wp05...

7
เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทานั้น 1 ประเภทเอกสาร : (Document Type) Work Procedure สถานะเอกสาร : (Document Status) เอกสารบังคับใช แผนก : (Business Unit) Infection Control วันที่สรางเอกสาร : (Created Date) 01/08/2011 หมายเลขเอกสาร : (Document No.) WP-IC-005 วันที่บังคับใช : (Issued Date) 01/09/2011 ฉบับที: (Revision) 2 เรื่อง : (Subject) การปองกันการติดเชื้อในกระแสเลือด จากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือด /Prevention Blood Stream Infection: BSI รายละเอียด : 1. วัตถุประสงค เพื่อใหการปฏิบัติการปองกันการติดเชื้อในกระแสเลือด จากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือดดําเนินการอยาง ถูกตอง 1. เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อลดและปองกันการติดเชื้อในผูปวยที่ไดรับสารน้ําเขาหลอดเลือด 2. เพื่อใหบุคลากรที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงมีความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมการติดเชื้อจากการใหสารน้ํา 3. อยางถูกตองและนําแนวทางการปฏิบัติที่กําหนดไวไปใชอยางมีประสิทธิภาพ 2. ขอบเขต แนวทางสําหรับปฏิบัติงานฉบับนี้ครอบคลุมแนวทางการปฏิบัติการปองกันการติดเชื้อจากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือด โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา 3. นิยาม คําศัพท หมายถึง คําอธิบาย 1. บุคลากร บุคลากรทางการแพทยทุกคนทุกระดับ รวมทั้งนักศึกษาที่ปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา 2. Exit site infection มีการติดเชื้อของผิวหนังบริเวณตําแหนงที่แทงสายสวน 3. Tunnel infection มีการติดเชื้อของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง (Cellulitis) ตามทางเดิน ของสายสวน 4. Cellulitis มีการอักเสบของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง

Upload: api-pang

Post on 10-Aug-2015

40 views

Category:

Healthcare


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Wp05 การป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

1

ประเภทเอกสาร :(Document Type)

Work Procedure สถานะเอกสาร :(Document Status)

เอกสารบังคับใช

แผนก :(Business Unit)

Infection Control วันที่สรางเอกสาร :(Created Date)

01/08/2011

หมายเลขเอกสาร :(Document No.)

WP-IC-005 วันที่บังคับใช :(Issued Date)

01/09/2011

ฉบับที่ :(Revision)

2

เรื่อง :(Subject)

การปองกันการติดเชื้อในกระแสเลือด จากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือด /Prevention Blood Stream Infection: BSI

รายละเ อียด :

1. วัตถุประสงคเพื่อใหการปฏิบัติการปองกันการติดเชื้อในกระแสเลือด จากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือดดําเนินการอยาง ถูกตอง 1.เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อลดและปองกันการติดเชื้อในผูปวยที่ไดรับสารน้ําเขาหลอดเลือด2.เพื่อใหบุคลากรที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงมีความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมการติดเชื้อจากการใหสารน้ํา 3.อยางถูกตองและนําแนวทางการปฏิบัติที่กําหนดไวไปใชอยางมีประสิทธิภาพ

2. ขอบเขตแนวทางสําหรับปฏิบัติงานฉบับนี้ครอบคลุมแนวทางการปฏิบัติการปองกันการติดเชื้อจากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือด โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

3. นิยามคําศัพท หมายถึง คําอธิบาย

1. บุคลากร ” บุคลากรทางการแพทยทุกคนทุกระดับ รวมทั้งนักศึกษาที่ปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

2. Exit site infection ” มีการติดเช้ือของผิวหนังบริเวณตําแหนงที่แทงสายสวน3. Tunnel infection ” มีการติดเช้ือของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง (Cellulitis) ตามทางเดิน

ของสายสวน4. Cellulitis ” มีการอักเสบของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง

Page 2: Wp05 การป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

2

5. Pocket infection ” มีหนองที่บริเวณตําแหนงที่มีกระเปาะสายสวนหลอดเลือดดําสําหรับ ฉีดยาฝงอยู

6. Catheter colonization ” การพบเชื้อบนสายสวนโดยการเพาะเชื้อโดยวิธี Quantitative แลว ไดเช้ือ > 10 นิคม (CFC) หรือโดยวิธี Semi quantitative แลวไดเช้ือ > 15 นิคม (CFU) โดยที่ผูปวยไมมีอาการและอาการแสดง

7. Catheter Related Blood Stream Infection (CRBSI)

” การติดเชื้อในกระแสโลหิต เปนการติดเชื้อที่รุนแรง เกิดขึ้นขณะ ผูปวยไดรับการคาสายสวนเขาหลอดเลือด โดยมี ขอมูลสนับสนุน คือ การเพาะเชื้อจากเลือดจากหลอดเลือดสวนปลาย (Peripheral vein) จากสายสวนหลอดเลือด และ จาก Tip catheter โดยที่ผูปวยมีอาการไขหรืออาการทั่วไปแยลง โดยไมพบตําแหนงหรืออวัยวะอื่นที่ติดเชื้อ แตเมื่อสายสวนหลอดเลือดถูกดึงออกแลวไขลงใหถือวามีการติดเชื้อ ในกระแสเลือดที่สัมพันธกับการใสสายสวนหลอดเลือด

4. หนาที่คณะกรรมการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ทําหนาที่กําหนดแนวนโยบาย วางแผนการดําเนินการและกํากับดูแล 1.การจัดการปองกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลจากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือดใหเปนไปตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดไวพยาบาลควบคุมโรคติดเชื้อ ทําหนาที่วางแผนการดําเนินการและกํากับดูแลการจัดการปองกันการติดเชื้อใน 2.โรงพยาบาลจากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือด หัวหนาแผนก ทําหนาที่ ควบคุมกํากับดูแลใหหนวยงาน และเจาหนาที่ในหนวยงานปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติ 3.การปองกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลจากการใหสารน้ําเขาหลอดเลือด เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ทําหนาที่ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการปองกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลจากการให 4.สารน้ําเขาหลอดเลือด

5. ขั้นตอนการทํางานการเตรียมความพรอม ดานบุคลากร : ผูใหสารน้ํา ควรเปนผูที่ไดรับการอบรมและมีความชํานาญ 1.การลางมือ (Hand washing) ตาม Patient Safety Goal : 5 การทําความสะอาดมือ (S/P-02.1-BPH-026) 2.โดยบุคลากรตองลางมือวิธี Hygienic hand washing กอนและหลังทําหัตถการ (ลางมือกอนและหลังแทงน้ําเกลือ หรือใสสายสวนหลอดเลือด หรือ สัมผัส หรือ เปลี่ยนน้ําเกลือ, สายสวน หรือทําแผลบริเวณที่สอดใสสายสวน หลอดเลือด) การเตรียมบริเวณที่ใหสารละลาย (Catheter Site Preparation) 3.

Peripheral line ใชน้ํายาทําลายเชื้อ (Antimicrobial) ในการเช็ดผิวหนังบริเวณที่จะแทงเข็ม ไดแก 2%Tincture of iodine, 10% Providone iodine (Betadine solution), 70% Alcohol และ 2% Chlorhexidine in 70% Alcohol ตองรอใหน้ํายาแหง หรืออยางนอย 2 นาที Central line ใชน้ํายาทําลายเชื้อ (Antimicrobial) ในการเช็ดผิวหนังบริเวณที่จะแทงเข็ม ไดแก 2% Chlorhexidine in 70% Alcohol

ขั้นการตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ และการปฏิบัติกอนใหสารละลาย มีแนวปฏิบัติ ดังนี้ 4.

Page 3: Wp05 การป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

3

ตรวจสอบวัสดุ อุปกรณปราศจากเชื้อทุกช้ินใหคงซึ่งความปราศจากเชื้อ หากไมแนใจ ควรงดใชตรวจขวดหรือภาชนะบรรจุสารละลาย เพื่อดูสิ่งแปลกปลอมและจุดบกพรอง เชน รอย แตก ถามีควรงดใชติดฉลากระบุช่ือผูปวย ยาที่เติม อัตราหยด เวลาเริ่มและเวลาหมดทุกขวดลางมือใหสะอาดกอนและหลังดวยสบูผสมยาฆาเชื้อ หรือทําความสะอาดมือโดยใช Alcohol hand rubsระบุวันที่เปลี่ยนชุดใหสารละลายไวที่สาย (กําหนดเปลี่ยนภายใน 72 ช่ัวโมง) โดยติดสติกเกอรสีกําหนดวันเปลี่ยน สวมถุงมือทุกครั้งที่ทํา I.V therapy โดยสวมถุงมือสะอาดในการแทงเข็มเขา Peripheral vessels เมื่อเตรียมสารน้ําแลวใหใชทันที เพื่อลดโอกาสที่เช้ือโรคจะปนเปอนเขาสารน้ํา ไมควรเตรียมทิ้งไวนาน เพราะเสี่ยงตอการปนเปอนเชื้อโรค จะทําใหเกิดอันตรายตอผูปวย

5. เทคนิคการปลอดเชื้อ (Aseptic technique) ขณะใหน้ําเกลือ, ใสสายสวนหลอดเลือด, ในระหวางการดูแลผูปวยที่ใหน้ําเกลือหรือคาสายสวน ใหยึดหลัก เทคนิคปลอดเชื้ออยางเครงครัด เมื่อใสสายสวนทาง Arterial และ Central catheter แพทยผูแทงสายสวนตองสวมอุปกรณปองกันรางกาย (Personal Protective Equipment) ดังนี้-เสื้อคลุมกันน้ํา Sterile, หมวกคลุมผม, ผาปดปาก-จมูก, ถุงมือ Sterile และแวนปองกันตา

6. การเลือกตําแหนงการแทงเข็ม กรณีใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย ควรเลือกหลอดเลือดหลังมือหรือแขนสวนลางกรณีใหสารละลาย หรือถาจะสอดสายสวนเขาหลอดเลือดสวนกลาง ควรเลือกตําแหนงที่มีความเสี่ยง จากนอยไปมากคือ Subclavian < Jugular < Femoral และควรหลีกเลี่ยงบริเวณ ผิวหนังที่มีพยาธิสภาพ เชน มีการอักเสบถูกไฟไหม น้ํารอนลวก ฯลฯ

7. การเลือกเข็มและสายสวน ควรเลือกใชเข็มพลาสติกที่ทําดวย Teflon หลีกเลี่ยงการใชเข็มเหล็กเพื่อปองกันการติดเชื้อ และหลอดเลือดดําอักเสบ โดยเฉพาะในผูปวยที่เสี่ยงตอการติดเชื้อ

8. ขั้นตอนการดูแลและเฝาระวังระหวางการใหสารละลาย (Routine care and maintenance) มีแนวปฏิบัติ ดังนี้

ชนิดของสายสวน การปฏิบัติ1. Peripheral venous

catheter (ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา)

1. ควรเลือกหลอดเลือดดําหลังมือหรือแขวนสวนลาง สําหรับเด็กเล็ก ใหเลือก หลอดเลือดดําบริเวณหนังศีรษะ มือ และเทา

2. แทงเข็มเขาหลอดเลือดดํา โดยใชวิธี Aseptic technique3. ใชน้ํายา 70% Alcohol ในการเช็ดเตรียมผิวหนังกอนแทงเข็ม4. เปลี่ยนตําแหนงที่แทงเข็มไมเกิน 96 ช่ัวโมง โดยติดสติกเกอรสีกําหนดวันบน ตําแหนงที่แทงเข็ม ยกเวน กรณีผูปวยเด็กไมมีขอกําหนดในการเปลี่ยนจนกวา จะมีภาวะแทรกซอน หรือสิ้นสุดการรักษา

5. เปลี่ยนตําแหนงและเข็มใหมทันทีในกรณีที่ผูปวยมีอาการหรืออาการแสดง ของการอักเสบตําแหนงที่แทงเข็ม

6. ระบบการใหสารน้ําจะตองเปนระบบปดตลอด หามเก็บตัวอยางเลือดทางสาย ใหสารน้ําไปตรวจวิเคราะห

7. หากพบมีเลือดอุดตันบริเวณขอตอหรือตําแหนงแทงเข็ม หลีกเลี่ยงการดัน

Page 4: Wp05 การป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

4

หรือ ลางทอใหสารน้ํา ใหเปลี่ยนตําแหนงใหมทันที2. Central venous catheter รวมถึง Peripherally Inserted Central Cathetess (PICC) และ Pulmonary artery catheter

1. กรณีใหสารละลาย หรือถาจะสอดสายสวนเขาหลอดเลือด ควรเลือกแทงใน ตําแหนงเรียงลําดับโอกาสเสี่ยงการมีเช้ือ Colonization นอยไปสูมากกวา ดังตอไปนี้ Subclavian < Jugular < Femoral ควรหลีกเลี่ยงบริเวณผิวหนัง ที่มีพยาธิสภาพ เชน มีการอับเสบ ถูกไฟไหมน้ํารอนลวก ฯลฯ

2. ควรเลือกใชสายสวนเขาหลอดเลือดดําสวนกลางชนิด Single-lumen ยกเวน ถามีความจําเปนจะตองใช Multiple ports โดยอุปกรณแทงสายสวนหลอดเลือดดํา มี Swan gang, Triple lumen, Double lumen, PICC, IABP

3. แพทยผูใสสายสวนตองสวมอุปกรณปองกันรางกาย (PPE) ดังนี้ สวมถุงมือ Sterile เสื้อคลุมกันน้ํา Sterile, ผาปดปาก-จมูก, หมวกคลุมผมและแวนปองกัน ตา โดยยึดหลักปฏิบัติ Aseptic technique

4. ใชชุดอุปกรณ Central line set ในการแทงสายสวนหลอดเลือด ประกอบดวย อุปกรณใสสายสวน 1 หอ, ผาสี่เหลี่ยมเจาะกลางปราศจากเชื้อคลุมตัวผูปวย และชุดอุปกรณปองกันรางกาย (PPE) 1 Set

5. ใชน้ํายา 2 % Chlorhexidine in 70 % Alcohol ในการเช็ดเตรียมผิวหนัง กอนแทงสายสวน และเช็ดทําความสะอาดบริเวณตําแหนงที่แทงเข็ม กอนเปล่ียน Dressing

6. กรณีผูปวยที่ใสสายสวนหลอดเลือด ใชผากอสปราศจากเชื้อปดทับบริเวณที่ แทงเข็ม เปลี่ยน Dressing ทุก 2 วัน แตถาใชแผนใสปราศจากเชื้อ (Transparent dressing) ปดทับบริเวณที่แทงเข็มเปลี่ยน Dressing ทุก 7 วัน และเปลี่ยน เมื่อพบวาตําแหนงที่แทงเปยกช้ืน มีเลือด หรือ Discharge ซึมและสกปรก

7. ในกรณีผูปวยมีการติดเชื้อในกระแสเลือด ในขณะที่มีสายสวนเขาหลอดเลือดดําสวนกลางอยู หรือสงสัยวามีการติดเชื้อเกี่ยวของกับสายสวนใหถอดสายสวน ออก หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนสายใหมโดยแทงที่ตําแหนงเดิม

8. ถามีการติดเชื้อบริเวณตําแหนงที่สอดใสสายสวนหลอดเลือดดําสวนกลาง ควรเปลี่ยนสายสวนและตําแหนงที่ใสสายสวน

9.หามใหสารละลายอยางอื่นรวมกับสารอาหารทางหลอดเลือดดําสวนกลาง 3. Arterial catheter และ

Pressure monitoring device

1. แทงสายสวนเขาหลอดเลือดแดงสวนปลาย2 แพทยผูใสสายสวนทาง Arterial catheter ตองสวมอุปกรณปองกันรางกาย (PPE) ดังนี้ สวมถุงมือ Sterile, เสื้อคลุมกันน้ํา Sterile,ผาปดปาก-จมูก, หมวกคลุมผม และแวนปองกันตา โดยยึดหลักปฏิบัติ Aseptic technique

3. กรณีผูปวยที่ใสสายสวนหลอดเลือด ใชผากอสปราศจากเชื้อปดทับบริเวณที่ แทงเข็ม เปลี่ยน Dressing ทุก 2 วัน แตถาใชแผนใสปราศจากเชื้อ (Transparent dressing) ปดทับบริเวณที่แทงเข็ม เปลี่ยน Dressing ทุก 7 วันและเปลี่ยน เมื่อพบ ตําแหนงที่แทงเปยกช้ืน มีเลือด หรือ Discharge ซึมและสกปรก

4. กรณีผูปวยมีการติดเชื้อในกระแสเลือด ในขณะที่มีสายสวนเขาหลอดเลือดแดง

Page 5: Wp05 การป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

5

อยู หรือสงสัยวามีการติดเชื้อเกี่ยวของกับสายสวนใหถอดสายสวนออก5. Pressure monitoring system ทุกชนิดตองทําใหปราศจากเชื้อ6.ไมควรใหสารละลายหรือสารอาหารที่ใหทางหลอดเลือดทางวงจร

Pressure monitoring 7.ไมควรเก็บตัวอยางสิ่งสงตรวจทาง Pressure monitoring system ถามีความจําเปน ตองเก็บสิ่งสงตรวจใหทําลายเชื้อโดยใช Alcohol ทําความสะอาดบริเวณเก็บ สิ่งสงตรวจ

4. Intraaortic Balloon Pump Catheter

1. เลือกแทงสายสวนบริเวณ Femoral artery2. แพทยผูใสสายสวนตองสวมอุปกรณปองกันรางกาย (PPE) ดังนี้ สวมถุงมือ

Sterileเสื้อคลุมกันน้ํา Sterile, ผาปดปาก-จมูก, หมวกคลุมผมและ แวนปองกันตา โดยยึดหลักปฏิบัติ Aseptic technique

3. อยาเปดแผล โดยไมจําเปน เปลี่ยนเมื่อบริเวณที่แทงสายสวนเปยกช้ืน มีเลือดDischarge ซึมหรือสกปรกและถาปดแผลดวย Transparent ควรเปลี่ยน Dressing ทุก 7 วัน หากเปนกอซเปลี่ยนทุก 2 วัน

4. ถามีการติดเชื้อบริเวณตําแหนงที่สอดใสสายสวนหลอดเลือดแดง รายงานแพทย เพื่อพิจารณาเปลี่ยนตําแหนงสายสวน

5. Coronary artery catheters 1. การใสสายสวนใหปฏิบัติตาม Aseptic technique2. แพทยผูใสสายสวนตองสวมอุปกรณปองกันรางกาย (PPE) ดังนี้ สวมถุงมือ Sterile, เสื้อคลุมกันน้ํา Sterile, ผาปดปาก-จมูก, หมวกคลุมผมและแวนปองกันตา

3. กรณีทําหัตถการเรียบรอยแลว ตอง Off catheter ใหปดแผลดวยหลัก Aseptic technique และเปดแผล Dressing ในวันรุงขี้น

4. กรณีตองคา Sheath ทาง Femoral artery และหลังจาก Off sheath แลวใหปดแผล ดวยหลัก Aseptic technique และเปดแผล Dressing ในวันรุงขึ้น

6. Umbilical catheter 1. การใสสายสวนใหปฏิบัติตาม Aseptic technique2. แพทยผูใสสายสวนตองสวมอุปกรณปองกันรางกาย (PPE) ดังนี้ สวมถุงมือ

Sterile, เสื้อคลุมกันน้ํา Sterile, ผาปดปาก-จมูก,หมวกคลุมผมและแวนปองกันตา3. กรณีผูปวยเด็กไมมีขอกําหนดในการเปลี่ยนสายสวนหลอดเลือด จนกวาจะมี ภาวะแทรกซอน ติดเชื้อ หรือสิ้นสุดการรักษา

9. การเปลี่ยนชุดใหสารละลาย (Administration Sets)9.1 ชุดใหสารละลายที่ใหหยดอยางตอเนื่อง (Primary continuous) เปลี่ยนไมเกิน 96 ช่ัวโมง9.2 ชุดใหสารละลายที่ใหยาเปนระยะ (Intermittent) ไมรวม High alert drug ใหใชชุดใหยา ชนิดใชครั้งเดียว

กรณีที่ จําเปนตองใช Presition solution set ใหเปลี่ยนชุดใหสารละลายไมเกิน 96 ชม. โดยคงไวซึ่งระบบ Closed system และ Aseptic technique

9.3 ชุดใหสารละลายอาหาร (Total potential nutrition) ควรใหหมดภายใน 24 ช่ัวโมง9.4 ชุดใหสารละลายไขมัน (Lipid emulsion) ควรใหหมดภายใน 24 ช่ัวโมง

Page 6: Wp05 การป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

6

9.5 ชุดใหเลือดธรรมดา (Blood and blood component) เปลี่ยนภายใน 4 ช่ัวโมงและควรใช 1 ชุดตอเลือด หรือ ผลิตภัณฑของเลือด 1 ถุง หรือเมื่อ ตัวกรองมีการอุดตัน

หมายเหตุ: ควรเปลี่ยนชุดใหสารละลาย รวมทั้งอุปกรณ เชน Three ways, สาย Extension10. Injection plug

เปลี่ยนเมื่อมีสารละลายรั่วซึม หรือเมื่อเปลี่ยนเข็มเปลี่ยนเมื่อสกปรก หรือมี Serum คางอยูเปลี่ยนเมื่อมีการปนเปอนการรักษาเสนไวเพื่อใหสารละลายหรือการฉีดยาเปนระยะ (Vein lock) ควรถอดเข็มออกทันที ที่แพทยไมมีการรักษา

11. การใช Three ways เพื่อตอสายสวนเขาหลอดเลือด Double lumen หรือ Triple lumen หรือ การแทงเข็มเขา Injection port สําหรับสายสวนที่ฝงไว ตองระมัดระวังการติดเชื้อเปนพิเศษ โดยลางมือทุกครั้งกอนจะจับตอง รวมกับการทําลายเชื้อบน Three ways กอนใสหรือถอดสาย ใหสารน้ําเข็ม หรือสายสวน

12. การรายงาน Phlebitis scalesการประเมินอาการและอาการแสดงการอับเสบบริเวณตําแหนงที่แทงเข็มของผูปวยมี ดังนี้

Phlebitis scale Clinical Symptoms0 ไมมีอาการ1 มีอาการแดงบริเวณใหน้ําเกลือ (Erythema) อาจมีอาการเจ็บเล็กนอยหรือไมมี2 มีอาการแดงบริเวณใหน้ําเกลือ มีอาการเจ็บ และ/หรือบวม3 มีอาการแดงบริเวณใหน้ําเกลือ มีอาการ เจ็บและ/หรือบวม ตามแนวของ

เสนเลือด คลําพบเสนเลือดดําเปนลําแข็ง4 มีอาการเจ็บ บวม แดง ตามแนวของเสนเลือด คลําพบเสนเลือดดําเปนลําแข็ง

มากกวา 1 นิ้วอาจพบหนองไหลออก

6. ขอควรระวัง/ขอแนะนํา/สังเกตเพิ่มเติมการลางมือ : ลางมือกอนและหลังแทงน้ําเกลือ หรือ ใสสายสวนหลอดเลือด หรือสัมผัส หรือเปลี่ยนน้ําเกลือ, 1.สายสวน หรือทําแผล

บริเวณที่แทงลางมือทุกครั้งกอนการผสมยาไมใชวิธีการใสถุงมือแทนการลางมือ เพราะถุงมือที่ใสอาจรั่วหรือขาด ทําใหเช้ือโรคเขาสูรางกายได

การเปลี่ยนชุดใหสารละลาย (Administration Sets)2.ชุดใหสารละลายที่ใหหยดอยางตอเนื่อง (Primary continuous) เปลี่ยนไมเกิน 96 ช่ัวโมง3.ชุดใหสารละลายที่ใหยาเปนระยะ (Intermittent) เชน ทุก 6 ช่ัวโมง ใหใชแลวทิ้ง4.ชุดใหสารละลายอาหาร (Total potential nutrition) ควรใหหมดภายใน 24 ช่ัวโมง5.ชุดใหสารละลายไขมัน (Lipid emulsion) ควรใหหมดภายใน 12 ช่ัวโมง6.ชุดใหเลือดธรรมดา (Blood and blood component) เปลี่ยนภายใน 4 ช่ัวโมงและควรใช 1 ชุด ตอเลือด 7.

Page 7: Wp05 การป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด

เอกสารไมควบคุม ใชเพื่อการสื่อสารและฝกอบรมเทาน้ัน

7

หรือผลิตภัณฑของเลือด 1 ถุง หรือเมื่อ ตัวกรองมีการอุดตันไมควรเสียบเข็ม Air บริเวณกนขวดสารน้ําเปดสารน้ําเขาหลอดเลือดตามอัตราการรักษาของแพทย8.ไมควรใชชุดใหสารละลายที่มีแผนกรอง (Filters) เปนประจํา โดยมุงหวังจะชวยปองกันการติดเชื้อ9.ปฏิบัติตามหลัก Aseptic technique อยางเครงครัด ในการใสสายสวนหลอดเลือด และการดูแล ผูปวย 10.ที่ใสสายสวนหลอดเลือด ในกรณีผูปวยมีการติดเชื้อในกระแสเลือ ขณะที่คาสายสวนหลอดเลือดใหรายงานแพทยเพื่อพิจารณา 11.เอาสายสวนหลอดเลือดออก

7. การเฝาติดตามและการวัดกระบวนการ/การบริการ หนวยงานจะกําหนดวิธีการและผูรับผิดชอบในการเฝาติดตามและการวัดกระบวนการ /การบริการตามเวลา

ที่กําหนดอยางเหมาะสมและปฏิบัติการแกไข /ปองกันเมื่อผลการเฝาติดตามการวัดไมเปนไปตามที่คาดหวังตัวช้ีวัดกระบวนการ (Process Indicator)1.

อัตราการปฏิบัติตามมาตรฐานการปองกันการติดเชื้อในกระแสเลือดที่สัมพันธกับการใสสายสวน เขาหลอดเลือด 100%

ตัวช้ีวัดผลลัพธ (Outcome Indicator)2.อัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดที่สัมพันธกับการใสสายสวนเขาหลอดเลือด (BSI/1000 วัน ใสสายสวน 3.เขาหลอดเลือด 0%)