ท่ีเดนมารก ปจจุบันเปนผูนําโลกดานการดูแลผูปวยโรคเบาหวาน

• พนักงาน 30,000 คน มีสํานักงานใน 76 ประเทศท่ัวโลก

• โครงการ Changing Diabetes ตอกรกับเบาหวานในประเทศกําลังพัฒนา เนนดาน

การปองกันและเขาถึงยา

41

Page 42: Sustainable Business

วิถีของ Novo Nordisk (ตอ)

• โครงการ TakeAction! สนับสนุนใหพนักงานของบริษัททํางาน

อาสาในเวลางาน โดยเฉพาะดานการใหความรูเร่ืองการปองกัน

โรคเบาหวานในชุมชนทองถิ่น

42

Page 43: Sustainable Business

Odwalla: ความรับผิดชอบตอปญหา

บริษัทอาหาร เนนน้ําผลไม ถูกซ้ือกิจการโดยโคคา-โคลาในป 2001

วันท่ี 30 ต.ค. 1996 เจาหนาท่ีกระทรวงสาธารณสุขแจงบริษัทวาพบความเชื่อมโยงระหวางแบคทีเรียอีโคไล กับน้ําแอปเปลของบริษัท ตอมายืนยันในวันท่ี 5 พฤศจิกายน วาสาเหตุมาจากการใชแอปเปลเนา (น้ําผลไมไมไดผานกระบวนการพาสเจอรไรซ เพราะผลิตน้ําผลไมสด)

หลังจากนั้นมีเด็กคนหนึ่งท่ีดื่มน้ําแอปเปลตาย คนอีก 60 กวาคนท่ีด่ืมน้ําผลไมของบริษัทลมปวย ยอดขายบริษัทตกลง 90% และราคาหุนดิ่ง 34% มีผูบริโภคย่ืนฟองบริษัท 20 คดี

กอนท่ีจะไดรับการยืนยันจากทางการวาน้ําแอปเปลมีเชื้ออีโคไล Odwalla รับมือกับปญหาทันที ซีอีโอ Stephen Williamson สั่งเรียกคืนผลิตภัณฑท้ังหมดท่ีมีสวนผสมของน้ําแอปเปลและแครอท ครอบคลุมรานคาปลีกกวา 4,600 แหงใน 7 มลรัฐ

การเรียกคืนครั้งนี้บริษัทเสียคาใชจาย 6.5 ลานเหรียญสหรัฐ เรียกคืนท้ังหมดภายใน 48 ชั่วโมง

43

Page 44: Sustainable Business

Odwalla: ความรับผิดชอบตอปญหา (ตอ)

บริษัทไมเคยปฏิเสธหรือบายเบี่ยงความรับผิดชอบ ซีอีโอแสดงความเสียใจตอผูบริโภคท่ีไดรับผลกระทบและสัญญาวาบริษัทจะรับผิดชอบคาใชจายดานการรักษาพยาบาลท้ังหมด

ยอมรับวากระบวนการผลิตผิดพลาด ตัดสินใจเปลี่ยนกระบวนการผลิตน้ําผลไมทันที ไปใช “flash pasteurization” เพ่ือฆาเชื้อโรค ขณะท่ีรักษารสชาติของน้ําผลไมเอาไว

หลังจากเกิดเรื่องเพียงไมกี่เดือน บริษัทก็มีระบบการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยใหม ผูเชี่ยวชาญบางคนมองวาเปนระบบท่ีครอบคลุมและดีท่ีสุดในอุตสาหกรรมน้ําผลไม

เริ่มขายน้ําแอปเปลใหมตนเดือน ธ.ค. ตอมาจายคาปรับ 1.5 ลานเหรียญสหรัฐ ในคดีอาญาขอหาขายน้ําผลไมปนเปอนแบคทีเรีย

บิดาของเด็กท่ีเสียชีวิตกลาวกับสื่อวา “ผมไมโทษบริษัท ...พวกเขาทําทุกอยางเทาท่ีทําไดแลว”

44

Page 45: Sustainable Business

The Body Shop: business as activist

45

Page 46: Sustainable Business

The Body Shop: business as activist

46

“All through history, there have always been movements where business was

not just about the accumulation of proceeds but also for the public good.”

- Anita Roddick

“I want to work for a company that contributes to and is part of

the community. I want something not just to invest in. I want something to believe in.”

- Anita Roddick

Page 47: Sustainable Business

จาก “การตลาด” สู “การตลาดเชิงสังคม”

Page 48: Sustainable Business

ตัวอยางอื่นๆ

• IBM รีไซเคิลคอมพิวเตอรและช้ินสวนคอมพิวเตอร นําไปใชในธุรกิจลีสซิ่ง

คอมพิวเตอร สรางรายไดเพ่ิมกวา $2 ลานในระยะเวลาไมถึง 3 ป อัตรา

กําไร 50%

• หุนของ Rhodia บริษัทเคมีฝรั่งเศส พุง 20% ใน 1 วัน เมื่อประกาศในป

2005 วาไดรับอนุมัติใหทําโครงการ CDM ที่จะเพ่ิมกําไรกวาปละ $300 ลาน

• กําไรของ DuPont เพ่ิมกวา $240 ลานตอป จากการลดปริมาณคารบอนที่

ใชเงินลงทุนทั้งหมด $120 ลาน

• Krafts Food ประหยัดคาใชจายได 20% จากการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ

ใชพลังงาน

48

Page 49: Sustainable Business

ยุคแหงผูมีสวนไดเสีย : กรณีศึกษา Nike

Page 50: Sustainable Business

ปญหาการใชแรงงานเด็กในโรงงานผลติรองเทาไนกี้

Page 51: Sustainable Business

โฆษณา vs. ความจริง

Page 52: Sustainable Business

ความทาทายท่ีไนกี้ประสบ

• แคมเปญรณรงคเปดโปงการใชแรงงานเด็กและตอตานบริษัทแพรหลาย

อยางรวดเร็ว มหาวิทยาลัยและนักวิชาการจํานวนมากรววมแคมเปญ

รวมทั้งกลุมตอตานโลกาภิวัตน และกลุมตอตานโรงงานนรก

• อยางไรก็ดี แคมเปญเหลาน้ีไมสงผลตอรายไดของบริษัท – รายไดของ

บริษัทเพ่ิมจาก 6,400 ลานเหรียญสหรัฐในป 1996 เปนเกือบ 17,000

ลานเหรียญสหรัฐในป 2007

Page 53: Sustainable Business

• กลุมจับตาแรงงานเวียดนาม (Vietnam Labor Watch) รายงานวา

โรงงานผลิตรองเทาไนกี้ละเมิดกฎหมายคาแรงขั้นตํ่าและการทํางาน

ลวงเวลา จนถึงป 1996 ก็ยังมีอยู

• ตลอดทศวรรษ 1990 ไนกี้เผชิญเสียงวิพากษวิจารณอยางหนัก กรณีใช

แรงงานเด็กในโรงงานที่ไนกี้จางผลิตลูกฟุตบอล ในประเทศกัมพูชาและ

ปากีสถาน

• ในป 2001 สารคดี BBC เปดโปงการใชแรงงานเด็กและสภาพการทํางาน

อันเลวรายในโรงงานกัมพูชาแหงหน่ึงที่รับจางไนกี้ผลิต สารคดีเรื่องน้ี

ติดตามชีวิตของเด็กผูหญิง 6 คน ทํางาน 16 ช่ัวโมงตอวัน 7 วันตอสัปดาห

ความทาทายท่ีไนกี้ประสบ (ตอ)

Page 54: Sustainable Business

• ไนกี้จางโรงงานกวา 600 แหง ผลิตสินคา ใน 46 ประเทศ มีแรงงาน

รวมกันมากกวา 800,000 คน

• ความยากประการหน่ึงคือโรงงานรับจางผลิตมักจะผลิตใหกับแบรนดหลาย

เจา ยากที่จะรักษามาตรฐาน

ความทาทายท่ีไนกี้ประสบ (ตอ)

Page 55: Sustainable Business

จากจุดบอด สูความโปรงใส

Page 56: Sustainable Business

• ในป 1997 บริษัทเขารวมกลุมอุตสากรรมสิ่งทอของทําเนียบขาว (White

House Apparel Industry Group) – เนนเรื่องแรงงานและสิทธิ

มนุษยชน

• ออกแนวปฏิบัติชุดใหมวาดวยคาแรงและสภาพการทํางาน – โรงงาน

รับจางผลิตตองไมใหคนทํางานเกิน 60 ช่ัวโมงตอสัปดาห

• เปดโรงงานใหผูตรวจสอบภายนอก และจับมือเปนพันธมิตรกับองคกร

พัฒนาเอกชนช่ือ Fair Labor Association

• วางระบบตรวจสอบคูคาและใหคะแนนการปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงาน

• ในป 2007 เปดเผยช่ือและที่อยูของโรงงานรับจางผลิตทั่วโลกตอ

สาธารณะโดยสมัครใจ

วิธีแกปญหาของไนกี้

Page 57: Sustainable Business

“รองเทาคูน้ีย่ังยืนกวาปที่แลวอยางไร?”

• ทีมงานดานซีเอสอารและความย่ังยืนของบริษัททํางานรวมกับทีมนัก

ออกแบบรองเทา

• เปาหมายหลักดานความย่ังยืนของไนกี้:

1. ผลิตสินคาตางๆ โดยลดของเสียมากกวาเดิม

2. ใชสารพิษในกระบวนการผลิตนอยลง

3. เลือกวัสดุที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น

4. ออกแบบสินคาดวยนวัตกรรมดานความยั่งยืน

• ประกาศเปาเชิงปริมาณและรายงานความคืบหนาทุกป

วิธีแกปญหาของไนกี้ (ตอ)

Page 58: Sustainable Business
Page 59: Sustainable Business

Nike - Solutions

Page 60: Sustainable Business
Page 61: Sustainable Business

ยุคแหงผูมีสวนไดเสีย : กรณีศึกษา GAR

Page 62: Sustainable Business
Page 63: Sustainable Business

Goldern Agri-Resources (GAR)

• บริษัทน้ํามันปาลมใหญเปนอันดับสองของโลก

• กิจกรรมหลักของบริษัทในอินโดนีเซียคือ การเพาะพันธุ และเก็บเกี่ยวตนปาลม

น้ํามัน แปรรูปผลปาลมใหเปนน้ํามันปาลมดิบ และกลั่นน้ํามันปาลมดิบใหกลายเปน

ผลิตภัณฑท่ีเพ่ิมมูลคาอ่ืนๆ

• ถูกกระทบจากแคมเปญของกรีนพีซ (Greenpeace) ในค.ศ. 2010 ท่ีเผยแพรขอมูล

อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมวากอใหเกิดการทําลายปาและสูญเสียความหลากหลายทาง

ชีวภาพ โดยพุงเปาไปยังสินคาบริโภคตางๆ เชน Nestle และผูคาปลีก และ

กลาวหา Sinar Mas Group คูแขงของ GAR วาบุกรุกปาอยางผิดกฎหมายและปรับ

พ้ืนท่ีโดยการเผา

• ลูกคาหลายรายยกเลิกการซ้ือน้ํามันปาลมจาก GAR เชน Nestle, Unilever และ

Burger King

Page 64: Sustainable Business

Goldern Agri-Resources (GAR)

• GAR ประกาศนโยบาย 4 ดานดังนี้

1. ระงับการขยายการเกษตรไปยังพ้ืนท่ีปาพรุ High carbon stock forests

และ High conservation value forests

2. การขยายพ้ืนท่ีตองไดรับความยินยอมจากชนกลุมนอยและชุมชนทองถิ่น

3. ทําตามหลักการของ Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) (มี

สวนแบงการตลาดโลกมากถึง 52%)

4. ทําตามกฎหมายของอินโดนีเซีย

Page 65: Sustainable Business

Goldern Agri-Resources (GAR)

• ผลการดําเนินงานหลังจากการออกนโยบายไปแลว 2 ป Greenomics NGO ทองถิ่น

ไดติดตามผลแลวพบวา

– ยังมีการแผวถางพ้ืนที่บางสวนออกนอกอาณาเขตที่ไดรับอนุญาต

– GAR ลดปริมาณพ้ืนที่แผวถางปาลงเปนจํานวนมาก แตก็ยังไมสามารถทําตามเปาหมายที่จะ

สรางรอยเทาปาไมใหเปน 0 ได

– Greenomics ไดกลาวขอบคุณและชมเชยประธานบริษัทลูกแหงหนึ่งของ GAR ที่เขารวมสาน

เสวนาอยางตอเนื่องในเร่ืองนโยบายการอนุรักษปา และใหขอมูลในหลายๆ สวน

• Norwegian Government Pension Fund ขายหุนท่ีมีใน GAR และบริษัทผลิต

น้ํามันปาลมอีก 22 แหงในชวงปลายป 2012 ดวยเหตุผลดานการบริหารความเสี่ยง

อันเกิดจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง

Page 66: Sustainable Business

บริบทไทย

Page 67: Sustainable Business

ไมมีวาทกรรมถูกทาง คนไมต่ืนตัว ธุรกิจไมเปลี่ยนแปลง

Page 68: Sustainable Business

เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP

68

Page 69: Sustainable Business

69

เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ)

Page 70: Sustainable Business

เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ) ประเด็น BP CP

เหตุการณ แทนขุดเจาะน้ํามัน Deepwater Horizon ของบริษัท BP

ระเบิดในอาวเม็กซิโก เดือนเมษายน 2010

หนังสือพิมพ Sunday Times ในอังกฤษ ลงขาว “Our

taste for prawns is killing the sea”

(http://www.thesundaytimes.co.uk/sto/public/

article1220635.ece) และเนื้อหารายการ Hugh’s

Fish Fight ทางโทรทัศนชอง Channel 4 ในเดือน

กุมภาพันธ ป 2013 กลาวหาวากุงของบริษัทซีพีท่ีขาย

ในซุปเปอรมารเก็ตเจาใหญในอังกฤษ ถูกเล้ียงดวยปลา

ปนซึ่งทําจาก “ปลาเปด” (ปลาท่ีไมมีมูลคาทาง

เศรษฐกิจ รวมท้ังลูกปลา) ท่ีติดมากับอวนลาก

ความสําคัญ เหตุน้ํามันร่ัวในทะเลท่ีรุนแรงท่ีสุดในประวัติศาสตร

สหรัฐอเมริกา

ปลาเปดท่ีขายใหกับโรงงานปลาปนมาจากเรือประมงท่ี

ใชอวนลาก กวาดตอนสัตวและพืชใตทองทะเลมากอน

คอยมาคัดแยกทีหลัง เปนเคร่ืองมือทําลายระบบนิเวศ

ทางทะเลท่ีรุนแรงท่ีสุด (และปจจุบันผิดกฎหมายยุโรป)

ส่ิงท่ีส่ือทํา ส่ือมวลชนท่ัวโลกเสนอขาวเหตุการณนี้เปนขาวใหญ ใหพื้นท่ี

เฉล่ีย 22% ของพื้นท่ีขาวท้ังหมดตอเนื่องนานกวา 100 วัน

หลังเกิดเหตุ

มีส่ือไทยรายใดรายงานขาว มีเพียง Bangkok Post ซึ่ง

ลงขาวการออกมาแกตางใหซีพีของ นิวัฒน สุธีมีชัยกุล

รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 71: Sustainable Business

เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ) ประเด็น BP CP

ส่ิงท่ีรัฐทํา ประธานาธิบดีโอบามาแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน รายงาน

เผยแพรบนเว็บไซต

(http://www.oilspillcommission.gov/)

ตนป 2012 สภาคองเกรสผานกฎหมายสองฉบับ : RESTORE

Act กอตั้งกองทุนฟนฟูอาวเม็กซิโก และ Pipeline Safety,

Regulatory Certainty, and Job Creation Act เพิ่ม

บทลงโทษทางแพงกรณีละเมิดกฎระเบียบดาน

ความปลอดภัย และบัญญัติใหติดตั้งวาวลปดอัตโนมัตใินทอ

น้ํามันใหมๆ

เพียงหนึ่งวันหลังจากการนําเสนอขาวของ Sunday

Times ในอังกฤษ นาย นิวัฒน สุธีมีชัยกุล รอง

ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ออกมาปฏิเสธ

รายงานของส่ืออังกฤษ บอกวาปลาท่ีใชทําอาหารกุง

นั้นไมใชลูกปลา มีแตปลาท่ีมีขนาดเล็ก และ “ของ

เสีย” อาทิ หัวปลา กางปลา เปนตน

ส่ิงท่ีบริษัททํา แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนภายใน เผยแพรผลการศึกษา

ตอสาธารณะในเดือนกันยายน 2010 (6 เดือนหลังเกิดเหตุ)

ณ ตนป 2013 จายคาปรับและคาชดเชยตอรัฐและเอกชนท่ี

ไดรับผลกระทบ รวมคาฟนฟูระบบนิเวศในอาวเม็กซิโกไปแลว

ราว 11,000 ลานเหรียญสหรัฐ คาดวาจะตองจายอีก 7,800

ลานเหรียญสหรัฐ

ไมมีปฏิกิริยาใดๆ

สังคมรูตัวการ

และตนเหตุ

หรือไม

รูแลววาเกิดจากความผิดของมนุษย 5 เร่ือง และความ

ผิดพลาดทางเทคนิค 1 เร่ือง

ไมรูท้ังสองเร่ือง

Page 72: Sustainable Business

• ความอิ่มตัว (?) และ diminishing returns ของการทําโครงการซี

เอสอารแบบ out-process (ปลูกปา สรางฝาย ฯลฯ)

• AEC กับความทาทายระดับภูมิภาค

• ความเขมข้ึนของ push factors โดยเฉพาะวิกฤตส่ิงแวดลอม

• มาตรฐานสากล โดยเฉพาะที่บังคับใชกับผูสงออกไทย

• กฏการเปดเผยขอมูลดานความยั่งยืนของ ก.ล.ต. (เริ่ม 2014)

• ความต่ืนตัว และการรวมตัว (?) ของผูบริโภคผานเว็บบอรด

โซเชียลมีเดีย ฯลฯ

แนวโนมท่ีนาจับตา

Page 73: Sustainable Business

สูยุค “เศรษฐกิจแหงคุณคา”?

“ In the 19th century, we were making money with money. In

the 21st century, I believe and hope that we will use values

to create value.”

- Oliver Le Grand , Chairman of the Board of

Cortal (a subsidiary of BNP Paribas)

“[There is] No Place To Hide for the Irresponsible Business”

- Financial Times headline,

29 September 2003

73