wi13 การดูดเสมหะ thai

8
เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทานั้น 1 ประเภทเอกสาร : (Document Type) Work Instruction สถานะเอกสาร : (Document Status) เอกสารบังคับใช แผนก : (Business Unit) NSO วันที่สรางเอกสาร : (Created Date) 01/06/2010 หมายเลขเอกสาร : (Document No.) WI-NSO-013 วันที่บังคับใช : (Issued Date) 01/07/2010 ฉบับที: (Revision) 1 เรื่อง : (Subject) การดูดเสมหะ รายละเอียด : 1. วัตถุประสงค ปองกันการเกิดเสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจ ชวยใหผูปวยมีการระบายอากาศที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1. ปองกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจจากการดูดเสมหะ 2. ผูปวยปลอดภัยจากภาวะออกซิเจนต่ํา (Hypoxemia) ภายหลังการดูดเสมหะ 3. ไมเกิดอันตรายตอเยื่อบุทางเดินหายใจ 4. 2. นิยาม การดูดเสมหะ หมายถึง การใชสายดูดเสมหะที่สะอาด ปราศจากเชื้อ ผานเขาทางปาก จมูก หรือทอทางเดินหายใจ เพื่อนําเสมหะออกจากทางเดินหายใจ การดูดเสมหะมีความจําเปนสําหรับผูปวยทีมีเสมหะเหนียว กลไกการไอไมเปนปกติ หรือ ไมสามารถขับเสมหะออกมาได ซึ่งหลักของการดูดเสมหะที่สําคัญ คือ การดูดเอาเสมหะที่คั่งคางในทอทางเดินหายใจ ออกใหไดมากที่สุดแตเกิดอันตรายตอผูปวยนอยที่สุด 3. วัตถุดิบ/ วัสดุอุปกรณ/ เครื่องมือที่ใช เครื่องดูดเสมหะ (Suction regulator) เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนทีหรือเครื่องดูดเสมหะชนิดติดผนังประจําหองผูปวย 1. (BPH) สายดูดเสมหะสะอาดปราศจากเชื้อ (Sterile catheter) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/3 ของทอทางเดินหายใจ ซึ่งสายดูดเสมหะ 2. อาจเปนชนิดระบบเปด (Open Suction) หรือ ระบบปด (Closed Suction)โดยเลือกใชเบอรใหเหมาะสมตามวัยดังนีแรกเกิด-18 เดือน ใชเบอร 6-8 French 18-24 เดือน ใชเบอร 8-10 French

Upload: api-pang

Post on 16-Aug-2015

75 views

Category:

Healthcare


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

1

ประเภทเอกสาร :(Document Type)

Work Instruction สถานะเอกสาร :(Document Status)

เอกสารบังคับใช

แผนก :(Business Unit)

NSO วันที่สรางเอกสาร :(Created Date)

01/06/2010

หมายเลขเอกสาร :(Document No.)

WI-NSO-013 วันที่บังคับใช :(Issued Date)

01/07/2010

ฉบับที่ :(Revision)

1

เรื่อง :(Subject)

การดูดเสมหะ

รายละเ อียด :

1. วัตถุประสงคปองกันการเกิดเสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจ ชวยใหผูปวยมีการระบายอากาศที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น1.ปองกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจจากการดูดเสมหะ2.ผูปวยปลอดภัยจากภาวะออกซิเจนต่ํา (Hypoxemia) ภายหลังการดูดเสมหะ3.ไมเกิดอันตรายตอเยื่อบุทางเดินหายใจ4.

2. นิยามการดูดเสมหะ หมายถึง การใชสายดูดเสมหะที่สะอาด ปราศจากเชื้อ ผานเขาทางปาก จมูก หรือทอทางเดินหายใจ

เพื่อนําเสมหะออกจากทางเดินหายใจ การดูดเสมหะมีความจําเปนสําหรับผูปวยทีมีเสมหะเหนียว กลไกการไอไมเปนปกติ หรือ ไมสามารถขับเสมหะออกมาได ซึ่งหลักของการดูดเสมหะที่สําคัญ คือ การดูดเอาเสมหะที่คั่งคางในทอทางเดินหายใจออกใหไดมากที่สุดแตเกิดอันตรายตอผูปวยนอยที่สุด

3. วัตถุดิบ/ วัสดุอุปกรณ/ เครื่องมือท่ีใชเครื่องดูดเสมหะ (Suction regulator) เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่ หรือเครื่องดูดเสมหะชนิดติดผนังประจําหองผูปวย 1.(BPH)สายดูดเสมหะสะอาดปราศจากเชื้อ (Sterile catheter) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/3 ของทอทางเดินหายใจ ซึ่งสายดูดเสมหะ2.อาจเปนชนิดระบบเปด (Open Suction) หรือ ระบบปด (Closed Suction)โดยเลือกใชเบอรใหเหมาะสมตามวัยดังนี้

แรกเกิด-18 เดือน ใชเบอร 6-8 French18-24 เดือน ใชเบอร 8-10 French

Page 2: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

2

2-4 ป ใชเบอร 10-12 French7-10 ป ใชเบอร 12-14 Frenchผูใหญ ใชเบอร 12-16 French

3. ถุงมือสะอาดปราศจากเชื้อ (Glove Sterile) 1 คู และ PPE 1 ชุดตามความเหมาะสม( Surgical Mask or N-95 Mask , Protective eyewear )

4. สายตอกับขวดรองรับเสมหะ (Connecting tube)5. ขวดรองรับเสมหะ (Receptal)6. Finger tip7. ไมกดลิ้น หรือ Oral airway หรือ Oropharyngeal airway8. หูฟง (Stethoscope)

กรณีดูดเสมหะในผูปวยที่ใสทอชวยหายใจ (Tracheostomy tube & Endotracheal tube) ตองมีอุปกรณเพิ่มดังนี้9. Alcohol sheet10. Ambu bag & Reservoir bag & Oxygen tubeหรือ Self inflating bag with reservoir and oxygen supply11. เครื่องปรับอัตราการไหลของ ออกซิเจน (Flow meter)12. อุปกรณสําหรับ Mouth care หลังดูดเสมหะ ไดแก แกวน้ํา/ น้ําดื่ม/ Syringe 10 ml/ ผารองกันเปอน/ ชามรูปไต13. Closed suction ในกรณีที่ใชเครื่องชวยหายใจ

4. ขอบเขตใชเปนแนวปฏิบัติทางการพยาบาลสําหรับการดูดเสมหะในโรงพยาบาลเครือ BDMS

5. ผูรับผิดชอบพยาบาลและบุคลากรทางการแพทยผูผานการอบรมการดูดเสมหะที่เกี่ยวของกับการดูแลผูปวยที่ตอง

ไดรับการดูดเสมหะ

6. ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติและรายละเอียด1. ประเมินอาการและอาการแสดงที่บงบอกวาผูปวยควรไดรับการดูดเสมหะ ขอบงช้ีในการดูดเสมหะไดแก (ดูจาก Clinical indicators

for suctioning page. 6 ใน File Best Practice การดูดเสมหะในผูปวยผูใหญที่ใสทอชวยหายใจ) หายใจเสียงดังครืดคราดชีพจรเร็วขึ้น หรือลดลงหายใจเร็วขึ้นหรือลดลงและอาการกระสับกระสายของผูปวยเสียงหายใจออกยาวขึ้นฟงเสียงปอด ไดยินเสียง Crepitation หรือ Rhonchi

2. แจงผูปวยหรือญาติ ถึงความจําเปนในการดูดเสมหะ 3. เตรียมอุปกรณตางๆ ใหพรอม4. ลางมือใหสะอาดกอนดูดเสมหะ5. ขั้นตอนการดูดเสมหะ

Page 3: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

3

กรณีดูดเสมหะทางปาก1. จัดทานอนตะแคงศีรษะต่ําเล็กนอย กรณีไมมีขอหาม2. ใช Oropharyngeal airway ถาจําเปน เพื่อปองกันการกัด Tube และชวยใหการดูดเสมหะสะดวกขึ้น หรือ กรณีไมใหความรวมมือ

และใหออกซิเจนเพื่อใหระดับ spO2 >95% กอนดูดเสมหะ3. เปดเครื่องดูดเสมหะ โดยใชแรงดันที่เหมาะสม ผูใหญ 100-120 mmHg เด็ก 95-110 mmHg ทารก 50-95 mmHg4. ใสถุงมือ หยิบสายดูดเสมหะ ใสเขาไปอยางนุมนวล ดูดเสมหะในปากจนถึงคอหอย การดูดแตละครั้งไมควรเกิน 10-15 วินาที

กรณีดูดเสมหะทางจมูกจนถึงหลอดลมการดูดเสมหะในจมูก ทําในกรณีผูปวยไมมีประวัติการอุดตันภายในจมูก เชน ต่ิงเนื้องอก หรือผนังจมูกผิดปกติ

หรือการบาดเจ็บภายในจมูก ถามีใหเลี่ยงไปดูดเสมหะขางที่ไมเปน1. ฟงตําแหนงเสียงเสมหะ ซึ่งประเมิน Secretion Sound โดยใช Stethoscope2. จัดทานอนศีรษะสูง ใหหมอนรองใตไหล 3. ใหออกซิเจนเพื่อใหระดับ SpO2 >95% กอนดูดเสมหะ โดยให 100% Oxygen Mask with bag และใหผูปวยหายลึก ๆ ชา ๆ

หรือใช Self inflating bag with reservoir ที่ตอกับ Oxygen เปด Flow 10 lit/min ชวยหายใจใหผูปวยกอนการดูดเสมหะ เปนเวลาประมาณ 2-3 นาที

4. หลอลื่นสายดูดเสมหะดวย Xylocain jelly5. ใสถุงมือ หยิบสายดูดเสมหะ ใสเขาไปอยางนุมนวล ดูดเสมหะในจมูกจนถึงหลอดลม (การดูดแตละครั้งไมควรเกิน 10 วินาที)6. กรณีที่ติดไมสามารถใสสายดูดเสมหะเขาไปไดใหหมุนและขยับสายเล็กนอยแลวคอยๆ ดันเขาไป แตถายังไม

สามารถใสผานเขาไปได ใหเปลี่ยนไปดูดอีกขางหนึ่ง7. หยุดพัก ใหออกซิเจนนาน 3 นาที กอนดูดเสมหะครั้งตอไป ซึ่งหลังการดูดเสมหะแตละครั้ง ควรใหผูปวยหายใจ 3-4 ครั้ง

และหรือให Oxygen 100% Oxygen Mask with bag และใหผูปวยหายใจลึกๆชาๆ หรือใช Self inflating bag with reservoir ที่ตอกับ Oxygen เปด Flow 10 lit/min ชวยหายใจใหผูปวย หรือผานเครื่องชวยหายใจ ประมาณ 2-3 นาทีตามความพอเหมาะ แกผูปวย

8. ฟงปอดหลังจากดูดเสมหะอีกครั้ง กรณีไมมีขอหาม ควรมีการเคาะปอด รวมดวย เพื่อชวยใหเสมหะหลุดออกงายขึ้น9. จัดใหผูปวยนอนในทาสุขสบาย

กรณีดูดเสมหะทางทอหลอดลม (Endotracheal tube, Tracheostomy tube) ตองมีเจาหนาที่ 2 คนในการชวยดูดเสมหะ

1. ฟงตําแหนงเสียงเสมหะ2. กอนการดูดเสมหะในทอชวยหายใจ ใหดูดในปากและคอ (Oropharynx) เพื่อปองกันเสมหะเหนือ Cuff ไหลลงไป ทางเดินหายใจสวนลาง ซึ่งทําใหเกิดการติดเชื้อได ควรเปลี่ยนสายดูดเสมหะ รวมทั้ง Mouth care ดวยทุกครั้งโดยใชน้ําสะอาด หรือกรณีมีกลิ่นปากใหใชน้ํายากําจัดกลิ่นปากรวมดวย3. ใหออกซิเจน 100% นาน 2 นาที กอนดูดเสมหะ4. ปลดทอที่ตอออกซิเจน/ เครื่องชวยหายใจ ใช Alcohol sheet เช็ดรอบๆ ทอ

Page 4: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

4

5. ใสถุงมือ ปราศจากเชื้อหยิบสายดูดเสมหะ ใสเขาไปอยางนุมนวล (Tracheostomy tube ความลึก 4-6 นิ้ว) ดูดเสมหะ โดยใชสายดูดที่มี ขนาด ไมเกิน 1/3 ของทอ หลอดลม (การดูดแตละครั้งไมควรเกิน 10 วินาที)

6. กรณีไมมีขอหามถาตองการดูดเสมหะจากหลอดลมซาย ใหหันศีรษะไปทางขวาถาตองการดูดเสมหะจากหลอดลมขวา ใหหันศีรษะไปทางซาย

7. ขณะใสสายตองปดแรงดัน เมื่อถึงตําแหนงที่ตองการ จึงเปดแรงดันทํางาน และเมื่อดึงออกใหหมุนสายไปรอบๆ แลวคอยๆ ดึงขึ้น

8. หลังดูดเสมหะ แตละครั้งใหออกซิเจน 100% นาน 2 นาที (เปด Flow 10 L/m) โดยใช Ambu bag & Reservoir bag กอนดูดเสมหะรอบถัดไป โดยใช Alcohol sheet เช็ดรอบๆ ทอกอนดูดเสมหะทุกครั้ง9. เมื่อดูดเสมหะเสร็จแลวใช Alcohol sheet เช็ดรอบๆ ทอกอนตอกับออกซิเจน หรือเครื่องชวยหายใจ แลวใหออกซิเจน 100 เปอรเซ็นตอไปอีก 2 นาที

10. จุมสายดูดเสมหะเพื่อลางสาย ในชามรูปไตที่ใสน้ําสะอาด ทิ้งสายดูดและอุปกรณที่เปอนสิ่งคัดหลั่ง ลงในถังขยะติดเชื้อ11. กรณีผูปวยใสทอชวยหายใจ และใชเครื่องชวยหายใจอยู ใหใช Closed suction (เพื่อลด Cross infection)

โดยเช็ดปลายขอตอของทอชวยหายใจกอนตอปลายสายอีกขางหนึ่งของ Closed suction เขากับสายตอของชุด เครื่องชวยหายใจ เวลาดูดเสมหะใหใช Alcohol sheet เช็ดปลายสาย Closed suction และสายที่ตอกับเครื่องดูดเสมหะ กอนตอเขาดวยกันเปดแรงดัน จากนั้นใสสายดูดเสมหะที่ถูกหอหุมดวยถุง เมื่อถึงตําแหนงใหกด Control valve เพื่อดูดเสมหะ แลวคอย ๆ ดึงขึ้นมาจากทอชวยหายใจ

12. กอนดูดเสมหะใหออกซิเจน 100% นาน 2 นาทีจากเครื่องชวยหายใจ หลังดูดเสมหะ ให Manual breath โดยไมตองปลดทอชวยหายใจกับชุดเครื่องชวยหายใจ

13. ใช NSS ตอกับ Port ของ Closed suction เพื่อชวยในการละลายเสมหะ (ใชในกรณีจําเปนเทานั้น) และใชในการลางสายหลังการดูดเสมหะ โดยปลอย NSS และกด Control valve ตลอดเวลาที่ปลอย NSS จนสายสะอาด (ควรเปลี่ยนสายดูด เสมหะทุก 3 วัน โดยใชสติกเกอรสายรุงเปนตัวบงช้ีการเปลี่ยน) การประเมินและเฝาระวังผูปวยขณะ และหลัง ดูดเสมหะ พยาบาลผูปฏิบัติตองเฝาระวังอาการและอาการแสดงของผูปวยตอลดระยะเวลาที่ปฏิบัติกิจกรรม รวมถึงระยะหลังการปฏิบัติกิจกรรม และบันทึกในแบบบันทึกทางการพยาบาลโดยมีการประเมินดังนี้

ระดับความรูสึกตัว1.คาความอิ่มตัวของ Oxygen ในเลือดแดง2.

2.1 การเปลี่ยนแปลงสีผิว 2.2 การวัด Oxygen saturation

3. ลักษณะและอัตราการหายใจ4. ระบบการไหลเวียนเลือด

4.1 อัตราการเตนของหัวใจ จังหวะและลักษณะคลื่นไฟฟาหัวใจ4.2 ระดับความดันโลหิต

5. ระดับแรงดันในทางเดินหายใจหรือระดับของเครื่องชวยหายใจ6. ปริมาตรอากาศในการหายใจเขาออกแตละครั้ง Tidal volume7. ลักษณะ ความเหนียว สี ปริมาณและกลิ่นของเสมหะ

Page 5: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

5

อาการและอาการแสดงของการดูดเสมหะอยางมีประสิทธิภาพการเหนื่อยหอบ หรือการหายใจลําบากลดลง1.Oxygen saturation เพิ่มขึ้น2.ไมพบเสียง Secretion ในระบบทางเดินหายใจ ไมพบ Cyanosis3.

การปฏิบัติในการดูดเสมหะในผูปวยที่ใหอาหารทางสายยางดูดเสมหะในทางเดินหายใจใหโลงกอนการใหอาหาร1.กรณีผูปวยมีอาการไอ สําลักและมีอาหารออกมาทางทอทางเดินหายใจ และ/หรือทางปาก จมูกหยุดใหอาหาร 2.จัดผูปวยตะแคงหนาไปดานใดดานหนึ่ง ใชเครื่องดูดเสมหะในทอทางเดินหายใจ และในชองปากออกใหหมดงดดูดเสมหะภายหลังการใหอาหาร 1-2 ช่ัวโมง ถาจําเปนควรปฏิบัติดวยความนุมนวลและรวดเร็ว

7. ขอควรระวัง/ขอแนะนํา/สังเกตเพิ่มเติม1. การดูดเสมหะตองทําดวยความระมัดระวัง อยาใชแรงดูดมากเกินไป เพราะอาจเกิดอันตรายตอเยื่อบุทางเดินหายใจ2. การดูดเสมหะครั้งแรกไมควรบีบ Ambu bag กอน เพราะจะไลเอาเสมหะในหลอดลมใหญ เขาไปในหลอดลมเล็ก ทําใหยากตอการดูดเสมหะและทําใหเกิดการอุดตันได3. เปลี่ยนสายดูดเสมหะใหมทุกครั้งเมื่อจะดูดครั้งตอไปหรือเมื่อตองการดูดในแตละตําแหนงเพื่อปองกัน

Cross contamination4. ขวดรองรับเสมหะ (Receptal) และสายตอกับขวดรองรับเสมหะ (Connecting tube) ควรเปลี่ยนทุก 48 ช่ัวโมง5. ทุกครั้งของการดูดเสมหะไมจําเปนตองใช NSS ในการชวยใหเสมหะหลุดออกมา เนื่องจากการหยอด NSS บอยครั้ง จะเปนการ เพิ่มโอกาสของการปนเปอนเช้ือไดมากขึ้น ถาจําเปน ใหใชการเพิ่มความชื้นในทางเดินหายใจแทน6. ไมควรดูดเสมหะหลังใหอาหารผูปวยทันที อาจทําใหเกิดการสูดสําลักได ควรรออยางนอย 2 ช่ัวโมงหลังใหอาหาร7. ภายหลังการดูดเสมหะ จะตองมีการติดตามสังเกตุและบันทึกสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลง

และชวยเหลือไดทันทวงทีVital signsการตอบสนองหรือภาวะแทรกซอนอื่นๆ เชน กระสับกระสาย/ คลื่นไสอาเจียน/ ชีพจรเตนชา/ การติดเชื้อ/ เลือดออกจํานวน/ สี/ ความเหนียว ของเสมหะ

8. Ambu bag & Reservoir bag & Oxygen tube ควรไดรับการเปลี่ยนทุก 7 วัน หรือ กอนเวลาเมื่อพบวาสกปรก ใหเปลี่ยนทันที

9. หลังการใชงาน Ambu bag ควรมีการเช็ดรอบๆ Ambu bag ดวย Alcohol sheet อยางนอยเวรละครั้ง และหาจุก ปดหัว Ambu bag หรือเก็บในถุงของ Ambu bag10. ใหยึดหลักการ Aseptic technique ในการดูดเสมหะทุกครั้ง

ขอควรระวัง/ขอแนะนํา/สังเกตเพิ่มเติมปญหาและขอควรระวังในการดูดเสมหะ1.บาดเจ็บตอหลอดลม เนื้อเยื่อบุทางเดินหายใจถูกทําลาย (Mucous membrane damage)2.ออกซิเจนในกระแสเลือดลดลง (Hypoxemia) 3.

Page 6: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

6

อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น 4.การเตนของหัวใจผิดจังหวะ5.ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลง6.หลอดลม หรือกลองเสียงหดเกร็งและถุงลมปอดแฟบ (Broncho/laryngospasm and atelectasis)7.ความดันภายในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)8.ทําใหผูปวยเกิดความเจ็บปวดและวิตกกังวล9.การติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินหายใจ(BPH.) 10.

ขอแนะนํา Evidence-based Practiceสถาบันโจแอนนาบริกส (Joanna Briggs Institution, 2000) ไดรวบรวมขอเสนอแนะในการปฏิบัติการดูดเสมหะ

ในทอทางเดินหายใจที่เปนการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practice) และระดับความนาเชื่อถือดังนี้ทําการดูดเสมหะเมื่อมีขอบงช้ี* เทานั้น ตองมีการประเมินสภาพผูปวยกอนการดูดเสมหะทุกครั้ง ** 1.และสังเกตอยางใกลชิดทั้งในขณะดูดเสมหะ และภายหลังการดูดเสมหะและควรกระตุนใหผูปวยไอเอาเสมหะ ออกเองถาฝูปวยสามารถปฏิบัติได (ความนาเชื่อถือระดับ4)การดูดเสมหะควรมีทักษะและความนุมนวล (ความนาเชื่อถือระดับ 3)2.ไมควรหยอดน้ําเกลือนอรมัล (0.9% โซเดียมคลอไรด) กอนการดูดเสมหะควรดูแลใหความชุมช้ืนอยางเพียงพอ 3.(ความนาเชื่อถือระดับ 3.1)ยึดเทคนิคปลอดเชื้อปราศจากเชื้อขณะดูดเสมหะ (ความนาเชื่อถือระดับ 4)4.ขนาดสายดูดเสมหะที่เหมาะสมควรมีเสนผาศูนยกลางภายนอกไมเกิน 1/2 ของเสนผาศูนยกลางของทอชวยหายใจ 5.เพื่อหลีกเลี่ยงความดันลบที่มากเกินไปในทางเดินหายใจและ เพื่อไมใหออกซิเจนในเลือดแดงลดลง (ความนาเชื่อถือระดับ 4)ระยะเวลาที่ใชในการดูดเสมหะไมควรเกิน 10-15 วินาที (ความนาเชื่อถือระดับ 4)6.ใหออกซิเจนที่มีความเขมขนสูง (Hyperoxygenation) กอนการดูดเสมหะเพื่อปองกันภาวะออกซิเจน 7.ในเลือดต่ําภายหลังการดูดเสมหะ (ความนาเชื่อถือระดับ 3.1)ใหออกซิเจนที่มีความเขมขนสูงรวมกับการเพิ่มปริมาตรปอด (Hyperinflation) สามารถลดความเสี่ยงภาวะออกซิเจน 8.ในเลือดต่ําได (ความนาเชื่อถือระดับ 3.1)ควรใหการระบายอากาศรวมกับออกซิเจนความเขมขนสูง (Hyperventilation/ Hyperoxgenation) กอนการดูดเสมหะ 9.โดยใชเครื่องชวยหายใจมากกวาใช ถุงชวยหายใจ (Ambu bag) เพื่อปองกันการเปลี่ยนแปลงในระบบไหลเวียน โลหิต (ความนาเชื่อถือระดับ 3.1)จํานวนครั้งในการดูดเสมหะไมควรเกิน 2 ครั้งตอ 1 รอบของการดูดเสมหะ (ความนาเชื่อถือระดับ 3.1)10.ตองมีการประเมินผูปวยเฉพาะรายกอนการดูดเสมหะ การเพิ่มการระบายอากาศของปอดในผูปวยที่มีความดัน 11.ในกะโหลกศีรษะสูง และผูปวยหลังผาตัดหัวใจและความนาเชื่อถือระดับ 2) หลอดเลือด รวมทั้งผูปวยที่มีภาวะ การไหลเวียนโลหิตไมคงที่ ตองมีการประเมินอยางตอเนื่องควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทําใหความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น หรือความดันเลือดแดงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 12.ภายหลังการดูดเสมหะอยางนอย 10 นาที (ความนาเชื่อถือระดับ 3.1)

Page 7: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

7

การใหออกซิเจน (Oxygenation)การเพิ่มความเขมขนของออกซิเจน (Hyperoxygenation) หมายถึงการเพิ่มระดับเปอรเซ็นตของออกซิเจน (FiO2)

การเพิ่มปริมาตรปอด (Hyperinflation) หมายถึง การเพิ่มการขยายตัวของปอด โดยการเพิ่มปริมาตรของกาซการเพิ่มการระบายอากาศ (Hyperventilation) หมายถึง วิธีการเพิ่มการระบายอากาศของถุงลมในหนึ่งนาทีการใหออกซิเจนกอน (Pre-oxygenation) หมายถึงการใหออกซิเจนความเขมขนเทาเดิมหรือสูงกวากอน การดูดเสมหะการใหออกซิเจนหลัง (Post-oxygenation) หมายถึง การใหออกซิเจนความเขมขนเทาเดิมหรือสูงกวาภายหลัง การดูดเสมหะ

** หมายเหตุ*** ขอบงชี้ในการดูดเสมหะ (Clinical indicators for suctioning) ไดแก หายใจเสียงดังครืดคราดเสียงหายใจออกยาวขึ้นสรุปขอมูลหลักฐานเชิงประจักษ (Summary of Evidence)

การดูดเสมหะทําใหหลอดลมไดรับบาดเจ็บ มีภาวะพรองออกซิเจน ความดันโลหิตสูงขึ้น หัวใจเตนผิดปกติ 1.ความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (ระดับ 3.3)การดูดเสมหะเปนกิจกรรมที่ทําใหผูปวยรูสึกเจ็บปวดและวิตกกังวล (ระดับ 4)2.ไมมีหลักฐานยืนยันจากวรรณกรรมวาการหยอดน้ําเกลือทําใหเสมหะละลาย (ระดับ 3.1)3.แบคทีเรียหลายชนิดมีโอกาสเดินทางเขาสูทางเดินหายใจสวนลางในขณะที่มีการดูดเสมหะซ้ําๆ 4.โดยเฉพาะถามีการหยอดน้ําเกลือกอนการดูดเสมหะขนาดของสายดูดเสมหะมีความสัมพันธตอความดันลมในปอด (ระดับ 4) และเมื่อใชสายยางที่ขนาดใหญ 5.ทําใหระดับความดันออกซิเจนในเลือดแดงลดลง (ระดับ 3.2)ระยะเวลาของการดูดเสมหะที่นานขึ้น ทําใหระดับของความดันออกซิเจนในเลือดแดงลดลงเรื่อยๆ (ระดับ 3.2)6.การใหออกซิเจนความเขมขนสูงกอนดูดเสมหะ สามารถลดการเกิดการพรองออกซิเจนและการเพิ่มปริมาตรปอด 7.รวมกับการใหออกซิเจนความเขมขนสูง อาจจะชวยลดภาวะพรองออกซิเจนที่เกิดจากการดูดเสมหะได (ระดับ 3.1)ในผูปวยบาดเจ็บศีรษะ การดูดเสมหะมีผลทําใหคาเฉลี่ยความดันเลือดแดงเพิ่มขึ้น คาเฉลี่ยความดันกะโหลกศีรษะ 8.เพิ่มขึ้น และแรงดันเลือดในสมองเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการสะสมความดันเพิ่มขึ้นในแตละครั้งของการดูดเสมหะ (ระดับ 3.1)การเพิ่มปริมาตรปอดและการดูดเสมหะหลายๆ ครั้ง แตละรอบมีผลตอภาวะไหลเวียนโลหิตเปลี่ยนแปลง 9.เชน ความดันเลือด แดงเฉลี่ย ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที และอัตราการเตนของหัวใจ (ระดับ 2)

ระดับหลักฐานของความรู (Levels of Evidence) รายงานวิจัยถูกแบงเปนกลุมตามความนาเชื่อถือ ดังนี้ระดับ 1 ขอมูลไดจากการทบทวนงานวิจัยที่เปนวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุมตัวอยางและมีการควบคุมทั้งหมดระดับ 2 ขอมูลไดมาจากงานวิจัยที่เปนการวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุมตัวอยางและมีการควบคุมอยางนอย1 รายงานระดับ 3.1 ขอมูลไดมาจากงานวิจัยที่เปนการวิจัยเชิงทดลองที่มีการควบคุมแตไมไดสุมตัวอยางระดับ 3.2 ขอมูลไดจากงานวิจัยเชิงวิเคราะหแบบไปขางหนาหรือแบบยอนหลังที่มีการศึกษาจากหลายสถาบันหรือ หลายกลุม

Page 8: Wi13 การดูดเสมหะ thai

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

8

ระดับ 3.3 ขอมูลไดจากงานวิจัยที่มีการเก็บขอมูลระยะยาวทั้งที่มีและไมมีการจัดกระทํา รวมทั้งงานวิจัยเชิง ทดลองที่ไมมีการควบคุม

ระดับ 4 ขอมูลที่ไดจากการแสดงความคิดเห็นของผูมีอํานาจทางคลินิก การวิจัยเชิงพรรณนา หรือรายงาน หรือ การประชุมของผูเช่ียวชาญ

8. การเฝาติดตามและการวัดกระบวนการ/การบริการหนวยงานกําหนดวิธีการและผูรับผิดชอบในการการเฝาติดตามและการวัดกระบวนการ /

การบริการตามเวลาที่กําหนด อยางเหมาะสมและปฏิบัติการแกไข / ปองกันเมื่อผลการเฝาติดตามการวัดที่ไมเปนไปตามที่คาดหวัง

9. Flow Chart กระบวนการ- ไมมี

เอกสารอางอิง :

1. The Joanna Briggs Institution Australia . (2000). การดูดเสมหะในผูปวยผูใหญที่ใสทอชวยหายใจ แปลโดย รศ. ฉวีวรรณ ธงชัย [Electronic version]. Journal of Best Practice, 4 (4), 1-6. Retrieved October, 1, 2005, from http: // www.joannabriggs.edu.au. /pubs/best_practice.php.2. The Joanna Briggs Institution Australia . (2000). Tracheal suctioning of adults with artificial airway. [Electronic version]. Journal of Best Practice, 4 (4), 1-6. Retrieved October, 1, 2005, from http: // www.joannabriggs.edu.au. /pubs/best_practice.php. :ฟอ