yoga saratta -feb 2553 (vol.1002)

18
จดหมายขาว ถีชีวิต เพื่อสุขภาวะ www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน กุมภาพันธ 2553 คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม อบรมการเขียน จิตสิกขา 2 จากอินเดีย อินเดีย (ตอนที2) 3 ระหวางทาง มุทราพาใหคิด 4 เทคนิคการสอน บทที3 อาสนะพอเพียร 5 สะกิด สะเกา บุญที่ถูกลืม 7 ปกิณกะ สุขภาพ ชอนชา, เคมี, โยคะกับสายตา.. 7 แนะนําหนังสือ ประสบการณเปลี่ยนชีวิต 8 จดหมายจากเพื่อนครู เมื่อนักเรียนโยคะโดนแมวกัด 9 เลงเลาเรื่อง โยคะการละคร ตอนปจฉิโมทนาสนะ 10 ตําราโยคะดั้งเดิม สิ่งรบกวนจิตใจกับอาการที่ปรากฏภายนอกทั้ง 12 สัมภาษณ .ใจเพชร มีทรัพย หมอเขียว 14 เกร็ดความรูโยคะ The Clasp Knife Reflex 16 จากเครือขายภูมิภาค ศรีราชา: วิถีโยคะในชีวิตประจําวัน 18 จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ที่ปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานตินพ.สมศักดิชุณหรัศมิกองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ, จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี, จีระพร ประโยชนวิบูล, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณภัทร วัฒนะวงศี, ณัตฐิยา ปย มหันต, ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี, ธนวัชร เกตนวิมุต, ธนวไล เจริญจันทรแดง, ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย, ธีรินทร อุช ชิน, พรจันทร จันทนไพรวัน, พัชรินทร ฉัตรเกลา, รัฐธนันท พิริยะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผงาม, วีระพงษ ไกรวิทย, ศันสนีย นิรามิษ, สมดุล หมั่นเพียรการ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com สิ่งตีพิมพ 1002 1

Upload: tang-thai

Post on 04-Apr-2015

49 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

โยคะสารัตถะ เดือน กุมภาพันธ์ 2553

TRANSCRIPT

Page 1: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

จดหมายขาว วิถีชีวติ เพือ่สุขภาวะ

www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน กุมภาพันธ 2553

คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม อบรมการเขียน จิตสิกขา 2 จากอินเดีย อินเดีย (ตอนที่ 2) 3 ระหวางทาง มุทราพาใหคิด 4 เทคนิคการสอน บทที่ 3 อาสนะพอเพียร 5 สะกิด สะเกา บุญที่ถูกลืม 7 ปกิณกะ สุขภาพ ชอนชา, เคมี, โยคะกับสายตา.. 7 แนะนําหนังสือ ประสบการณเปลี่ยนชีวิต 8 จดหมายจากเพื่อนครู เม่ือนักเรียนโยคะโดนแมวกัด 9 เลงเลาเรื่อง โยคะการละคร ตอนปจฉิโมทนาสนะ 10 ตําราโยคะดั้งเดิม สิ่งรบกวนจิตใจกับอาการที่ปรากฏภายนอกทั้ง ๔ 12 สัมภาษณ อ.ใจเพชร มีทรัพย หมอเขียว 14 เกร็ดความรูโยคะ The Clasp Knife Reflex 16 จากเครือขายภูมิภาค ศรีราชา: วิถีโยคะในชีวิตประจําวัน 18

จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ท่ีปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ ์ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศม์ิ กองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ, จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี, จีระพร ประโยชนวิบูล, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณภัทร วัฒนะวงศี, ณัตฐิยา ปย

มหันต, ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี, ธนวัชร เกตนวิมุต, ธนวไล เจริญจันทรแดง, ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย, ธีรินทร อุชชิน, พรจันทร จันทนไพรวัน, พัชรินทร ฉัตรเกลา, รัฐธนันท พิริยะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผงาม, วีระพงษ ไกรวิทย, ศันสนีย นิรามิษ, สมดุล หม่ันเพียรการ

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com

สิ่งตีพิมพ

1002 1

Page 2: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

สวัสดีเดือนกุมภาพันธ ไดลองปรับหนาตาของ

จดหมายขาวเปน 2 คอลัมน เพ่ือจะไดอานงาย สบายตาขึ้น คิดเห็นยังไงติชมไดเลยนะ

ฉบับนี้ ประเดิมคอลัมน สัมภาษณ และ จากเครือ ขายภูมิภาค มีบทความจากเพื่อนครูจากศรีราชามาใหอานกัน

ที่อยากเลาใหฟงอีกอันคือ ตอนนี้ตนฉบับอินเดียเยอะ ครูหนูเลาเรื่องอินเดียใหพวกเราฟง อ.โสภาเพิ่งกลับมาจากฤาษีเกศก็สงตนฉบับมา หมอสุ จากชลบุรี กลับจากทัวรสังเวชนียสถานก็สงมา เรียกวากลิ่นโรตีอวลสํานักงานเลย จะทยอยนําลงใหพวกเราไดอานกันครับ

ชีวิตสิกขาลัย ในกลุมเครือขายชีวิตสิกขา จัดอบรมหลักสูตร

“บันทึกความทรงจําแหงชีวิต” โดย เดือนเพ็ญ ลิ้มศรีตระกูล (มาลี)

ผูที่เปนครู วิทยากร จิตอาสา ผูบริหาร มีจิตใจและเน้ือหาความรูประสบการณความสามารถที่พรอมจะนําไปถาย ทอดเรื่องราวใหเปนประโยชนกับบุคคลทั่วไปได แตหากขาดความสามารถและศิลปะลีลาในงานเขียน โดยเฉพาะการเขียนจากเรื่องราวประสบการณตรง (Tacit Knowledge) ก็เปนที่นาเสียดายวาแหลงความรูอันมีคุณคา ที่จะพึงมีตออนุชนรุนหลัง จะไมสามารถคงอยูเพ่ือเผยแพรตอไปได บทความขอเขียนนั้นจะสามารถที่จะคงอยูไดนานกวาชวงชีวิตของบุคคล

เครือขายชีวิตสิกขา ขอเชิญทานมารวมเรียนรูหลาก หลายวิธีการ เพ่ือนําเรื่องราวจากการปฏิบัติ ประสบการณที่มีคุณคามาบันทึกไวเปนบันทึกความทรงจําแหงชีวิตอันมีคุณคาและพัฒนาไดดวยตัวของทานเอง เชน

เขียนอยางไรใหประทับใจผูอาน ? ทําอยางไรจะบันทึกเรื่องราวไดครบถวนทุกแงมุม ? เขียนอยางไรใหความรูในตน นําไปใชชวยเหลือผูคนได ? เขียนอยางไรจึงจะเปนการสื่อสารเพ่ือการพัฒนาตนเอง ? แบงปนประสบการณในงานเขียนกับนักเขียนมืออาชีพ ?

คุณเดือนเพ็ญ ปจจุบันเปนนักเขียนอิสระ อดีตเปนผูส่ือขาวหนังสือพิมพผูจัดการรายวัน รายเดือน และรายสัปดาห ในเครือผูจัดการ, บรรณาธิการบริหารนิตยสารโลกสีเขียว มูลนิธิโลกสีเขียว และ บรรณาธิการบทความนิตยสาร Marketeer

วันเสารที่ 20 กุมภาพันธ 53 เวลา 9.00 - 16.00 น. ณ หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว สมัครไดทาง E-mail : [email protected] อัตราคาลงทะเบียนทานละ 450 บาท สอบถามรายละเอียด โทรศัพท. 084 643 9245, 087 678 1669, 089 899 0094, 084 388 0182

จิตสิกขา เดือนกุมภานี้ วันเสารที่ 20 เวลา 9.00 – 12.00 น. ที่ สนง.สถาบันฯ ซอยรามคําแหง 36/1 รวมศึกษาอภิธรรม

คุยกันเรื่องสรีรวิทยา กาวิภาคของจิต ในสวนของเจตสิก ตอจากคราวที่แลว

Green Life Summer Camp บริษัทกรีนไลฟ ฟตเนส แอนด สปา ศูนยกีฬาที่ออกแบบมาเพื่อใหสมาชิกไดออกกําลังกายที่ใกลชิดธรรมชาติมากที่สุด จัดกิจกรรม Green Life Summer Camp ขึ้นในชวงปดภาคเรียนนี้ เพ่ือใหลูกหลานเยาวชนของสมาชิกและบุคลทั่วไปทุกทาน ที่มีอายุระหวาง 5- 12 ป ไดออกกําลังกายและเสริมสรางพัฒนาการเรียนรูทางดานตางๆใหเหมาะกับวัย รวมทั้งการปลูกฝงคุณธรรม และจริยธรรม ใหเกิดขึ้นไปพรอมกัน

วัตถุประสงคเพ่ือปลูกฝงใหเด็กรักการออกกําลังกาย ใหเด็กวายน้ําเปนและสามารถชวยเหลือตัวเองได ใหเด็กใชเวลาวางใหเกิดประโยชนในชวงปดภาคเรียน และ เพ่ือใหเด็กไดเรียนรูการใชชีวิตรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข

ณ กรีนไลฟ ฟตเนส แอนด สปา บางบอน วันที่15 – 26 มีนาคม 2553 ( ยกเวนวัน ส – อา ) เวลา 09.00 – 16.00 น. อัตราคาสมัคร 3,500 บาท สนใจติดตอ 085 920 2289

รวมกันสงความรักจากชาวโยคะถึงชาวเฮติ

เพราะเราเชื่อมั่นวา ความรักเปนส่ิงที่งดงามเสมอ ไมวาจะดํารงอยูในรูปแบบของการเปนคนรัก ครอบครัว หรือ

มิตรภาพระหวางเพื่อนมนุษยดวยกัน สถาบันโยคะวิชาการ ขอเชิญชวนทุกทานมารวมกันแบงปนความรักและสงกําลังใจใหแกชาวเฮติ และเปนสวนหนึ่งที่ชวยบรรเทาความทุกขยากจากชะตากรรมภัยพิบัติที่พวกเขากําลังเผชิญ

1002 2

Page 3: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

ตลอดเดือนกุมภาพันธนี้ ทุก 10% จากยอดซื้อสินคาของทานจากสถาบันโยคะวิชาการ จะถูกหักเพ่ือนําไปสมทบทุนเขารวมบริจาค ชวยเหลือผูประสบภัยแผนดินไหวผานทาง “สภากาชาดไทย” โดยยอดสุทธิของเงินบริจาคจะแจงใหทราบโดยทั่วกันทางหนาเวปไซตในตนเดือนมีนาคม 2553

หากทานตองการบริจาคเงิน ใหแกสภากาชาดไทยโดยตรง กรุณาโอนเงินไปที่ ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสภากาชาดไทย ชื่อบัญชี “สภากาชาดไทย เพ่ือชวยเหลือ

ผูประสบภัยแผนดินไหวในเฮติ” หมายเลขบัญชี กระแสรายวัน 045-3-04368-1 พรอมสงใบโอนเงินไปที่ คุณ ภารดี วนกุล หัวหนาฝายการเงิน สํานักงานการคลัง สภากาชาดไทย หมายเลข FAX 0-2256-4064 หรือผานทาง E-mail : [email protected] พรอมระบุ ชื่อ-นามสกุล หมายเลขโทรศัพทติดตอใหชัดเจนเพื่อขอรับใบเสร็จ

ขอขอบคุณสําหรับน้ําใจของทุกทานนะครับ น้ําใจของทุกทานสรางโลกใหนาอยูขึ้นนะครับ

ครูหนู (ชมชื่น สิทธิเวช) บานโยคะ ทองหลอ 13

อินเดีย (ตอนท่ี 2) คําวากองทัพตองเดินดวยทองนั้นเปนความจริง ถา

ทองหิวกองทัพก็ไมมีกําลัง ฉันจึงตองทําทองใหอิ่มในมื้อเชา และกลางวัน สวนมื้อเย็นนั้น บาย บาย วันนี้จึงตองเดินหาอาหารกลางวันตามรานที่คิดวา จะฝากทองไวทุกวันไดบาง จะเปนอยางที่คิดไหมหนอ? ดวยความที่เปนคนชอบเดิน จึงเดินไปเรื่อย ๆ ตามความรูสึกวาทางนั้นนาจะใช ธรรมะจัดสรรอีกแลว ฉันพบรานอาหารมังสวิรัติแบบอินเดียเขาจนได ตั้งอยูดานหลังพระศรีมหาโพธิ์นี่เอง มีรายการอาหารมากมาย กอนอ่ืน ขอไมตามใจกิเลสเปนส่ิงแรกที่ควรทํา ขอสํารวจความสะอาดเสียหนอยโดยการทําเปนเดินชมรอบ ๆ ราน พูดคุยขอรายการอาหารมาศึกษาเสียหนอยวาจะพอสั่งอะไรไดบาง ฉันใชสติเปนตัวกําหนดรู คือตองส่ังอาหารที่ทําเดี๋ยวนั้น เพราะเห็นกับตาวามันรอน ๆ จากเตา ยังไงเชื้อโรคคงจะตายหมดแลว ความสะอาดของรานนี้ไดแค 2 ดาวคะ อาหารยอดฮิตในเมืองคยานี้ถาเปนขาวคือขาวผัดผักกับแกงเปรี้ยวและโยเกริต ขนมเบ้ืองอินเดีย (โดซา DOSA) ไสมันฝรั่งผัดกับเครื่องเทศ และก็หมี่ผัดแบบจีน อยางอื่น ไมถูกปากคนไทยที่มีรสนิยมในการกินแบบฉันแน ๆ ฉันจึงเลือกขาวกับแกง แถมดวยจาปาตี อีก 1 แผน ราคาไมแพง ถาดนี้ไมถึง 30 บาทคะ อีกทั้งการขายอาหารของคนอินเดีย เขาถือวา พระเจาประทาน เขาจึงใหมากกวาราคาทุกครั้ง กระเพาะเล็กอยางดิฉันจึงมีอาหารเหลือ สติตามรูกอนผัสสะจะเกิด ฉันจะขอจานเพื่อแบงอาหาร

ไว คนขายจะรูทันทีเตรียมถุงพลาสติกไวพรอม เพราะทุกครั้งที่ฉันกินอาหารรานนี้ จะตองเผื่อไวใหแฟนคลับ(ขอทาน) ไดกินกันทั่วหนา เห็นมั้ยคะการทําทานที่ไมเดือนรอน เขาจะไมแยงกันจนคนใหปวดหัว แตถาคุณใหเงิน อาจเปนบาปแทนก็ได พูดถึงขอทานที่เมืองคยา ความรูสึกของฉัน เขาคงอิ่มทองทุกวัน คงไมหิวโหยเทาไหร และการขอของเขาก็ขออยางเดียว แตไมรุกเราใหเราตกใจหรือหงุดหงิด ผิดกับเมืองอื่น ๆ ที่ฉันเคยพบ ฉันจึงคิดปลงวา คนเหลานี้ทําอะไรผิดมาแตชาติปางกอนจึงตองเกิดมาเปนแบบนี้ ไมมีโอกาสเหมือนคนอื่น ไมมีโอกาสไดทําอะไรเลย เพราะคนเห็นสภาพบางคนก็รังเกียจ ถึงแมสงสารก็ทําอะไรไมได จับตองก็ไมได แตส่ิงหนึ่งที่ฉันคิดพวกเขาคงมีจิตสํานึกรูวา ถาพวกเขาเหลานั้น อาศัยอยูบริเวณพระศรีมหาโพธิ์ นั้นคือเขาจะมีชีวิตที่อิ่มทอง เพราะชาวพุทธทุกคนลวนแลวแตมีจิตคิดจะใหทั้งนั้น สวนคนอินเดียดวยกันเขาเห็นสภาพนี้ทุกวัน เขาก็คงเคยชิน และไมเห็นขอแตกตางอะไร จึงไมคิดจะทําทาน ใหขอทานพวกนั้น ฉันเดินออกจากรานอาหาร ดวยอาการหนังทองตึง สงสัยจะเกิดลมในกระเพาะ เพราะเครื่องเทศในอาหาร รีบกินขมิ้นชัน 2 เม็ดตามไป เพ่ือชวยในการยอยตามดวยน้ําอุน และใชวิธีเดินไปเรื่อย ๆ คิดในใจประเดี๋ยวเถอะฉันตองเดินผายลมแขงกับแขกแถวนั้นแน เพราะฉันไดขอมูลมาวา คนอินเดียเขาบอกวา “ตดคือธรรมชาติ” ฉันจะเดินไปตดไปบางคงไมผิด ดีกวาไปนั่งตดในพระศรีมหาโพธิ์ นี่ซิ ผิดศิล แน ๆ !

เดือน มกราคม 2553 มีผูบริจาคดังนี้ คณะผูเรียน จิตสิกขา บริจาคเงินใหสถาบันฯ จํานวน 400.- บาท

ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน

1002 3

Page 4: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

มุทราพาใหคิด (๑)

เมื่อเร็วๆ นี้ มิตรรุนพ่ีในแวดวงโยคะทานหนึ่งสงตออีเมลที่มีภาพมุทรา (ทวงทาของมือ) ในลักษณะตางๆ ใตภาพแตละมุทรา

พูดถึงประโยชนส้ันๆ ของมุทรานั้นๆ เชน อากาศมุทรา(akash mudra)ชวยแกปญหาเรื่องหู เปนตน

พ่ีเขาถามไปในอีเมลวา ผมคิดเห็นอยางไรเกี่ยวกับผลจากการฝกมุทราเหลานั้น

เฉพาะกับคําถามเรื่องผลของการฝกมุทรา ผมเขียนตอบส้ันๆ วา

ผมไมมีความเห็นแตประการใด เน่ืองจากไมเคยมีประสบการณตรงจากการฝกมุทราเหลานั้น (ยกเวนชญานมุทราที่ผมพอจะทําอยูบางระหวางฝกหายใจ)

อยางไรก็ตามภาพทวงทาของมือและคําอธิบายสั้นๆ ในอีเมล ทําใหผมนึกถึงบางเร่ืองราว ซึ่งมีทั้งที่เกี่ยวและไมเกี่ยวกับมุทราโดยตรง

และดวยความที่บอยครั้งผมมักจะคิดดังๆ ออกมาเปนขอความ คราวนี้ผมก็เลยคิดพรอมกับเคาะแปนพิมพบนเครื่องคอมพิวเตอรสงไป “แลก” และ “เลา” ใหพ่ีเขา(อาน)ดวย

ความคิดแรกที่วาบขึ้นมาก็คือ การแปลมุทราวา “ทวงทาของมือ” ดูจะเปนคําแปลที่รวบรัดตัดความหมายในบริบทอื่นออกไปพอสมควร

ผมคิดวาคําวามทุรา ก็เปนเชนเดียวกับคําสันสกฤตอีกหลายคําในศาสตรและองคความรูในชมพูทวีป คือเปนคําที่มีนัยของความหมายที่หลากหลายแตกตางกันไปตามบริบทที่ถูกนําไปใชพูดถึง เทาที่ผมรู มุทราแปลตามศัพทวา ตราประทับหรือการปดผนึก (seal) ซึ่งหากคนที่ไดอานรายละเอียดเกี่ยวกับวิปรีตกรณี นาจะพอมองเห็นหรือจินตนาการถึงนัยแหงการปดผนึกซึ่งเปนหนึ่งในความหมายของมุทราไดชัดเจนขึ้น

ตามหลักกายวิภาคศาสตรของตะวันออก1 สวน

บนสุดของรางกายคือศีรษะมีหยาดน้ําทิพยแหงชีวิต(ในคัมภีร

1 ผมมกัตั้งขอสังเกตกับเพื่อนพองนองพี่ท่ีไปแลกเปลี่ยนเรื่องการฝกอาสนะ

หรืออายุรเวทกับผมวา คนที่สนใจการฝกอาสนะอยางจริงจงั มักไดรับคําแนะนําใหเรยีนรูเรื่องกายวภิาคศาสตรและสรีรวิทยาตามแบบตะวันตกเพื่อเขาใจเรื่องระบบของรางกาย เชน กลามเนื้อ ฯลฯ ซ่ึงแนนอนวามีสวนชวยใหเราเขาใจการฝกอาสนะไดดีข้ึน ทวาเทาท่ีไดสดับ ซึมซับ และเคี่ยวกราํใหขอมลูและความรูเกี่ยวกับอาสนะ การหายใจและอายุรเวทตกผลึกในตัวเองมาระยะหนึ่ง ผมมคีวามเห็นวาภมูิปญญาตะวันออกเองก็มีความรูความเขาใจเรื่องรางกายเชนกนั ตัวอยางเชน ในคัมภีรอายรุเวทมหีมวดที่วาดวยรางกายเรียกวา “สรีระสถานะ” กระท่ังเรื่อง

ดั้งเดิมมักใชคําวา ชละ ที่แปลวา น้ํา)อยู ในขณะที่สวนกลางของรางกายเปนที่ตั้งของดวงอาทิตยหรือสูรยสถาน (อยางนอยที่สุดสวนกลางของรางกายก็เปนที่ตั้งของกระเพาะอาหารซึ่งมีพลังแหงความรอนในการยอยอาหารที่เรากินเขาไป)

ครูอายุรเวทของผมเคยอธิบายวา โดยธรรมชาติแลว น้ําทิพยซึ่งเปนพลังชีวิตที่อยูสวนบนของรางกายจําเปนตองหยาดไหลลงมาหลอเล้ียงรางกายสวนลาง ขณะเดียวกนัน้ําทิพยก็จะถูกเติมจากพลังชีวิตที่มีอยูในอาหารและอากาศที่เราเสพและสูดเขาไป (ผมนึกถึงบานที่ตั้งแทงคน้ําไวบนดาดฟาเพ่ือสูบน้ําขึ้นไปในแทงค แลวปลอยใหน้ําไหลลงสูชั้นลางๆ เพ่ือใชประโยชนในกิจกรรมตางๆ )

ถึงกระนั้นก็ตาม ดวยความที่อิริยาบถจํานวนไมนอยในชีวิตประจําวันของเรา มักจะอยูในทาที่ศีรษะอยูสูงกวารางกายสวนอื่น - โดยเฉพาะบริเวณกึ่งกลางลาํตัว จึงทําใหน้ําทิพยจากสวนบนไหลลงมาถูกความรอนแผดเผาจนแหงเหือดลง

วิธีหนึ่งที่จะชวยปกปองน้ําทิพยหรือน้ําอมฤตไดก็คือ การกลับทิศทางของรางกายจากบนลงลาง ใหศีรษะอยูต่ํากวารางกายสวนอื่น อยางนอยก็เปนการลดทอนชวงเวลาหรือตัดโอกาสไมใหน้ําทิพยไหลจากศีรษะ ลงไปถูกความรอนที่อยูในสวนกลางของรางกายแผดเผา

พูดอีกอยางวา เราทําการปดผนึกเพ่ือสงวนและถนอมน้ําทิพยซึ่งเปนพลังหลอเล้ียงชีวิตใหอยูในตําแหนงที่ตั้งของมัน ดวยการอยูในอิริยาบถที่วิปริตผิดแผกไปจากอิริยาบถตามปกติของเราหรือท่ีเรียกวาวิปรีตกรณี

ผมคิดวาคงเปนดวยเหตุผลนี้ ที่ทําใหวิปรีตกรณีไมถูกเรียกวาอาสนะ หากแตถูกจัดอยูในกลุมของมุทราอันมีนัยแหงการปดผนึก ดังความที่ดัดแปลงมาเลาขางตน

ความหมายอีกอยางหนึ่งของมุทราก็คือทวงทา ซึ่งผมคิดวาไมนาจะแปลแบบฟนธงลงไปวา “ทวงทาของมือ” เพราะมุทราแปลวา “ทวงทา” (เฉยๆ ไมมีอะไรตอทาย) พูดอีกอยางก็คือเราอาจใชคําวามทุรากับรางกายสวนใดก็ได

หากตองการเนน หรือชี้เฉพาะเจาะจงวาเปนทวงทาของมือ นาจะใชคําวา “หัสตะ มุทรา” มากกวา (หัสตะ แปลวา มือ)

ของจักระทั้งหก(shatcakra) หรือแมแตการแบงชวงชั้นของรางกายออกเปนเปลือกหุม(โกศะ) ๕ ชั้นที่เรียกวา ปญจโกศะ ก็คือตัวอยางของผลึกแหงความรูความเขาใจอันลุมลึกเกี่ยวกับกายวภิาคศาสตรและสรีรวิทยาของตะวันออก

1002 4

Page 5: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

อีกเรื่องหน่ึงที่ผมคิดดังๆ ใหพ่ีเขาอาน คือ มุทราในความหมายของทวงทานั้นหาไดจํากัดอยูเฉพาะในแวดวงของโยคะเทานั้น

อยางนอยๆ เทาที่ผมประจักษดวยตาตัวเองแทบทุกครั้งที่กลับไปหาครูอายุรเวทที่ตอนใตของอินเดีย ก็คือในการทําพิธีบูชาเปนประจําทุกเดือนตามจารีต และกระบวนวิธีของตันตระในสายตระกูลพราหมณซึ่งเปนวรรณะที่ครูผมสังกัดอยู ระหวางการประกอบพิธีที่มีทั้งการบรกิรรมมนตรา และสาธยายบทสวด พราหมณหลักในพิธีจะเคล่ือนไหวนิ้วมือใหอยูในทวงทาหรือมุทราตางๆ

ครั้งลาสุด ที่ผมเพิ่งกลับไปหาครูเมื่อชวงปลายปที่ผานมา ผมเฝามองหลานของครูซึ่งถูกมอบหมายใหเปนพราหมณที่ทําหนาที่หลักในพิธีบูชาค่ําคืนนั้น มือของเขาที่ขยับปรับนิ้ว จากทวงทาหนึ่งไปสูทวงทาตอไปอยางพริ้วไหว ราวคลื่นเล็กๆ บนผิวน้ําที่กระเพื่อมตามกันเปนระลอกจากลมที่พัดผานดวยความแรงที่สม่ําเสมอ

การเปล่ียนตําแหนงของนิ้วและการเคลื่อนไหวมือท้ังมือในทวงทาตางๆ อยางตอเนื่อง ดวงตาที่หร่ีปรือเหมือนหลับแตภายในตื่นตัว และริมฝปากที่ขยับเคล่ือนเหมือนพึมพํา ทําใหผมรูสึกถึงพลังที่ประสานกลมกลืนกันระหวางมุทราและมนตราซึ่งนาจะถูกเชื่อมรอยดวยดายแหงสภาวะจิต ที่จดจอตอตาม

ทวากวาจะไดรับความไววางใจใหนั่งอยู ณ กึ่งกลางปะรําพิธี เขาตองถูกอบรมบมเพาะและฝกฝนจนครูผูเปนทั้งพอมั่นใจวา บุตรชายที่เปนศิษยของตนสามารถประกอบพิธีไดถึงขั้นที่กาย วาจา และใจถักทอเปนควั่นดายที่แนนหนามั่นคง

หลายปกอนหนานี้ ครูของผมเคยเชิญคณะนาฏศิลปฝมือชั้นครูไปแสดง “Kathakali” ซึ่งเปนศิลปะการแสดงและการรายรําของรัฐเคราลา ใหกับกลุมชาวตางชาติที่ไปเขาคอรสโยคะและอายุรเวทที่อาศรมอายุรเวทของครูไดยล ผูรายรําโหมโรงดวยการสาธิตการทํามือ และขยับรางกายไปในทวงทาตางๆ เปนการเรียกน้ํายอยกอนใหชมการแสดงจริง

นอกจากนี้ยังเปนการปูพ้ืนใหอาสนะชนที่มาจากตางวัฒนธรรมพอเห็นภาพวา มีการใชมุทราเขามาผสมผสานกับ “นาฏลีลา” เพ่ือส่ือความหมายตางๆ ได เชน การยางเยื้องของกวาง ปกษากําลังโบยบิน หรือคนรักกําลังออดออน ฯลฯ

เสียงอุทานโอ มายกอด, อิต’ส โซ วันเดอรฟูล และอิต’ส โซ เทอริฟค กับดวงตาที่เบ่ิงกวาง และเสียงปรบมือไมขาดระยะ บงบอกใหรูวามุทราที่ผูรายร่ําทําทาอยูบนเวที มีพลังโดนใจทานผูชมกันทั่วหนา ซึ่งรวมผมอยูดวยคนหนึ่ง

แนนอนวากวานาฏชนคนหนึ่ง จะจีบนิว้อยางคลองแคลวและชํานาญการ จนคนดูเห็นแลวรูวาผูรายรําตองการสื่อถึงอารมณใดของตัวละครในเรื่องราว เขาจะตองผานการฝกฝน และเคี่ยวกรําขยํารางกายแทบทุกสวนอยางหนักเหนื่อยและยาวนาน

ผมเองในฐานะของผูจับตามองและจองดู ยังรูสึกวา มุทราเปนภูมิปญญาในอีกมิติหนึ่ง ที่ตองอาศัยพลังแหงการผสานรางกาย ลมหายใจ และจิตใจใหเปนหนึ่งเดียว

เรียกไดวาเปนอีกหนึ่งศาสตรและศิลปที่ลุมลึกยิ่งนัก ลุมลึกจนอดสงสัยไมไดวาเราจะสามารถเรียนรูรหัสนัยของมัน ดวยการคลิก(เมาท)เพียงครั้งเดียวได – กระนั้นหรือ?

ธํารงดุล โลกอาสนะ ๓๖๐ องศา..

ประสบการณเรียนรูแบบ East Meets West บทที่ ๓ อาสนะพอเพียร

ครั้งกอนเรากลาวถึงสถิระและสุขะ ที่เกี่ยวของกับการฝกโยคะอาสนะ ยังมีอีกหนึ่งโศลกถัดมาในปตัญชลีโยคะสูตร ที่เปนหลักในการฝกอาสนะคือ โศลก ๒.๔๗ ที่กลาววา “ปรฺยตฺนไศถิลฺยานนฺตสมาปตฺติภฺยามฺ”

คําวา ”ปรฺยตฺน ไศถิลฺย” (ประยัตนะ ไศถิลยะ) ซึ่งพวกเรามักคุนชินกับการแปลวาใชแรงแตนอยน

พ่ีเละต้ังขอสังเกตวา “การใชแรงแตนอย” อาจเปนการตีความที่คอนขางจํากัดไปหนอยเพราะคําวาประยัตนะ ยังมีความหมายอื่นๆ อีก เชน ความเพียร ความตั้งใจ ความพยายาม นอกจากนี้การทําอาสนะโดยเฉพาะอาสนะที่ไมใชแคการนั่ง(ฝกสมาธิ) แตเปนการเหยียดยืดรางกายในทิศทางตางๆ นั้น ในทางปฏิบัติตองมีการลงแรงกันซึ่งบางทาคงยากที่จะใชแรงแตนอย

พ่ีเละจึงมองวาโศลกดังกลาว ยังสามารถตีความวาเปน “ความเพียรที่ปราศจากความพยายาม” อยางที่ไอเยนการเคยกลาวไวในหนังสือโยคะของทาน

ั้น เปนอีกประเด็นหนึ่งที่พ่ีเละ “แลก” กับพวกเราในคลาส ซึ่งอยากจะนํามา “เลา” สูกันฟงในที่นี้ ฟงคําพ่ีเละแลวทําใหผมนึกถึงคําวา อาสนะพอ

เพียร คือใชความเพียรแตพอดีนั่นเอง

1002 5

Page 6: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

ผมลองสวาธยายะ และตีความตามความเขาใจของตัวเองวา การที่เราทําอาสนะในแตละทานั้น แนนอนวาตองใชความพยายามในการเขาสูทวงทา คงคาง และคืนกลับ เปรียบเหมือนการเดินทางจากจุดเริ่มตน ดื่มด่ํากับความรูสึกระหวางทางไปจนถึงจุดหมาย แลวคืนกลับมายังจุดเริ่มตนใหมอีกครั้งนั้น หากเราทําโดยไมใชความพยายามหรือพูดงายๆวาไมออกแรงเลย เราก็ไมนาจะไดรบัประโยชนจากทานั้นๆ ในขณะเดียวกันความเพียรที่มากจนเกินพอ(ดี) ก็อาจทําใหเกิดการบาดเจ็บได ดังที่พ่ีเละถอดความจากหนังสือประทีปแหงชีวิตของทาน บี.เค.เอส.ไอเยนการวา “จงเรียนรูที่จะคนหาความสบายแมในความไมสบาย เราตองไมพยายามวิ่งหนีความเจ็บปวด หากแตตองผานพนและอยูเหนือมัน”

พ่ีเละยังชวนขยายมุมมองใหกวางขึ้นไปอีกนิด วา เราอาจจะตองเพียรอยางเพียงพอ ในการทําโยคะอาสนะอันเปนกิจวัตรอีกดวย ผมเคยถามพี่เละวา บางวันตื่นขึ้นมาจากวันที่โหมทํางานหนัก และคืนที่นอนนอยเมื่อฟงเสียงเพรียกจากรางกายแลวรูสึกวาวันนี้เราไมพรอมจะทําอาสนะ เราอาจจะพักสักวันได ผมเลยถามตอไปอีกวา วันถัดมา และถัดมาถาเราเกิดยังไดยินรางกายของเราวาเราเหนื่อย วันนี้รูสึกวาไมไหวอีกละ ครั้งนี้พ่ีเละใหความเห็นวาที่แปลแบบตรงไปตรงมาไดวา เราตองแยกใหออกระหวางความออนลาของรางกาย หรือขออางที่จะขี้เกียจกันแน (อันนี้แรง!! เหมือนโดนโบยสักสามที) ความเพียรอยางพอเพียงในการทําโยคะอาสนะจึงควรหมั่นทําอยางสม่ําเสมอ ใชเวลาไมมากในแตละวัน ยังดีกวาจะมาโหมหนักๆสัก ๒-๓ ชั่วโมง แตทําเพียงแคสัปดาหละครั้ง

แลวเราจะรูไดอยางไรวา อะไรคือ การทําอาสนะ ที่ “พอเพียร และเพียงพอ”

พ่ีเละใหขอคิดวา ๒ ส่ิงสําคัญขณะทําอาสนะ ทั้งในบทบาทของผูปฏิบัติและผูนําฝกตองมีคือ การสังเกต และวิเคราะห ซึ่งทั้งสองอยางนี้เปนไปเพ่ือใหเขาใจถึงองคประกอบหลัก ๓ อยางในการทําอาสนะ คือ รางกาย ลมหายใจ และจิตใจ ของผูฝก

ในแงของรางกาย เราควรมีความเขาใจถึงความยืดหยุน (ในความหมายของคําวา สุขะ) ความแข็งแรง (สถิระ) และขอจํากัดตางๆของแตละบุคคล

ถาลองจับคูความยืดหยุนและความแข็งแรงแบบพบกันหมด ก็อาจจะจัดแบงรางกายไดเปน ๔ ประเภท คือ :-

๑. มีทั้งความแข็งแรง และยืดหยุน ยกตัวอยางเชน นัก

ยิมนาสติก

๒. มีความแข็งแรงแตไมยืดหยุน มักเปนกับพวกที่เลน

เวท ยกน้ําหนักออกแรง แตพบวากลามเนื้อมักตึง

เกร็ง หรือมีปญหาดานการทรงตัว

๓. ไมแข็งแรงแตมีความยืดหยุน เชนบางคนที่ทําทา

อาสนะตางๆไดออนชอยสวยงาม แตอาจมีกําลังไม

พอที่จะคงคางหรือพาตัวเองไปสูบางทวงทาได

๔. ไมแข็งแรง และไมยืดหยุน อันนี้ไมตองมองอื่นไกล

เขาตัวเองจังๆ เพราะกลามเนื้อท่ีถูกใชทํางานจน

ออนลาจากงานประจํา และความเพียรที่ไมคอย

พอเพียง นําพาความออนลาและตึงเกร็งมาพรอมๆ

กัน เมื่อทําอาสนะ ความจํากัดของรางกายก็สะทอน

(ฟอง)ออกมาในทวงทา

ซึ่งในการเรียนครั้งที่ ๒ เราไดฝกการสังเกตและวิเคราะหรางกายจากทวงทากัน โดยพิจารณารางกายเปนสวนๆไป พ่ีเละใหทําอาสนะบางทาทีละคน โดยใหคนที่เหลือเฝาสังเกต และจดบันทึกให ผมขอยกตัวอยางจากตัวเองหน่ึงทา

ในทาศพหรือศวาสนะ จากสายตาหลายคูของผองเพ่ือนรวมชั้นที่จดจอง ทุกคนเห็นตรงกันวาขาซายของผมหางจากแกนกลางมากกวาขาขวา ไหลซายสูงจากพื้นมากกวาขางขวา หนาหันไปทางขวาเล็กนอย ปลายเทาซายแบะออกมากกวาขางขวา

โอโห! แคทาที่หลายคนบอกวาเปนทางายๆ ก็สะทอนใหเห็นความแข็งแรง และความยืดหยุนที่ไมสมดุลของกลามเนื้อท้ังสองขาง นอกจากนี้ยังบงบอกถึงวาสนาหรือความคุนชินที่ทําในชีวิตประจําวันที่ส่ังสมมานานป แตส่ิงท่ีสะทอนออกมาลวนผานการสังเกต และวิเคราะหแตไมอาจดวนสรุปไดจากทวงทาเพียงทาเดียว แตอาจจะตองอาศัยหลายๆ ทาประกอบกัน

เราผลัดกันสังเกตและวิเคราะหรางกายที่สะทอนจากทวงทา จนเริ่มเห็นความพิกลแตยังไมถึงกับพิการของแตละคน ก็เพ่ือจัดปรับอาสนะสรางชุดฝกใหเหมาะสมกับแตละคน

นอกจากนี้ขณะทําอาสนะยังตองเรียนรูที่จะวิเคราะหและสังเกตลมหายใจของเราไปดวย ซึ่งคงตองขอยกยอดไป “แลก” และ “เลา” ตอฉบับหนาครับ

1002 6

Page 7: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

สดใส

บุญท่ีถูกลืม “คุณนายแกว เปนเจาของโรงเรียนที่ชอบทําบุญมาก

เปนเจาภาพทอดผาปาทอดกฐินอยูเนืองๆ ใครมาบอกบุญสรางโบสถวิหารที่ไหน ไมเคยปฏิเสธ เธอปล้ืมปติมากที่ถวายเงินนับแสนสรางหอระฆังถวายวัดขางโรงเรียน แตเมื่อไดทราบวานักเรียนคนหนึ่งไมมีเงินจายคาเลาเรียน คางชําระมาสองเทอมแลว เธอตัดสินใจไลนักเรียนคนนั้นออกจากโรงเรียนทันที

“สายใจ" พาปาวัย 70 และเพ่ือนซึ่งมีขาพิการไปถวายภัตตาหารเชาที่วัดแหงหนึ่ง ซึ่งมีเจาอาวาสเปนที่ศรัทธานับถือของประชาชนทั่วประเทศ เชาวันนั้นมีคนมาทําบุญคับคั่ง จนลานวัดแนนขนัดไปดวยรถ เมื่อไดเวลาพระฉัน ญาติโยมก็พากันกลับ สายใจพาหญิงชราและเพื่อนผูพิการเดิน

กระยองกระแยงฝาแดดกลาไปยังถนนใหญ เพ่ือขึ้นรถประจําทางกลับบาน ระหวางนั้นมีรถเกงหลายสิบคันแลนผานไป แตตลอดเสนทางเกือบ 3 กิโลเมตร ไมมีผูใจบุญคนใดรับผูเฒาและคนพิการขึ้นรถเพ่ือไปสงถนนใหญเลย เหตุการณทํานองนี้มิใชเปนเรื่องแปลกประหลาดในสังคมไทย “ชอบทําบุญแตไรน้ําใจ" เปนพฤติกรรม ที่พบเห็นไดทั่วไปในหมูชาวพุทธ ทําใหเกิดคําถามขึ้นมาวาคนไทยนับถือพุทธศาสนากันอยางไรจึงมีพฤติกรรมแบบนี้ กันมาก เหตุใดการนับถือพุทธศาสนา จึงไมชวยใหคนไทยมีน้ําใจตอเพ่ือนมนุษย โดยเฉพาะผูที่ทุกขยาก การทําบุญไมชวยใหคนไทยมีเมตตากรุณาตอผูอื่นเลยหรือ

(บางสวน จาก บุญที่ถูกลืม โดย พระไพศาล วิสาโล)

สดใส ยาหนึ่งชอนชามักจะใชไมถูก

คุณมักจะไดขนานยาที่ผิด ถาคุณรินยาแกไอใหตัวเองหรือบุตรโดยใชชอนชาในครัว ซึ่งมันมักจะไมไดผล(ไดรับปริมาณยานอย) หรือ เปนอันตรายได

ในการทดสอบหนึ่ง มีจํานวนผูปวยที่เปนหวัดและไขหวัดใหญรวม 195 คน ถูกซักถามถึงการรินยาแกไขหวัดใหญชนิดกลางคืนลงในชอนที่ระบุไวที่ฉลากยา พบวาคนไขทุกรายไดรับปริมาณยาที่ผิด ไมวาพวกเขาจะรินยา 8% นอยกวาที่ระบุ หรือ 12% มากกวาที่ระบุ

ดร. ไบรอัน แวนซิงค หัวหนาทีมวิจัยแหงคอรแนล ฟูดแอนแบรนดแลบ กลาววา “ฟงดูแลว12% อาจจะดูไมมากนัก แตถานับวาเราตองทานยาทุก 4-8 ชม. เปนเวลานานถึง 4วัน ดังนั้น ปริมาณยาที่ไดรับเมื่อรวมๆแลวจะไปถึงจุดที่ไมไดประสิทธิผล หรือจะเปนอันตรายมากๆ ได” โดยที่ ดร. ไบรอันไดแนะนําใหใชฝาตวงวัด หรือ ดรอปเปอร หรือ ชอนยา หรือ ไซริง เพ่ือท่ีจะไดรับปริมาณยาที่ถูกตองตามที่ระบุไวในฉลากยา

นักวิจัยไดยืนยันแลววา เคมีพลาสติกเปนสาเหตุของโรคหัวใจ นักวิจัยไดยืนยันแลววา สารเคมีที่พบในภาชนะ

พลาสติกของอาหารและเครื่องดื่มเปนสาเหตุของโรคหัวใจ สารตกคางทางเคมี บีพีเอ หรือไบฟนอล เอ, (Biphenol A), ถูกตรวจพบไดในคนทั่วไปถึงรอยละ 90 ความเชื่อมโยงถึงโรคหัวใจไดถูกนําขึ้นมาโดยนักวิจัยจาก เพนซูลา

เมดิเคิลสคูล แหงมหาวิทยาลัยเอกซีเตอร ผูที่ไดศึกษาเรื่องระดับบีพีเอในประชากรสวนใหญของสหรัฐเปนระยะเวลานานกวา 3ป

การศึกษานี้ไดจุดชนวนใหมีการรณรงคเพ่ือการหามใชเคมีภัณฑโดยสิ้นเชิง ซึ่งหลายประเทศไดหามใชผลิตภัณฑเคมีพลาสติกในขวดนมเด็ก และของเลนเด็ก หลังจากไดทราบเรื่องวามันกอใหเกิดความเสี่ยงดานสุขภาพในทารก

ในทางกลับกัน ผูผลิตผลิตภัณฑเคมีก็ไดมีการตอสูการหามใชเคมภัีณฑอยางสิ้นเชิง ซึ่งเปนโรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตเคมีภัณฑมากเปนอันดับตนๆ ของโลกดวยจํานวนผลิต 2.2 ลานตัน (6.4พันลานปอนด) ตอป

โยคะชวยลดสาเหตุของการเกิดปญหาทางสายตา และโรคไขขออักเสบ

นักวิจัยพบวา วิธีทางธรรมชาติ ที่ตอตานการอักเสบที่มีสาเหตุมาจากปญหาสุขภาพตางๆ เชนการเสื่อมตามอายุของจอประสาทตา โรคหัวใจ และไขขออักเสบ

การฝกโยคะเปนประจํา ชวยลดสสารในเลือดที่เปนสาเหตุของการอักเสบ นักวิจัยคนพบเมื่อทําการติดตามดานสุขภาพในกลุมของผูหญิงที่ฝกโยคะเปนเวลาอยางนอย 2 ปมีสารที่กอการอักเสบในเลือดอยูในระดับตํ่า และระดับของสารนั้นไมไดสูงขึ้น เมื่อถูกใหอยูในสถานการที่เครงเครียด เชนการคํานวณเลขในใจ ถึงแมวาการฝกโยคะนั้นอาจชวยได แตนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยโอไฮโอ สเตท ยังไมแนใจวา มันเกิดจากการหายใจ หรือวาการเคลื่อนไหวและการอยูในทาอาสนะ

1002 7

Page 8: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

คุกอินเดียเก ลดโทษใหนักโทษหากเขาคอรสฝกโยคะ สํานักขาวตางประเทศรายงานเมื่อวันที่ 25 ม.ค.วา

เรือนจําเมืองจิวัลลอร ในแควนมัธยประเทศ ไดเสนอจะลดโทษใหแกนักโทษหากเขาคอรสเขาฝกโยคะ โดยจะลดโทษจําคุกใหเปนเวลา 36 วัน และผลปรากฎวาประสบความสําเร็จอยางดี มีนักโทษเขาสมัครกวา 400 คน และมีนักโทษกวา 60 รายเตรียมจะไดรับการปลอยตัวกอนกําหนด

ดานเจาหนาที่พัสดีระดับสูงของเมืองจิวัลลอร กลาววา ทางแควนไดดําเนินกิจกรรมดังกลาวในเรือนจําหลายแหง จุดประสงคพ้ืนฐานก็เพราะ โยคะสามารถเรียนรูศิลปะ, ผอนคลายความเครียด รวมทั้งทําใหพวกเขามีสุขภาพที่ดี

อยางไรก็ตาม เมืองจิวัลลอรไมใชเมืองแรกที่ริเริ่มไอเดียนี้ แตเปนเมืองทิฮาร ที่นําโยคะมาใชกับนักโทษเพื่อชวยผอนคลายความเครียดใหแกคนเหลานี้

ประสบการณเปลี่ยนชีวิต ดร.จอหน เอฟ ดีมารตินี่ เขียน เอกชัย อัศวนฤนาถ แปล สนพ.ตนไม ราคา 295 บาท 340 หนา

แนะนําหนังสือคราวนี้ หยิบเอาหนังสือฮาวทูเลมไมดังจากแผงหนังสือมาบอกเลากัน เห็นวามีประเด็นที่ตรงกับความสนใจของครูโยคะ โดยเฉพาะในเรื่อง “การพัฒนาตนเองดวยตนเอง”

นวัตกรรมที่ผูเขียนนําเสนอคือ “การสลายควอนตัม” ชื่ออาจจะฟงออกแนวเซอรๆ แตโดยสาระแลว เปนความพยายามเชื่อมโยงฟสิกสใหมในยุคควอนตัม เขากับการยกระดับปญญาหรือจิตวิญญาณของมนุษย แตไมตองกลัว หนังสือไมไดลงลึกเรื่องฟสิกสใหปวดหัว เขาแคอธิบายพอสังเขป โดยเนนผลที่ไดรับจากการเปลี่ยนปลงตนเองเปนสําคัญ

“กระบวนการสลายควอนตัม สอนใหมนุษยรับผิด ชอบตอตัวเองอยางเต็มที่ และสัมผัสกับความดีงามในตัว มันเปนการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศนอันย่ิงใหญที่สุดเทาที่ฉันเคยพบมา การสลายควอนตัมไมใชเร่ืองของการทําใหส่ิงใดๆ ดีขึ้น ... แตมันเปนเรื่องเกี่ยวกับการปฏิรูปวิธีคิดและความเขาใจอยางแทจริง... เมื่อเราปฏิรูปความคิด เราจะเปล่ียนรูปแบบของความรูสึกและชีวิตของเราใหม... ดร.ดีมารตินี่ชวยใหเรากลายเปนผูกําหนดโชคชะตาของตัวเอง โดยไมตกเปนเหย่ือของอดีตอีกตอไป” จากคํานําของหนังสือฯ โดย บลังกา ดีเอช พ.บ. ผูอํานวยการฝายการแพทย ฮุสตัน เท็กซัส

หนังสือบอกเลาประสบการณตรงของตัวผูเขียน ซึ่งเปนทั้งหมอจัดกระดูก นักบําบัด นักบรรยายระดับประเทศ นักศึกษาวิทยาศาสตรที่วาดวยกฎของจักรวาล และ นักศึกษาปรัชญา ซึ่งเมื่อตอนอยูชั้นประถมปที่ 1 ครูประจําชั้นบอกพอแมตอหนาตัวเขาเองวา “ลูกของคุณมีความบกพรองในการเรียนรู ฉันเกรงวาเขาจะไมมีวันอาน เขียนหรือส่ือสารกับใครอยางปกติไดเลย คุณไมควรหวังวาเขาจะทําอะไรไดมากนัก

ในชีวิตนี้ ฉันไมคิดวาเขาจะไปไดไกลสักเทาไรนัก ถาเปนคุณ ฉันจะใหเขาหัดเลนกีฬา”

เมื่ออายุ 14 ป ผูเขียนออกเผชิญชีวิต ไดไปยังแคลิฟอรเนีย พบชายจรจัดคนหนึ่งซึ่งสอนเขาวา “ขอแรก ไอหนู อยาตัดสินวาหนังสือดีหรือเลวจากปกของมันเปนอันขาด” และขอสอง “หัดอานหนังสือใหได ไอหนู แกตองหัดอานหนังสือใหได เพราะมีเพียงสองสิ่งเทานั้นที่โลกไมสามารถเอาไปจากแกได ความรักและปญญาของแก” ทุกวันนี้ ผูเขียนยังคงจําคําพูดของชายจรจัดนี้ไดไมเคยลืม และสองสิ่งนี้ก็เปนสาระสําคัญในการบรรยายทั่วประเทศของเขา รวมทั้งในหนังสือเลมนี้ซึ่งมีวัตถุประสงค “จะชวยขจัดอารมณที่ไมสมดุลและรวบรวมมันกลับเขามาใหมเปนรักแทแหงการมีปญญา”

พออายุ 17 ป ผูเขียนไดพบกับพอล แบรกก ครูโยคะอายุ 93 ป ผูบรรยายเรื่องกฎจักรวาลใหเขาฟงในเวลา 45 นาที สอนใหเขานั่งสมาธิ และนําเขาไปสูนิมิต ที่เขาเห็นตัวเองเปนนักบรรยาย นักบําบัด และทําใหเขากลายเปนนักบรรยาย นักบําบัดอยูในทุกวันนี้

คุรุ 2 ทานนี้ ทําให ดีมารตินี่ เดินทางกลับบาน ที่ เท็กซัส “ผมอุทิศชีวิต ทุมเทใหกับการเรียนรูที่จะอาน สอบเทียบชั้น สอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยวารตันได ผมเอาจรงิเอาจังกับโอกาสในชีวิตครั้งนี้มากและตั้งใจเรียนอยางหนัก เพราะผมเคยเชื่ออยางฝงใจวา จะไมมีวันประสบความสําเร็จดานการศึกษาไดเลย สองปตอมา วันหนึ่ง ขณะที่ผมกําลังอานหนังสือเตรียมสอบในหองสมุด เพ่ือนรวมชั้นคนหนึ่งเดินเขามาหาผมพรอมกับพูดวา จอหน ฉันขอนั่งดูหนังสือกับเธอไดมั้ย จากนั้นเพ่ือนอีกหลายคนนั่งลอมเปนวงกลมรอบตัวผมที่คอยตอบคําถามตางๆ ตลอดเวลา คือผมกําลังติวแคลคูลัส

1002 8

Page 9: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

ใหพวกเขา! ผมเนี่ยนะ! ผมไดยินอีกคนกระซิบกับเพ่ือนวา จอหนเขาเปนอัจฉริยะ เขาเปนอัจฉริยะจริงๆ”

ลองหาอานดูนะครับ ใครที่ยังลอยลอยอยู จะเกิดแรงบันดาลใจมากขึ้น สวนใครที่ไปไดระดับหนึ่งแลว หนังสือเลม

นี้มีแนวทางการสื่อสารอธิบายเรื่องของจิตวิญญาณในภาษาของวิทยาศาสตรฟสิกสที่นาสนใจ

ครูโยคะ... ตองอานหนังสือมากๆ นะ

หนู-นอย เมื่อนักเรียนโยคะโดนแมวกัด

ที่เราอยากเลาเรื่องนี้ใหฟง ก็เพราะวามันเกิดขึ้นกับตัวเอง 2 วัน กอนวันคริสตมาสป 2552 เราตื่นมาตอนเชาก็ทําอะไรตามปกติ ตอจากนั้นเปนเวลา 9 โมงเชาเรากําลังจะออกไปขางนอกเพื่อไปเลือกหาของขวัญที่จะนําไปสวัสดีปใหมใหกับคนที่เคารพ ... เสียงแมวทะเลาะกันอีกแลว.. เจาแมวตัวผู 2 ตัว (โคลากับสมฉุน) กําลังทะเลาะกัน .. เหมือนเดิมเราเขาไปจับตัวแยกจากกัน แตคราวนี้มันไมเหมือนเดิม เพราะวาพอแยกกันไดไมถึง 1 นาที เจาสมฉุนมันคงกําลังฉุนเต็มที่ (สมชื่อมัน) เลยกัดเขาที่เทาฉันแบบเต็มแรง เต็มเขี้ยว ตอนแรกที่เห็นคือแผลที่หลังเทา เปนเม็ดขาวสาร 3 เม็ดเรียงติดกัน 3 แผล มีเลือดไหลอยูที่ปากแผล (ถาจะใหเห็นภาพงายๆ ก็คือ ที่ฝาปดถวยกาแฟรอนที่เปนพลาสติกจะมีรูอยูแลวมีฟองนมลนออกมา แผลก็จะเปนประมาณนั้น) แตนี่มันสุดๆ เลย เรายืนตอไมไหวเลย มันปวดแปลบมาตามเสนที่ขอเทาตองเอามือกดไว จะลุกก็ลุกไมได ..ทําไงดีละ ตะโกนเรียกสามีใหมาชวย แตเจากรรม เขาอยูในหองน้ําชั้น 2 ไมไดยินที่เราเรียก ก็ตะโกนไปรองไหไปอยูอยางนั้น คิดวาประมาณ 5 นาทีได เอาละไดสัตวแพทย (สามี) มาชวยแลว เราก็คิดวาคงไมเปนไรมากใสยาทําแผลเรียบรอย แตวามันยังไมหมดแคนั้น เขาบอกวาตองไปโรงพยาบาล ..ฉีดยา.. “ ฉีดยาหรอ.. ไมฉีดไดไหมกลัวเข็มงะ” “ไมไดตองไปฉีด” เอา!! ไปก็ไป พอไปถึงโรงพยาบาล โอ.. ตองไปหองฉุกเฉิน คราวนี้หมอจริงๆ มาดูให หมอบอกวามันมีทั้งหมด 4 รู ที่ฝาเทาอีกรู (แตแปลกที่เราและสามีไมไดมองที่ฝาเทาเลย) หมอบอกวา “เดี๋ยวทําแผลใหมนะ.. ตองฉีดยาชาที่แผลกอน เพราะวามันคอนขางลึก ไมเจ็บหรอก” “ไมฉีดไดไหมคะ.. หนูกลัวเข็มคะ” (คิดดูซิ 4 แผลก็ฉีด 4 ครั้ง) “ไมไดหรอก ไมอยางนั้นทําแผลไมได เพราะวามันตองทําความสะอาดขางในใหสะอาดที่สุดเทาที่จะทําได ซึ่งจะเจ็บมาก แลวที่ส

“หนูเคยโดนหมากัดมาแลวคะ .. ไมเห็นตองฉีดยาชาที่แผลเลย” “แมวนะ รายกวาหมาอีกนะ” หมอบอก ..คราวนี้มีคนมาชวยเสริมเต็มเลย เชน ใชปากแมวสกปรกกวาปากหมา แตที่สกปรกที่สุดก็ปากคนนี่แหละ.. อีกคนบอกวา มีคนถูกแมวกัดสุดทายตองเขา ICU เพราะติดเชื้อ.. อีกคนบอกวา บางคนตองตัดขาทิ้งก็มีนะ... เปนตน “ก็ไดคะ ฉีดก็ฉีด” ที่ยอมเพราะอะไรรูไหม? เพราะนึกขึ้นมาไดวาคุณพอของอดีตเจานายตองเสียชีวิตเพราะโดนแมวกัด หลังจากทําแผลเสร็จ ก็คิดวาเรียบรอยกลับบานได แตวาเปลาหรอก หมอบอกวา “เดี๋ยวตองฉีดยาอีกนะแลวก็มียากลับไปท่ีบานดวย” ... เหวอ.. เอาอีกแลวรึเนี่ย “ฉีดอะไรอีกหรือคะ” หมอยิ้มดวยหนาดูแลวรูไดเลยวาเสร็จอีกแน “เข็มแรก เปนการปองกันบาดทะยัก สวนเข็มที่ 2 เปนการปองกันพิษสุนัขบา” “หมอคะ.. หนูเคยฉีดบาดทะยักแลวคะ ..ตอนนั้นโดนหมากัด” “กี่ปแลวครับ” “ประมาณ 5-6 ป ไดแลวคะ” “OK เคยฉีดบาดทะยักแลว เพราะวายาอยูได 10 ป ถางั้นหรือฉีดแคปองกันพิษสุนัขบา 5 เข็ม” “ฮา!!! 5 เข็ม..” “ใจเย็น ใจเย็น ไมไดฉีดวันนี้ 5 เข็ม แตวาเปนโปรแกรมการฉีดปองกันพิษสุนัขบา ที่ตองฉีดใหครบ 5 เข็ม ตามกําหนดเวลา สวนวันนี้เปนเข็มแรกเทานั้น” หมอหัวเราะกับความกลัวเข็มของเราอะไรจะขนาดนั้น “แลวก็ยาที่จะใหกลับไปก็มี ยาตานการอักเสบ 1 ตัว ยาฆาเชื้อ 2 ตัว” “ไดคะ.. ฉีดเลยคะ” ตองทําใจอยูสักพัก นั่นแหละ.. จากนั้นเราก็ตองไปทําแผลที่โรงพยาบาลทุกวัน ตองมีการลอกเอาเนื้อเย้ือของเสียออกอยูเกือบทุกวัน เจ็บสุดๆ สวนยาตองรับยาทั้งหมด 2 คอรส โปรแกรมฉีดยาก็ฉีดตามกําหนดที่หมอนัด ซึ่งจะฉีดเข็มสุดทาย 22 มกรา 53 ําคัญมันมีโอกาสเกิดหนองขึ้นได”

1002 9

Page 10: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

ชวง 10 วันแรก ตองแขวนขาไว เพราะวาจะขยับนิ้ว-ขอเทาก็ปวด (เหมือนกับวามันปวดมาตามเสน) ถานั่งหอยขาหรือเดินก็จะเกิดอาการบวมขึ้นมา งายๆ แคยืนก็ลงน้ําหนักที่เทาซายไมได เราก็บอกหมอวามันปวดอยางนี้ พยาบาลที่ทําแผลใหบอกวาแผลมันคอยขางลึก แลวมี 2 แผลที่วาทาลึกกวานี้อีกหนอยก็โดนเสนเลือดใหญ สวนสามีบอกวามันอาจมีการกระทบเทือนที่ปลายประสาท เสนเอ็น .. เฮอ..ยังไงก็ขอใหหายเร็วๆ ก็แลวกัน เพราะวันที่ 22 มกรา เราตองขึ้นไปเชียงใหม แตอะไรก็ไมเทากับวามันสะดุดใจวาแลวเราจะฝกโยคะอยางไรดี เพราะหมอบอกวาคงตองใชเวลาอยางนอยก็ 2 อาทิตย นี่เราเพ่ิงจะไดฝกทา Headstand เองนะ (ไมเขาใจเหมือนกันวาทําไมถึงใหความสําคัญกับอาสนะนี้ .. แตถาใหเดา คงเปนเพราะวาเสียงที่ไดยนิอยูเสมอวาอาสนะนี้สุดๆ บวกกับ “ความอยาก” ทําอาสนะนั่นเอง) แลวก็ไดคิด!! .. โยคะไมไดมีแตอาสนะเทานั้น เราฝกปราณายามะได ฝกสมาธิได ที่สําคัญ สติ เพราะขาดสติ จึงตกใจกลัวเปนกระตาย

ตื่นตูม การเจ็บครั้งนี้ ทําใหเราฝกทาศพไดอยางรูซึ้งทีเดียว (เพราะการแขวนขา) ...เทาที่เราเขาใจนะ มันทําใหเรารูสึกไดโดยเฉพาะขาที่ถูกแขวนอยู มันเหมือนกับวาขานั้นไรซึ่งแรงใดใดมีเพียงแรงตานจากผาเทานั้น จากนั้นขาทั้งทอนจะรูสึกไดปลอยวางอยางแทจริง และนั่นทําใหเราสามารถนําความ รูสึกปลอยวางนั้นมาใชกับสวนตางๆ ของรางกายไดตั้งแตศีรษะ ใบหนา แขนทั้ง 2 ขาง ลําตัว ขา รวมทั้งความคิดตางๆ ดวย ...เปนความรูสึกที่ยากจะบรรยาย.. อยางเชน แคหลับตา ใครๆ ก็หลับตาได แตหลับตาอยางไรใหปลอยวางไดจริง เคยไหม? หลับตาแลวแตเหมือนกับวายังมองอยู หรือจมูก ปลอยวางจมูกไดไหม ยังเหมือนกับวายังขยายหรือบีบอยูไหม? เปนตน “นิ่ง สบาย ใชแรงนอย มีสติ” เปนตามนี้จริงๆ เพราะฉะนั้นฝกและศึกษาโยคะกันตอไปเถอะคะ .. แลวจะรูวาเรายังตองฝกและศึกษาอีกมากมายนัก ปล. สวนแผลก็ยังไปทําแผลอยางสม่ําเสมอ (กลัวเปนแผลเปนจังเลย...)

ล.เลง เสียงกระดิ่งหยก (ไมใชมงักรบิน)

โยคะการละคร : ตอน ปศจิโมตตานาสนะ หรือ ทาเหยียดหลัง

โยคะการละคร ขอเสนอ... ละครโยคะ เพ่ือความรู

และความบันเทิง แกพอแม พ่ีนอง ทุกทาน...เอา! เรเขามา เรเขามา...ละครของเราจะเริ่มตน ณ บัดนี้

กอนอ่ืน ขอแนะนํา ผูแสดงนําดังนี้ (นักแสดง ยืนขึ้นตามลําดับ) จ้ํา เปน ผูแสดง ทาเหยียดหลัง แบบที่๑ (ถูกตอง) ...

พับตัวลงจากขอสะโพก หลังเหยียดตรงเปนไมกระดาน

บี เปน ผูแสดง ทาเหยียดหลัง แบบที่๒ (อันตราย)...โกงหลัง ขยมตัว เพ่ือใหกมไดมากๆ เอาหัวมดุๆลงไป

พ่ีปุ พ่ีสุ เปน เสนเลือด (ทาประจําตวั... กางแขน รอนลม ชมเวหา) “เสนเลือด ลําเลียงอาหารคา”

พ่ีดา พ่ีเหมียว เปนเสนประสาท (ทาประจําตัว...นักรบ หันหลังชนกัน) “เสนประสาท คอยบอกวา มันเจ็บจนเกินจะทน...จนหามใจ หามใจ ไมไหว”

หลี เลง เปน เสนเอ็น (ทาประจําตัว...ยืนยอเขา กําหมัด...แสดงพละ กําลัง และความแข็งแรง) “เสนเอ็นคอยดึงเสนเลือด และพาเสนประสาทกลับบาน เวลาพวกเคาหนีไปเที่ยวคา”

พ่ีออด พ่ีมาลี เปนคนพากยเสียงตัวละคร ฉากท่ี ๑ เคยสงสัยไหมคะ? วาทําไม หมอเขียว ถึงบอกใหพวกเรา ทําโยคะอาสนะแบบ “ผอนคลาย สบายๆ” ไมทําแรงๆ เอาเยอะๆ ลองมาดูกันนะคะ วามีอะไรเกิดขึ้นกับ ๓ เกลอในรางกายเราบาง เสียงหมอเขียว เอา! กมตัว... ทําชาๆ สบายๆ ตึง...เทาที่

รูสึกสบาย และมีพลังที่สุด (จ้ํา: ทําทาเหยียดหลัง)

1002 10

Page 11: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

เสนเลือด (ยืนขึ้น ดึงเชือก) เฮอ! ไดเหยียดแลวคอยยังชั่วหนอย (ทําทากระแดะๆ ) เสนเลือดนอนขดตัวอยูตั้งนาน...นาน เมื้อย...เมื่อย

เสนประสาท ใชแลว ไดยืดเสนยืดสาย เสนประสาทคอย ซูซา คึกคักหนอย...แบบนี้ใหไปเตะปป ๑๐ ปป ก็ยังไดเลย!

เสนเอ็น จริงแฮะ! เสนเอ็นก็ชอบเหยียดยืดนะ (ทําทากั๊ตจัง อาราเร ดีใจ) ไมง้ันเสนเอ็นเซ็งนาดูเลย เวลาคุณจ้ํา แกอยูเฉยๆ เสนเอ็นรูสึกเหมือน หนังสะต๊ิกตากแหง แขง...แข็ง (ทําหนาเมื่อย)

ฉากท่ี ๒ ทีนี้เรามาลองทําทาเหยียดหลังแบบที่ ๒ กันนะคะ เสียงพากยโหดๆ เอา! กมตัว ทําแรงๆ เอาเยอะๆ ทําใหได

เหมือนครูนะ ไมง้ันไมเทห(บี:ทําทากมตัว แบบขยม)

เสนเลือด โอย! ดึงตึงขนาดเนี้ยะ เสนเลือดตีบพอดี เดี๋ยวเลือดไปเลี้ยงเสนประสาทไมพอ เปนเหน็บชา และอาจบาดเจ็บไดนะเนี่ย (ดึงแบบ ชักคะเยอ)

เสนประสาท เสนประสาทก็เจ็บนะ เดี๋ยวคุณบีก็ปวดหลังหรอก พอปวดหลังนะ เดี๋ยวก็ลามไปปวดแขน ปวดขาดวย

เสนเลือด + เสนประสาท เสนเอ็นจา! ชวยดึงพวกเรากลับบานที พวกเราตึง และเจ็บจนจะทนไมไหวอยูแลว

เสนเอ็น ไดครับทาน เดี๋ยวจัดให ทันทีเลย (เร่ิมสาวเชือก อยางตั้งใจ) (บี ถอยหลังคืนกลับ เลิกขยม)

เสนเลือด + เสนประสาท เฮอ! คอยยังชั่วหนอย เสนเลือด + เสนประสาท ไมตายแลว (ยิ้ม)

เสียงพากย ละครของเราก็จบลงแลว ขอเสียงตบมือใหนักแสดงของเราดวยคะ (แปะๆ)

(๓ เกลอ ลาโรง) ฉากท่ี๓ จ้ํา กับ บี นอนทาศพ มีแตเสียงบรรยาย เสียงพากย เห็นไหมคะ เวลาเรากมตัวแบบ เร็วๆ

แรงๆ เอาเยอะๆ ทําดวยความโลภ ๓ เกลอของเราก็เจ็บตัวนาดูเลย

๑. เสนเลือดก็ตีบ ทําใหเลือดไปเล้ียงเสนประสาทไมพอ อาจเปนเหน็บชา และเกิดการบาดเจ็บได

๒. เสนประสาทก็ตึงเกินไป อาจทําใหเราปวดหลัง แลวลามไปปวดแขน ปวดขาได

๓. เสนเอ็นก็เลยตองดึง ๒ สหายกลับมา เพ่ือไมใหเสนเลือด และเสนประสาทเคาเจ็บตัวมากเกินไป

หากเราทําอาสนะแคพอดีๆ ก็จะรูสึกสบาย และผอน

คลาย ทําเสร็จแลว ก็สดชื่นแข็งแรง หากเราทําอาสนะมากเกินพอดี แทนที่จะดี กลับบาดเจ็บ

ปวดหลัง เสนเอ็นฉีกขาด ตองเสียเงิน เสียเวลาไปหาหมออีกนะคะ ฉากท่ี๔ เสียงพากย เรามาลองดูการทําทาเหยียดหลัง ๒ แบบ

คือแบบโกงหลัง และแบบพับตัวลงไป เปนไมกระดาน แบบไหนจะมีผลอยางไร

บี อยากกมใหไดเยอะๆ แตหลังแข็ง ลงเยอะไมได ก็

เลยโกงเอา ดวยการโกงหลัง แลวมุดหัวลงไป ทําแบบนี้ หมอนรองกระดูกอาจปูดออกมา(ชี้ตําแหนงหมอนรองกระดูก) ถายังเปนเด็ก ปูดออกมาแลว ก็เดงกลับเขาที่ได แตถาสูงวัยแลว หมอนรองกระดูกปูดออกมาและไมยอมเดงกับเขาที่ หมอนรองกระดูกปล้ินคาอยูอยางนั้น ยิ่งทําก็จะยิ่งแยลง เปนโรคหมอนรองกระดูกกดทับเสนประสาท ตองปวดหลัง มารองโอดโอยกันอีก

ทีนี้เรามาดูแบบที่ จ้ํา พับตัวลงไป เปนไมกระดาน

แบบนี้ ถึงแมวาจะกมไมไดมาก แต หมอนรองกระดูกปลอดภัยกวา และถาอยากจะกมตัวใหไดมากขึ้น ก็ใหขยับสะโพก (กน) ไปขางหลังกอน ทําใหเหยียดขาไดมากขึ้น กมไดงายขึ้น (รายละเอียด หาอานไดจาก การวิเคราะหทาอานะพื้นฐานโดยนักกายภาพบําบัด ของ อ.คมปกรณ ลิมปสุทธิรัชต หนา ๔๕ และ หนา ๕๒)

1002 11

Page 12: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

ฉากท่ี๕ เสียงพากย คราวนี้ ทุกคนลองนั่งเหยียดขา มือวางบนขา เอามือทําปูไต กมตัวจากขอสะโพก หลังตรงเปนไมกระดาน กมไปเรื่อยๆ สุดแลวคางไว

ทีนี้ หันไปดูเพ่ือนขางซาย เรากับเพ่ือนใครทําไดเยอะกวากัน (พักใหดู ๑๐ วินาที) แลวหันไปดูเพ่ือนขางขวา เปนยังไงบาง (พักใหดู ๑๐ วินาที) [ทําแบบไมจดจอ หันซายที ขวาที]

ทีนี้ เอาหัวกลับมาตรงกลาง ดูขาตัวเอง หลับตาลงเบาๆ (พัก ๑๐ วินาที) หายใจเขา ทองพอง หายใจออก ผอนคลาย ทองแฟบลง

หายใจชาๆ สบายๆ ... รับรูความรูสึกที่ ทองพอง ทองแฟบ และการกดนวดที่ชองทอง กระเพาะอาหาร ลําไส ตับ มาม ไต (คางไว ๑ นาที)

คอยๆ ยืดตัวขึ้น พักในทานั่งพัก...รับรูความรูสึกที่ เกิดขึ้นจากการคลายตัวของชองทอง แผนหลัง เห็นความแตกตางของการทําโยคะอาสนะ แบบตามองดูเพ่ือน ไมมี

สมาธิ ไมจดจอ กับการทําอาสนะแบบมีสติ มีสมาธิ จดจออยูกับตัวเอง รับรูความรูสึกที่เกิดขึ้นภายในรางกาย...เปนยังไงกันบาง รูสึกสงบ สบาย และผอนคลาย มีความสุขใชไหมคะ ถาใช... ใหพูดเสียงพรอมๆ กันวา...ความสุข...มีความสุข...มีความสุขจังเลย!

สรุป สุดทายนี้ คณะโยคะการละคร ก็หวังใจวาเพ่ือนๆ จะ

ไดฝกโยคะแบบมีสติ มีสมาธิ ดูตัวเอง ดูรางกาย ลมหายใจ จิตใจของเรา ไมตองไปดูคนอื่นเขา ไมตองไปแขงกับใคร ตอนนี้ เขากับเรา...ไมเกี่ยวกัน

ขอใหทุกทาน มีความสุข กับการฝกโยคะอาสนะ อยางถูกตอง มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งกายและใจคะ

สวัสดีคะ

แสดงครั้งแรกที่ คายหมอเขียว โรงเรียนฝกผูนํา พลตรีจําลอง ศรีเมือง จ. กาญจนบุรี ระยะเวลาแสดง ๑๐ นาที ผูแสดง ๘ คน คนพากย ๒ คน อุปกรณ เชือกสีตางกัน ๓ เสน..

วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธ ี แปลและเรียบเรียง

สิ่งรบกวนจิตใจกับอาการที่ปรากฏภายนอกทั้ง ๔ “ทุกขเทารมนัสยางคเมชยัตวศวาสะ-ปรัศวาสา วิ-กเษปะสหภุวะห” เปนขอความในโยคะสูตรบทที่ ๑ ประโยคหรือโศลกที่ ๓๑ แปลไดความวา ความเจ็บปวดและความทุกข (ทุกข) ความหดหูใจ (โทมนัส) การสั่นของรางกายสวนตางๆ (อังคเมชยัตวะ) และความแปรปรวนของลมหายใจเขาและลมหายใจออก (ศวาสะ-ปรัศวาสะ) อาการทั้ง ๔ อยางนี้เกิดขึ้นเพราะวาจิตถูกรบกวน(นั่นเอง)

ส่ิงรบกวนจิตใจนั้น เกิดขึ้นอยูภายในและอาจจะไมสามารถรับรูไดงายนัก แตการปรากฏตัวของมันสามารถดูไดจากอาการภายนอกที่เกิดขึ้นมาพรอมๆ กัน ซึ่งก็คืออาการภายนอกทั้งส่ีอยางที่กลาวถึงแลวขางตน อาการทั้งส่ีนี้จะตองมีอยางนอยหนึ่งอยางปรากฏขึ้นเมื่อมีส่ิงรบกวนจิตใจ และความเขมขนของอาการภายนอกที่เกิดขึ้นนั้นจะแปรเปลี่ยนไปตามความหนักเบาของกิจกรรม(ที่รบกวนจิต) เน่ืองจากอาการที่เกิดขึ้นภายนอกเหลานี้เปนผลมาจากจิตใจถูกรบกวน ดังนั้น เทคนิควิธีที่ใชในการควบคุมการรบกวนจิตใจยอมชวยขจัดความเขมขนของอาการภายนอกที่เกิดขึ้นดวย

อาการ 2 อยางแรกคือทุกขและโทมนัสนั้น คอนขางเปนเรื่องของจิตใจแตมีผลกระทบตอรางกาย อาการทั้งสองนี้เปนเคร่ืองมืออยางงาย ที่ใชในการตรวจสอบสิ่งรบกวนจิตใจ

ซึ่งมีความละเอียดและซอนอยูภายใน สวนอาการสองอยางหลังนั้น คืออาการสั่นของรางกายและลมหายใจที่ถูกรบกวนเปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยตรงทางรางกาย และสามารถสังเกตเห็นไดงาย คราวนี้ลองมาพิจารณาอาการทั้งส่ีอยางในรายละเอียดกัน

ทุกข หมายรวมถึงทั้งความเจ็บปวดทางกายและความทุกขทางใจ บอยครั้งท่ีความทุกขทางใจกอใหเกิดความเจ็บปวดทางกาย หรืออยางนอยที่สุดก็นําไปสูความไมสบายทางกาย ความเจ็บปวดหรือความไมสบายทางกายสามารถตรวจพบไดงายๆ โดยดูจากการที่บุคคลนั้นมักจะปรับเปล่ียนทาทางของตนเองอยูบอยๆ (เชน ขณะอยูในทานั่ง เมื่อมีความรูสึกไมสบายทางรางกาย ไมวาจะเปนความปวด เมื่อย ชา ทําใหตองปรับเปล่ียนทาอยูบอยๆ เพ่ือหลีกเล่ียงความไมสบายที่เกิดขึ้นทางกายนั้น -ผูแปล)

เทารมนัสยะ (โทมนัส) คือความหดหูส้ินหวังทางใจยอมนําไปสูสภาวะที่ออนระโหยโรยแรงทางรางกาย ไมวาจะมากหรือนอยก็ตาม ก็สามารถที่จะสังเกตเห็นไดจากทาทางและการปรับเปล่ียนทาทางของรางกายเชนเดียวกัน

อาการสั่นในสวนตางๆ ของรางกายและสิ่งรบกวนจังหวะการหายใจก็เปนสัญญาณท่ีคอนขางสังเกต หรือจับตองไดงาย ส่ิงรบกวนจิตใจใดๆ ยอมกอใหเกิดอาการสั่นของ

1002 12

Page 13: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

รางกาย และการเปล่ียนแปลงหรือการรบกวนจังหวะการหายใจที่ราบเรียบปกติ ซึ่งอาจจะกระทบตอลมหายใจเขาหรือลมหายใจออกหรือท้ังสองทาง แมแตส่ิงรบกวนจิตใจหรืออารมณที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ก็สามารถทําใหเกิดอาการทั้งสองคืออาการส่ันทางกาย (อังคเมชยัตวะ) และการแปร เปล่ียนจังหวะของการหายใจ (ศวาสะ-ปรัศวาสะ) ความเขม ขนของอาการสั่นและการแปรเปลี่ยนจังหวะของการหายใจจะเปนสัดสวนโดยตรง กับความเขมขนของการรบกวนทางจิตใจ ความจริงแลว การหายใจของคนเรานั้นมีความสัมพันธใกลชิดกับสภาวะของจิตใจ กลาวไดวารูปแบบเฉพาะของการรบกวนจิตใจอยางใดอยางหนึ่ง อาจนําไปสูการเปล่ียนแปลงลักษณะของการหายใจ อาจเปนไปไดที่เราจะระบุรูปแบบของอารมณหรือการรบกวนจิตใจไดอยางละเอียดชัดเจน เมื่อเราสังเกต เห็นการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการหายใจ ตัวอยางเชน เมื่อมีอารมณโกรธ ลมหายใจออกจะมีความเดนชัด เร็ว และแรง การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นอยางเดนชัดนี้ ก็สามารถทําใหรูถึงความเขมขนของอารมณโกรธ จนนึกถึงคําพังเพยที่วา “โกรธเหมือนวัวบา” ความผิดหวังเสียใจนําไปสูลมหายใจออกที่ชาและยาว ความกังวลใจนําไปสูลมหายใจเขา-ออกที่ตื้นและสั้น การตกใจอยางแรงอาจทําใหเกิดการหยุดหายใจสั้นๆ ความสนุกสนานนําไปสูการหยุดหายใจสั้นๆ เชนกันแตลมหายใจจะไมตื้นมากนัก

อาการสั่นทางกาย และการเปลี่ยนจังหวะของการหายใจมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับส่ิงรบกวนทางจิตใจมากเสียจนกระทั่งมันจะเกิดขึ้นควบคูกันทุกๆ ครั้งเมื่อมีส่ิงรบกวนจิตใจใดๆ เกิดขึ้น อยางไรก็ตามหากการรบกวนจิตใจไมไดมีกําลังหรือความรุนแรงมากนัก อาการทั้งสองอยางที่เกิดขึ้นนี้ก็จะเบาบางมากและอาจไมสามารถสังเกตเห็นไดโดยงาย โดย เฉพาะถาผูสังเกตไมไดสังเกตอยางละเอียดประณีตมากๆ ส่ิง รบกวนจิตใจซึ่งยากที่จะจัดการไดนั้น สามารถที่จะเอาชนะไดโดยการควบคุม และการลดอาการภายนอกที่เกิดขึ้นเหลานั้นโดยอาศัยวิธีการบางอยางซึ่งสามารถปฏิบัติได เพราะวาโดยธรรมชาติแลวการควบคุมรางกาย เปนส่ิงที่ทําไดงายกวาการควบคุมจิตใจ อยางนอยที่สุดวัตถุประสงคอยางหนึ่งของการฝกอาสนะและปราณายามะ (ของหฐโยคะ) ก็เพ่ือท่ีจะสามารถควบคุมจิตและอาการของมันผานการระงับการสั่นของราง กาย (ดวยการฝกอาสนะ) และควบคุมจังหวะการหายใจใหดําเนินไปอยางราบเรียบเปนปกติ (ดวยการฝกปราณายามะ) อาสนะ และปราณายมะของปตัญชลีก็มีวัตถุประสงคอยางเดียวกัน(กับหฐโยคะ) ในโยคะสูตรของปตัญชลี โศลกที่ ๑:๓๓-๑:๓๙ กลาวถึงเทคนิคหรือวิธีทั้งเจ็ด เพ่ือทําใหจิตตั้งมั่น

และบริสุ

ทธิ์ หรืออยางนอยที่สุดในโศลกที่ ๑:๓๔ ก็กลาวถึงการควบคุมและลดอาการภายนอกเหลานี้

“ตัต-ประติเษธารถเมกะ-ตัตวาภยาสะห” คือขอความในโยคะสูตรบทที่ ๑ โศลกที่ ๓๒ แปลไดความวา การแกไขการรบกวนจิตใจทําไดโดย ๑) ฝกตามหลักหรือวิธีการอยางหนึ่งที่ไดแนะนําไว ๒) ทําตามหลักอภยาสะหรือการฝกปฏิบัติอยางสม่ําเสมอตามอัษฏางคโยคะ (มรรค ๘ ของโยคะ)

คําสําคัญในโศลกนี้คือ เอกะตัตวาภยาสะห การแปลความหมายในโศลกนี้ จะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับการแตกคําศัพทของคําประสมและการใหความหมายของคํา คําขาง ตนมาจากคํา ๓ คําประกอบกันคือ เอกะ (หนึ่ง) + ตัตวะ (หลักการ) + อภยาสะ (การปฏิบัติหรือศึกษา) ซึ่งการแตกคําศัพทในลักษณะเชนนี้ทําใหสามารถตีความไดเปน ๒ ความ หมายตามที่กลาวไวขางตน ในความหมายแรกนั้นอรรถกถาจารยสมัยกอน บางทานที่ศึกษาตามแนวทางปรัชญาอทไวตะเวทานตะไดแปลความ “เอกะตัตวะ” วาเปนหลักการหรือความจริงสูงสุด นั่นคือพรหมัน ดังนั้นเขาจึงแปลความวาการรบกวนจิตสามารถถูกแกไขโดยการนั่งสมาธิใครครวญจนเขา ถึงพรหมัน การแปลความเชนนี้ดูเหมือนวาจะไมไดรับการยอมรับไดงายนัก เพราะมันขึ้นอยูกับการยอมรับในปรัชญา

อทไวตะ2 (ในขณะที่อีกดานหนึ่งนักวิชาการสวนใหญก็มี

ความเห็นวา ปตัญชลียอมรับแนวคิดทวินิยมของปรัชญาสาง

ขยะ3) อีกประการหนึ่งของการตีความตามความหมายแรกนี้

ก็มีความไมชัดเจนตอการทําความเขาใจโศลกนี้ เพราะการ

2

แนวคิดอทไวตะเวทานตะ กลาววา ส่ิงตางๆ ในโลกลวนเปนมายาหรอืทุกส่ิงเปนเพียงภาพปรากฏของพรหมัน (หรือพรหม) ซ่ึงเปนความจริงสูงสุดเพียงหน่ึงเดียว พรหมันจงึอยูในทุกๆ ส่ิง หากมีความเขาใจวามีพรหมันอยูในทุกส่ิงและสามารถปฏิบัตติอทุกส่ิงไดเชนเดียวกับที่ปฏิบัติตอพรหมัน ผูน้ันก็จะเขาสูความหลุดพน เชน มนุษยไมวาจะรวย จน มีฐานะสูงหรอืต่ํา หรือแมแตสัตวตางๆ ตางก็มีพรหมนัอยู หากบุคคลสามารถรักและเคารพในมนุษยและสัตวตางๆ ไดอยางเทาเทียมกันเหมือนรักและเคารพในพรหมันแลว เขาผูน้ันก็จะเขาสูการหลดุพน (ผูแปล) 3

แนวคิดทวินิยมของปรัชญาสางขยะ กลาววา ส่ิงตางๆ ในโลกประกอบขึ้นดวยสองสิ่งคือ ปุรุษะ กับประกฤติ ปุรษุะคือจิต หรอืตัวสํานกึรู หรือสวนของวิญญาณ สวนประกฤติคือสสาร หรอืวัตถุ หรือรางกายที่ประกอบขึ้นจากธาตุตางๆ รวมกัน อันไดแก ดิน นํ้า ไฟ ลม อากาศ ซ่ึงการหลุดพนของปตัญชลีตามแนวคิดของปรชัญาสางขยะนี้คือการฝกโยคะเพือ่ใหปุรษุะหรือจิตเกดิสํานึกรูวาตนเองไมใชส่ิงเดียวกันกับประกฤติอกีตอไป เมื่อน้ันจิตหรือตวัรูจะแยกออกจากสิ่งท่ีถูกรูคือประกฤติหรือวตัถุธาตุตาง ๆ ทําใหผูฝกเขาสูสภาวะหลุดพนจากการเวยีนวายตายเกดิ (ผูแปล)

1002 13

Page 14: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

ตีความคําวา เอกะตัตวะ วาเปน “หลักการหนึ่ง” มีความคลุมเครือมากเนื่องจากมิไดชี้ชัดวาหลักการหนึ่งนี้คืออะไร จนบางคนถึงกับกลาววา อะไรหรือวิธีใดก็ตามที่ผูฝกพบวาอาจมีประโยชนตอการเอาชนะการรบกวนจิตใจ (จิตตะ วิ-กเษปะ) ก็ตรงกับความหมายของขอความนี้ทั้งหมด เมื่อการรบกวนจิตใจถูกกําจัดออกไป ผลก็คือจิตจะสงบนิ่ง คําวาเอกะตัตวะควรจะไดรับการแปลความวาเปนหนึ่งในหลักการหรือเทคนิคหรอืวิธีการตางๆ ในการฝกปฏิบัติที่ไดกลาวถึงไวในโยคะสูตรทั้งเจ็ดโศลกตามลําดับต้ังแต ๑:๓๓-๑:๓๙ ซึ่งไดรับการแนะนําใหปฏิบัติเพ่ือการบรรลุถึง “จิต

ตะ-ประสาทนะ” (กระบวนการบรรลุถึงสภาวะอันสงบสุขของจิต) และ “มนัสสถิตินิพันธนัม” (วิธีการผูกหรือทําจิตใหนิ่ง) การแปลความเชนนี้ดูเหมือนจะเหมาะสมที่สุด ในบริบทของโศลกนี้ เอกสารอางอิง : Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama.

จีระพร ถอดความและเรียบเรียง

จดหมายขาวเคยลงเรื่องหมอเขียว หรืออาจารยใจเพชร มีทรัพย ไป 2 ครั้งแลว แตก็ยังมีประเด็นตางๆ อีกมากมายที่นาเรียนรู ในโอกาสเริ่มคอลัมนใหมนี้ เราขออนุญาตสัมภาษณสดจากอาจารยฯ เลย

สารัตถะ ทําไมมาสนใจเร่ืองธรรมชาติบําบัด ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง อ.ใจเพชร เดิมที ไมสนใจองคความรู แนวธรรมชาติบําบัด ไมคิดวาเคาจะมปีระโยชนอะไรคิด

เพียงวาแพทยแผนปจจุบันมีเครื่องมือดี และมีการวิจัยมาก มาย สามารถแกปญหาไดมากกวา เราเรียนมาทางดานวิทยาศาสตร ทั้งในและตางประเทศ อยางไรก็ตาม ปฏิบัติราชการมา 17 ป ก็มีแตเจอผูปวยมากขึ้น มีโรคเรื้อรังและรุนแรงเพ่ิมขึ้น ทั้งที่ทุมเทสุดฝมือ กลับแกปญหาไดเพียง 20% เทานั้น จึงสนใจที่ศึกษาแพทยแผนไทย, แผนทางเลือก, แพทยพ้ืนบาน ซึ่งก็ยังแกปญหาไดไมเดนชัด แมไดนําทุกแผนที่ศึกษามาปฏิบัติจริง ก็แกปญหาไดเพียง 40% เทานั้น เพราะ 3 สิ่งน้ียังมีอยู คือ มีโรคมากขึ้นเจ็บปวยเรื้อรัง, คาใชจายสูง, พึ่งตนเองนอยลง เจอทางตัน เปนความลมเหลวของการดูแลสุขภาพ เห็นความหายนะของมนุษย ก็เครียด จึงไปปฏิบัติธรรม

ในระหวางปฏิบัติธรรม ไดพบวาพระพุทธเจาตรัสเกี่ยวกับสุขภาพไวมากมาย คิดวานาจะเปนคําตอบที่เราแสวงหาและเปนคําตอบทั้งหมด ของ ”ความสมดุล” ยกตัวอยางเชน หลักปฏิบัติที่เปนตนเหตุใหสุขภาพแข็งแรงอายุยืน 7 ประการ (หลักอนายุสูตร) ไดแก

1. เปนผูทําความสบายแกตนเอง (แข็งแรง) 2. รูจักประมาณในสิ่งที่สบาย

3. บริโภคส่ิงที่ยอยงาย 4. เท่ียวไปในกาลอันสมควร 5. ประพฤติเพียรดั่งพรหม เมตตากรุณามุทิตาอุเบกขา 6. เปนผูมีศีล 7. คบมิตรที่ดีงาม

หรืออยางการที่พระองคกลาววา ความสมดุล = เจ็บปวยนอย เบากาย มีกําลัง เบาใจ อยูอยางผาสุก (หลักกกจูปมสูตร) ฯลฯ

นอกจากนั้นพระพุทธเจายังตรัสเรื่องความสมดุลรอน - เย็น การเปนผูมีโรคนอย มีทุกขนอย การมีผลเสมอกัน ไมเย็นนัก / ไมรอนนัก เปนกลาง เปนส่ิงที่ควรแกความเพียร การปรับรอน - เย็น ดวยสิ่งทีหาไดงาย ไมมีโทษ เปนการปฏิบัติเพ่ือความดับทุกข คนจะพนทุกขไดโดยสิ่งที่หาไดงาย และไมมีโทษ

และย่ิงเมื่อพิจารณาวา พระพุทธเจาบําเพ็ญธรรมตั้ง 20 อสงไขย 100,000 กัลป (อสงไขยหมายถึงจํานวนที่นับไมถวน ผูสัมภาษณ) 1 กัลป คิดเปนเวลาคือ มีภูเขาเวฬุบรรพต ขนาดกวางยาวและสูง 1 โยชน ซึ่ง 1 โยชน = 16 กิโลเมตร ทุก ๆ 100 ป ใหนางฟาเอาผาใยบัวที่นิ่มมาก มาปด 1 ครั้ง จนภูเขานั้นราบเปนหนากลอง นับเปน 1 กัลป แลวแสนกัลปจะยาวขนาดไหน ยิ่งอสงไขยแลวก็ยิ่งยาวนานไปอีก เปรียบเทียบกับวิวัฒนาการการแพทยแผนปจจุบันกี่รอยปเอง กับคนเรียนแพทย 7 ป เทียบกับพระพุทธเจาไมไดเลย ไมเพียงเทานั้น การสอนของพระองคยังเปนอกาลิโก คือไมลาสมัย เปนจริงตลอดกาล ไมมีใครลบลางได โดยพระองคตรัสวาอยาเพ่ิงเชื่อใหพิสูจนเอง ผูฝกฝนและปฏิบัติพึงรูเห็นไดดวยตนเอง เปนการเชื้อเชิญหรือทาทายใหมาพิสูจนได เอหิปสสิโก แลวทําไมเราจะไมศึกษาหลักพระพุทธเจาละ นั่นคือจุดเริ่มตน

1002 14

Page 15: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

จึงมาพิสูจน ตามหลัก หาไดงาย ไมมีโทษ “หาไดงาย“ นั้นจะตองเปนของที่อยูใกลตัวเรามากที่สุด หรืออยูในตัวเรา และถานําหลักนี้มาใช ตองสามารถแกปญหาได คือมีความผาสุก ยั่งยืน ใหอิสระภาพแกตน “ไมมโีทษ” คือ ไมมีผลขางเคียง ไมแพง จึงเปนคําตอบที่ ปลดแอก

ในขณะเดียวกัน คําตรัสของ “ในหลวง” ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงก็สอดคลองกัน คือการบริหารแบบคนจนจะทําใหเกิดความกาวหนา ใชทุนนอย หาไดงาย แกปญหาเศรษฐกิจได ลดความเดือดรอน ไมมีโทษ โดยเราก็ดําเนินไปตามหลักการที่วา ซึ่งตองใชปญญาอยางลึกซึ้ง เรียกวาเปนสุดยอดแหงความทาทาย

การแกปญหาและการพัฒนาแทจริง เกิดจากคนลําบาก แลวใชปญญานั้นแกความลําบากได คือภูมิปญญาที่แทจริง ประหยัด เรียบงาย แกปญหาได ทุกคนมีสิทธิ์แกปญหาทั้งหมด ไมวาคนจน หรือ คนรวย

เราจึงสนใจธรรมชาติ และเริ่มบูรณาการองคความรูทุกแผนเขาดวยกันกับหลักพุทธธรรม และเศรษฐกิจพอเพียง หาความสมดุล เพ่ือชวยดับทุกข หาส่ิงที่เปนกลาง เปนเอก ที่แกปญหาได

ไดใชหลักของพระพุทธเจา และในหลวง จึงทําใหไมหลงทาง ไมหาของแพง จึงมาหาของใกลตัว แลวก็สําเร็จ เปนปฏิหาริย คือลดปญหาผูปวยไดถึง 90% ทําใหเขามีสภาพเจ็บปวยนอยลง โดยใชเวลาเพียง 5-7 วัน นั่นคือการยืนยันวาหลักของพระพุทธเจาและในหลวงตรัสเปนจริง เราก็มีความหวัง

ตั้งไว 3 ประเด็นในการใหความผาสุกแกมนุษย คือ - ทําอยางไรจะไดส่ิงที่ประหยัดเรียบงายที่สุด - ทําอยางไรใหมีประสิทธิภาพสูงสุดในการแกปญหา - พ่ึงตนเองไดสูงสุด

หลัก “ความสมดุล” ของพระพุทธเจาและในหลวง ทรงตรัสวา พระพุทธเจา ความสมดุล คือ การดับทุกข ในหลวง ความสมดุล คือ ความมั่นคง

จากการนําหลักของทั้ง 2 พระองคมาเปนแกน แลวนําแพทยแผนทางเลือกตาง ๆ มารวมกันใช เปนวิธี ใชอุปกรณทองถ่ินเปนหลัก ประหยัด เรียบงาย ปลอดภัยมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถลดปญหาลงได สามารถแกปญหาใหจบลงได โดยเรียกวา ”แพทยวิถีพุทธ” เปนองคความรูใหมของโลก ซึ่งนาจะเปนทางเลือกหนึ่งของสังคม และไมสงวนลิขสิทธิ์ สําหรับแพทยแผนปจจุบันก็ยังคงมีประโยชนและใชไดอยู โดยเฉพาะเชน กรณีอุบัติเหตุ กรณีฉุกเฉิน ใชเปนยาแกชั่วคราว เปนตน

สารัตถะ คุณหมอมีงานเยอะมาก มีวิธียางไรใหตัวเองมีความสมดุลชีวิต อ.ใจเพชร พระพุทธเจาใหความสําคัญเรื่องสมดุลมาก มีคนถามพระพุทธทําอยางไรใหพนทุกขได พระพุทธเจาตรัสวา “ เราไมพัก เราไมเพียร จึงขามโมษะสงสารได จึงพนทุกข หรือพูดงายๆ วา ทานมีความความสมดุล คือทานรูเพียร ในตอนที่ไมควรพัก และ รูพัก ในตอนที่ไมควรเพียร

หลักสมดุล รูเพียร รูพัก คือคอยอานตัวเองตลอดเวลา เพียรเทาไหรพลังชีวิตจึงไมพรอง พักเทาไหรพลังชีวิตจึงเต็ม ศักยภาพแตละคนไมเทากัน ดูศักยภาพเรา เพียรเต็มที่ ลาก็พัก แลวคอยเพียรใหม “เพียรเต็มท่ี พักพอดี”

ทํางานไดมาก ไมบางาน ไมหลงงาน รูวางานมีประโยชน งานคือสาระสําคัญที่ควรทํา ทําแลวโลกไดประโยชน เปนการทํางานใหโลก ขณะเดียวกัน เราไมควรหลงงาน ทํางานดวยความสุข ยินดี โดยใช อิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ (ความพอใจ) , วิริยะ (ความเพียร) , จิตตะ (ความเอาใจใหรือจิตใจจดจอ) , วิมังสา (การตรวจสอบใครครวญหรือประเมินผล) ทําใหเกิดพลัง เห็นคุณคาในงาน ทําไดแบบนี้ สารเอ็นโดรฟน (สารสุข) จะหล่ังออกมาจากตอมพิทูอิทารี ทําใหเซลลเน้ือเย่ือ แข็งแรง เพียรเต็มที่ แลวพักใหพอดี รูจักจุดพอดีของตน รูจัก “อานตัวเอง”

แตพุดอยางนี้ ตัวเองก็ทําไมได 100% ตลอดเวลาหรอกนะ บางครั้งก็มุงานหนักมาก มีบางเปนบางคราว แตเราจะไมทําประจํา คือถางานหนักมากตลอดเวลา จะทําใหเราแกวง เปราะบาง แตถางานหนักบางเปนบางคราว จะทําใหเราแกรงขึ้น

ตัวอยางก็มี คือชวงหน่ึงโหมงานมาก เลยไมสบาย นานเปนอาทิตย ถอนพิษทุกอยางก็ไมหาย มาลองตรวจใจ จึงพบกวา “ตัวเองกดดันตัวเอง” ไมใหอภัยตัวเอง ไมพอใจตัวเอง ไมชอบใจตัวเอง เครียด มาจากใจที่ ยึดมั่น มาจากการที่เราทําอะไรแบบเปะเกินไป ความจริงของชีวิตเปนแบบเปะไมได ธรรมชาตินั้นยืดหยุน แตตอนน้ันจิตเราไมรูจักยืดหยุน เราควรจึงเพียรเต็มที่ พักใหพอดี เปนประจํา ยืดหยุนบางกาละ ใจก็คลาย ทําใหเราแกรงขึ้น พอคลายใจลงไดแลว ไขก็ดีขึ้น สรุปแลวเปนไขใจ

พบวาคนเราควรทําแคเทาที่ทําได (ดวยความเพียร

เต็มที่นะ) เวลามีงานมาก ใหชั่งน้ําหนักดูวาอันไหนสําคัญที่สุด ณ วินาทีนั้น ใหคาส่ิงนั้นสําคัญที่สุด สวนงานอื่นใหถือเปนเรื่องไมสําคัญ ใหมันเปนเรื่องของโลก มันไมใชเร่ือง

1002 15

Page 16: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

สําคัญสําหรับเราในตอนนั้น เมื่อกําลังอยูกับปจจุบัน ทําสิ่งสําคัญที่สุดอยู ขณะเดียวกัน มีส่ิงอื่นมาแทรก เราก็ลองวิเคราะหวาส่ิงที่มาแทรกนั้นสําคัญกวางานปจจุบันที่ทํามั้ย ถาสําคัญกวา ใหถือวางานที่กําลังทําอยูเปนเรื่องไมสําคัญ ณ เวลานั้น เชน กําลังเรงงานบางอยาง แตมผีูปวยหนักมาพบ เราเห็นความจําเปนที่จะตองชวยผูปวยหนักกอน นั่นคือ เราชั่งน้ําหนักหาสิ่งที่มีความสําคัญสูงสุด เมื่อบําบัดผูปวยหนักนั้นเรียบรอยแลว ก็กลับมาทํางานที่คางอยู ซึ่งตอนนี้กลับมาเปนงานที่สําคัญที่สุดแทนแลว

ไมวากําลังทําอะไร ใหเห็นคณุคา เห็นประโยชน ของส่ิงที่กําลังทํา เปนการฝกจิต เปนการดู ณ ปจจุบันขณะ และมีความสุขกับส่ิงนั้น ซึ่งเราจะพบสัจจธรรมวา จริงๆ แลวคนเราทําอะไรไดไมมาก (แตคิดไดมาก) คิดมากมีแตเสียเวลา ฟุงมากจะกินกําลังเรา เอาแตพอประมาณ ไมตองสมบูรณแบบมาก ไมตองคิดมาก ไมฟุงซาน เคยมีครูบาอาจารยสอนวา ใหใชขอมูลที่มีอยูจริง ณ ปจจุบัน หรือใกลเคียงปจจุบัน ไมเอาขอมูลอดีต ไมเอาขอมูลอนาคต อยาวางแผนยาวเกินไป วางแผนสั้น ๆ ใกล ๆ คอื ความจริง ทําปจจุบันใหดีท่ีสุด ซึ่งมันชัดเจน จะพลาดนอย เปลืองพลังนอย อยูกับเหตุการณใกล ๆ มีความพรอมที่จะปรับชีวิตใหสมดุล จะมีความสุข

นอกจากนั้น ใหใชวิปสสนา ใชปญญาไตรตรองผลเสียถาเรายึดติดตรงนั้น ใชปญญาไตรตรองผลดีหากเราไมยึดติดตรงนั้น ทําซ้ําไปซ้ํามา ทําแลวจะเปนพลังลางทุกขในจิต ทําใหปลอยวาง จิตจะเลือกไมทุกข จึงทําใหเราปลอยวาง ทําใหเรามีความสุข ลดละสิ่งที่ไมดี และทําจิตใจใหผาสุก ไมติดยึดส่ิงใด ๆ

ในทํานองเดียวกัน ใชสมถะเสริมพลัง ทําใหเกิดความสงบไดเร็ว ทําใหเกิดความผาสุกมากขึ้น พระพุทธเจาแนะใหใชทั้งคู ใหเกิดประโยชนแทงทะลุธาตุ บรรลุธรรม เขาถึงความสุข มีพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา ปรารถนาใหสัตวโลกทั้งตนเองและผูอื่นพนทุกข หรือไดรับส่ิงที่ดีและเปนประโยชน กรุณา ลงมือกระทําใหเกิดการพนทุกขหรือไดรับส่ิงที่ดี เปนประโยชน มุทิตา ยินดีเมื่อเกิดส่ิงที่มีประโยชน อุเบกขา การปลอยวางไมอยากไดส่ิงใด ๆ ตอบแทนกลับคืน เปนการคิดดีทําดี พากเพียรเต็มที่ถึงแมผลลัพธจะยังไมเกิดใหเห็นเปนรูปธรรม แตที่แนๆ ผลดีนั้นเกิดขึ้นในใจเราแลว

อุเบกขาเปนการปลอยวาง ไมทุกข มีความเขาใจอยางถูกตองวา จะทําอะไรก็ตามมีทั้งสําเร็จและไมสําเร็จ มันไมเท่ียง ปลอยใหผลเปนเรื่องของโลก ไมวาจะปรากฏออกมาเปนประโยชน หรือโทษ ความสําเร็จของเราคือ ไมทุกข - ปลอยวางได ความสําเร็จของเราคือ ยิ่งทํายิ่งลดความชั่ว ความเดือดรอน ยิ่งทํายิ่งปลอยวาง ปลอยวางทั้งชั่วและความดี แตไมลดการทําความดี จึงมีความสุขในการทํางาน ไดทั้งประโยชนตนและประโยชนทาน ประโยชนตนก็คือเราไมทุกข เรามีความผาสุกในการทํา ประโยชนทานก็คือ ผลจากสิ่งที่เราทําใหกับทาน จึงไมทุกขใจในการทํางาน สารัตถะ อยากใหฝากขอคิดถึงครูโยคะ อ.ใจเพชร หากมองจากหลักธรรมะของพระพุทธเจา การทําโยคะใหมีประสิทธิภาพสูงสุด คือทําดวยความพอดี ทําทาอาสนะดวยจิตใจที่ยืดหยุน ทําทาอาสนะดวยความตึงพอดี โดยมีเปาหมายอยูที่ความสบาย มีพลัง เบากาย มีกําลัง นั่นคือประโยชนสูงสุดของโยคะ

เมื่อเราพิจารณา จะเห็นวาจุดพอดีของคนแตละคนนั้นไมเทากัน จึงควรยึดที่ความจริงของโยคะ ไมใชยึดที่ตํารา คนที่ยึดตําราจะไมประสบความสําเร็จในการทําโยคะ คนยึดความจริงของโยคะจะประสบความสําเร็จ ความจริงมีคามากกวาตํารา ดูตัวเองจุดพอดีตรงไหนทําแลวไดพลังชีวิตที่สุด น่ันแหละคือ โยคะที่แทจริง ถาขณะที่ฝกแลวทําทาผิดจากตําราแตถูกสรีระกับคนนั้น ๆ อยางหลังจึงจะเรียกวาถูก โยคะจะมีประโยชนเต็มที่ก็ตอเมื่อ ทําโดยไมยึดมั่นถือมั่น ทําโดยอาศัยความพอดีของแตละคน ทาท่ีทําแลวมีพลังชีวิตนั่นแหละคือทาท่ีมีประโยชนสูงสุด เอาทานั้นเปนหลักเปนเกณฑ แมผิดจากตํารา แตถูกสรีระเอาตรงนั้น ไมใชเฉพาะแตเรื่องทา จิตใจและหลักความคิดก็เหมือนกัน จิตใจที่สบาย หลักคิดที่นําไปสูความสมดุลนั้นคือถูก แมอาจจะไมตรงตามตํารา ทีมทําการสัมภาษณไดราว 30 นาที ก็ตองรีบสรุปจบ เพราะอาจารยฯ มีธุระตออีกเยอะมาก แตแคนี้ก็เปนการบานฝากเพ่ือนๆ ผูอานไดโขอยู พบกันใหมคราวหนา อยากใหไปสัมภาษณใคร บอกเราไดเลยนะคะ

ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี, ศันสนีย นิรามิษ แปลและเรียบเรียง

The Clasp Knife Reflex Clasp Knife Reflex มีอาการเหมือนใบมีดของมีดพับท่ีมีแรงตานเมื่อเวลาจะพับเก็บแลวจูๆ ก็พับเก็บลงไปใน

1002 16

Page 17: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

รองเก็บจนเกิดเสียง รีเฟล็กซชนิดนี้เปนอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากกลามเนื้อยึดตัว แตรีเฟล็กซนี้จะทําใหกลามเนื้อผอนคลายมากกวาเกร็งตัว การกระตุนสําหรับรีเฟล็กซนั้นไมใชการเคลื่อนไหวของ muscle spindle แตเปนแรงตึงจากการหดตัวของตัวรับความรูสึกของเอ็นกลามเนื้อ ความตึงที่ยืด หยุนนี้ทําใหกลามเนื้อท่ีติดกับเอ็นผอนคลายและขอตอโคงงอขึ้น (รปู 1.8) ตัวรับความรูสึกสําหรับรีเฟลกซ clasp knife นี้คือ Golgi tendon organ ปกติตัวรับโดยสวนมากจะอยูใกลๆกับศูนยกลางระบบกลามเนื้อ และเสนเอ็นที่เชื่อมตอกับเนื้อเย่ือตางๆของเสนใยกลามเนื้อ ดังนั้น Golgi tendon organ จึงทํางานจากการหดตัวของเซลลกลามเนื้อ ที่อยูตอเนื่องกันของตัวรับ จากการศึกษาพบวา Golgi tendon organ ไมมีความรูสึกสัมพันธกับปฏิกิริยาการเหยียดเฉยๆ แตมันจะเริ่มกระตุนกระแสประสาทไปยังไขสันหลังทันทีที่เสนใยกลามเนื้อกระตุก จากนั้นเกิดอะไรขึ้น? นี่คือใจความสําคัญ: สัญญาณความรูสึกของแอกซอน ยังไปไมถึงเซลลประสาทสั่งการโดยตรง (ซึ่งจะเพ่ิมแรงกระทําและกระตุนการหดตัวของกลามเนื้อ) แตเซลลประสาท Inhibitory Inter neurons จะลดแรงกระทําของเซลลประสาทสั่งการ ทําใหกลามเนื้อคลายตัวลง ถาคุณกระตุนตัวรับ รีเฟล็กซจะผอนคลายกลามเนื้อ (รูป 1.8) มันเปนวงจรที่แนนอนวาการหดตัวของเสนใยกลามเนื้อจะหยุดการกระทําลงดวยตนเอง วงจรนี้จะทํางานเหมือนกับเครื่องตัดกระแสไฟฟา ที่จะดับลงหากมีอุณหภูมิรอนจนถึงที่กําหนด เคยมีรายงานถึงมนุษยยอดพลังที่สามารถยกรถใหพนจากเด็กได อาจจะเปนเพราะไดแรงจากระบบประสาททั้งหมดที่รวมกันตานรีเฟล็กซนี้ คลายกับเครื่องตัดกระแสไฟฟาที่หยุดการทํางานเมื่อมีความรอนเกินกําหนด ในชีวิตประจําวันเราจะเห็นทาทางที่เกิดจากรีเฟล็กซ clasp knife จากภาพโดยรวม เชน เมื่อนักงัดขอต้ังแขนตานกันซักครู ทันใดนั้นคนที่ออนแอกวาพลิกแขนแลวแพไป (รูป 1.8) ไมวาจะเปนการตั้งใจหรือไม แตเรามักจะใชรีเฟล็กซแบบ clasp knife ขณะที่ฝกหฐโยคะเปนประจํา เพ่ือใหเห็นถึงผลกระทบและไดรับประโยชนที่จะเกิดขึ้น ใหคุณลองสํารวจอยางคราวๆ วาคุณสามารถพับตัวไปขางหนาโดยใหเขาเหยียดตรงไดมากนอยแคไหน โดยเฉพาะในชวงเวลาเชา จากนั้นใหงอเขาจนใหลําตัวพับลงไปแนบกับขาได คงอยูในทาโดยแขนทั้งสองขางกอดรอบขา เพ่ือใหหลังเหยียดอยูในตําแหนงที่สัมพันธกับกระดูกเชิงกรานอยางสบาย จากนั้นพยายามเหยียดเขาใหมากขึ้น โดยใหหนาอกยังคงอยูใน

ตําแหนงเดิมและดึงตัวใหสุดประมาณ 30 วินาที นี่เปนการดึงเอ็นที่ Quadricep ของขา (รูป 1.6) จะมีการพูดถึงรายละเอียดในบทตอไป จากนั้นคลายทาและลองสํารวจอีกครั้ง วาคุณสามารถพับตัวไปขางหนาโดยที่เหยียดเขาตรงไดมากแคไหน ความแตกตางจะถูกวัดจาก Golgi tendon organ วาสามารถกระตุนกลามเนื้อเอ็นใหผอนคลายจากรีเฟล็กซของ clasp knife ไดอยางไร Golgi tendon organ จะไวตอการกระตุนดวยมือเทาๆกับการที่กลามเนื้อตึง ถาคุณจัดการจุดเชื่อมของระบบกลามเนื้อและเอ็นตางๆในรางกายไดอยางคลองแคลว นั่นคือ Golgi tendon organs จะสงผลใหเสนใยกลามเนื้อตางๆผอนคลาย นี่คือเหตุผลที่วาทําไมการนวดแบบลึกถึงรูสึกผอนคลาย และนี่ยังเปนเหตุผลวาทําไมนักนวดบําบัดถึงตองการลดแรงตึงของกลามเนื้อเฉพาะจุด เพ่ือท่ีจะสงผลโดยตรงไปยังจุดเชื่อมๆตางๆของระบบกลามเนื้อและเอ็น มันเปนวิธีการบําบัดดวยการจับกระดูกสันหลังแบบเกา ดวยการคอยกระตุนการรีเฟล็กซของ clasp knife ซึ่งมีประสิทธิ์ภาพเทากับการทําใหกลามเนื้อหดตัว ส่ิงที่นาแปลกใจคือหลังจากนั้นอีก 1-2 วัน ผูไดรับการบําบัดที่มีโอกาสแกไขอาการตางๆ ของระบบกลามเนื้อจะสามารถคลายความตึงไดมากกวาตอนแรก ถึงแมวา คุณสามารถทดสอบผลจากการกระตุนความตึงตามสวนตางๆของรางกายดวยตัวเอง ใหลองเกร็งกลามเนื้อ Adductor ซึ่งอยูบริเวณขาดานใน เพราะการดึงกลามเนื้อ Adductors ใหแนนกวากลามเนื้อสวนอื่นๆจะจํากัดความสามารถในการนั่งใหตัวตรงขณะที่ฝกโยคะ เร่ิมจากใหคุณลองนั่งในทา Svastikasana หรือทา Sidddhasana จากนั้นคลายทาและนั่งใหสะโพกติดกับกําแพง โดยใหเขาและขาเหยียดตรงไปใหมากที่สุดเพ่ือยืดกลามเนื้อ Adductor ใหมากเทาที่จะเปนไปได ลองดึงขาและกลามเนื้อ Adductor ทั้งคูใหตึงที่สุดพรอมกับกระตุน Golgi tendon organ จากกลามเนื้อดานในดวยการถูเร็วๆ จะชวยใหคุณเหยียดขาไดมากขึ้น เอ็นกลามเนื้อ Adductor บางเสนจะอยูที่ขาดานในใกลๆกับอวัยวะสืบพันธุ บางเสนจะเรียบแบนมากซึ่งอยูไปทางดานหลังมากขึ้น ทั้งหมดจะมาจากกระดูกคูที่ชื่อวา Inferior Public Rami (รูป 1.12) ซึ่งรวมตัวกันอยูในรูปตัว V อยูตรงอวัยวะสืบพันธุ ขณะที่คุณนวดกลามเนื้อ Adductors ที่กําลังตึงอยูซักครู คุณจะรูสึกวากลามเนื้อผอนคลายทีละนอย เห็นไดจากการที่คุณสามารถเหยียดขาไดสมบูรณขึ้น จากนั้นใหลองตรวจสอบความพัฒนาในทานั่งอีกครั้ง การผสมกันระหวางการนวดเอ็นกลามเนื้อ Adductors กับการออกแรงเหยียดยืด

1002 17

Page 18: Yoga Saratta -Feb 2553 (Vol.1002)

กลามเนื้อ Adductor อยางเต็มที่จะชวยยับย้ังประสาทสั่งการที่ส่ังการไปยังกลามเนื้อเหลานี้ ทําใหกลามเนื้อผอนคลายและชวยใหคุณนั่งไดตรงและสบายขึ้น การที่ดึงกลามเนื้อ Quadriceps ที่ขาและการนวดกลามเนื้อ Adductors ไปดวยนั้นทําใหเราสังเกตเห็นการทํางานของรีเฟล็กซ clasp knife วาทําอยางไร และยังชวยใหคุณสงบนิ่งอยางสบายเมื่อคางอยูในทาเปนเวลา 10-15 วินาที ดังเชนที่เราฝกกันในหฐโยคะเปนประจํา ในกรณีนี้ถาคุณไมตองการใหเปนการรีเฟล็กซแบบ myotatic stretch อยาออกแรงมากนัก และอยาอยูในทาที่รูสึกไมสบายตัวถาคุณไมไดเตรียมตัวรีเฟล็กซแบบ flexion ซึ่งจะกลาวในตอนถัดไป

รูป 1.8 การรีเฟลก็ซแบบ clasp knife: กลามเน้ือพยายามกระตุน Golgi tendon organ ซ่ึงรับความรูสึกสงเขาไปที่ประสาทไขสันหลังกระตุนไปยังเซลลประสาทประสานงาน (+ ที่เสนประสาทไขสันหลังปกบน) จากนั้นจะสงไปยับยั้งเซลลประสาทสั่งการ (ที่เสนประสาทไขสัน

หลังปกลาง) เปนผลใหเสนประสาทจํานวนหน่ึง เกิดการกระตุนไปยังเซลลกลามเน้ือกระดูก (+ ผลการทํางานของจุดประสานประสาทในระบบลดลง) ผลสุดทายก็คือทําใหกลามเน้ือผอนคลายหรือคลายตัวดังเชนผูที่แพการงัดขอ

เครือขายครูโยคะศรีราชา ครูญาดาวิถีโยคะในชีวิตประจําวัน

ฉันไดรับเมลลจากสถาบันฯ รูสึกเปนเกียรติและโอกาสอันยิ่งใหญสําหรับฉัน อันที่จริงแลวลึกๆฉันใฝฝนอยากเปนนักเขียนอยูเหมือนกัน ฉันจึงเชื่อวาพรท่ีเราใหตัวเองนั้นสําคัญเปนอันดับแรกคือเราตองปรารถนาและใฝฝนกอน พรที่ประเสริฐคือพรที่เปนประโยชนตอตนเองและผูอื่น จะส่ือถึงพรของธรรมชาติอันศักดิ์สิทธเสมอ พรที่ปรารถนาใหตัวเองและผูอื่นพบความสุข สงบเย็นเปนพรอันสูงสุดไมชาก็เร็ว

ในฐานะที่เปนครูโยคะ เวลาเจอใครๆ มักจะถามเราวา ทําโยคะทุกวันหรือเปลา ฉันนิ่งสักครูกอนจะตอบเพราะฉันคิดวาในสิ่งที่เขาถามคือ ฉันทําโยคะอาสนะทุกวันหรือเปลา แตสําหรับฉันแลวโยคะของฉันคือการฝกการยอมรับตัวเราเองอยางที่เราเปน ยอมรับความคิด ความรูสึกอยางที่มันเกิดขึ้น นี่คือวิถีโยคะของฉัน ฉันจึงถือโอกาสนี้ไดอธิบายความหมายโยคะที่แทจริง เราจะเห็นวาถาเราเขาใจโยคะที่แทจริงแลว เราสามารถปฏิบัติโยคะไดทุกที่ทุกเวลาแมอยูกลางถนน หรืออยูกลางตลาด

ทุกวันฉันตระหนักถึงเปาหมายของโยคะเสมอ คือเพ่ือการหลุดพน ฉันชอบฟงธรรม ฉันเห็นวาเปาหมายทางธรรมกับเปาหมายโยคะคือส่ิงเดียวกัน ดังนั้นฉันจึงคิดวา การฝกการเจริญสติและการปฏิบัติโยคะ เปนวิถีสูการหลุดพน การหลุดพนไมไดทําไดงาย หากขาดการเจริญสมาธิ และเจริญสติ เวลาเราสอนโยคะเราพูดเสมอวา “ทําไดเทาไหรเทานั้น ยอมรับตัวเองอยางที่มันเปน” ดูอาจงายแตไมงาย

สําหรับทางใจ เพราะเวลาเราทุกขเราจะรูเลยวาเราเผลอไปคิด เผลอไปรูสึก เผลอไปตอตาน เราไมไดยอมรับความคิด ความรูสึกเหลานั้นอยางที่มันเปนจริง บางครั้งเราโกรธแตเราไมยอมรับวาเราโกรธ แตหากเรารูตัวทัน (ถาหากเราเจริญสติบอยๆ) เราจะเห็นความโกรธ และเรารูธรรมชาติความรูสึก มันเปนของชั่วคราว มันอยูในอํานาจของความไมแนนอน หากเรารูทัน เราเขาใจธรรมชาติของมัน เราจะยอมรับมันได และจึงปลอยวางมันได

เวลาวางฉันจึงชอบอยูคนเดียว ปดโทรศัพทวันเสารอาทิตยหรือนอกเวลางานของฉัน ดูอาจจะเห็นแกตัวซักหนอย แตฉันคิดวามันสําคัญสําหรับชีวิตมนุษย ที่เราจะตองรูจักตัวเราเองวา หากเรายังไมสามารถดูแลจิตใจของเราเองได เราจะชวยเหลือผูอื่นไดอยางไร การชวยเหลือของเราอาจชวยผิดๆ อาจทําใหเขาหางเหินเปาหมายชีวิตท่ีแทจริงยิ่งกวาเดิม เราอาจสรางกรรมโดยไมรูตัว ดังนั้นฉันจึงหมั่นพากเพียรในการฝกการรูทันความคิด รูทันอารมณ การคลุกคลีหมูเพ่ือนยังมีบางแตไมมากแลว เพราะกลัวทุกข เวลาทุกขเขามาเราตั้งตัวไมทัน เรามักเผลอไปกับการตอตานและเห็นดวย ทุกขที่ผานมาทําใหฉันระมัดระวังตัวมากขึ้น ฉันกลัวความสุขที่มาชั่ว คราว เพราะความสุขชั่วคราวทําใหเรายึดติดไดงาย ปลอยวางไดยาก ดังนั้นฉันจึงตอบตัวเองวาฉันเพียรอยูในวิถีโยคะตลอดเวลา

เลาเรื่องดวยหัวใจ

1002 18