the east asia plant variety protection forum

28
C 2011 Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries 東アジア植物品種保護フォーラム The East Asia Plant Variety Protection Forum

Upload: vuongquynh

Post on 29-Jan-2017

221 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: The East Asia Plant Variety Protection Forum

C 2011 Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries

東アジア植物品種保護フォーラムThe East Asia Plant Variety Protection Forum

Page 2: The East Asia Plant Variety Protection Forum

สารบัญ หนา

1 วัตถุประสงคของการถายภาพเพื่อการตรวจสอบ DUS ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・ 3

(1)เหตุใดภาพถายจึงมีความสําคัญในการตรวจสอบ DUS ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・ 3

(2)การใชงานของภาพถาย ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・3

2 หัวขอพื้นฐานสําหรับการถายภาพ ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・4

(1)ประเภทของกลองดิจิตอล ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・4

(2)ฟงกชั่นการทํางานขั้นพื้นฐานของกลองและเทคนิคการถายภาพ ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・ 4

(3)วิธีการถายภาพขั้นพื้นฐาน ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・7

3 เทคนิควิธีการถายภาพ (คูมือปฏิบัติ) ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・ 10

(1)ภาพถายท่ีอธิบายลักษณะของพันธุพืชและสภาพการเพาะปลูก ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・10

(2)ภาพถายท่ีใชอธิบาย DUS ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・ 11

(3)ขอควรระวังในขณะท่ีทําการถายภาพ ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・13

ตัวอยางองคประกอบของพืชแตละชนิด ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・ 15 4

รูปแบบองคประกอบของพืช ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・・ 15 (1)

(2)ตัวอยางองคประกอบเพื่ออธิบายความแตกตางอยางชัดเจนของพืช ・・・・・・・・・・・・・・・・・・・24

Page 3: The East Asia Plant Variety Protection Forum

1 วัตถุประสงคของการถายภาพเพื่อการตรวจสอบ DUS

ภาพถายท่ีถายเพื่อการตรวจสอบ DUS คือขอมูลสําคัญในการพิสูจนลักษณะของพันธุ สภาพการเพาะปลูกและ DUS ดวยเหตุนี้ ภาพท่ีถายจึงมีความ จําเปนตอง ชัดเจน ทําความเขาใจไดงาย และ สะดวกในการเปรียบเทียบ (1) เหตุใดภาพถายจึงมีความสําคัญในการตรวจสอบ DUS

ภาพถายท่ีถายเพ่ือการตรวจสอบ DUS จะถูกแนบติดกับรายงานการตรวจสอบ DUS เพื่อทําใหเกิดความเขาใจเก่ียวกับ สภาพการเพาะปลูก และลักษณะของพันธุไดดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ การติดภาพที่เหมาะสมในการรายงานน้ัน นอกจากจะเปนการปรับปรุงคุณภาพของตัวรายงานแลว ยังสงผลใน การพัฒนาคุณภาพการตรวจสอบไดอีกดวย (2) การใชงานของภาพถาย 1) รายงานการตรวจสอบ DUS

ภาพถายท่ีแนบไปกับ DUS จําเปนตองสามารถอธิบายรายละเอียดเก่ียวกับลักษณะตางๆของพันธุพืชในรายงานการตวจสอบได

2) การสะสมขอมูลภาพถายของพันธุพืช ภาพถายท่ีแนบติดกับรายงานการตรวจสอบ DUS จําเปนตองมีการจัดการขอมูลเพื่อใหสามารถเรียกดูได โดยมีการจัดหมวดหมูตามแตละ การทดสอบและพันธุพืช เพื่อความสะดวกในการใชเปนขอมูลในการตรวจสอบในอนาคต 3) การคัดเลือกพันธุควบคุม ขอมูลภาพถายท่ีไดจัดหมวดหมูตามที่อธิบายไวในหัวขอที่ 2) ขางตน สามารถนํามาใชในการคัดเลือกพันธุควบคุมสําหรับเปรียบเทียบกับ พันธุจดทะเบียนที่ตองการจดทะเบียนในอนาคต

4) วัตถุประสงคอื่น ๆ ภาพถายสามารถใชเปนขอมูลในการเตรียมคูมือเพื่อใชในการสํารวจคุณลักษณะเฉพาะ อีกทั้งยังเปนหลักฐานเพื่อใชในการยื่นคัดคาน และอื่น ๆ

- 3 -

Page 4: The East Asia Plant Variety Protection Forum

2 หัวขอพื้นฐานสําหรับการถายภาพ (1) ประเภทของกลองดิจิตอล

ประเภทของกลองดิจิตอลมีอยูดวยกันสองประเภทคือ: กลองดิจิตอลสะทอนภาพเลนสเดี่ยว (single lens reflection) ที่สามารถถายภาพไดอยาง คมชัดและกลองคอมแพ็ค(compact camera) ขนาดกระทัดรัดที่สะดวกในการใชงาน ขอแตกตางท่ีสําคัญที่สุดระหวางกลองทั้งสองน้ีคือความสามารถ ในการเปลี่ยนเลนสใหสอดคลองกับเปาหมายในการถายไดหรือไม นอกจากน้ียังมีความแตกตางในดานประสิทธิภาพของเซนเซอรรับภาพ, เลนส และ อัตราสวนความกวางยาวของภาพ ในการตวจสอบ DUS ควรเลือกกลองถายภาพที่เหมาะสมท่ีสุด โดยคํานึงถึงเง่ือนไขของสภาพแวดลอมในการถาย

1) กลองสะทอนภาพเลนสเดี่ยว (single lens reflection) สามารถเปล่ียนเลนสเพื่อใหสอดคลองกับเงื่อนไขการถายภาพและทําการปรับต้ังรายละเอียดเพื่อใหภาพมีความคมชัดมากยิ่งขึ้นได ทั้งนี้ กลองมีขนาด ใหญและไมสะดวกในการพกพาอยางเชนกลองคอมแพ็ค 2) กลองคอมแพ็ค(compact camera) แมวาจะไมสามารถเปลี่ยนเลนสหรือปรับต้ังรายละเอียดได แตก็มีขนาดกะทัดรัดและพกพาไดสะดวก เมื่อเทียบกับกลองสะทอนภาพเลนสเด่ียว (single lens reflection) แลว คุณภาพของภาพอาจดอยกวาเน่ืองมาจากมีเซนเซอรรับภาพ (CDD, CMOS) ที่เล็กกวา ในปจจุบัน กลองบางรุนมีการนําเซนเซอรรับภาพที่มีขนาดใหญมากขึ้นมาใช พรอมกับฟงชั่นตางๆท่ีสามารถปรับต้ังรายละเอียดไดมากยิ่งขึ้น ภาพถายท่ีแนบติดกับรายงานการตรวจสอบ DUS ไมควรมีการตัดแตงหรือเปลี่ยนแปลงอัตราสวนความกวางยาวของภาพ

(2) ฟงกชั่นการทํางานขั้นพื้นฐานของกลองและเทคนิคการถายภาพ ชางภาพตองมีความเขาใจถึงฟงกชั่นการทํางานขั้นพื้นฐานของกลอง สามารถต้ังคาที่เหมาะสมท่ีสุดตามสภาพแวดลอมในการถายภาพ เพื่อใหการถาย ภาพมีความเหมาะสมสําหรับใชในรายงานการตรวจสอบ DUS

1) จํานวนพิกเซลและอัตราสวนการบีบอัดขอมูล จํานวนพิกเซลและอัตราสวนการบีบอัดขอมูล ควรพิจารณาใหเหมาะสมกับวิธีการนําขอมูลของภาพถายน้ันๆไปใชงาน (เชน งานพิมพ, การเก็บใน ฐานขอมูล, การนํามาดูบนคอมพิวเตอร ฯลฯ ) โดยเงื่อนไขเหลานี้จะถูกกําหนดโดยหนวยงานตรวจสอบแตละแหง ในประเทศญ่ีปุนจํานวนพิกเซลมัก จะถูกกําหนดเอาไวที่ 1600 × 1200, อัตราสวนการบีบอัดในระดับ"Fine" เกณฑเหลานี้ไดถูกการกําหนดโดยพิจารณาจากความเหมาะสมในการพิมพ ภาพเพื่อใชในรายงานการตรวจสอบ, การตรวจดูภาพในเคร่ืองคอมพิวเตอร และการอัปโหลดภาพลงในฐานขอมูล ฯลฯ 2) ความไวแสง ISO

ความไวแสง ISO คือความสามารถในการถายภาพในที่มืดไดสูงขึ้นตามคาความไวแสงท่ีสูงขึ้น แตการใชคาความไวแสงที่สูงกอใหเกิดสัญญาณรบกวน ดังนั้น การต้ังคาความไวแสง ISO ในการถายภาพสําหรับใชในรายงานการตรวจสอบDUS จึงกําหนดใหต้ังคาความไวแสงในระดับที่ตํ่าที่สุดของกลอง นั้นๆ อยางไรก็ตามในกรณีที่ความเร็วชัตเตอรไมเพียงพอในการถายภาพในท่ีมืดใหต้ังคาความไวแสงISOในระดับที่สามารถถายภาพไดโดยไมมีสัญญาณ รบกวน 3) โหมดการถายภาพ

โหมดการถายภาพสําหรับภาพที่จะถูกนํามาใชในการตรวจสอบ DUS ไมควรต้ังเปนโหมด AUTO แตควรที่จะต้ังคาเปนโหมด P (โหมดโปรแกรม)

ซึ่งสามารถทําการปรับต้ังรายละเอียดตางๆได เชน การต้ังคาสมดุลยสีขาว (white balance) ฯลฯ หรือโหมด A (โหมดaperture priority ซึ่งเปนการ

ปรับขนาดรูรับแสง)

โหมด P : คือโหมดการถายภาพที่ความเร็วชัตเตอรและรูรับแสงจะถูกกําหนดใหมีความเหมาะสมโดยอัตโนมัติตามความสวาง

- 4 -

Page 5: The East Asia Plant Variety Protection Forum

ภาพถายดวยโหมด A (โหมดaperture priority)

การถายภาพโดยการต้ังคาขนาดรูรับแสงใหแคบลงในโหมด A (เพิ่มคา F) จะสงผลทําใหระยะชัดลึกมีความลึกมากยิ่งขึ้น หรืออาจกลาวไดวาขอบเขต ความชัดมีความลึกมากขึ้น แตเนื่องจากปริมาณแสงที่ไมเพียงพอและความเร็วชัตเตอรที่ชาลง ทําใหความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของมือมีสูงขึ้น ในกรณีที่ถายภาพโดยการต้ังคาขนาดรูรับแสงใหแคบลง ใหติดต้ังกลองบนขาตั้งกลองหรือแทน แตถาเปนกลองท่ีมีประสิทธิภาพสูง กลองสามารถปรับ ความเร็วชัตเตอรใหเร็วขึ้นพรอมกับลดสัญญาณรบกวนไดแมวาจะถายภาพโดยเพิ่มความไวแสง ISO ควรสังเกตวาคาสูงสุดและตํ่าสุดของรูรับแสงมี ความแตกตางกันขึ้นอยูกับเลนสกลอง 4) โหมดมาโคร (โหมดถายภาพระยะใกล) ในการตรวจสอบ DUS มักจําเปนตองทําการถายภาพวัตถุขนาดเล็ก อาทิเชน ภาพช้ินสวนของดอกไม โหมดมาโคร (โหมดถายภาพระยะใกล) มีไว ใชในการถายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็ก ทั้งนี้ ระยะการถายภาพโหมดมาโครข้ึนอยูกับชนิด (เลนส) ของกลอง โดยท่ัวไปแลว ควรใชโหมดมาโครในการถาย ภาพวัตถุในระยะใกล ในกรณีที่ตัววัตถุหางจากกลองนอยกวา50ซม.

F:2.0 สภาพการโฟกัสที่ตัวดอกไม F:8.0 สภาพการโฟกัสจากตัวดอกไมไประยะลึก

- 5 -

Page 6: The East Asia Plant Variety Protection Forum

การบิดเบือน การบิดเบือนคือปรากฏการณที่บริเวณรอบนอกของภาพบิดเบือนไปอันเนื่องมาจากการท่ีกลองเขาใกลวัตถุจากมุมกวาง ทั้งนี้ การบิดเบือนสามารถ

ปองกันไดดวยการถายภาพจากระยะไกล

สภาพไมบรรทัดท่ีงอเน่ืองมาจากการถายดวยมุมกวางในระยะใกลกับวัตถุ

สภาพไมบรรทัดท่ีตรงเน่ืองมาจากการถายตัววัตถุจากมุมกวาง

5) ซูม ควรใชเฉพาะออฟติคัลซูมเทานั้น ดิจิตอลซูมอาศัยการทํางานของซอฟแวรโดยการขยายภาพเดิม ไมควรนํามาใชเพราะจะทําใหภาพที่ไดมีคุณภาพตํ่า 6) วิธีการวัดแสงและการชดเชยคาแสง กลองดิจิตอลเกือบทุกชนิดเม่ือกดชัตเตอรลงคร่ึงหน่ึง กลองจะอยูในสภาพ AF / AE ล็อค (สภาพท่ีโฟกัสและการรับแสงถูกล็อคเปนอัตโนมัติ) คาที่ต้ัง ไวแตเดิมของกลองดิจิตอลโดยท่ัวไป ถูกกําหนดเอาไวใหรับแสงโดยอาศัยคาเฉล่ียของแสงบนหนาจอท้ังหมด ในการตรวจสอบDUS ซึ่งมักจะทําการ ถายดอกไมในระยะใกล ในการณีนี้ เมื่อโฟกัสไปยังดอกไม อาจทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการรับแสงอันเนื่องมาจากปริมาณแสงท่ีแตกตางกันตาม สีของดอกไม (ภาพโดยรวมอาจมืดหรือสวางเกินไปตามสีของดอกไม (รับแสงมากเกินไปหรือนอยเกินไป) ในกรณีดังกลาว ควรเปล่ียนไปใชวิธีการวัด แสงแตละวัตถุที่จะถาย เพื่อใหไดปริมาณแสงท่ีพอเหมาะ พรอมกับทําการปรับความเหมาะสมในการรับแสงโดยอาศัยการชดเชยคาแสง ทั้งนี้ คาความ สวางของเลนสของกลองที่ใช (คา F) ยิ่งนอยยิ่งมีขอบเขตการใชงานท่ีกวางมากขึ้น 7) สมดุลยสีขาว การปรับสมดุลยสีขาวมีความสําคัญอยางยิ่งในการถายภาพสําหรับการตรวจสอบDUS หากไมไดปรับต้ังคาอุณหภูมิสีของแหลงกําเนิดแสงใหเหมาะสม ในขณะที่ทําการถายภาพ สีของวัตถุที่ถายอาจไมไดรับการบันทึกอยางถูกตอง ดังนั้น ในการตรวจสอบ DUS ทุกคร้ังที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสีของ

- 6 -

Page 7: The East Asia Plant Variety Protection Forum

แหลงกําเนิดแสงในสถานท่ีถายภาพ ( สภาพอากาศแจมใสกลางแจง, สภาพอากาศมีเมฆกลางแจง, ใตรมเงา, ในรม, ไฟนีออน ฯลฯ ) ควรปรับสมดุลย สีขาวตามความเหมาะสม ทั้งนี้ค วรทําการปรับสมดุลยสีขาวโดยอาศัยแผนเกรการด (grey card)18% หรือกระดาษสีขาวบริสุทธิ์ ในกรณีที่ใชกระดาษ สีขาวที่มีจําหนายท่ัวไปสําหรับใชในการปรับสมดุลยสีขาว กรุณาใชกระดาษชนิดเดียวกัน ในกรณีที่การปรับสมดุลยสีขาวไมเหมาะสม อาจสงผลกระทบตอสีของภาพทั้งหมด

เหมาะสม ไมเหมาะสม

8) การใชแฟลช

การถายภาพในสภาพแวดลอมที่ไมจําเปนตองใชแฟลชมีความเหมาะสมมากกวา แตหากหลีกเลี่ยงไมได ใหะมัดระวังเร่ืองเงาและแสงสะทอน กรุณาระบุ ในรายงานการตรวจสอบ DUS ใหชัดเจนวาเปนภาพที่ใชแฟลชในการถาย (3) วิธีการถายภาพขั้นพื้นฐาน 1) การปองกันมือสั่น ควรยึดกลองบนขาต้ังกลองหรือแทนในการถายภาพเทาที่สถานการณจะเอื้ออํานวยเพื่อปองกันไมใหเกิดมือส่ัน หากไมมีขาต้ังกลองหรือแทน ใหดึง แขนกระชับกับลําตัวใหแนนและระมัดระวังไมใหมือสั่น นอกจากน้ี การยึดลําตัวโดยการค้ํากับตัวอาคารตึกก็เปนวิธีที่มีประสิทธิภาพวิธีหนี่ง ในกรณีที่ ความเร็วรชัตเตอรชากวา 1 / 100 ควรทําการยึดกลองใหเรียบรอย 2) วัตถุ (พืช) ที่ใชในการถายภาพ ในการคัดเลือกวัตถุที่ใชในการถายภาพ ควรคัดเลือกวัตถุที่แสดงคุณสมบัติครบถวนสมบูรณเปนตัวแทนของพันธุเปาหมาย ตามหลักแลว ในการถาย ภาพพันธุสํารวจ โอกาสที่ภาพถายกับผลการสํารวจจะมีความขัดแยงกันนั้นมีนอยมาก แตในทางปฏิบัติแลว การถายภาพพรอมไปกับการสํารวจน้ันเปนส่ิง ที่ยากลําบาก ดังนั้น โดยท่ัวไปแลว การถายภาพจึงกระทําขึ้นโดยการคัดเลือกพันธุที่จะใชในการถายตางหาก ในขณะเดียวกัน พืชแตละตนแมวาจะเปน พันธุเดียวกันก็มีความแตกตางกัน ดังนั้น ในการคัดเลือกพืชที่จะนํามาใชในการถาย ใหคัดเอาพืชที่เปนตัวแทนพันธุที่สามารถแสดงคุณลักษณะของพืช พันธุนั้นๆ โดยหลีกเลี่ยงพืชที่แสดงคุณลักษณะท่ีแตกตางกันจนเกินไป 3) องคประกอบของรูป A. ความสอดคลองขององคประกอบ การรักษาความสอดคลองขององคประกอบของภาพถายท่ีใชในการตรวจสอบ DUS ในรูปแบบเดียวกันเปนประโยชนและสะดวกในการเปรียบเทียบ พันธุในอนาคต ดังนั้น ควรกําหนดองคประกอบของแตละพันธุพืชตามความเหมาะสม โดยพิจารณาไมใหเกิดความยุงยากในการเปรียบเทียบเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงองคประกอบ

- 7 -

Page 8: The East Asia Plant Variety Protection Forum

B. หัวขอเร่ือง ภาพทั้งหมดท่ีใชในรายงานการตรวจสอบ DUS ตองมีหัวขอเร่ืองกํากับ ทั้งนี้ ศัพทเทคนิคของพืชที่ใชในหัวขอเร่ืองตองมีรูปแบบเปนไปตามมาตรฐาน การตรวจสอบ C. วันที่ของภาพถาย ภาพท้ังหมดท่ีใชในรายงานการตรวจสอบ DUS ตองมีวันที่ถาย (วันเดือนป) กํากับ ในกรณีที่วันที่ปรากฏอยูในภาพถาย ควรระมัดระวังการจัดรูปหนา โดยพิจารณาถึงตําแหนงเม่ือทําการพิมพ D. การติดปายช่ือพันธุ ปายแสดงช่ือพันธุควรจะรวมอยูภายในภาพถาย ขนาดของปายช่ือพันธุควรจะมีความสมดุลกับขนาดของวัตถุที่ถายภาพ E. สมดุลของวัตถุที่ถายภาพ กําหนดความสูงและความกวางของรูปโดยพิจารณาใหเหมาะสมกับรูปทรงและขนาดของวัตถุที่ถายภาพ การถายภาพที่ดีควรถายใหวัตถุที่ถายมีขนาด ใหญที่สุดเทาที่ทําไดและระมัดระวังไมใหวัตถุที่ถายขาดกลางคัน F. สเกลวัด ควรเปลี่ยนความยาวของสเกลวัดใหสมดุลกับขนาดของวัตถุที่ถายภาพ ในกรณีที่ไมมีสเกลวัด ใหใชแถบวัดระยะแทน G. การใชแผนภูมิปรับแตงสี CASMATCH หากสามารถหาแผนภูมิปรับแตงสี CASMATCH มาใชได ขอแนะนําใหใสเขาไปในรูปถาย ในประเทศญ่ีปุน CASMATCH ถูกนํามาใชใน องคประกอบท่ีมีลักษณะท่ีเก่ียวของกับสี การใส CASMATCH เขาไปจะชวยทําใหสามารถใชซอฟทแวรปรับแตงสีไดในระดับหนึ่งแมวาจะมีความแตก ตางกันของวัตถุที่ถายและเงื่อนไขของแสงท่ีใช อยางไรก็ตาม สําหรับการตรวจสอบ DUS โดยปรกติแลวอาศัยการแสดงออกของสี CASMATCH

เพื่อพิจารณาดูความถูกตองในการแสดงออกของสีของรูปถาย ทั้งนี้ CASMATCH

มักจะถูกนํามาใชในวงการแพทยเพื่อสังเกตุดูการเปลี่ยนแปลงของสวนท่ีมีอาการของโรคและตรวจดูความคืบหนาของการรักษาโดยอาศัยซอฟตแวรปรับ

แตงโทนสีใหอยูในระดับคงที่ H. แบคกราวน แบคกราวนควรเปนแบบพื้นๆ สีฟาออนหรือสีเทาออน จะเปนกระดาษหรือผาก็ได หากไมมีแบคกราวนสําหรับใชในการถายภาพ ใหใชผนังของอาคาร หรือพื้นผิวคอนกรีตแทนได ในกรณีที่ถายภาพที่มีองคประกอบเหมือนกัน ใหใชสีแบคกราวนที่เหมือนและสอดคลองกัน I. อื่นๆ ในการถายภาพนิ่งของวัตถุที่ไมคงท่ี ใหเตรียมอุปกรณตางๆที่ใชในการถายภาพ อาทิเชน หมุด ฯลฯ ใหพรอมลวงหนา 4) สภาพแวดลอมในการถายภาพ ควรจัดเตรียมสภาพแวดลอมในการถายภาพใหคงที่ในระดับหนึ่ง ตัวอยางเชน หากมีสถานท่ีเฉพาะสําหรับใชในการถายภาพ ก็ควรใชแทนถายภาพ (ก็อปปสแตน) ที่มีหลอดไฟนีออนสําหรับใชในการถายภาพโดยเฉพาะ อุปกรณเคร่ืองใชตางๆตองสามารถทนรับนํ้าหนักของกลองและอุปกรณไฟได แสงสวางควรใชแสงไฟที่ไดมาจากหลอดไฟนีออนสําหรับใชในการถายภาพโดยเฉพาะ การเตรียมแทนถายภาพ (ก็อปปสแตน) จะชวยใหสามารถจัด สภาพแวดลอมในการถายภาพใหคงท่ีไดในระดับหน่ึง

- 8 -

Page 9: The East Asia Plant Variety Protection Forum

A. ขอควรระวังในการถายภาพในรม ระมัดระวังเงาและแสงสะทอนดวยการปรับมุมและตําแหนงของแสงไฟ การปูกระดาษท่ีไมสะทอนแสงบนแพลตฟอรมจะชวยใหถายภาพไดดีขึ้น

B. ขอควรระวังในการถายภาพกลางแจง ในกรณีที่ถายภาพกลางแจง ควรหลีกเลี่ยงแสงแดดโดยตรงและระมัดระวังเงาและแสงสะทอน เลือกสถานท่ีที่เปนเงารมสวางหรือรอเวลาที่มีเมฆปกคลุม

- วัตถุที่กําลังจะถายภาพอาจไดรับอิทธิพลของกระแสลม กรุณาระมัดระวังแมจะใชขาต้ังกลองแลวก็ตาม

แสงแดดโดยตรง รมเงาท่ีสวาง

- 9 -

Page 10: The East Asia Plant Variety Protection Forum

3 เทคนิควิธีการถายภาพ (คูมือปฏิบัติ)

(1) ภาพถายท่ีอธิบายลักษณะของพันธุพืชและสภาพการเพาะปลูก ภาพถายเของแตละพันธุพืชเพื่อใชในการอธิบายลักษณะของพันธุพืชและสถาพการเพาะปลูก ถึงแมวาภาพถายควรท่ีจะครอบคลุมลักษณะพิเศษใหได

มากท่ีสุด แตหากภาพที่ถายมีองคประกอบตางๆมากจนเกินไป อาจทําใหการถายภาพและการดูแลขอมูลเปนไปดวยความยากลําบาก ดังนั้น การถายภาพจึง ควรลดจํานวนองคประกอบใหนอยลงแตครอบคลุมลักษณะพิเศษใหไดมากท่ีสุด

ตัวอยางองคประกอบของดอกคารเนชั่น

แปลงทดสอบ พฤติกรรมการเจริญเติบโตของพืช

ความสูงของพืช จํานวนก่ิงแขนงและการมวนของใบ ใบ ดอก ชิ้นสวนของดอก

-สีของดอก เสนผาศูนยกลางของดอก รูปทรงของดอก รูปทรงดานขางของดอก

สีของกลีบดอก ลวดลาย ความยาวของกลีบดอก ดอกตูม วงกลีบเล้ียง รังไข เกสรตัวเมีย

-ความยาวของใบ ความกวางของใบ รูปทรงของใบ คุณภาพของไข

-

- 10 -

Page 11: The East Asia Plant Variety Protection Forum

พันธุจดทะเบียน พันธุอางอิง พันธุอางอิง พันธุจดทะเบียน

พันธุจดทะเบียน

(2) ภาพถายท่ีใชอธิบาย DUS

ภาพถายท่ีใชอธิบาย DUS ควรทําการถายภาพพันธุที่ตองการจดทะเบียนกับพันธุที่ใชอางอิง และประเภทที่ตองการจดทะเบียนกับประเภทที่มีความ แตกตางเรียงกันตามความจําเปน

1) มีลักษณะเฉพาะ ในกรณีที่มีลักษณะเฉพาะ ควรถายภาพเพื่อแสดงใหเห็นถึงลักษณะเฉพาะตามความจําเปน

2) ไมมีลักษณะเฉพาะ

ในกรณีที่ไมมีลักษณะเฉพาะ โดยท่ัวไปแลวจะเปนการปฏิเสธพันธุที่ขอจดทะเบียน ดังนั้น ภาพถายจําเปนตองอธิบายใหเห็นวาพันธุที่ขอจดทะเบียน และพันธุอางอิงมีลักษณะเฉพาะที่เหมือนกัน ในกรณีที่ใชในการปฏิเสธ ใหทําการถายภาพโดยคํานึงถึงวาภาพถายจะเปนหลักฐานในการตอสูเม่ือมีการยื่น คัดคาน

กรณีที่ดอกของพันธุจดทะเบียนและพันธุอางอิงเกือบเหมือนกัน แตสีของเกสรตัวเมียมีลักษณะเฉพาะตางกัน

พันธุจดทะเบียน พันธุอางอิง

พันธุอางอิง พันธุอางอิง พันธุจดทะเบียน

- กรณีที่ลักษณะเฉพาะของพันธุจดทะเบียนและพันธุอางอิงเหมือนกัน

พันธุอางอิง พันธุจดทะเบียน

-

- 11 -

Page 12: The East Asia Plant Variety Protection Forum

3) ในกรณีที่ไมมีความสมํ่าเสมอ

โดยท่ัวไปแลวจะเปนการปฏิเสธพันธุที่ขอจดทะเบียน ดังนั้น ภาพถายจําเปนตองบงชี้ใหเห็นสภาพการเกิดของพืชประเภทท่ีมีความแตกตาง และพืชประเภทท่ีมีความแตกตางน้ันๆ การบงชี้พืชประเภทท่ีมีความแตกตางน้ันกระทําไดโดยการถายภาพโดยการเรียงประเภทที่ขอจดทะเบียน และประเภทที่แตกตางดวยกัน ในกรณีที่ใชในการปฏิเสธ ใหทําการถายภาพโดยคํานึงถึงวาภาพถายจะเปนหลักฐานในการตอสูเม่ือมีการยื่นคัดคาน

ภาพถายท่ีแสดงใหเห็นถึงสภาพการเกิดของพืชประเภทที่มีความแตกตางในเขตทดสอบ

ถายภาพโดยการเรียงประเภทท่ีขอจดทะเบียนและประเภทที่แตกตางดวยกัน

ซาย: ประเภทจดทะเบียน ขวา:ประเภทแตกตาง บน: ประเภทจดทะเบียน ลาง: ประเภทแตกตาง บน: ประเภทจดทะเบียน ลาง: ประเภทแตกตาง

- 12 -

Page 13: The East Asia Plant Variety Protection Forum

(3) ขอควรระวังในขณะที่ทําการถายภาพ 1) ลักษณะเฉพาะที่อธิบายในการบรรยายลักษณะพันธุพืชและลักษณะเฉพาะที่อธิบายในภาพถายตองสอดคลองกัน ปญหาอยางหน่ึงที่เกิดขึ้นกับภาพถายในรายงานการตรวจสอบ DUS คือลักษณะเฉพาะที่อธิบายในการบรรยายลักษณะพันธุพืชและลักษณะเฉพาะที่ อธิบายในภาพถายไมสอดคลองกัน ตัวอยางเชน การบรรยายลักษณะพันธุพืชดานซายมือที่กลาวถึง "ลักษณะ"ในหัวขอที่ 1 "ความสูงของพืช" โดย กําหนดใหความสูงเปน 80 ซม. แตในภาพถายกลับสูงเกินกวา 100 ซม. ในกรณีนี้ อาจสันนิษฐานไดวาปญหาอาจเกิดขึ้นจากการเลือกวัตถุที่ใชในการ ถายภาพหรือคาการวัด ทั้งนี้ทั้งนั้น ไมควรใหลักษณะจําเพาะขัดแยงกับภาพถาย

- 13 -

Page 14: The East Asia Plant Variety Protection Forum

2) ลักษณะของกลอง แมวาจะไดปรับสมดุลยสีขาวใหมีความเหมาะสมแลวก็ตาม ก็ไมไดหมายความวาสีของดอกจะถูกแสดงออกมาไดสมจริง เนื่องจากการแสดงออกของ สีอาจแตกตางกันไปตามชนิดของกลอง ดังนั้น ในการเลือกกลอง ใหพิจารณาถึงการแสดงออกของสีดวย ตรวจสอบภาพทันทีหลังจากท่ีทําการถาย หาก ภาพที่ถายไมสามารถแสดงสีออกมาไดสมจริงใหทําการปรับสมดุลยสีขาวอีกคร้ัง

แมวาสมดุลยสีขาวจะไดรับการปรับใหเหมาะสมแลว แตสีที่แสดงออกอาจแตกตางกันไปตามชนิดของกลอง

กลอง1: ไมใชสีที่ควรจะเปน (ออกสีแดง) กลอง2: สีที่ควรจะเปน (โทนสีสม)

-

- 14 -

Page 15: The East Asia Plant Variety Protection Forum

ตัวอยางองคประกอบของพืชแตละชนิด 4

(1) รูปแบบองคประกอบของพืช สตรอเบอรี่ (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

ดอก

พฤติกรรมการเจริญเติบโตของพืช

ผลรุนแรก

Denomination

ผลรุนที่สอง

Denomination

Denomination

ผล

Denomination

Denomination

Denomination

แปลงทดสอบ

ใบ

- 15 -

Page 16: The East Asia Plant Variety Protection Forum

มันฝร่ัง (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

หนาตัดของผล

Denomination

Denomination

Denomination

Denomination Denomination

- 16 -

Page 17: The East Asia Plant Variety Protection Forum

Denomination

Denomination

มันเทศ (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

Denomination

Denomination

แปลงทดสอบ

Denomination

Denomination

- 17 -

Page 18: The East Asia Plant Variety Protection Forum

ถั่วเหลือง (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

สีของเน้ือมันนึ่ง

Denomination

Denomination

Denomination

Denomination

Denomination

- 18 -

Page 19: The East Asia Plant Variety Protection Forum

Denomination Denomination

สภาพของฝก (ระยะเก็บเก่ียวฝกออน)

Denomination Denomination

แปลงทดสอบ (ระยะเก็บเก่ียวเมล็ด)

Denomination Denomination

เมล็ด

- 19 -

Page 20: The East Asia Plant Variety Protection Forum

Denomination

ผักกาดแกว (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

สภาพของหัวผักกาด

Denominatio

Denomination

Denomination Denomination

- 20 -

Page 21: The East Asia Plant Variety Protection Forum

Denominatio

Denominatio

เบญจมาศ (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

Denominatio

Denominatio

Denominatio

ใบ

- 21 -

Page 22: The East Asia Plant Variety Protection Forum

Denomination

กุหลาบ (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

กลีบดอก

Denomination Denomination

Denomination Denominatio

- 22 -

Page 23: The East Asia Plant Variety Protection Forum

Denomination

Denomination

Denomination

- 23 -

Page 24: The East Asia Plant Variety Protection Forum

ตัวอยางองคประกอบเพื่ออธิบายความแตกตางอยางชัดเจนของพืช (2)

พริก (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

ขาว (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

การเปรียบเทียบพฤติกรรมการเจริญเติบโตของพืช

การเปรียบเทียบใบ การเปรียบเทียบผล

การเปรียบเทียบสภาพการติดผล

การเปรียบเทียบรวง

D

C

B

A

D

C

B

A

C B A CB A

A B C B A

- 24 -

Page 25: The East Asia Plant Variety Protection Forum

B A B A

ลูกพลัม (วันที่กํากับคือวันเดือนปที่ถายภาพ)

การเปรียบเทียบขาวเปลือก

การเปรียบเทียบชอดอก

การเปรียบเทียบดอก การเปรียบเทียบกลีบดอก

CB A

C B A

การเปรียบเทียบก่ิง

CB A

C B A

- 25 -

Page 26: The East Asia Plant Variety Protection Forum
Page 27: The East Asia Plant Variety Protection Forum
Page 28: The East Asia Plant Variety Protection Forum

C 2011 Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries

Plant Variety Protection Office, Intellectual Property Division,Agricultural Production Bureau

1-2-1,Kasumigaseki,Chiyoda-ku,Tokyo 100-8950,Japan

生産局 知的財産課 種苗審査室〒100-8950 東京都千代田区霞が関 1-2-1