ubiquitous - ict

71
การพัฒนาไอซีที ของประเทศไทยและตางประเทศ .ดร. ไพรัช ธัชยพงษ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การอบรมผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง รุนที๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๘

Category:

Technology


0 download

DESCRIPTION

การพัฒนาไอซีที ของประเทศไทยและต่างประเทศ

TRANSCRIPT

Page 1: Ubiquitous - ICT

การพฒันาไอซีที ของประเทศไทยและตางประเทศ

ศ.ดร. ไพรัช ธัชยพงษ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

การอบรมผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดบัสูง รุนที่ ๑๗๘ มิถนุายน ๒๕๔๘

Page 2: Ubiquitous - ICT

2การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

หัวขอการบรรยาย

1. นยิามและวิวัฒนาการของไอซีที

2. การพัฒนาและนโยบายไอซีทีของตางประเทศและ

ประเทศไทย

3. แนวทางการประยุกตใชไอซีทกีับการบริหารราชการ

แนวใหมและปจจัยสูความสําเร็จ

Page 3: Ubiquitous - ICT

1.นิยามและววิัฒนาการ

Page 4: Ubiquitous - ICT

4การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

นิยาม:เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่สารInformation and Communication Technology : ICT

• เทคโนโลยทีี่เกี่ยวของกับ ขาวสาร ขอมูล และการสื่อสาร นับตั้งแตการสราง การนาํมาวิเคราะห หรอื ประมวลผลการรบัและสงขอมูล การจัดเก็บ และการนําไปใชงานใหม

• เทคโนโลยเีหลานี้ มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร ซึ่งประกอบดวย• สวนอุปกรณ (Hardware) • สวนคําสั่ง (Software) • สวนขอมูล (Data) และ• ระบบการสื่อสารตาง ๆ ไมวาจะเปนโทรศัพท ระบบสื่อสารขอมูล ดาวเทียม หรือ เครื่องมือสื่อสารใด ๆ ทั้งมีสายและไรสาย

ที่มา :- ศัพทานุกรม แผนแมบทไอซทีี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙

Page 5: Ubiquitous - ICT

เทคโนโลยี

- หนงัสอื หนงัสอืพิมพ- วิทยุ โทรทศัน- โทรเลข โทรศัพท - โทรศัพทเคลื่อนที่ - โทรสาร- ดาวเทียม - คอมพิวเตอร- อนิเทอรเน็ต- จดหมายอิเลก็ทรอนกิส- บัตรเครดิต- บัตร smart card ฯลฯ

Page 6: Ubiquitous - ICT

6การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี C+C

Appliance

TV

Broadcasting

Electronic Games and Embedded Systems

PC

Computers

Mobile and Wireless

Telecommunications

Broadband and cable services

Connected to networks

Cable changes to wireless

Page 7: Ubiquitous - ICT

7การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี C+C

Page 8: Ubiquitous - ICT

8การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

The Digital Economy

Page 9: Ubiquitous - ICT

9การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

2. การพัฒนาและนโยบายไอซีทีของตางประเทศและประเทศไทย

Page 10: Ubiquitous - ICT

10การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ลกัษณะของนโยบายไอซทีี

นโยบายระดบัมหภาค

นโยบายเฉพาะเรื่อง

National ICT PolicyICT Master Plan

Reduction of Digital Divide Internet Strategy

Human Resource Development

บูรณาการ และความสอดคลองของนโยบาย

Page 11: Ubiquitous - ICT

11การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ภาพรวมยุทธศาสตรการพัฒนา ICT และ eCommerce ในประเทศตางๆ

Basic TelecommunicationsBasic Access to the InternetHuman Capacity BuildingAffordable Access Devices (PCs, PDA)National ICT Policy and PlanThreat of LiberalizationAppropriate Software (Legal, compact, low cost)Local Language enabled on ComputersCreation of Local ContentsPortal Sitese-Government -- Government Facilitation Standards in manufacturing, safety, health IT-Laws (e-Transaction, e-Signature, Computer Crime, Data Protection)Security -- Information/System/NetworkAuthentication and Certification, PKIBroadband Access (Corporate, home)IT-Manpower developmentRegional Networking CollaborationOpportunities from Liberalization and Regionalizatione-Marketplacese-Payment infrastructureConsumer ProtectionCross Border CertificationIntellectual Property rights ProtectionPrivacy

Basic TelecommunicationsBasic Access to the InternetHuman Capacity BuildingAffordable Access Devices (PCs, PDA)National ICT Policy and PlanThreat of LiberalizationAppropriate Software (Legal, compact, low cost)Local Language enabled on ComputersCreation of Local ContentsPortal Sitese-Government -- Government Facilitation Standards in manufacturing, safety, health IT-Laws (e-Transaction, e-Signature, Computer Crime, Data Protection)Security -- Information/System/NetworkAuthentication and Certification, PKIBroadband Access (Corporate, home)IT-Manpower developmentRegional Networking CollaborationOpportunities from Liberalization and Regionalizatione-Marketplacese-Payment infrastructureConsumer ProtectionCross Border CertificationIntellectual Property rights ProtectionPrivacy

Wireless Local Loop

Domestic Internet ExchangeRegional Training CenterLow Cost PC ProgramRural EmpowermentOpen Source solutions

Machine TranslationDigital ArchiveE-Learning

UNCITRAL Model Laws

World PKI Forum

WIPO

Concerns of developingand least

developed countries

Concerns of developedcountries

And industrial leaders

Concerns of developingand least

developed countries

Concerns of developedcountries

And industrial leaders

Page 12: Ubiquitous - ICT

12การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

นโยบายไอซีทีจําแนกตามกลุมประเทศ

การจําแนกกลุมประเทศ โดยพิจารณาจากดัชนชีีว้ัดความสัมฤทธิ์ผลทางเทคโนโลยี (Technology Achievement Index – TAI)

กลุมผูนํา (Leaders)กลุมที่มีศักยภาพการเปนผูนํา (Potential Leaders)กลุมที่รับไดอยางมพีลวัตร (Dynamic Adopters)กลุมที่ลาหลงั (Marginalized)

ที่มา: (Human Development Report, 2001)

Page 13: Ubiquitous - ICT

13การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ระดับของการพัฒนาและทิศทางของนโยบายไอซีที

กลุมผูนํามุงสรางโอกาสและกระจายความสามารถในการเขาถึงและใชประโยชนจากโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศ เพื่อเรงใหสังคมมีการพัฒนาสูการเปนสังคมสารสนเทศ (Information Society) ใหรวดเรว็และเปลี่ยนไปสูการเปนสังคมแหงภูมิปญญาและการเรยีนรู

กลุมที่มีศักยภาพเปนผูนําเนนนโยบาย/ยุทธศาสตรที่จะสามารถพัฒนาจุดแข็งของประเทศเพื่อใหเกิดความไดเปรยีบในการแขงขันเวทีโลก มีการเตรยีมความพรอมดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศ

จาก: รายงานการวิจัย โครงการ IT 2010

Page 14: Ubiquitous - ICT

14การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

กลุมประเทศที่มีพลวัตรมีกลุมอุตสาหกรรมหรือจํานวนแรงงาน

จํานวนหนึ่งที่มคีวามพรอมในการรองรับการถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีใหเกิดประโยชน แตความมุงมั่นทางการเมืองในการผลักดันนโยบายไมสงู และมีปญหาการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศใหทัว่ถึงและเทาเทียม นโยบายดานไอที มคีวามสาํคญันอยกวา

นโยบายดานปากทอง และการแกปญหาโครงสรางทางการเมือง แตอาจมีนโยบายสงเสรมิอุตสาหกรรมเฉพาะทาง ในดานที่ประเทศมีจุดแข็ง

กลุมประเทศลาหลัง

ยังไมมีนโยบายไอซีทีที่ชัดเจน สวนใหญยังตองพึ่งพาการสนับสนุนงบประมาณและบุคลากรจากองคการระหวางประเทศ

ระดับของการพัฒนาและทิศทางของนโยบายไอซีที (ตอ)

จาก: รายงานการวิจัย โครงการ IT 2010

Page 15: Ubiquitous - ICT

ตัวอยาง:นโยบายและแนวทางการพัฒนา

ไอซีทีของตางประเทศ

Page 16: Ubiquitous - ICT

16การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

นโยบายและแนวทางการพัฒนาไอซทีีในเอเซยีแปซิฟค

Japan: “e-Japan” to “u-Japan” Strategy

Korea: Cyber Korea 21

Singapore: Infocomm 21 Masterplan

Indonesia: Indonesia’s Roadmap to e-Government

Thailand: IT2010

Page 17: Ubiquitous - ICT

17การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Japan: “e-Japan”Strategy

Korea: e-Korea

Malaysia: National IT Agenda

Singapore: Infocomm 21 Masterplan

Thailand: IT2010

Indonesia: Indonesia’s Roadmap to e-Government ICT

Page 18: Ubiquitous - ICT

18การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

“e” – “u” Japan towards A Ubiquitous Network Society

• National ICT Strategies in Japan

• Basic Concept: Developing from “e” to “u”-Japan

• Structure of the “u-Japan policy package”

• 21 Strategies for ICT’s Safety and Security

• Charter for A Ubiquitous Network Society

• Fundamental Concepts of A Ubiquitous Network Society in Japan

• Example of ICT Usage in the U-Japan Society

Source: MasahiroYOSHIZAKI, Ministry of Internal Affairs and Communications (MIC) Japan

Page 19: Ubiquitous - ICT

19การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Page 20: Ubiquitous - ICT

20การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Page 21: Ubiquitous - ICT

21การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Page 22: Ubiquitous - ICT

22การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Page 23: Ubiquitous - ICT

23การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Page 24: Ubiquitous - ICT

24การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Page 25: Ubiquitous - ICT

25การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Korea:from Cyber Korea 21 to e-Korea

• Cyber Korea 21 (1999-2002)• Vision: To develop Korea into “Knowledge and

Information-based Society” within the year 2002

• Main thrusts

• Strengthen Information Infrastructure

• Increase National Productivity and Transparency in theoperation of Private and Public Organisation by usingICT and Information and Infrastructure

• Promote and invest in ICT Industry

Page 26: Ubiquitous - ICT

26การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Other Korean Policies/Measuresin the past

Internet for All KoreansLow Cost PCSuccessful in creating Internetenthusiasm in Society: eg.Housewives, Inmates in youthcorection centers

Page 27: Ubiquitous - ICT

27การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

e-Korea Vision 2006 (launched in 2002)

a 5-year long-term blueprint to assistKorea move towards the 21st centuryinformation-based society

Page 28: Ubiquitous - ICT

28การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

e-Korea Focus1. Nationwide Informatization Campaign

• Public Education on IT• Promoting Informatization in the Industry• Promoting Informatization in the public

2. Continuous Efforts Upgrading the InformationInfrastructure

• Shaping Laws and Regulations for an Information Soceity• Assuring Safety and Reliability in Cyber Space• Expanding the Next Generation Infrastructure of

Information and Communication3. Enforcing International Cooperation for the

Global Information Society

Page 29: Ubiquitous - ICT

29การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

* Mr.RHEE Chung Wook , Waseda International Worshop , Nov 2004, Japan

Page 30: Ubiquitous - ICT

30การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

* Mr.RHEE Chung Wook , Waseda International Worshop , Nov 2004, Japan

Page 31: Ubiquitous - ICT

31การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

* Mr.RHEE Chung Wook , Waseda International Worshop , Nov 2004, Japan

Page 32: Ubiquitous - ICT

32การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

* Mr.RHEE Chung Wook , Waseda International Worshop , Nov 2004, Japan

Page 33: Ubiquitous - ICT

33การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

* Mr.RHEE Chung Wook , Waseda International Worshop , Nov 2004, Japan

Page 34: Ubiquitous - ICT

34การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

* Mr.RHEE Chung Wook , Waseda International Worshop , Nov 2004, Japan

Page 35: Ubiquitous - ICT

35การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Singapore: Infocomm 21

a blueprint to transform Singapore through the

harnessing of infocomm technologies for national

competitiveness, and to foster a better quality of

life for citizen in the digital ages.

Goal

- facilitate Infocomm industry over the next 5 years

- move Singapore into the ranks of “first world

economies” of the Net Age.

Page 36: Ubiquitous - ICT

36การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

องคประกอบสาํคัญของ Infocomm 21

Human Resource Development

Getting companies online: eBIDconducive e-business env: trust mark, laws

Spurring consumer demandSingapore as Global e-business hub/leader

Private Sectoremphasis on e-commerce

knowledge-based workplace, ESD,technology experimentation, infocomm education

adaptive and robust info infrastructureoperational efficiency improvement

Public Sectore-Government Action Plan

G2E,G2B, G2C

- Infocomm Acessibility- Bridging Digital Divide

- Living e-Lifestyle

People Sector"e-inclusive society"

(Technology is accessible and affordable to all)

e-Empowering Promoting Infocomm Industry

Page 37: Ubiquitous - ICT

37การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

www.ida.gov.sgwww.ida.gov.sg

Page 38: Ubiquitous - ICT

38การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Infocomm Industry Development

Develop Infocomm Industry as main sector for economic Growth and for Singapore to become Infocomm Hub for Global Economy

Strategies:1. Jumpstarting the Development and Growth of an

Interactive Broadband Multimedia2. Building New Capabilities and Leveraging on

Innovation for Key Growth Areas3. Fostering Strategic Partnerships and Alliances

Overseas

Page 39: Ubiquitous - ICT

39การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Singapore as the infocomm talent capital: Programmes

to enhance infocomm workforce so far

• Critical Infocomm Technology resource program to traininfocomm professional

• Skills redevelopment program for Infocomm professionals (technician level)

• Strategic manpower conversion Program for non-infocommprofessionals

• Infocomm competency program for general workforce;e-Business savviness program for non-Infocommexecutives, managers …operators for SMEs

• Industry-Academia partnership programs

• Academic exchange program (with overseas institutions)

Page 40: Ubiquitous - ICT

40การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

PREPARATION PRESENCE

Phase 1

• Education• Awareness Building• Rationalize GOL for

Government of Indonesia• e-Legislation (Cyber

Laws)

• Readiness Assessments/Diagnostics

• Taskforces• Stakeholder Support (Top

Down)• GOL National Action Plan• Website development

Phase 2 Phase 3 Phase 4 Phase 5

ACTION PARTICIPATION TRANSFORMATION

• Applying GOL BestPractices

• PerformanceMeasurement/Accountability

• New GOL Processes andService Offerings

• GOL Policy Review

• G2B and G2C interaction• G2G partnerships• Business Transactions• Changed Relationships

(G2C, G2B, G2G, G2E)• Co-ordination of e-

Government Activities

FY 2002 Beyond

• GOL pilot projects andservice offerings selection

• ICT InfrastructureDevelopment

• Define standards, GOLprocesses

• Change Management• E-Leadership• GOL Budget Allocations

and Management

Medium Term Long TermNear Term

IInnddoonneessiiaa’’ss RRooaaddmmaapp ttoo ee--GGoovveerrnnmmeenntt

FY 2004

Indonesia’s Roadmap to e-Government Contains 5 Major Phases

Page 41: Ubiquitous - ICT

นโยบายไอซีทขีองประเทศไทย

Page 42: Ubiquitous - ICT

42การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

เสนทางเวลาของ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย

๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕

แผนพัฒนาการเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ ฉบบัที่ ๙

ป พ.ศ.

แผนพัฒนาการเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ ฉบบัที่ ๑๐

กรอบนโยบาย IT2010 (๒๕๔๔-๒๕๕๓)

แผนแมบท ICT ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙

กรอบนโยบาย IT2000 (๒๕๓๙-๒๕๔๓)

แผนปฏิบัติ ปงบประมาณ ๒๕๔๙-๒๕๕๐

การตั้งกระทรวงเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร(ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๕)

Page 43: Ubiquitous - ICT

43การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Thailand ICT Policy Development

^1992 ^1993 ^1994 ^1995 ^1996 ^1997 ^1998 ^1999 ^2000 ^2001 ^2002 ^2003 ^2004 ^2005 ^2006

National IT Committee (established 1992) .National IT Committee (established 1992) .

IT 2000 PolicyIT 2000 Policy IT 2010 PolicyIT 2010 Policy

National ICT Masterplan2002-2006

National ICT Masterplan2002-2006

Ministry of ICTMinistry of ICT

eIndustry e-Government e-SocietyeCommerce e-Education

eIndustry e-Government e-SocietyeCommerce e-EducationPolicies

English-Thai Web TranslationEnglish-Thai Web Translation

SchoolNetThailandSchoolNetThailand

Introduction of Internet Introduction of Internet Software Park ThailandSoftware Park Thailand

Government Information Network Government Information Network

E-Commerce Resource CenterE-Commerce Resource Center

Government CIO ProgramGovernment CIO Program

IT Law Development .IT Law Development .

e-Thailande-Thailand

Electronic Transactions ActElectronic Transactions Act

Government CA ServiceGovernment CA Service

Software Industry Promotion AgencySoftware Industry Promotion Agency

NII, CompCrime, DP ActsNII, CompCrime, DP Acts

e-Government Projecte-Government ProjectTIS-620 Thai Character set registered with IANA

TIS-620 Thai Character set registered with IANA

Activities

TIS-620 Thai Character set in

UNICODE

TIS-620 Thai Character set in

UNICODE

Page 44: Ubiquitous - ICT

44การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

National IT Policy FrameworkThailand National Policy: IT 2000, developed by National IT Committee (NITC), was endorsed by the Cabinet in 1996

Page 45: Ubiquitous - ICT

45การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

IT2000IT2000 - National IT Policy

NATIONALINFORMATION

INFRASTRUCTURE

SUSTAINABLE ECONOMIC POWER IN

SOUTHEAST ASIA

IT-ENABLED THAILAND

SOCIAL EQUITY&

PROSPERITY

ENVIRONMENTFRIENDLY

SOCIETY

GOODGOVERNANCE

HUMANRESOURCE

Page 46: Ubiquitous - ICT

ประเมินนโยบาย IT 2000

ผลการศึกษาวจิยั โดย มนู อรดีดลเชษฐ และคณะ, 2544

Page 47: Ubiquitous - ICT

47การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

• การแพรกระจาย IT ไปสูสังคมชนบททําไดผล

• การปฏิรูปกฎหมายโทรคมนาคมและ IT ดําเนินไปดวยดี

• การพัฒนาระบบ IT ของรัฐทาํไดผลในบางกระทรวง โดยเฉพาะกระทรวงที่มีบุคลากร IT ที่มีคุณภาพ เริ่มตื่นตัวตอการทําแผน IT ระดับกระทรวง มีปญหาเกี่ยวกับดานงบประมาณ

สรุปผลการประเมินนโยบาย IT 2000

Page 48: Ubiquitous - ICT

48การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

สรุปผลการประเมินนโยบายIT2000 (ตอ)

• การบริการประชาชนดวยระบบ IT ทีท่นัสมัยยังทาํอยูในวงจํากัด

• การเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตในระบบการศึกษาของประเทศไดพัฒนาไปมาก แตยังขาดเรื่องเนื้อหาสาระที่เปนภาษาไทย

• การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูป multimedia ยังทําอยางไมเปนระบบ ยังมีขีดจํากัดในหลาย ๆ ดาน

Page 49: Ubiquitous - ICT

49การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ ๒๕๔๔-๒๕๕๓ที่มา : คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ ๑๑ มิ.ย. ๔๕

เศรษฐกิจเศรษฐกิจ สังคมสังคม

ปริมาณปริมาณ คุณภาพคุณภาพ

โครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม

นวัตกรรม, วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี,การวิจัยและพัฒนา,ความรู

การพัฒนาสารสนเทศ, ทักษะพื้นฐานของประชาชน และบุคลากรดานไอที

ee--IndustryIndustryee--CommerceCommerce

services/agriculture/and tourism

e-Societye-Education

e-Government

* http://www.nitc.go.th/itpolicy.html

Page 50: Ubiquitous - ICT

50การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

IT2010พิจารณาและเห็นชอบโดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๔

พิจารณาและเห็นชอบโดยคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๕

กรอบนโยบายเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ระยะ พ.ศ. 2544-2553

Page 51: Ubiquitous - ICT

51การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

eCommerce eIndustry eGovernment eSociety eEducation

กลยุทธ ตามนโยบาย IT2010

มาตรการและแนวทาง

สงเสริมการสงออก

สงเสริมการคาบริการ

สงเสริมการบริโภคจากผูประกอบการภายในประเทศ

กฎหมายพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

ระบบการชําระเงินผานสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ปลอดภัย

สรางความตระหนักและความเขาใจ

สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและยอม

สรางตลาดใหภาคเอกชนผาน e-Procurement ของภาครัฐ

พัฒนาบุคลากร

จัดใหมีโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะสมและสงเสริมอุตสาหกรรมไอทีของไทย

ยกระดบัประสิทธิภาพในการผลิตโดยใชไอที

ขยายฐานการตลาดโดยใชไอที

ใชไอทีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางดานการเกษตร

เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมไอทีที่มีศักยภาพ

จัดใหมี Thailand Exchange

สงเสริมการใชไอทีในภาคการผลิต

จัดใหมีขอมูลทางดานการตลาด

สงเสริมการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน

สงเสริมการพัฒนาบุคลากรในภาคการผลิตใหมีและแลกเปลี่ยนความรู

สงเสริมอุตสาหกรรมไอทีเพื่อลดการนําเขาและเพื่อการสงออก

สงเสริมการใชไอทีในภาคการเกษตร

สรางมูลคาเพิ่มใหกบัอปุกรณที่มีอยูแลว (Value-added)

ลดความเหลื่อมล้ําโดยลงทุนอยางเหมาะสม (Equity)

วางแผนกาวกระโดดในระยะยาว(Quantum-jump)

ยกระดบัครใูหมีทักษะดานไอที (Teachers’ Training)

เรงผลิตฐานความรู (Content Development)

สรางเครือขายการศึกษาที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี (Networking)

สนับสนุนการใชไอทีเพื่อยกระดบัความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

จัดใหมีโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศและสงเสริมอุตสาหกรรมไอทีของไทย

ลดความเหลื่อมล้ําของการเขาถึงสารสนเทศและความรู (Digital Divide)

เพิ่มคุณภาพชีวิตใหกบัประชาชน (Quality of Life)

สงเสริมการเรียนรู (Learning Society)

สรางโอกาสในการเขาถึงสารสนเทศและความรู

สงเสริมชุมชนและองคกรแหงการเรียนรูตลอดชีวิต

พัฒนาทักษะของประชาชนในการเขาถึงและใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู

สงเสริมการใชไอทีเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

สนับสนุนการใชไอทีเพื่อวัฒนธรรม และความเอื้ออาทรในสังคม

สงเสริมการจัดใหมีโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะสมและสนับสนุนอุตสาหกรรมไอทีของไทย

จัดทําแผนแมบทจัดใหมีหนวยงานติดตามและสนับสนุนปรบัปรุงระบบงานและการจัดระบบขอมูลทั้งในสวนกลางและองคกรทองถิ่นพัฒนาขาราชการใหมีทักษะปรบักฎหมายและกฎระเบียบใหเอื้ออํานวยจัดใหมีโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศและสงเสริมอุตสาหกรรมสารสนเทศของไทยสรางความตระหนักและความเชี่อมั่นของประชาชน

พัฒนาประสทิธิภาพภายในองคกร (Back Office)พัฒนาระบบบริการประชาชน (Front Office)ปรบัปรุงระบบบริหารราชการเพื่อนําไปสู Good Governance

Page 52: Ubiquitous - ICT

52การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

นโยบายรัฐบาลดานไอซีทีนโยบายรัฐบาลดานไอซีที

การนําเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสมาใชในการบริหาร

ราชการแผนดินและพัฒนาฐานขอมูลของสวนราชการ

ตางๆ ทุกระดับใหเชื่อมโยงกัน เพื่อที่จะใหหนวยงาน

ของรัฐสามารถใหบริการประชาชนไดอยางรวดเร็วและ

มีประสิทธิภาพ

Page 53: Ubiquitous - ICT

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙

Page 54: Ubiquitous - ICT

54การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๑ :การพัฒนาอตุสาหกรรม ICT เพื่อใหเปนผูนําในภูมิภาค ยุทธศาสตร ๒ :การใช ICT เพื่อยกระดบัคุณภาพชวีิตของคนไทยและสังคมไทย

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙

ยุทธศาสตร ๓ :การปฏิรูปและการสรางศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT

ยุทธศาสตร ๔ :การยกระดบัศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพือ่การแขงขันในอนาคต ยุทธศาสตร ๕ :การพัฒนาศักยภาพของผูประกอบการ เพื่อมุงขยายตลาดตางประเทศยุทธศาสตร ๖ :การสงเสริมผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมใช ICTยุทธศาสตร ๗ :การนํา ICT มาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของภาครัฐ

Page 55: Ubiquitous - ICT

55การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๑ :การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อใหเปนผูนําในภูมิภาค

• พัฒนาอุตสาหกรรมซอฟตแวรโดยความรวมมือระหวางรัฐ/เอกชน จัดตั้ง Software Industry Promotion Agency (SIPA)

• สรางกลไกกระตุนการพัฒนา ICT• พัฒนาตลาดผลิตภัณฑซอฟตแวรที่ผลิตจากผูประกอบการในประเทศ

โดยใชตลาดภาครัฐเปนตัวนํา• พัฒนาระบบติดตามผลการทํางานของ SIPA• จัดทําแผนแมบทการพัฒนาบุคลากร ICT • พัฒนาทักษะผูประกอบการ/ผูพัฒนาซอฟตแวรไทย• พัฒนาคุณภาพสินคาและบริการซอฟตแวร• สนับสนุนใหมีศูนยทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ ICT• สนับสนุนภาคเอกชนลงทุนในอตุสาหกรรมฮารดแวรตอเนือ่งซอฟตแวร• เรงรัดการยกรางกฎหมาย ICT

“ใหองคกรภาครัฐและเอกชนรวมกันเรงรัดพัฒนาอุตสาหกรรม ICT โดยนําความประณีตและภูมิปญญาไทยมาใชใหเกิดประโยชน ทั้งนี้ใหใชสวนงานภาครัฐเปนลูกคานําของตลาดในประเทศและตลาด ICT ระดับภูมิภาคเปนลูกคานําขั้นตนสําหรบัตลาดตางประเทศ และใหมีการลงทุนการพัฒนาอุตสาหกรรมฮารดแวรและซอฟตแวร และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสที่ใชในอุตสาหกรรมยานยนต รวมถึงการผลักดันกฎหมายเพื่อสนับสนุนใหมีการใช ICT เพิ่มมากขึ้น”

“ใหองคกรภาครัฐและเอกชนรวมกันเรงรัดพัฒนาอุตสาหกรรม ICT โดยนําความประณีตและภูมิปญญาไทยมาใชใหเกิดประโยชน ทั้งนี้ใหใชสวนงานภาครัฐเปนลูกคานําของตลาดในประเทศและตลาด ICT ระดับภูมิภาคเปนลูกคานําขั้นตนสําหรบัตลาดตางประเทศ และใหมีการลงทุนการพัฒนาอุตสาหกรรมฮารดแวรและซอฟตแวร และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสที่ใชในอุตสาหกรรมยานยนต รวมถึงการผลักดันกฎหมายเพื่อสนับสนุนใหมีการใช ICT เพิ่มมากขึ้น”

Page 56: Ubiquitous - ICT

56การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๒ :การใช ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชวีิตของคนไทยและสังคมไทย

• พัฒนาโครงสรางพื้นฐานโครงขายโทรคมนาคม

• ใหใชประโยชนจากกฎหมายเกีย่วกบัการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทารสนเทศ (NII)

• ใชประโยชนจาก ICT เพื่อพัฒนาการศกึษา การเรยีนการสอน

• สงเสริมการแปลหนังสือ เอกสาร จากภาษาตางประเทศ

• สงเสริมการพัฒนาขอมูลและความรูในการครองชีพและยกระดับคุณภาพสังคม ของชุมชน

• สงเสริมบทบาทสื่อมวลชนในการเผยแพรความรูดาน ICT

• สงเสริมใหองคกรสวนทองถิ่นใชประโยชนจาก NII

• พัฒนาและเตรยีมความพรอมดานทรัพยากรมนษุย

• สรางความเชื่อมัน่ตอการนําพาณิชยอเิล็กทรอนิกสมาใช

“สงเสริมใหประชาชนใชประโยชนจากสารสนเทศที่เหมาะสม โดยเรงรัดการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใหทั่วถึงและเทาเทยีมกัน เพือ่เปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู สรางภูมปิญญา ใหเกิดมูลคาเพิ่มแกผลิตภัณฑพื้นฐานทางการเกษตรและอุตสาหกรรมชุมชนตางๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับภูมิปญญาไทย และเพิม่รายไดกับยกระดับคุณภาพชีวติของคนไทย ทําใหเกิดสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ควบคูกับการสรางภูมิคุมกันภัยคุกคามและผลกระทบในทางลบที่มากบัยุคโลกาภิวัตน ”

“สงเสริมใหประชาชนใชประโยชนจากสารสนเทศที่เหมาะสม โดยเรงรัดการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใหทั่วถึงและเทาเทยีมกัน เพือ่เปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู สรางภูมปิญญา ใหเกิดมูลคาเพิ่มแกผลิตภัณฑพื้นฐานทางการเกษตรและอุตสาหกรรมชุมชนตางๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับภูมิปญญาไทย และเพิม่รายไดกับยกระดับคุณภาพชีวติของคนไทย ทําใหเกิดสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ควบคูกับการสรางภูมิคุมกันภัยคุกคามและผลกระทบในทางลบที่มากบัยุคโลกาภิวัตน ”

Page 57: Ubiquitous - ICT

57การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๓ :การปฏิรูปและการสรางศักยภาพการวิจัยและพัฒนาไอซทีี

• กําหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานเพือ่พฒันาหลักสูตรและแนวทางการเรียนการสอนที่สงเสริมการคิดเชิงวิทยาศาสตร

• สรางแรงจูงใจใหบุคลากรสนใจที่จะประกอบอาชพีวจิัย• ใหภาครัฐจัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินรวมทุนเบื้องตน

(seed money) เพือ่สนับสนุนและจูงใจใหมีการลงทุน R&D ใน ICT• กําหนดกลยุทธการสงเสริม R&D ดาน ICT ของไทย• สนับสนุนการวิจัยคนควาเพื่อใหเกิดผลผลิตที่สามารถประยุกตเปนอุตสาหกรรม

เชงิพาณิชย• จัดตั้งศูนยความเปนเลิศทางวชิาการ• การติดตามรวบรวม วิเคราะหขอมูลดาน ICT เพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา

“ใหองคกรภาครัฐ เอกชนและสถาบันการศึกษา รวมกันปฏริูปแนวทางการวิจัยพัฒนา ICT โดยใชความตองการของภาคอุตสาหกรรมเปนตัวนํา ทัง้นีใ้หมนีโยบายที่เปนรูปธรรมเกี่ยวกับการเ รงรัดพัฒนาพื้นฐานการศึกษาที่สงเสริมการคิดเชิงวิทยาศาสตรแกประชาชนทั่วไปโดยเร็วที่สุด ใหเกิดการสรางนักวิจัยและบุคลากรที่เกี่ยวของ การจัดสรรงบประมาณดานการวิจัย การสรางสภาวะแวดลอมและปจจยัทีจ่ําเปนอื่นๆ สําหรับงานวิจัยและพัฒนา รวมถึงการนําผลการวิจัยไปประยุกตใชในเชงิพาณิชย เพื่อใหเกิดเทคโนโลยีไทยเขามาทดแทนการพึ่งพาเทคโนโลยตีางประเทศ”

“ใหองคกรภาครัฐ เอกชนและสถาบันการศึกษา รวมกันปฏริูปแนวทางการวิจัยพัฒนา ICT โดยใชความตองการของภาคอุตสาหกรรมเปนตัวนํา ทัง้นีใ้หมนีโยบายที่เปนรูปธรรมเกี่ยวกับการเ รงรัดพัฒนาพื้นฐานการศึกษาที่สงเสริมการคิดเชิงวิทยาศาสตรแกประชาชนทั่วไปโดยเร็วที่สุด ใหเกิดการสรางนักวิจัยและบุคลากรที่เกี่ยวของ การจัดสรรงบประมาณดานการวิจัย การสรางสภาวะแวดลอมและปจจยัทีจ่ําเปนอื่นๆ สําหรับงานวิจัยและพัฒนา รวมถึงการนําผลการวิจัยไปประยุกตใชในเชงิพาณิชย เพื่อใหเกิดเทคโนโลยีไทยเขามาทดแทนการพึ่งพาเทคโนโลยตีางประเทศ”

Page 58: Ubiquitous - ICT

58การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๔ :การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแขงขันในอนาคต

• สรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับประโยชนของ ICT ผานทางเครือขาย

สถาบันการศึกษาของทุกภูมิภาคและชุมชน

• สงเสริมและสนับสนุนใหภาคเอกชนผลิตอุปกรณ ICT ที่มีคุณภาพและราคา

ประหยัด

• กระตุนใหสาธารณชนในวงกวางเกิดความสนใจใน ICT และกิจกรรม

อิเล็กทรอนิกส

• พัฒนาบุคลากรในวิชาชีพอื่นที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนา ICT โดยทั่วไป

“ใหองคกรภาครัฐและเอกชนรวมกันสรางความรูความเขาใจในประโยชนของ ICT ใหแกประชาชนโดยทัว่ไป เพื่อใหเกิดการเรียนรูเทคโนโลยทีีเ่กี่ยวของ โดยมุงเนนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อผลักดันการใช ICT ใหเกิดการบริหารจัดการที่ดี และสามารถใชโอกาสจากความกาวหนาของเทคโนโลย ีเพื่อสรางมลูคาเพิ่มแกภาคเศรษฐกิจพื้นฐานที่จะทําใหประเทศไทยมศีักยภาพการแขงขนัในระดับภูมิภาคและระดับสากลไดอยางสมบูรณ”

“ใหองคกรภาครัฐและเอกชนรวมกันสรางความรูความเขาใจในประโยชนของ ICT ใหแกประชาชนโดยทัว่ไป เพื่อใหเกิดการเรียนรูเทคโนโลยทีีเ่กี่ยวของ โดยมุงเนนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อผลักดันการใช ICT ใหเกิดการบริหารจัดการที่ดี และสามารถใชโอกาสจากความกาวหนาของเทคโนโลย ีเพื่อสรางมลูคาเพิ่มแกภาคเศรษฐกิจพื้นฐานที่จะทําใหประเทศไทยมศีักยภาพการแขงขนัในระดับภูมิภาคและระดับสากลไดอยางสมบูรณ”

Page 59: Ubiquitous - ICT

59การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๕ :การพัฒนาศกัยภาพของผูประกอบการ เพื่อมุงขยายตลาดตางประเทศ

• ทบทวนและปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุมครองทรัพยสินทาง

ปญญา

• สงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมนํา ICT มาประยุกตใชในกระบวนการ

ผลิตเพือ่ใหเกดิมูลคาเพิ่ม

• สงเสริมใหผูประกอบการนําพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาประยุกตใช

เพือ่ลดตนทุนในการดําเนินงานสําหรับการขยายตลาดไปยงัตลาด

ตางประเทศ

• สงเสริมใหผูประกอบการใช broadband internet

“กําหนดมาตรการและวิธกีารทีจ่ะเรงสงเสรมิผูประกอบการ ใหมีความรูและประสบการณดานการบริหารและเทคโนโลยีสมัยใหม เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตสินคาและการตลาด โดยใชมาตรฐานเปดเพื่อสรางโอกาสการเชื่อมโยงขอมูลและระบบงานที่เกี่ยวของ รวมทัง้ใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เพื่อลดตนทุนในการประกอบธุรกิจ โดยภาครัฐสนับสนุนการสงออกผลิตภัณฑที่พัฒนาขึ้นในชวงแรก ดวยการปรับปรุงกฎหมายใหทันตอความกาวหนาของเทคโนโลยีและคุมครองสิทธปิระโยชนของทรัพยสินทางปญญารวมถึงที่เกิดจากภูมิปญญาทองถิ่นดวย และใหความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรดาน ICT ใหไดมาตรฐานคุณภาพวชิาชีพตามหลกัสากล ตลอดจนสรางเสรมิความสามารถและประสบการณดานการตลาดเพื่อใหผูประกอบการไทยไดมีโอกาสขยายสวนแบงตลาดใหมากขึ้น จากความตองการในผลิตภัณฑและบริการและรายไดของประชากรที่กําลังเพิ่มขึ้นในภูมิภาคนี้อยางตอเนื่อง”

“กําหนดมาตรการและวิธกีารทีจ่ะเรงสงเสรมิผูประกอบการ ใหมีความรูและประสบการณดานการบริหารและเทคโนโลยีสมัยใหม เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตสินคาและการตลาด โดยใชมาตรฐานเปดเพื่อสรางโอกาสการเชื่อมโยงขอมูลและระบบงานที่เกี่ยวของ รวมทัง้ใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เพื่อลดตนทุนในการประกอบธุรกิจ โดยภาครัฐสนับสนุนการสงออกผลิตภัณฑที่พัฒนาขึ้นในชวงแรก ดวยการปรับปรุงกฎหมายใหทันตอความกาวหนาของเทคโนโลยีและคุมครองสิทธปิระโยชนของทรัพยสินทางปญญารวมถึงที่เกิดจากภูมิปญญาทองถิ่นดวย และใหความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรดาน ICT ใหไดมาตรฐานคุณภาพวชิาชีพตามหลกัสากล ตลอดจนสรางเสรมิความสามารถและประสบการณดานการตลาดเพื่อใหผูประกอบการไทยไดมีโอกาสขยายสวนแบงตลาดใหมากขึ้น จากความตองการในผลิตภัณฑและบริการและรายไดของประชากรที่กําลังเพิ่มขึ้นในภูมิภาคนี้อยางตอเนื่อง”

Page 60: Ubiquitous - ICT

60การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๖ :การสงเสริมผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมใช ICT

• จัดใหมีกลไก วธิีการถายทอดและดูดซับเทคโนโลยีที่กาวหนาและเหมาะสมใหแก SMEs

• สรางแรงจูงใจใหเกิดกลุมพันธมิตร SMEs เพื่อจะรวมกันนํา ICT ทั้งระบบมาใชประโยชนในการบริหาร การจัดการธุรกิจ

• เรงสงเสริมและพัฒนา e-Business• นํา ICT มาชวยในการจัดการจัดการการทําธุรกิจ การสื่อสาร โดยเฉพาะการ

ใช supply chain management ในภาคอตุสาหกรรม• พัฒนาผูประกอบการใหมีความรูความเขาใจถึงประโยชนของการนํา ICT ที่

เกิดจากอุตสาหกรรมภายในประเทศมาใชในธุรกิจ• จัดทําฐานขอมูลเพื่อประโยชนตอการวางแผนและการใหบริการ• พัฒนา SMEs Portal เพือ่ใหบริการแกผูประกอบการ• เสริมสรางใหเกดิความเปน entrepreneurship

“กระตุนใหผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ใช ICT เพื่อการพัฒนาธุรกิจและเพิ่มขดีความสามารถในการแขงขัน โดยเฉพาะอยางยิง่ดานการจัดการ การบริหารการผลิต และการเชื่อมโยงกบัอุตสาหกรรมขนาดใหญ เพื่อสรางความพรอมตอการแขงขันเสรีในระบบเศรษฐกิจยคุโลกาภิวัฒน และลดผลกระทบจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ”

“กระตุนใหผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ใช ICT เพื่อการพัฒนาธุรกิจและเพิ่มขดีความสามารถในการแขงขัน โดยเฉพาะอยางยิง่ดานการจัดการ การบริหารการผลิต และการเชื่อมโยงกบัอุตสาหกรรมขนาดใหญ เพื่อสรางความพรอมตอการแขงขันเสรีในระบบเศรษฐกิจยคุโลกาภิวัฒน และลดผลกระทบจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ”

Page 61: Ubiquitous - ICT

61การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร ๗ :การนาํ ICT มาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของภาครัฐ

• ใหมีกระทรวงที่รับผิดชอบการวางแผน สงเสริม พัฒนา และดําเนินการดานไอซีทีของประเทศไทย

• ปฏิรูปการบริหารและการจัดการของหนวยงานภาครัฐ โดยจัดตั้งโครงสรางสวนงานสนับสนุน CIO ปรับกฎระเบียบและวิธีบริหารราชการเพื่อใชประโยชนจากไอซีทีและจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาไอซีทีอยางมีประสิทธิภาพ

• พัฒนาฐานขอมลูภาครัฐโดยกําหนดมาตรฐานที่เกี่ยวกับขอมูลและการสื่อสารขอมูล เพื่อใหทุกหนวยงานแลกเปลี่ยนขอมูลกนัไดอยางมีเอกภาพ

• จัดใหมีระบบขอมูลภูมิสารสนเทศ (GIS) เพื่อนํามาใชในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการทรัพยากร และการปองกันภัยพิบัติ

• บริหารการใชโครงขายสารสนเทศอยางมปีระสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย• พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ทั้งดานไอซีทีและดานอื่นๆ รวมถึงการจัดตั้งสถาบัน e-

Government สําหรับการพัฒนาความรูความสามารถดานไอซีที• พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสําเร็จและวิเคราะหปญหาการพัฒนา

ไอซีทีของประเทศ• พัฒนาระบบโครงขายประสาทดิจิทัล(Digital Nervous System) เพื่อใหรัฐบาลสามารถ

บริหารจัดการขอมูลขาวสารสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ

“ใหรัฐดําเนินการพัฒนาการใช ICT ในสวนงานของรัฐอยางมีบูรณาการและเอกภาพ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริหารประเทศและในการใหบริการประชาชนและภาคเอกชน อยางมีประสิทธิภาพ”

“ใหรัฐดําเนินการพัฒนาการใช ICT ในสวนงานของรัฐอยางมีบูรณาการและเอกภาพ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริหารประเทศและในการใหบริการประชาชนและภาคเอกชน อยางมีประสิทธิภาพ”

Page 62: Ubiquitous - ICT

62การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ความสัมพันธ ระหวาง ยุทธศาสตรเรงดวน และการผลกัดนัขับเคลื่อนการกระจายตัวเพือ่ความยั่งยืน

ศักยภาพ และการแขงขัน

ผลลัพธทางเศรษฐกิจใหม

ผลลัพธในภาคเศรษฐกิจอื่น

4. ยกระดับพื้นฐานสังคมไทยเพือ่การแขงขัน

2. ยกระดับคุณภาพชีวติ และสังคมไทย

1. การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT

3. การปฏิรูปการวจิัยและพัฒนา

6. ICT เพือ่ SMEs

5. พัฒนาศักยภาพผูประกอบการ 7. ICT กับการ

บริหารงานภาครัฐ

22ขยายเปนวงจรการพัฒนาขยายเปนวงจรการพัฒนาเพื่อความยัง่ยนืเพื่อความยัง่ยนื

1 เริ่มตนจากวงจรการพัฒนา ICTและมีผลลัพธทางเศรษฐกิจในระยะตน

ลําดับของการดําเนินการตามยุทธศาสตร

Page 63: Ubiquitous - ICT

การประเมนิผลแผนแมบทไอซีทขีองประเทศไทย

พ.ศ. 2545-2549กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

วันที่ 18-19 ธันวาคม 2547

Page 64: Ubiquitous - ICT

64การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

Highlighted projects :- 2546-2547• ยุทธศาสตร 1: พัฒนาอุตสาหกรรม ICT; กอตั้ง SIPA

• ยุทธศาสตร 2: ยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคมไทย; กทช, รางพรบ. พัฒนา

โครงสรางพื้นฐานสารสนเทศรองรับมาตรา 78 ของรัฐธรรมนูญ, โครงการ TKC

• ยุทธศาสตร 3: ปฏิรูปการวิจัยและพัฒนา; Open Source Software และเนน

Applied R&D

• ยุทธศาสตร 4: ยกระดับพื้นฐานสังคมไทยเพื่อการแขงขันในอนาคต: โครงการ ICT

ราคาประหยัด (Budget PC และบริการซอฟตแวรราคาประหยัด), โครงการ NITC

• ยุทธศาสตร 5: พัฒนาศักยภาพของผูประกอบการ; ปรับโครงสรางราคาคาบริการ

Broadband Internet, สรางเครือขาย C-Commerce

• ยุทธศาสตร 6: ICT เพื่อ SMEs; บริการซอฟตแวรราคาประหยัดแก SMEs, สงเสริม

ใหเขาเครือขาย Value Chain

• ยุทธศาสตร 7: ICT กับการบริหารของภาครัฐ; Smart cards, e-Procurement

Page 65: Ubiquitous - ICT

65การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ยุทธศาสตร 7: การนํา ICT มาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของภาครัฐ

สถานภาพปจจุบันของการพัฒนา e-Government

• กระทรวงทบวงกรมสวนใหญไดตดิตัง้ระบบงานคอมพิวเตอรแลว แตเปนระบบ

แบบ “Island” หรือ “Silo” เปนสวนมาก

• ในชวงป 2546-48 รณณรงคใหทําบูรณาการภายในกระทรวง

• หลังป 2548 ตั้งเปาวาจะเนนนโยบายเพื่อเปนระบบแบบใหประชาชนเปน

ศูนยกลาง (Citizen Centric)

• eGovernment ของไทยในปจจุบันยังเปนการสราง Web Presence และ

เริ่มทํา Transaction ไดบาง

• การบริการประชาชนแบบบูรณาการ หรือ One-stop Services ยังเปนเรื่องของ

อนาคต

Page 66: Ubiquitous - ICT

66การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

สถานภาพปจจุบันของการพัฒนาe-Government (ตอ)

• รัฐบาลไดกําหนดแนวทางพัฒนา eGovernment เปน

โครงการ 15 ไมลสโตน เชน

• โครงสรางพื้นฐาน เชน Smart cards, PKI/CA, Data

Interchange Standards

• ศูนยขอมูลเพื่อการตัดสนิใจและการบริหารประเทศ PMOC,

MOC, POC ฯลฯ

• ระบบงานเชน eProcurement, GFMIS, eCitizen Portal,

etc.

Page 67: Ubiquitous - ICT

67การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ประเด็นปญหาการพัฒนา e-Government แบบบูรณการ

• ลาชาในการจัดตั้งหนวยงานรับผิดชอบดานกําหนด

มาตรฐานขอมลูและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมลู

รวมทั้งหนวยงานที่จะรับผิดชอบเรือ่งเลอืกใช

เทคโนโลยีดาน Computer Security ที่เหมาะสม

• การใหบรกิารขอมูลแบบบูรณาการแกประชาชน ยัง

ทําไดยาก ตองการการบูรณาการจากทุกสวน

ราชการ

Page 68: Ubiquitous - ICT

แนวทางการประยุกตใชไอซทีีกับการบริหารราชการแนวใหมและปจจัยสูความสําเร็จ

Page 69: Ubiquitous - ICT

69การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

• การปรับโครงสรางระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบ

บริหารงานของกลุมภารกิจ และ การทํางานแบบเมตริกซ )

•การจัดองคกรรูปแบบใหม ( องคการ

มหาชนและหนวยบริการรูปแบบพิเศษ )

•การสอบทานการใชจายเงิน และบทบาทภารกิจ

•การเปดโอกาสใหเอกชน/องคกรทีไ่มใชภาคราชการเขามา

แขงขันในการใหบริการสาธารณะ(Contestability)

• การคํานวณตนทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บคาธรรมเนียม

ในการถือครองทรัพยสินของหนวยงานในภาครัฐ

• การบริหารการเปลี่ยนแปลง

• ผูนาํการเปลี่ยนแปลง /ทีมงานบริหารการเปลี่ยนแปลง

•การเรียนรูผานสื่อทางอีเล็กทรอนิกส

เพื่อการเปลี่ยนแปลง

•วิทยากรตัวคูณการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน :

I AM READY

•การบริหารงานเชิงยุทธศาสตร

- การวางยทุธศาสตรและการขับเคลื่อนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ

- ระบบประเมินผล(Performance Scorecard)

- การจดัทาํคํารับรองการปฏิบัติราชการ

- มาตรการสรางแรงจงูใจ

•รฐับาลอิเล็กทรอนิกส (E-Government)•การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสู

ระบบอิเล็กทรอนิกส(GFMIS)

•นักบริหารที่มีความสําคัญเชิงยุทธศาสตร

•นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม

•การปรับปรุงเงินเดือนและคาตอบแทน

• มาตรฐานการใหบริการภาครัฐ • การออกแบบกระบวนการทาํงานใหม •การปรับปรุงแกไขกฎหมาย และระเบียบ ขั้นตอนที่เปนอุปสรรค

•การใหบรกิารทางอิเล็กทรอนิกส (e-Service)•call center 1111•ศูนยบริการรวม (Service Link)

• การมีสวนรวมของประชาชน

• การตรวจสอบภาคประชาชน ( People’s Audit )

• Lay Board

• การสรางเครือขายการพัฒนาระบบราชการ

OPDC’s diamond

ปรบับทบาท ภารกจิ

และขนาดใหมี

ความหมาะสม

พัฒนาคุณภาพ

การใหบรกิาร

ประชาชนที่ดีขึน้

ยกระดบัขีดความสามารถและมาตรฐานการทํางานใหอยูระดบัสูง

การพัฒนาระบบราชการเพื่อประโยชนสขุของประชาชน

พัฒนาระบบราชการใหเปนระบบเปด

Page 70: Ubiquitous - ICT

70การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)

ปจจัยแหงความสําเร็จปจจัยแหงความสําเร็จ

โครงสรางพื้นฐาน ระบบเครอืขาย (Network) ทั่วถงึ

อุปกรณ การติดตอสื่อสาร (Equipment) ราคาถูก ใชงาย

ระบบบริหารจัดการสารสนเทศรวมภาครฐัมีความพรอม(Government Gateway)

กฎหมาย กฎ ระเบียบ

บุคลากร ภาครัฐพรอม

ความตระหนกั การยอมรับ และ ความเชื่อมัน่ ของประชาชน

ภาครฐัไดรับการจัดสรร งบประมาณ อยางเหมาะสม

มี องคกรกลาง พัฒนา และ ดูแลระบบ

มี แผนแมบท และ แผนปฏิบตัิการ ชัดเจน

Page 71: Ubiquitous - ICT

71การพฒันาไอซีทขีองประเทศไทยและตางประเทศ โดย ศ.ดร.ไพรชั ธัชยพงษ การอบรม CIO รุนท ี๑๗ ( ๖ มิถนุายน ๒๕๔๘)