แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the...

38

Upload: charaspim-boonyanant

Post on 12-Mar-2016

228 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

การวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนาความรู้ทางวิชาการในสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ในด้านการพัฒนา สภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตท้องถิ่น โดยใช้พื้นที่ในเขตกิ่งอำเภอดอยหล่อเป็นพื้นที่ศึกษา ทำการศึกษาค้นคว้าและเก็บข้อมูลภาคสนามด้านสภาพแวดล้อมโรงเรียนในเขตกิ่งอำเภอดอยหล่อรวมทั้งสิ้น 14 โรงเรียน ผลการวิจัยได้นำมาใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุงสภา

TRANSCRIPT

Page 1: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 2: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 3: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ

สารบัญ (ตอ) หนา

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 212-242 29. แนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับทองถิ่น กรณีศึกษา : โรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จ. เชียงใหม

โดย จรัสพิมพ บุญญานันต……………………………………………………………………….. 212

30. การผลิตปุยอินทรียน้ําหมัก (ปุยน้ําชีวภาพ) จากวัสดุเหลือใชทางการเกษตรและชุมชน โดย รวมพร มูลจันทร……………………………………………………………………………... 221

31. การทดสอบประสิทธิภาพของปุยอินทรียน้ําที่ผลิตจากวัสดุอินทรียเหลือใชจากอุตสาหกรรมการเกษตร ตอการผลิตกะหล่ําปลีรูปหัวใจ

โดย เรืองฤทธิ์ ริณพัฒน…………………………………………………………………………… 226

32. การใชเชื้อจุลินทรีย MMO สําหรับการเกษตรและบําบัดน้ําเสียเพื่อลดการใชสารเคมี โดย ดนุวัต เพ็งอน………………………………………………………………………………… 232

33. การใชไสเดือนน้ําในการลดสารอินทรียในน้ําทิ้งจากโรงงานผลิตแหนมและหมูยอ โดย ประจวบ ฉายบุ………………………………………………………………………………. 235

สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 243-276 34. การสังเคราะหทางเคมีและการหาลักษณะเฉพาะของบิสมัธไททาเนตที่เตรียมโดยเทคนิคซอล-เจล

โดย ขนิษฐา เดชขันธ…………………………………………………………………………….. 243

35. การสังเคราะหบิสมัธไททาเนตโดยวิธีไนเทรตที่ปรับปรุง โดย วราภรณ จังธนสมบัติ ……………………………………………………………………… 251

36. บิสมัธไททาเนตที่เตรียมโดยวิธีตกตะกอนรวมทางออกซาเลต

โดย วิไลรัตน ทรัพยมาก………………………………………………………………………… 257 37. ผงนาโนแบเรียมไททาเนตที่สังเคราะหโดยวิธีออกซาเลต

โดย สุณิสา พิพัฒนบรรจง………………………………………………………………………. 263

Page 4: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ

คํานํา

การประชุมทางวิชาการ เปนนโยบายของมหาวิทยาลยัแมโจ โดยสํานกัวิจยัและและสงเสรมิวิชาการการเกษตร ที่ใหมีการจัดขึ้นเปนประจําของทุกป โดยมีเปาหมายเพื่อใหเปนเวทใีนการแลกเปลี่ยนความเคลื่อนไหว ความคิดเห็น ประสบการณ ตลอดจนความกาวหนาทางการวิจัยในสาขาวิชาการตาง ๆ สําหรับการประชุมฯ ในครั้งนี้เปนครั้งที่ 6 กาํหนดใหมีข้ึนในวนัที่ 19 – 20 พฤษภาคม 2548 ไดมีการเสนอผลงานทางวิชาการภาคบรรยาย 55 เร่ือง และภาคโปสเตอร 45 เร่ือง ซึ่งประกอบดวยสาขาเกษตรศาสตร ทัง้พืชศาสตร สัตวศาสตร และทรพัยากรและสิ่งแวดลอม วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีวิศวกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร และสังคมศาสตร

“คณะผูจัดทํา” คาดวาหนังสือรวบรวม “บทคัดยอ” การประชุมทางวิชาการครั้งที ่ 6 ประจําปพุทธศกัราช 2548 จะเปนประโยชนในการใชประกอบการเขารวมประชุมในครั้งนี ้ หนังสือเลมนี้อาจยังคงมีขอผิดพลาดบางประการ “คณะผูจัดทํา” กราบขออภัยในความผิดพลาดมา ณ โอกาสนี้ และจะไดนําขอผิดพลาดที่เกิดขึน้ไปปรับปรุงใหดีข้ึนในการประชุมคร้ังตอ ๆ ไป

สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร

Page 5: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 212

แนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพโรงเรียนประถมศึกษา ระดับทองถิ่น กรณีศึกษา : โรงเรยีนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จ. เชียงใหม Physical Environment Development Guidelines for Primary Schools in Rural Districts : The Case Studies of Schools in King Amphur Doilor, Chiangmai

จรัสพิมพ บุญญานันต ลักษณา สัมมานิธิ และภัทรนฤน ตองประสิทธิ์

ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ เชียงใหม 50290

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้เปนการพัฒนาความรูทางวิชาการในสาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม ในดานการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตทองถิ่น โดยใชพื้นที่ในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอเปนพื้นที่ศึกษา ทําการศึกษาคนควาและเก็บขอมูลภาคสนามดานสภาพแวดลอมโรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอรวมทั้งสิ้น 14 โรงเรียน ผลการวิจัยพบวา องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียนที่มีอยูเดิมและอยูในสภาพดี คือ สภาพภมูิทัศน สวนองคประกอบพบวาอยูในสภาพที่ตองปรับปรุงคือระบบสัญจร และองคประกอบที่ขาดแคลนมากที่สุดเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคืออาคารและสิ่งกอสราง โรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียนนอยมีแนวโนมที่จะมีขนาดเล็กกวาและมีคาความขาดแคลนในโรงเรียนมากกวาโรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียนมากกวา สําหรับในดานการวางผังนั้นโรงเรียนที่มีขนาดเล็กมีแนวโนมทีจ่ะจัดผังในรูป L-shape และ U-shape ในขณะที่โรงเรียนขนาดใหญมีแนวโนมที่จะจัดแผนผังในรูป Cluster จากผลการวิจัยไดนํามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงสภาพแวดลอมในโครงการสาธิต คือ โรงเรียนบานเจริญสามัคคี

Abstract

The research project aimed to develop landscape architectural knowledge in a field of school design and development. Fourteen primary schools located in King Amphur Doilor were chosen as case studies. Research findings indicated that existing schools’ environmental elements in good condition were mostly landscape elements.

Those in poor condition were mostly circulation elements. Moreover, the most insufficient elements were structural elements. The schools with less population tended to be smaller in size and more insufficient than those with more population. Landuse planning of

Page 6: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ

213

the smaller schools tended to be in L-shape and U-shape, While that of the larger schools tended to be in cluster. Finally, the findings were used as a environment development guildlines for demonstration project in Banchareonsamakkee school.

คํานํา

ปญหาสภาพแวดลอมในโรงเรียนประถมศึกษา และสงผลกระทบตอสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน อันจะเปนอปุสรรคตอการเรียนการสอน รวมไปถึงพฒันาการทางดานรางกาย จิตใจ และสติปญญาของเด็ก เมื่อไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว คณะผูวิจัยจึงมีแนวคิดที่จะทําการศึกษาถึงปญหาและแนวทางในการแกไข อยางมีระบบ มีขั้นตอน และมีความเปนไปไดใหมากที่สุด เพื่อใหทราบถึงสภาพปจจุบัน และปญหาที่เกิดขึ้นกับสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนในโครงการวิจัย และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตทองถิ่น ใหเหมาะสมกับพฤติกรรมของผูใชภายในโรงเรียน ทั้งในปจจุบันและในอนาคต

พื้นที่ศึกษาคือโรงเรียนประถมศึกษาที่ตั้งอยูในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จงัหวัดเชียงใหม จํานวนโรงเรียนประถมทั้งหมดในพื้นที่ศึกษาแตเดิมเมื่อเร่ิมทําการศึกษามีทั้งส้ิน 19 โรงเรียน ตอมาในระหวางการศึกษาวิจัย ไดถูกยุบรวมกันตามนโยบายของรัฐบาลเหลือเพียง 14 โรงเรียนเทานั้น แบงตามเขตการศึกษาได 2 เขต คือ กลุมโรงเรียนนพเกาจํานวน 8 โรงเรียน และกลุมโรงเรียนดอยหลอ จํานวน 6 โรงเรียน ไดัรับงบประมาณอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลยัแมโจ ประจาํป พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2544 รวมทั้งสิ้น 179,000 บาท อยางก็ดีการวจิัยไดยืดเยื้อยาวนานเปนเวลา 5 ป กระทั่งเสร็จส้ินในป พ.ศ. 2547

วิธีการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจยัเชิงคุณภาพ โดยมีขั้นตอนการทําวิจัยเริ่มจากการสํารวจขั้นตน เพื่อรวบรวมขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ตําแหนงอาคารตางๆ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมอิากาศ ขนาดของโรงเรียน จํานวนนักเรียน และอาจารยที่สอนอยูในโรงเรียน ลักษณะของพชืพรรณทั่วไป เปนตน จากนั้นจึงกําหนดโรงเรียนในเขตพื้นที่ทําการศึกษาโดยไดขอสรุปวาจะทําการศึกษาทั้งหมด เนื่องจากจาํนวนโรงเรียนประถมในเขตพื้นที่ศึกษามีเพียง 14 โรงเรียนเทานั้น ทําการเก็บขอมลูของโรงเรียนที่จะทําการศึกษาโดยละเอียด โดยแบงขอมลูออกเปน 2 ประเภท คือ ขอมูลภาคสนาม ไดแกภาพถาย แผนที่ การจดบันทึก การสัมภาษณ และขอมูลจากเอกสารและหนังสือตางๆ เมื่อรวบรวมขอมูลเปนที่เรียบรอยแลวจึงทําการวิเคราะหขอมูลที่ได เพื่อกําหนดปญหาทางกายภาพของโรงเรียนในดานตาง ๆ รวมถึงความสําคัญและคุณภาพของโรงเรียน

Page 7: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 214

ขั้นตอนตอมาจงึประเมินผลและจําแนกสภาพปญหาและคุณภาพของสภาพแวดลอมทางกายภาพภายในโรงเรียน เพื่อหาแนวทางพัฒนา และทําการสังเคราะหขอมูลเพื่อหาโรงเรียนที่จะใชเปนโครงการสาธิตเสนอแนวทางในการพัฒนาทางดานกายภาพ โดยใชคําบรรยายประกอบกับภาพวาด แผนที่ และรูปถายใหเห็นชัดเจน และเขาใจงาย และในทายที่สุดจึงทําการประเมินผลและสรุปผลการวิจัย ขอเสนอแนะ และการนําไปใช

ผลการวิจัย

1. ทัศนคติที่มตีอสภาพแวดลอมในโรงเรยีน 1.1 ในดานของความพึงพอใจของกลุมตัวอยาง ที่มีตอสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน พบวาโดยสวน

ใหญรอยละ 85.70 มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทางดานกายภาพเปนสวนมาก ในดานความรมร่ืน มีตนไมและสวนหยอมภายในโรงเรียน สวยงามและใหรมเงา แตอยางไรกด็ีมีเพียงแครอยละ 14.28 เทานั้นที่มีความพึงพอใจตอระบบโครงสรางพื้นฐานที่ดีของโรงเรียน

1.2 ปญหาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพที่พบสวนใหญ ไดแก ปญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บ การกําจัดขยะมูลฝอย และสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน รอยละ 78.57 รองลงมาไดแก ปญหาเกี่ยวกับการระบายน้ําในชวงฤดูฝนซึ่งมีปญหาน้ําทวมขัง รอยละ 57.14 และ ปญหากลิ่นจากขยะมูลฝอยรบกวนและ การเลี้ยงสัตวที่สงกลิ่นรบกวนตอการเรียนการสอน รอยละ 50

1.3 ในดานความตองการจดัสภาพแวดลอมในโรงเรียน พบวา โรงเรียนสวนใหญมีความตองการจดัสภาพแวดลอมทางดานกายภาพโดยการจัดภูมิทัศนภายในโรงเรียน รอยละ 57.14 รองลงมา มีความตองการปรับปรุงพื้นที่สําหรับเปนบริเวณที่นั่งพักผอนสําหรับเด็ก การปรับปรุงอาคารเรียนและหองเรียน และการปรับปรุงดานการจัดเก็บและการกําจัดขยะมลูฝอย รอยละ 50 นอกจากนั้นยังมีความตองการปรับปรุงบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ของโรงเรียน รอยละ 42.8

1.4 ในสวนของแผนงานการจัดสภาพแวดลอมของโรงเรียน โรงเรียนสวนใหญแผนงานการปรับปรุงสภาพภูมิทัศนของโรงเรียนอยูแลว รอยละ 57.14 รองลงมาไดแก แผนงานดานการปรับปรุงและซอมแซมอาคารเรียน รอยละ 42.85 และแผนงานดานการจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวก เชน หองน้ํา ที่ดืม่น้ํา ที่แปรงฟนสําหรับเด็กนักเรียน และจัดสรางหองสมุด รอยละ 21.42

2. องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียน 2.1 จากการเปรียบเทียบประเมินคา พบวา โรงเรียนที่มีความขาดแคลนองคประกอบของสภาพแวดลอมทางกายภาพมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ โรงเรียนหนองหลั้ว (88 คะแนน) โรงเรียนบานเจริญสามัคคี (74 คะแนน) และโรงเรียนวัดวังขามปอม (71 คะแนน) สวนโรงเรียนที่สํารวจพบวามีความขาด

Page 8: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ

215

แคลนนอยที่สุด 3 อันดับแรกคือ โรงเรียนวัดสองแคว (44 คะแนน) โรงเรียนบานสามหลัง (44 คะแนน) และโรงเรียนบานดงปาหวาย (46 คะแนน)

2.2 องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียนที่มีอยูเดิมและอยูในสภาพดี และนับไดวามีมากกวาประเภทอื่นๆเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคือ องคประกอบทางภมูิทัศน คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 57.14 รองลงมาคอื อาคารและสิ่งกอสราง คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 45.69 และที่นับวามีนอยทีสุ่ดคือ องคประกอบทางดานระบบสัญจร คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 33.33

2.3 องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียนที่มีอยูเดิมพบวาอยูในสภาพที่ตองปรับปรุง และพบมีมากกวาประเภทอื่นๆเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคือ องคประกอบทางดานระบบสัญจร คิดเปนคาเฉล่ียรอยละ 76.18 รองลงมาคือ องคประกอบทางภมูิทัศน คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 61.04 และที่นับวาพบนอยที่สุดคือ อาคารและสิ่งกอสราง คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 44.42

2.4 องคประกอบที่ขาดแคลนมากที่สุดเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคือ องคประกอบประเภทอาคารและส่ิงกอสราง คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 23.08 รองลงมาคือองคประกอบทางดานระบบสัญจร คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 19.05 และที่นับวาพบขาดแคลนนอยที่สุดคือ องคประกอบทางภมูิทัศน คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 7.79

3. การวางผังและกิจกรรมที่เกิดข้ึนในโรงเรียน 3.1 การวางผังการใชที่ดิน เราสามารถจาํแนกลักษณะการวางผังที่ดิน ของโรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอ

ดอยหลอได 4 ประเภทคือ 1) กลุมโรงเรียนที่มีการจัดวางผังการใชที่ดินเปนรูป L-Shape 2) กลุมโรงเรียนที่มีการจัดวางผังการใชที่ดินเปนรูป U-Shape 3) กลุมโรงเรียนที่มีการจัดวางผังการใชที่ดินและระบบสัญจรเปนรูปส่ีเหลี่ยม Closed Court 4) กลุมโรงเรียนที่มีการวางผังแบบรวมกลุม (Cluster)

3.2 กิจกรรมที่เกิดขึ้นนอกเวลาเรียน พบวามีลักษณะที่คลายคลึงกันในทุกโรงเรียน ทั้งการใชพื้นที่เขาแถวในตอนเชาหรือตอนเลิกเรียน การรับประทานอาหาร ปญหากิจกรรมที่พบคือ การใชพื้นที่ผิดประเภท การจัดวางผังไมเหมาะสม ความแออัดของการใชพื้นที่ และการขาดแคลนพื้นที่ที่จําเปน

โครงการสาธติการปรับปรงุสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน

1. การจําแนกกลุมของโรงเรียน จากการศึกษาพบวาปจจัยอันประกอบไปดวยปริมาณนักเรียนในโรงเรียน ขนาดของโรงเรียน

ความหนาแนนในการใชพื้นที่ของนักเรียน ลักษณะการวางผังโรงเรียน และคาความขาดแคลนในโรงเรียนตางก็มีความสมัพนัธเชื่อมโยงกัน และสงผลกระทบตอกัน โรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียนนอยมีแนวโนมที่จะมีขนาด

Page 9: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 216

เล็กกวาและมีคาความขาดแคลนในโรงเรียนมากกวาโรงเรียนที่มีปริมาณนกัเรียนมากกวา สําหรับในดานการวางผังนั้นโรงเรียนที่มีขนาดเล็กมีแนวโนมที่จะจัดผังในรูป L-shape และ U-shape ในขณะที่โรงเรียนขนาดใหญมีแนวโนมที่จะจัดแผนผังในรูป Cluster นําเอาขอมูลทั้งหมดมาประมวล สามารถแบงกลุมของโรงเรียนได 5 กลุมคือ

1.1 กลุมที่ 1 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนนอยและมีขนาดเล็กกวา 10,000 ต.ร.ม. มีการจัดแผนผัง 2 รูปแบบทั้งในรูป U-shape และ L-shape โดยสวนใหญจัดเปนรูป L-shape คาความขาดแคลนจัดอยูในระดับปานกลางถึงระดับสูง

1.2 กลุมที่ 2 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนนอย และมีขนาดใหญกวา 10,000 ต.ร.ม.มีการจัดแผนผัง 2 รูปแบบท้ังในรูป U-shape และ L-shape โดยสวนใหญจัดเปนรูป U-shape คาความขาดแคลนจัดอยูในระดับปานกลางถึงระดับสูง

1.3 กลุมที่ 3 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนปานกลาง และมีขนาดเล็กกวา 10,000ต.ร.ม. มีการจัดแผนผัง 2 รูปแบบท้ังในรูป L-shape และ Closed Court โดยสวนใหญจัดเปนรูป L-shape ซึ่งมีคาความขาดแคลนอยูในระดับต่ํา

1.4 กลุมที่ 4 โรงเรียนที่มีจาํนวนนักเรียนปานกลางและมีขนาดใหญกวา10,000 ต.ร.ม.มีการจัดแผนผังเปนรูป U-shape และมีคาความขาดแคลนอยูในระดับปานกลางคอนขางสูง

1.5 กลุมที่ 5 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนมาก และมีขนาดใหญกวา 10,000 ต.ร.ม. มีการจัดแผนผัง 2 รูปแบบทั้งในรูป U-shape และ Cluster โดยสวนใหญจัดเปนรูป Cluster คาความขาดแคลนจัดอยูในระดับต่ําถึงระดับปานกลางคอนขางสูง

2. การเลือกโรงเรียนที่ใชเปนโครงการสาธิต

ทําการเลือกโรงเรียนโดยใชเกณฑคือเลือกจากตัวแทนของแตละกลุมโรงเรียนงบประมาณ ความขาดแคลนองคประกอบที่จําเปนในโรงเรียน และความพรอมสําหรับการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางดานกายภาพ ทายที่สุดจึงเลือกไดโรงเรียนบานเจริญสามัคคีเปนโรงเรียนตัวอยางในโครงการสาธิต

3. การออกแบบปรับปรุงภูมทิศันในโรงเรียนตัวอยาง

3.1 แนวความคิดหลักที่ใชในการออกแบบคํานึงถึงองคประกอบพื้นฐาน 9 ประการสําหรับการออกแบบ ประกอบดวย

1) การเขาถึงไดงาย และการยากตอการเขาถึง 2) กิจกรรมการเลนที่สนุกสนานมีการใชพลังงานมาก และกิจกรรมที่ตองการความเงียบสงบ 3) กิจกรรมการเลนที่ทาทายเสี่ยงภัย และกิจกรรมซ้ํา ๆ ที่มีความปลอดภัย 4) พื้นผิวออนนุม และพื้นผิวแข็ง

Page 10: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ

217

5) การเรียนรูจากธรรมชาติและจากสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น 6) รูปแบบการเลนแบบเปดกวางและแบบปด 7) ความคงที่ถาวรและความเปลี่ยนแปลง 8) พื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว 9) ความเรียบงายและความซบัซอนในการเลน

3.2 แนวความคิดในการปรับปรุงระบบการสัญจร โดยปรับพื้นผิวถนนและทางเดินใหมีความถาวร

ทนทานมากขึ้น แยกระบบสญัจรทางเทาออกจากทางรถยนตใหชัดเจน จัดใหมีที่จอดรถเปนสัดสวน 3.3 แนวความคิดในการจัดแบงพืน้ที่การใชที่ดิน ควรจัดระเบียบการใชที่ดินใหเปนสัดสวนมากขึ้น

และจัดใหเหมาะสมศักยภาพของพื้นที่ เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงของกิจกรรม เพิ่มพื้นที่ที่ขาดแคลนให พอเพียงกับความตองการ เชน พื้นที่นั่งพักผอนหยอนใจ พื้นที่สวนเกษตร เปนตน

3.4 แนวความคิดในการปรบัปรุงองคประกอบที่สําคัญของสภาพแวดลอมในโรงเรียน ควรจัดหาองคประกอบที่ขาดแคลน และเปนองคประกอบที่สําคัญเพิ่มเติมใหพอเพยีง เชน จัดสรางพื้นผิวทางสัญจรทั้งทางรถและทางเดิน รวมทั้งที่จอดรถ ระบบระบายน้ํา คูน้าํ บอนํ้า ศาลาพักผอน ที่ทิ้งขยะ มานั่ง เปนตน ทําการปรับปรุงองคประกอบที่มี แตไมอยูในสภาพที่ดีพอที่จะใชงานไดสะดวก ทําการปรับภูมิทัศนและพื้นที่ที่มีองคประกอบเพียงพออยูแลว และมสีภาพที่ดี จัดใหมีการดูแลรักษาองคประกอบที่สําคัญ ของสภาพแวดลอมในโรงเรียนอยางตอเนื่อง

3.5 แนวความคิดในดานพืชพรรณ ควรเก็บรักษาตนไมเดิมไว และจัดการดูแลรักษาใหอยูในสภาพที่ดี จัดการปลูกพรรณไมดอกไมประดับที่ใหสีสันงดงามเพิ่มเติม เพื่อสรางบรรยากาศที่ดีในโรงเรียนควรปลูกพรรณไมใหรมเงาเพิ่มเติมในพื้นที่นั่งพักผอน ควรหลีกเลี่ยงพรรณไมที่มีพิษ และมีหนามแหลม เพราะจะกอใหเกิดอันตรายตอเด็ก

Page 11: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 218

ภาพแสดงการปรับปรุงสภาพแวดลอมในโครงการสาธิตโรงเรียนบานเจริญสามคัค ี

วิจารณและสรุปผลการวิจยั

จากผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาระดับทองถิ่น กรณีศึกษาโรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จังหวัดเชียงใหม โรงเรียนสวนใหญมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทางดานกายภาพ คือ ความรมร่ืน มีตนไมใหรมเงา ขณะเดียวกันปญหาสวนใหญที่พบมักเปนปญหาดานขยะมูลฝอยและการระบายน้ํา โรงเรียนสวนใหญยังมีความตองการจัดสภาพแวดลอม โดยเฉพาะทางดานภูมิทัศน และมีแผนงานการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางภูมิทัศนของโรงเรียนไวแลว องคประกอบของสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนที่ขาดแคลนมากที่สุดสามลําดับแรก ไดแก โรงเรียนบานเจริญสามัคคี โรงเรียนหนองหลั้ว และโรงเรียนวัดวังขามปอม เมื่อพิจารณาองคประกอบของสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนที่มีอยูเดิมและยังอยูในสภาพดี ไดแก องคประกอบทางภูมิทัศน รองลงมา คือ อาคารและสิ่งกอสราง และนอยที่สุดคือระบบการสัญจรภายในโรงเรียน ซึ่งมีผลสอดคลองกับการศึกษาถึงองคประกอบที่มีความตองการในการปรับปรุงมากที่สุดคือ ระบบการสัญจรภายในโรงเรียน รองลงมาคือ องคประกอบทางภูมิทัศน และอาคารสิ่งกอสราง สวนองคประกอบของสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนที่ยังคงมีความขาดแคลนมากที่สุดคือ อาคารและสิ่งกอสราง องคประกอบที่มีความขาดแคลนนอยที่สุดคือ องคประกอบทางภูมิทัศน สวนระบบการวางผังของโรงเรียนทั้งหมดสวนใหญกลุมโรงเรียนขนาดเล็ก มีการวางผังเปนรูปตัวแอล (L-Shape) และ ตัวยู (U-Shape) สวนโรงเรียนขนาดใหญมีลักษณะเปนกลุม (Cluster) ในการวิจัยครั้งนี้ไดทําการคัดเลือกตัวแทนจากกลุมตัวอยางทั้งหมด 14 โรงเรียน มาเพียงหนึ่งโรงเรียนเพื่อเปนโรงเรียนตัวอยางใน

Page 12: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ

219

โครงการสาธิต คือ โรงเรียนบานเจริญสามัคคี เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอม และทําการออกแบบตามหลักการ มีแนวคิดในการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศนตามหลักองคประกอบพื้นฐานสําหรับกิจกรรมตาง ๆ ของเด็กวัยเรียน แนวความคิดดานการปรับปรุงระบบการสัญจร การจัดแบงพื้นที่การใชที่ดิน การปรับปรุงองคประกอบที่สําคัญของสภาพแวดลอมในโรงเรียน และแนวคิดดานพืชพรรณ และนําแบบดังกลาวไปพัฒนาบนพื้นที่จริงตอไป

ผลการวิจัยในครั้งนี้ทําใหทราบวาขนาดของโรงเรียน จํานวนนักเรียน และองคประกอบทางดาน กายภาพของโรงเรียนทางดานตาง ๆ มีผลโดยตรงตอสภาพแวดลอมและพฤติกรรมการใชพื้นที่ของเด็ก ๆ ในโรงเรียน สภาพแวดลอมดงักลาวมีความสําคัญตอการเรียนรู พัฒนาการ และการเสริมสรางพัฒนาการทางดานรางกายและสติปญญาของเด็กวัยเรียน เนื่องจากเด็กใชเวลาสวนใหญของชวีิตในวัยนี้อยูทีโ่รงเรียนมากกวาทีบ่าน ดังนั้นแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดลอมจึงจําเปนตองสงเสริมตอปจจัยเหลานี้ รวมทั้งยังตองคํานึงถึงความตองการของผูใชสอยและผูดูแลรักษาพื้นที่เปนหลัก ไดแก ครู เด็กนักเรียน และนักการภารโรง อยางไรก็ตามการออกแบบสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนคงเปนเพียงสวนหนึ่งที่จะชวยเสริมสรางการเรียนรูของเด็กควบคูไปกับการเรียนการสอนในโรงเรียน และนอกเหนือจากนั้นคือการดูแลรักษาสภาพแวดลอมของโรงเรียนใหสงเสริมตอกิจกรรมเหลานี้ไดทั้งในปจจุบันและในอนาคตนั่นเอง

เอกสารอางอิง

จรวยพร ธรณนิทร. 2536. “การออกกําลังกายและกีฬา สําหรับเด็ก หนุมสาว และผูสูงอายุ”. การอนามัยและสิ่งแวดลอม 16(1) ม.ค.-เม.ย. หนา 73-76.

บุญชวย จินดาประพันธ. 2536. การบริหารอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม. หนวยศึกษานิเทศน กรมฝกหัดครู. ทองใบ แตงนอย. 2530. แผนที่ภูมิศาสตร ชั้นมธัยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย บริษัทโรงพิมพไทยวัฒนา

พานิช จาํกัด กรุงเทพ หนา 17. ทิศนา แขมณ.ี 2537. “การเลนกับการพัฒนาทางสติปญญาของเด็กไทยในชนบท”. วารสารครุ ศาสตร 2(3)

ม.ค.-มี.ค. หนา 12-33. ธวัช พิริยปญจบุตร. 2533. “สวนปาในโรงเรียน” สารพัฒนาหลักสูตร (95) ก.พ. หนา 55-56. โปสเตอรเพื่อการศึกษา. บริษัทอินทราการพิมพ จาํกัด ม.ป.พ. โปสเตอรเพื่อการศึกษา. บริษัทอินทราโปสเตอร จํากัด ม.ป.พ. มาลินี ศรีสุวรรณ. 2542. ความรูเกี่ยวกับการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทตาง ๆ คณะสถาปตยกรรม

ศาสตร มหาวทิยาลัยศิลปากร. หนา 168-190. สมบัติ กาญจนกิจ. 2540. นันทนาการชุมชนและโรงเรียน สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ

หนา 125-135. เอื้อมพร วีสมหมาย. 2533. สวนสําหรับเด็ก. สารมวลชน กรุงเทพฯ หนา 41-144.

Page 13: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 220

Senda, Mitsuru. Design of Children’s Play Environment. Mcgraw-Hill, New York. P. 1-19. Stine, Sharaon. 1997. Landscapes for Learning: Creating Outdoor Environments for Children

and Youth. John Wiley & Sons, New York. P. 2-43.

Page 14: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 15: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 16: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 17: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 18: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 19: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 20: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 21: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 22: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 23: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 24: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 25: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 26: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 27: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 28: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 29: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 30: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 31: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 32: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 33: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

266

ภาพที่ 113 การปรับปรุงสภาพแวดลอมดานหนาอาคารเรียนจากเดิมเปนบอเลี้ยงปลาทีไ่มไดใชแลว

ปรับปรุงเปนซุมมานั่งพักผอนหยอนใจ ที่มา: จากการสํารวจ

ภาพที่ 114 การปรับปรุงสภาพแวดลอมบริเวณสนามเด็กเลนภายในโรงเรียน

ที่มา: จากการสํารวจ

Page 34: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

267

ภาพที่ 115 การปรับปรุงทางเทาบริเวณที่เชื่อมตอระหวางอาคารเรียนกับสนามเด็กเลน แตเดิมเปน

ทางเดินดิน ทําการปรับปรุงปูพ้ืนผิวคอนกรีตและตัวหนอน ท่ีมา: การสํารวจ

ภาพที่ 116 เครื่องเลนที่ถกูออกแบบเปนรูปเรือ ชวยสรางเสริมจินตนาการและการเรียนรูของเด็ก

ท่ีมา: การสํารวจ

Page 35: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

268

ภาพที่ 117 การปรับปรุงเครื่องเลนเดิมโดยการทาสีใหม และทําการจัดวางตําแหนงใหเหมาะสม

พรอมกับปรับพื้นทรายเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการเลน ท่ีมา: การสํารวจ

ภาพที่ 118 การปรับปรุงพื้นทีน่ั่งพักผอนใตรมไม จัดเปนพ้ืนที่เอนกประสงคสําหรับเด็ก

ท่ีมา: การสํารวจ

Page 36: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the

269

ภาพที่ 119 การออกแบบลายพื้นเปนรปูสัตวในทะเลเพื่อสงเสริมจินตนาการและการเรียนรูของเด็ก

ท่ีมา: การสํารวจ

ภาพที่ 120 จัดวางเครื่องเลนเกาและใหมเขาดวยกันอยางลงตัว

ท่ีมา: การสํารวจ

Page 37: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the
Page 38: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the