toyota supply chain management_2010 jan

2
Global Knowledge 30 Logistics Digest January 2010 Toyota Supply Chain Management ดร. วิทยา สุหฤทดำรง Toyota เปน ที่ รูจัก กัน ดี ใน เรื่อง วิธี การ ใน การ แกไข ปญหา และ การ ปรับปรุง อยาง ตอเนื่อง มีบทความโดยนักปฏิบัติ นักวิจัย และผูเขารวมตางๆ ไดทำใหเครื่องมือและ เทคนิค การ ปรับปรุง อยาง ตอ เนื่อง เปน คุเคยกับผูบริหารธุรกิจทั้งหลาย คำตางๆ เชน อันดง (Andon) เฮจุงกะ (Heijunka) คัมบัง (Kanban) กลายเปนสวนหนึ่งของคำศัพททีใชในแตละวันของบรรดาผูจัดการ ในหนังสือ “วิถี แหง โต โย ตา” (The Toyota Way) ศาสตราจารย Jeffrey K. Liker ที่ผมไดมี โอกาสแปลเปนภาษาไทย ไดเขียนถึงความ สำเร็จ ของ Toyota วา ได มา จาก สิ่ง ที่ นอก เหนือจากเครื่องมือและเทคนิคที่คุนเคยโดย ทั่วไป ศาสตราจารย Liker แสดงใหเห็นถึง วิถีแหงโตโยตาภายใตแบบจำลอง 4P ของ เขา (Philosophy - ปรัชญา, Process - กระบวนการ, People & Partner - บุคลากร และ หุน สวน พันธมิตร, Problem Solving - การ แกไข ปญหา) วา เปน วิธี ที่ ครอบคลุม กระบวนการอกแบบและการจัดการทั้งหมด ผูเรียนรูเรื่องราวของ Toyota รูดีวา วิถีแหง โต โย ตานั้ น เปน เอกลักษณ และ เปน อมตะ ไม เพียง แต วิธี ใน การ แกไข ปญหา แต รวม ถึง วิธี การ คิด ใน ทุก เรื่อง ของการ ผลิต ใน องคกรที่แตกตางกัน (รวมทั้งผูผลิตชิ้นสวน และ วัตถุดิบ ผู ให บริการ ขนสง และ ผู แทน จำหนาย และผูแทนจำหนาย) และในสถาน ที่ตั้งของ Toyota ทั่วโลก ภายใตความสำเร็จ ของ Toyota คือ วิธี การ ของ บริษัท ที่ ตรวจ สอบปญหาอยางวิทยาศาสตร แกไขปญหา เรียนรูจากประสบการณ และถายทอดความ รูใหผูอื่น โตโยตานั้นเปนเอกลักษณ และเปนอมตะ ไมเพียงแต วิธีในการแกไขปญหา แตรวมถึง วิธีการคิด ในทุกเรื่องของการผลิต

Upload: eisquare-publishing

Post on 22-Nov-2014

636 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: Toyota Supply Chain Management_2010 Jan

Global Knowledge

30

Logistics Digest January 2010

Toyota Supply Chain Management ดร. วิทยา สุหฤท ดำรง

Toyota เปน ที่ รูจัก กัน ดี ใน เรื่อง วิธี การ ใน การ แกไข ปญหา และ การ ปรับปรุง อยาง ตอ เนื่อง มี บทความ โดย นัก ปฏิบัติ นัก วิจัย และ ผู เขา รวม ตางๆ ได ทำให เคร่ือง มือ และ เทคนิค การ ปรับปรุง อยาง ตอ เนื่อง เปน คุน เคย กับ ผู บริหารธุรกิจ ทั้ง หลาย คำ ตางๆ เชน อัน ดง (Andon) เฮ จุ งกะ (Heijunka) คัม บัง (Kanban) กลาย เปน สวน หน่ึง ของ คำ ศัพท ที่ ใช ใน แตละ วนั ของ บรรดา ผู จดัการ ใน หนงัสอื “วิถี แหง โต โย ตา” (The Toyota Way) ศาสตราจารย Jeffrey K. Liker ท่ี ผม ได มี

โอกาส แปล เปน ภาษา ไทย ได เขียน ถึง ความ สำเร็จ ของ Toyota วา ได มา จาก ส่ิง ที่ นอก เหนือ จาก เครื่อง มือ และ เทคนิค ที่ คุน เคย โดย ทั่วไป ศาสตราจารย Liker แสดง ให เห็น ถึง วิถี แหง โต โย ตา ภาย ใต แบบ จำลอง 4P ของ เขา (Philosophy - ปรัชญา, Process - กระบวนการ, People & Partner - บุคลากร และ หุน สวน พันธมิตร, Problem Solving - การ แกไข ปญหา) วา เปน วิธี ที่ ครอบคลุม กระบวนการ อก แบบ และ การ จัดการ ท้ังหมด ผู เรียน รู เรื่อง ราว ของ Toyota รู ดี วา วิถี แหง

โต โย ตานั้ น เปน เอกลักษณ และ เปน อมตะ ไม เพียง แต วิธี ใน การ แกไข ปญหา แต รวม ถึง วิธี การ คิด ใน ทุก เรื่อง ของการ ผลิต ใน องคกร ที่ แตก ตาง กัน (รวม ทั้ง ผู ผลิต ชิ้น สวน และ วัตถุดิบ ผู ให บริการ ขนสง และ ผู แทน จำหนาย และ ผู แทน จำหนาย) และ ใน สถาน ที่ ตั้ง ของ Toyota ทั่ว โลก ภาย ใต ความ สำเร็จ ของ Toyota คือ วิธี การ ของ บริษัท ที่ ตรวจ สอบ ปญหา อยาง วิทยาศาสตร แกไข ปญหา เรยีน รู จาก ประสบการณ และ ถายทอด ความ รู ให ผู อื่น

โต โย ตานั้ น เปน เอกลักษณ และ เปน อมตะ ไม เพียง แต วิธี ใน การ แกไข ปญหาแต รวม ถึง วิธี การ คิด

ใน ทุก เรื่อง ของการ ผลิต

Page 2: Toyota Supply Chain Management_2010 Jan

Global Knowledge

January 2010 Logistics Digest

31

เอกสาร ไว อยาง ระมัดระวัง จะ สนับสนุน การ ปรับปรุง อยาง ตอ เนื่อง หนทาง หนึ่ง ท่ี บรรดา เหลา ผู จัดการ จะ เขาใจ แนวคิด ของ Toyota ก็ คือ ถาม เปน อยาง แรก วา โซ อุปทาน ของ พวก เขา จะ บรรลุ ถึง ความ สมดุล” นี้ ได อยางไร บอย ครั้ง ท่ี “ความ หลาก หลาย” เกิด จาก การ เนน ประโยชน เชิง การ ตลาด โดย มิได ใน ความ ใสใจ ตอ ความ เก่ียวของ ของ โซ อุปทาน ความ รวดเร็ว และ ความ แปรผัน ทาง เลือก ที่ ไม เหมาะ สม ท่ีสดุ นี ้สามารถ สง ผล สะทอน กลบั ท่ี รนุแรง ทัง้ โซ อปุทาน ซ่ึง แกไข ได ยาก การ เลอืก ตวัแปร v4L อยาง ระมัดระวงั ทำให สมรรถนะ ของ โซ อุปทาน ของ Toyota ดี เหนือ ใคร

กฎ แหง การ เรียน รู (Learning Principles) Toyota เปน เจา แหง ศิลปะ แหง การ เรียน รู และ เชื่อ วา หลัก การ เพื่อ ให ได ความ ชำนาญ นั้น เปน ที่ รู กัน ท่ัวไป ย่ิง ไป กวา นั้น Toyota แพร ขยาย ความ คิด ของ ตน ไป ทั่ว โซ อุปทาน ดวย บทบาท ของ ความ เปน ผูนำ วธิ ีของ Toyota ใน การ ทำให การ เรยีน รู เกิด ข้ึน นั้น ไม เพียง แต ตรง กับ ทฤษฎี แหง การ เรียน รู แต สามารถ อธิบาย ได อยาง เรียบ งาย หลัก การ ตางๆ ที่ สำคัญ มี ดังนี้: สราง ความ ตระหนัก ถา ไม เล็ง เห็น ถงึ ปญหา ปญหา ก็ จะ ไม ถูก แกไข ตอง มี ระบบ ไว รองรับ เพื่อ รายงาน ความ คิด เห็น ปญหา ความ เบี่ยง เบน และ ประเด็น ตางๆ ที่ อาจ เกิด ขึ้น กับ หัวหนา ทีม โดยตรง โดย ไม ชักชา สราง ขดี ความ สามารถ เวน แต วา จะ มี ใคร บาง คน ที่ มี ความ สามารถ ใน การ แกไข ปญหา ที ่อาจ เกดิ ขึน้ ใน ขอบเขต ระบบ ของ เขา หรือ เธอ บุคคล น้ัน จะ ไม สามารถ สนับสนุน กระบวนการ แกไข ปญหา และ จะ ไม สามารถ รู ถึง ความ ตองการ ความ ชวย เหลอื แบบ เฉพาะ ทาง ทำ ปฏบิตั ิการ ให เปน ระเบยีบ พธิกีาร (Protocol) การ ปฏิบัติ ตอง เกิด ขึ้น ภายใน ขอ จำกัด ตางๆ และ การ ปฏิบัติ เหลา นั้น จะ ตอง เปน ไป ตาม มาตรฐาน ท่ี ชัดเจน การ ทำ เชน

นั้น จะ ชวย ใน การ บง ชี้ ความ สัมพันธ ระหวาง การ ปฏิบัติ และ ผลลัพธ จะ ชวย ใน การ จัด ระเบียบ องค ความ รู ใน การ ใช ประโยชน ใน อนาคต ดวย แบบแผน และ ภาษา ท่ี ใช อยาง เดียวกัน รวม ถึง เนื้อหา ที่ คลาย กนั ดวย การ กอ ให เกดิ ความ ตระหนัก ใน ระดับ ของ ระบบ เมื่อ มี ประสบการณ ใน การ แกไข ปญหา ขึ้น ตอง มี ความ ตระหนัก ถึง ปญหา ที่ อาจ เกิด ข้ึน ใน พ้ืนที่ อื่น อัน อาจ ได รับ ผล ก ระ ทบ จาก การ ปฏิบตั ิของ ตน เพ่ิม ขึน้ รวม ถึง ความ ตระหนัก ใน ปญหา ของ ตน อัน อาจ เกิด จาก การ ปฏิบัติ ของ พื้นที่ อื่น ดวย ทำให บุคลากร มี ความ สามารถ ใน การ สอน เมื่อ ความ ตระหนัก ใน ระดับ ของ ระบบ และ ประสบการณ เพิ่มพูน ก็ จะ ตอง มี ความ สามารถ ใน การ สอน ผู อื่น เกี่ยว กับ วิธี การ เหลา นี้

หลัก การ v4L

หลัก การ แหง การ เรียน รู v4L ตางๆ ได ผสม ผสาน กัน ทั่ว กระบวนการ จัดการ โซ อปุทาน ทัง้หมด ของ Toyota เพือ่ มุง เนน ความ สมดุล ของ v4L อยาง เปน ระบบ ความ หลาก หลาย (Variety) ได ถูก กำหนด เพ่ือ สราง สมดุล แก อุปสงค ของ ตลาด และ ประสิทธิภาพ เชิง การ ปฏิบัติ การ การ ตระหนัก ถึง ความ หลาก หลาย ของ อุปสงค และ การ ผลิต รวม ถึง ตนทุน โซ อุปทาน ชวย ทำให ทุก องค ประกอบ ใน โซ อุปทาน ถูก นำ มา พิจารณา เมื่อ ตอง ตัดสิน ใจ ใน แง หน่ึง ความ หลาก หลาย แสดง ถึง ความ สำคัญ ของ การ ออกแบบ โซ อุปทาน ที่ มี ผลก ระ ทบ ตอ ผู รวม ใน โซ อุปทาน ทุก ราย ประเด็น หลัก เมื่อ มี การ เลือก ความ หลาก หลาย คือ ความ จำเปน ที่ ตอง มี วง รอบ ปอน กลับ (Feedback) เพื่อ ทำให มั่นใจ วา ความ หลาก หลาย ท่ี ได เลือก แสดง ถึง การ ตอบ สนอง ที่ ดี ที่สุด ตอ สภาพ ใน ปจจุบัน นี่ คือ จุด ที่ คุณ สม บัต ของ การ เรียน รู ของ กระบวนการ ของ Toyota ชวย ทำให วง รอบ PDCA สม่ำเสมอ ความ รวดเร็ว (Velocity) ของ การ ไหล ของ โซ อุปทาน เปน แนวคิด สำคัญ ถัด ไป

เปน ที่ ทราบ กัน วาการ ให ความ เคารพ นับถือ แก หุน สวน พันธมิตร ของ Toyota การ ปฏิบัติ กับ ผู จัด สง วัตถุดิบ (Suppliers) อยาง เปน ธรรม และ ให เกียรติ ไป จนถึง การ พัฒนา ผู จดั สง วตัถดุบิ เพือ่ ให ได สมรรถนะ ที ่ดี เลศิ ได นำ มา ซึ่ง ความ เชื่อ ใจ และ การ เต็มใจ ทำงาน รวม กัน เพ่ือ สราง ผล ประโยชน สูงสุด รวม กัน ซึ่ง เปน ปจจัย สำคัญ ของ การ สราง โซ อุปทาน (Supply Chain) ที่ เขม แข็ง ให แก Toyota แต ใน อีก มุม มอง หนึ่ง ท่ี ผู แตง 3 คน (Iyer, Seshadri และ Vasher 2 ศาสตราจารย แหง มหาวิทยาลัย ชื่อ ดัง และ อดีต ผู บริหาร ระดับ สูง ของ Toyota อเมริกาเหนือ และ ยุโรป) เขียน ไว ใน หนังสือ Toyota Supply

Chain Management (ซึ่ง กำลัง อยู ระหวาง จดั ทำ เปน ฉบบั ภาษา ไทย) กไ็ด ให มมุ มอง การ วเิคราะห แนวทาง เชงิ ยทุธศาสตร ของ Toyota ใน การ จัดการ โซ อุปทาน ท่ี เขม แข็ง ไว ใน รูป แบบ ของ กรอบ v4L

กรอบ v4L

Toyota เปน บริษัท รถยนต ระดับ โลก ท่ี มี ผลิตภัณฑ และ ตลาด หลาก หลาย ตลาด ท่ัว โลก แตละ แหง ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ ตัว ท่ี แตก ตาง กัน (เชน สหรัฐอเมริกา ยุโรป และ ญ่ีปุน) ที่ จำเปน ตอง มี ลักษณะ โซ อุปทาน ท่ี แตก ตาง กัน นอกจาก นั้น ความ แตก ตาง ระหวาง รถ Toyota, Lexus และ Scion ก็ ยัง ทำให ตอง มี กระบวนการ โซ อุปทาน ท่ี แตก ตาง กัน อีก ดวย สมรรถนะ การ ดำเนิน งาน ท่ี Toyota ถูก ประเมิน จาก ทั้ง “กระบวนการ” ท่ี ได มา ซ่ึง สมรรถนะ นั้น และ “ผลลัพธ” ที่ สำเร็จ โดย ให น้ำ หนัก อยาง เทาๆ กัน กระบวนการ นี้ มุง เนน ไป ที่ การ สราง ความ สมดุล ของ ตัวแปร หลัก ของ โซ อุปทาน น่ัน คือ ความ หลาก หลาย ของ ผลิตภัณฑ ที่ เสนอ (Variety) ความ รวดเรว็ ของ การ ไหล ของ ผลิตภณัฑ (Velocity) ความ แปรผัน ของ ผลลัพธ เมื่อ เทียบ กับ การ พยากรณ (Variability) และ ความ สามารถ ใน การ มอง เห็น และ รับ รู ขอมูล ของ กระบวนการ (Visibility) ที ่กอ ให เกิด การ เรยีน รู (Learning) การ เรียน รู จาก กระบวนการ ท่ี ถูก บันทึก เปน