wfme - pattanihos.com

17
1 รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์มาตรฐานสากลสาหรับแพทยศาสตรศึกษา (WFME) ชื่อสถาบัน เครือข่ายสถาบันฝึกอบรมโรงพยาบาลปัตตานี สาขาวิชา เวชศาสตร์ครอบครัว ปีการฝึกอบรม 2564 ส่วนที1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับองค์กร (Organization Profile) 1.1 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เป็นแพทย์ทีให้บริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยไม่จากัดโรคเพศ อายุและวัย มีความเชี่ยวชาญในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เป็นผู้เชื่อมต่อความรู้ทาง การแพทย์ให้เข้ากับองค์ประกอบสาคัญอื่นๆ คือ สุขภาพกาย ใจ จิตวิญญาณ วัฒนธรรม เศรษฐกิจสังคม และ สิ่งแวดล้อม ทาความเข้าใจปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย มีการทางานเป็นระบบ มีการส่งต่อ สามารถดูแลรักษาได้อย่าง ต่อเนื่อง โดยให้การดูแลทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน ปัจจุบันอาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลปัตตานี มีท้งหมด 4 ท่าน ทางานร่วมกันกับ ทีมสหสาขาวิชาชีพทั้งในกลุ่มงานและนอกกลุ่มงาน แพทย์ประจาบ้านจะได้เรียนรู้การทางานร่วมกับอาจารย์แพทย์ และทีมสหวิชาชีพที่มีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ในการดูแลประชาชนในพื้นที่ สามารถส่งเสริมให้ผู้เรียน เข้าใจผู้ป่วยและครอบครัว เข้าถึงชุมชน พัฒนาระบบริการสุขภาพในพื้นที่ ตามบริบทของ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดปัตตานี 1.2 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ โรงพยาบาลปัตตานี ต้งอยู่เลขที2 ถ.หนองจิก ต.สะบารัง อ.เมือง จ.ปัตตานี ห่างจากศาลากลางจังหวัด 200 เมตร มีฐานะเป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 504 เตียง เนื้อที่ดินของโรงพยาบาลปัตตานี แบ่งเป็น 2 ส่วน โดย มีลาคลองสามัคคีไหลผ่านกลางจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก ไหลลงสู่แม่น้าปัตตานี ปัจจุบันมีเนื้อที25 ไร่ 3 งาน 41 7/10 วา แต่เดิมอยู่ในความดาริของเจ้าสฤษดิ์เดชนางกูร สมุหเทศาภิบาลเดิม ประจามณฑลปัตตานี จึง

Upload: others

Post on 18-Dec-2021

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: WFME - pattanihos.com

1

รายงานการประเมินตนเอง

ตามเกณฑม์าตรฐานสากลส าหรับแพทยศาสตรศึกษา (WFME)

ชื่อสถาบัน เครือข่ายสถาบันฝึกอบรมโรงพยาบาลปัตตาน ี

สาขาวิชา เวชศาสตร์ครอบครัว

ปีการฝึกอบรม 2564

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับองค์กร (Organization Profile)

1.1 บทสรุปส าหรับผู้บริหาร

แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เป็นแพทย์ที่ให้บริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน

โดยไม่จ ากัดโรคเพศ อายุและวัย มีความเชี่ยวชาญในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เป็นผู้เชื่อมต่อความรู้ทาง

การแพทย์ให้เข้ากับองค์ประกอบส าคัญอ่ืนๆ คือ สุขภาพกาย ใจ จิตวิญญาณ วัฒนธรรม เศรษฐกิจสังคม และ

สิ่งแวดล้อม ท าความเข้าใจปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย มีการท างานเป็นระบบ มีการส่งต่อ สามารถดูแลรักษาได้อย่าง

ต่อเนื่อง โดยให้การดูแลทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน

ปัจจุบันอาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลปัตตานี มีทั้งหมด 4 ท่าน ท างานร่วมกันกับ

ทีมสหสาขาวิชาชีพทั้งในกลุ่มงานและนอกกลุ่มงาน แพทย์ประจ าบ้านจะได้เรียนรู้การท างานร่วมกับอาจารย์แพทย์

และทีมสหวิชาชีพที่มีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ในการดูแลประชาชนในพ้ืนที่ สามารถส่งเสริมให้ผู้เรียน

เข้าใจผู้ป่วยและครอบครัว เข้าถึงชุมชน พัฒนาระบบริการสุขภาพในพ้ืนที่ ตามบริบทของ 3 จังหวัดชายแดน

ภาคใต้ โดยเฉพาะพ้ืนที่จังหวัดปัตตานี

1.2 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ

โรงพยาบาลปัตตานี ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถ.หนองจิก ต.สะบารัง อ.เมือง จ.ปัตตานี ห่างจากศาลากลางจังหวัด

200 เมตร มีฐานะเป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 504 เตียง เนื้อที่ดินของโรงพยาบาลปัตตานี แบ่งเป็น 2 ส่วน โดย

มีล าคลองสามัคคีไหลผ่านกลางจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก ไหลลงสู่แม่น้ าปัตตานี ปัจจุบันมีเนื้อที่ 25 ไร่

3 งาน 41 7/10 วา แต่เดิมอยู่ในความด าริของเจ้าสฤษดิ์เดชนางกูร สมุหเทศาภิบาลเดิม ประจ ามณฑลปัตตานี จึง

Page 2: WFME - pattanihos.com

2

ได้อนุมัติเงินงบประมาณในขั้นแรก จ านวน 32,000 บาทและทางมณฑลได้รวบรวมเงินจาก ท่านผู้มีจิตศรัทธาอีก

จ านวน 7,000 บาท ได้เริ่มลงมือด าเนินการก่อสร้างเรื่อยมาแต่ปีพ.ศ.2467 ในที่ดินแห่งหนึ่งซึ่งอยู่ห่างจากตัวเมือง

ประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นเรือนคนไข้และตึกผ่าตัดรวม 2 หลังเท่านั้น ส่วนอาคารโรงเรือนต่าง ๆ เช่น ตึกคนไข้

นอก, โรงซักฟอก, โรงครัว, โรงพักศพ,บ้านพักแพทย์และบ้านพักเจ้าหน้าที่ ทางมณฑลด าริจะของบประมาณ

ก่อสร้างในปีถัดไปแต่ด้วยเหตุขณะนั้นการเงินของประเทศฝืดเคือง เงินงบประมาณที่จะได้เพ่ือก่อสร้างอาคารท า

การ และอาคารบ้านพักต่อไปจนแล้วเสร็จจึงจ าเป็นต้องชะงักตั้งแต่นั้นมา

เมื่อปี พ.ศ. 2478 พณฯ ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้เดินทางมาตรวจราชการที่จังหวัด

ปัตตานีเป็นครั้งแรก ได้เห็นตึกที่พักรับแขกของจังหวัด ซึ่งเดิมเป็นจวนสมุหเทศาภิบาลประกอบกับตึกหลังนี้ใน

ขณะนั้นมีลักษณะเหมาะสมจัดเป็นโรงพยาบาลได้ จึงได้ประชุมปรึกษากับคณะกรรมการจังหวัดปัตตานี ในที่สุด

คณะกรรมการจังหวัดปัตตานีเห็นพ้องต้องกันว่า สถานที่บริเวณตึกสมุหเทศาภิบาลเดิมมีลักษณะเหมาะสมจัดเป็น

โรงพยาบาลได้ เว้นแต่บริเวณสถานที่ถ้าเผื่อไปถึงการขยายตัวของโรงพยาบาลต่อไปในภายหน้าก็ค่อนข้างจะเล็กไป

คณะกรรมการจังหวัดปัตตานีจึงได้ตกลงพร้อมกันก าหนดที่ดินอีกด้านหนึ่งของฝั่งใต้คลองสามัคคี ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ

บริเวณที่ดินสมุหเทศาภิบาล ให้เป็นอาณาเขตบริเวณของโรงพยาบาลด้วย นอกจากนี้คณะกรรมการจังหวัดได้

ประชุมเห็นชอบด้วยด าริ พณฯ ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ดัดแปลงสมุหเทศาภิบาลเดิมเป็นตึก

คนไข้นอกของโรงพยาบาลปัตตานี ทั้งนี้ เพราะเห็นว่าสถานที่ที่เหมาะสมอยู่แล้ว และทุ่นเงินงบประมาณด้วย โดย

สิ้นเงินในการดัดแปลงตึกหลังนี้ในขณะนั้น จ านวน 5,000 บาท ส่วนอาคารที่ก่อสร้างข้ึนใหม่พร้อมกันคือ

1. เรือนคนไข้ จ านวน 2 หลังๆ ละ 25 เตียง

2. โรงครัวและโรงซักฟอกติดกัน จ านวน 1 หลัง

3. โรงพักศพ จ านวน 1 หลัง

โรงพยาบาลปัตตานีได้ท าพิธีเปิดโดยพระไวยวิธีการ อธิบดีกรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทยเดิม เมื่อ

วันที่ 31 มีนาคม 2480 และให้บริการผู้ป่วยโดยมีนายแพทย์เสถียร ตู้จินดาเป็นผู้อ านวยการคนแรก

1.3 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม

ปรัชญา เข้าใจผู้ป่วยและครอบครัว เข้าถึงชุมชน พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ปณิธาน มุ่งมั่นพัฒนาการผลิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ครอบครัวที่ได้มาตรฐาน โดยค านึงถึง

ประโยชน์ของเพ่ือนมนุษย์ วิสัยทัศน์ ผลิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ครอบครัวที่ได้มาตรฐาน เป็นที่ไว้วางใจของประชาชน

โดยชุมชนมีส่วนร่วม ผสมผสานวัฒนธรรมตามบริบท 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

Page 3: WFME - pattanihos.com

3

พันธกิจ ผลิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ครอบครัวที่มีคุณภาพและคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มี

จริยธรรม ทัศนคติและเจตคติที่ดีต่อผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน และองค์กร สามารถให้บริการสุขภาพแก่ประชากรทุกกลุ่มวัย

อย่างองค์รวม ครอบคลุมทุกมิติของการดูแลสุขภาพ ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน มีความรู้ความเข้าใจ

ระบบสุขภาพ มิติทางสังคมและพหุวัฒนธรรม เพ่ือพัฒนาการบริการทางเวชศาสตร์ครอบครัวในท้องถิ่นภาคใต้ และมีการสร้างงานวิจัยที่ผลักดันให้ เกิดนโยบายสาธารณะ ภายใต้บริบทชุมชน ด้วยมาตรฐานการวิจัย

ระดับประเทศ ค่านิยม M : Mastery เป็นนายตนเอง

O : Originality เร่งสร้างสิ่งใหม่

P : People centered ใส่ใจประชาชน

H : Humility ถ่อมตนอ่อนน้อม

1.4 โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการบริหาร โครงสร้างการบริหารการศึกษาพร้อมแผนภูมิ

โครงสร้างกลุ่มงานเวชกรรมสังคม

Page 4: WFME - pattanihos.com

4

โครงสร้างการเรียนการสอนและการฝึกอบรมแพทย์ประจ าบ้าน

มีคณะกรรมการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว เครือข่ายจังหวัดปัตตานี ท าหน้าที่

ควบคุมก ากับโดยมีรายนามและบทบาทหน้าที่ดังต่อไปนี้

คณะกรรมการที่ปรึกษา

๑. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ประธานที่ปรึกษา

๒. ผู้อ านวยการโรงพยาบาลปัตตานี รองประธานที่ปรึกษา

๓. ผู้อ านวยการศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลปัตตานี ที่ปรึกษา

๔. ผู้อ านวยการโรงพยาบาลยะรัง ที่ปรึกษา

คณะกรรมการฝึกอบรมแพทย์ประจ าบ้าน

๑. นายแพทย์พรชัย ประเสริฐวชิรากุล ประธานกรรมการ

๒. แพทย์หญิงชเนตตา หัตถา กรรมการฝ่ายแผนการฝึกอบรมและหลักสูตร

๓. แพทย์หญิงกษมา เบ็ญนิปาร์ กรรมการฝ่ายคัดเลือกและประเมินผล

๔. แพทย์หญิงฟัทมา ประดู ่ กรรมการฝ่ายดูแลและพัฒนาแพทย์ประจ าบ้าน

๕. นายแพทย์ปรินทร์ เลิศตระการสกุล กรรมการฝ่ายพัฒนาอาจารย์แพทย์

๖. นายแพทย์มูฮัมหมัดอาลี กระโด กรรมการ

๗. นายแพทย์อมีน สะอีดี กรรมการ

๘. ตัวแทนแพทย์ประจ าบ้าน กรรมการ

๙. แพทย์หญิงดาราวรรณ สริินพคุณ กรรมการ

๑๐. นายแพทย์เอ็มนัสรี มนิทราศักดิ์ กรรมการ

๑๑. แพทย์หญิงศิริพร รังสิเวค กรรมการ

๑๒. แพทย์หญิงภาวิณี เสรีประภากิจ กรรมการ

๑๓. นายแพทย์พัชระ บรรจงละเอียด กรรมการ

๑๔. แพทย์หญิงภาวนา อัศวพิทยานนท์ กรรมการ

Page 5: WFME - pattanihos.com

5

๑๕. นายแพทย์ธเนศ แก้วกระจ่าง กรรมการ

๑๖. นายแพทย์ศรวัสย์ ศิลาลาย กรรมการ

๑๗. นายแพทย์รุซตา สาและ กรรมการ

๑๘. นายแพทย์อัสมาน อาลี กรรมการ

๑๙. แพทย์หญิงฉวีวรรณ ศีลวัฒพันธ ์ กรรมการ

๒๐. นางสาวยารอดะห์ บาเหะ เลขานุการ

๒๑. นางสาวไซตง หะยีมะ ผู้ช่วยเลขานุการ

Page 6: WFME - pattanihos.com

6

โครงสร้างการบริหารกิจการและการจัดการฝึกอบรม

โครงสร้างด้านการฝึกอบรม โครงสร้างสายบังคับบัญชา

สายบงัคับบญัชา/สัง่การ สายประสานงาน

1.5 รายชื่อผู้บริหาร

ผู้อ านวยการโรงพยาบาลปัตตานี นายแพทย์สมบัติ สธนเสาวภาคย์

รองผู้อ านวยการฝ่ายการแพทย์ นายแพทย์อรุณ ประเสริฐสุข

รองผู้อ านวยการฝ่ายพยาบาล นางจินตา เกียรติโสภณ

หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรมสังคม นายแพทย์พรชัย ประเสริฐวชิรากุล

ก าหนดนโยบาย แพทยสภา

อฝส.

ราชวิทยาลัย FM

กระทรวงสาธารณสุข

ส านักงานปลัดฯ

ส านักงานเขตสุขภาพที่ 12

สบพช.

โรงพยาบาลปัตตานี

กลุ่มงานเวชกรรมสังคม

โรงพยาบาลยะรัง

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลนิกิ

รายงานผล รับรอง

ประเมินผล

ก ากับดแูล

ก าหนดนโยบาย

ก ากับดแูล

การประเมินผล

Page 7: WFME - pattanihos.com

7

1.6 จ านวนและคุณวุฒิของอาจารย์และบุคลากรกลุ่มงานเวชกรรมสังคม

กลุ่มบุคลากร จ านวน (คน) ข้อก าหนดด้านการศึกษา

ปัตตานี ยะรัง รวม

1. สายวิชาการ

1.1 อาจารย์แพทย์ สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว 4 2 6 วุฒิบัตร

สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว 2. สายวิชาชีพเฉพาะ 2.1 แพทย์พ่ีเลี้ยง (สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว) - -

2.2 แพทย์ประจ าบ้าน (สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว)

- -

2.3 เภสัชกร 2 6 ปริญญาตรีขึ้นไป 2.4 พยาบาลวิชาชีพ 18 87 ปริญญาตรีขึ้นไป 2.5 นักวิชาการสาธารณสุข 10 3 ปริญญาตรีขึ้นไป 2.6 แพทย์แผนไทย 1 ปริญญาตรีขึ้นไป 3. สายเชี่ยวชาญเฉพาะ 3.1 นักวิทยาศาสตร์ - 3.2 นักจัดการงานทั่วไป - 1 ปริญญาตรีขึ้นไป 3.3 นักวิชาการศึกษา *สังกัดศูนย์แพทยฯ - ปริญญาตรีขึ้นไป 3.4 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 4 2 ปริญญาตรีขึ้นไป 3.5 นักกายภาพบ าบัด 1 2 ปริญญาตรีขึ้นไป 3.6 เจ้าหน้าที่บริหารงาน - 4. สายทั่วไป

4.1 ผู้ปฏิบัติงานบริหาร - 6 อนุปริญญาตรีขึ้นไป 4.2 ผู้ปฏิบัติงานโสตทัศนศึกษา - 2 อนุปริญญาตรีขึ้นไป 4.3 ผู้ปฏิบัติงานเภสัชกรรม - 6 อนุปริญญาตรีขึ้นไป

5. สายสนับสนุน 5.1 เจ้าพนักงานธุรการ 1 4 อนุปริญญาตรีขึ้นไป 5.2 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล - 4 ประกาศนียบัตรวิชาชีพขึ้นไป

Page 8: WFME - pattanihos.com

8

5.3 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 2 ประกาศนียบัตรวิชาชีพขึ้นไป 5.4 ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 5.5 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 1 6. สายบริการพื้นฐาน 6.1 พนักงานบริการ (พนักงานประจ าตึก พนักงานท าความ

สะอาด)

2 มัธยมศึกษาชั้นปีที่3 ขึ้นไป

รวม 42

ปัจจัยท่ีส่งเสริมให้บุคลากรท างานเพื่อบรรลุเป้าหมายและพันธกิจขององค์กร คือ

1) มีอิสรภาพและความสุขในการแสดงความคิดเห็นและการพัฒนางาน

2) มีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ เพ่ือเพ่ิมความสามัคคีในองค์กร

3) มีภาระงานและค่าตอบแทนที่เหมาะสม

4) สนับสนุนโอกาสในการเพิ่มพูนความรู้และทักษะในวิชาชีพของบุคลากร

5) มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานและความดีความชอบที่โปร่งใสและเป็นธรรม

6) มีระบบการให้ค าปรึกษาจากบุคลากรที่มีประสบการณ์หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน

1.7 จ านวนหลักสูตรและสาขาที่เปิดสอน

1.7.1 จ านวนหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขา 1 สาขา ได้แก่ สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว

1.8 สินทรัพย์ ด้านอาคารสถานที่ ด้านเทคโนโลยีและอุปกรณ์

รายการ รายละเอียด 1.อาคารสถานที่

โรงพยาบาลปัตตานี ประกอบด้วย 1) ห้องประชุม

ห้องประชุมราชาวดี 80 ที่นั่ง

Page 9: WFME - pattanihos.com

9

ห้องประชุมไทรงาม 200 ที่นั่ง

ห้องประชุมชลาลัย 20 ที่นั่ง

Page 10: WFME - pattanihos.com

10

ห้องประชุมสบันงา 20 ที่นั่ง

ห้องเรียนนักศึกษาแพทย์ 20 ที่นั่ง 2) ห้องสมุด จ านวน 1 ห้อง 3) ศูนย์สุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 4) อาคารผู้ป่วยใน 504 เตียง 5) อาคารผู้ป่วยนอก

Page 11: WFME - pattanihos.com

11

6) แฟลตที่พักแพทย์ 3 อาคาร โรงพยาบาลยะรัง ประกอบด้วย 1) อาคารบริการผู้ป่วย 4 อาคาร 2) อาคารแผนไทย โรงครัว ศูนย์คุณภาพ 3) แฟลตที่พัก 3 อาคาร

รายการ รายละเอียด 2. เทคโนโลยีและอุปกรณ์

สารสนเทศ 1) เป็นสถานทีจ่ัดการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ 2) มีสิ่งอ านวยความสะดวกอ่ืนๆ เช่น เปิดบริการพ้ืนที่ห้องอ่านหนังสือภายในห้อง

สมุด มีระบบ Wi-Fi ภายในศูนย์แพทยศาสตร์ เพ่ือให้เข้าถึงและสืบค้นข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ตลอด 24 ชั่วโมง

3) มีโครงการพัฒนาห้องสมุด คณะแพทยศาสตร์ เพ่ือจัดซื้อหนังสือและต าราที่ทันสมัย และครอบคลุมทุกสาขาวิชา รวมทั้ งฐานข้อมูล UpToDate และ ClinicalKey

4) มีห้องการเรียนการสอนทางไกล เพื่อเพ่ิมเติมสิ่งอ านวยความสะดวกให้สอด คล้องกับพัฒนาการทางการศึกษา

3. สิ่งอ านวยความสะดวกและความปลอดภัยทั่วไป

1) ระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชั่วโมง และกล้องวงจรปิดในพ้ืนที่ 2) มีรถตู้ประจ ากลุ่มงาน เพ่ือบริการรับ-ส่ง แพทย์ประจ าบ้านไปปฏิบัติงานที่หน่วยบริการปฐมภูมิใน รวมถึงการเข้าร่วมโครงการและกิจกรรมต่างๆ 3) ใกล้สนามกีฬากลางแจ้ง และสวนสาธารณะ

4. สถานบริการปฐมภูมิในเครือข่าย

1) ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ในเขตเมือง 1. ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง อาเนาะรู 2. ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง สะบารัง (ปากน้ า) 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบานา 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลตันหยงลูโละ 5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองมานิง 6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกะมิยอ 7. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบาราโหม 8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลปะกาฮะรัง 9. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบานา 10. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลตะลุโบะ

Page 12: WFME - pattanihos.com

12

11. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลรูสะมิแล 12. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบาราเฮาะ 13. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลปูยุด 14. สถานพยาบาล เรือนจ ากลางปัตตานี

2) โรงพยาบาลยะรัง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ในอ. ยะรัง 1. โรงพยาบาลยะรัง 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลยะรัง 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลสะดาวา 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลประจัน 5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านบือแนปีแน 6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลสะนอ 7. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลระแว้ง 8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลปิตุมุดี 9. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลวัด 10. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกระโด 11. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองใหม่ 12. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเมาะมาวี 13. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านสะตา 14. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลกอล า 15. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเขาตูม 16. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านจาเราะบองอ

ประโยชน์ที่มีต่อการด าเนินงานตามพันธกิจคือ

1) ได้ฝึกปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยทั้งในสถานบริการ บ้านและชุมชน 2) ได้ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จ าลอง 3) การสอนแบบกลุ่มย่อยและการบรรยายในชั้นเรียน 4) สนับสนุนการสืบค้น, การศึกษาด้วยตนเอง และการท าวิจัย 5) คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

Page 13: WFME - pattanihos.com

13

1.9 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

● ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก 1) นักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจ าบ้าน 2) อาจารย์ผู้สอน 3) แพทย์พ่ีเลี้ยง 4) ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี 5) ผู้ใช้บัณฑิต ได้แก่ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ ที่เป็นต้นสังกัด

หรือสถาบันปฏิบัติงานเพ่ือสอบวุฒิบัตรฯ 6) ผู้ป่วย ความต้องการหลักคือ

1) แพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และเกณฑ์แพทยสภาและมีคุณธรรมจริยธรรม

2) สามารถปฏิบัติงานเข้ากับระบบสุขภาพ มิติทางสังคมและพหุวัฒนธรรม เพ่ือพัฒนาการบริการทางเวชศาสตร์ครอบครัวในท้องถิ่นภาคใต้

3) แพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ที่มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของระบบสุขภาพในแต่ละพ้ืนที่

● ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอ่ืน ๆ 1) ส านักงานเขตสุขภาพที่ 12 2) ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี 3) สถานบริการปฐมภูมิเครือข่ายโรงพยาบาลปัตตานี 4) อาจารย์พ่ีเลี้ยงประจ ารายวิชาสาขารอง และสาขาหลัก 5) ญาติผู้ป่วย

ความต้องการหลักคือ 1) เพ่ิมจ านวนแพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ที่มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับความ

ต้องการของระบบสุขภาพในแต่ละพ้ืนที่ 2) มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวที่สามารถให้บริการด่านหน้าและสามารถคัดกรองส่งต่อแพทย์

เฉพาะทางสาขาอ่ืนได้ถูกต้องและเหมาะสม 3) คุณภาพการดูแลรักษาท่ีมีมาตรฐานสูง มีความปลอดภัย การบริการที่มีคุณภาพ รวดเร็ว

Page 14: WFME - pattanihos.com

14

1.10 ระบบการประกันคุณภาพ/การรับรองคุณภาพอื่นๆ ของสถาบันและสถานฝึกปฏิบัติ

ทางคลินิกหลัก

1.10.1 การประกันคุณภาพทางด้านบริการ

โรงพยาบาลปัตตานี ได้รับการรับรองคุณภาพ (HA) ขั้น 3 เมื่อ 10 กรกฎาคม 2561

1.10.2 การประกันคุณภาพทางด้านการศึกษา

มีการร่างหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานสากลส าหรับแพทยศาสตรศึกษา (WFME)

1.11 ปัญหาที่พบบ่อยในผู้ป่วยนอก / ผู้ป่วยใน

Page 15: WFME - pattanihos.com

15

Page 16: WFME - pattanihos.com

16

Page 17: WFME - pattanihos.com

17

ส่วนที ่2