ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4

13
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 1

Upload: panomporn-chinchana

Post on 29-Jul-2015

270 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 1

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 2

ประวัตินาฏศิลปไทย

กําเนดินาฏศิลปไทย

ประเทศไทยมีประเพณแีบบอยางทางศิลปะการแสดงมาชานาน ซึ่งไดผานมาหลาย

ศตวรรษและหลายช่ัวอายุคน การถายทอดศิลปะนีไ้ดผานมาหลายทาง จากที่เปนคําพดู จน

ถายทอดมาเปนเอกสารจากเรื่องราวตางๆ จนมาเปนกิจกรรมทางการศกึษาอยางมีระบบ แตกระนั้น

ประเพณีทางศลิปะของการแสดงนี้ก็ไดผานจากยุครุงเรืองและยคุเสื่อม

นาฏศิลปไทยเปนสวนหนึ่งของการแสแหงการกแสดงออกทางวัฒนธรรมที่สําคญั และ

ยังเปนสิ่งสําคัญอยางมากตอชีวิตประจําวันและวถิชีีวิตของชาวไทย ไมใชเปนความบันเทิงเพียง

อยางเดียว แตยังเปนสวนหนึ่งของพธิีกรรมที่สําคญัและเกี่ยวของกบัศาสนาและกลุมสังคมหลาย

กลุม โดยแทจริงแลวนาฏศิลปไทยนั้นสามารถที่จะบรรยายลักษณะเฉพาะตวัและยังสามารถที่จะ

สะทอนใหเห็นถงึลักษณะของสังคมไทยที่แตกตางจากที่อืน่ ๆ โดยเฉพาะ ดังนั้นเราสามารถสังเกตได

วานาฏศิลปของไทยจะสะทอนใหเห็นถึงลักษณะที่จะบงบอกใหเห็นถึงความเปนไทย

ประเทศไทยตั้งอยูทางตอนกลางของทวีปเอเชียอาคเนย โดยอยูในแนวเสนทางการ

พาณิชย ประเทศไทยจึงมีวฒันธรรมที่หลากหลายจากทางตะวนัตก และทางตะวันออก วัฒนธรรม

เหลานี้ไดหล่ังไหลเขาสูประเทศไทย ซ่ึงมีผลทําใหรปูแบบทางประเพณีและศิลปะมีความแตกตางกนั

ไป

นาฏศิลปไทยนั้นสามารถจะสืบคนหาถึงความเปนมาไดวามีมาตั้งแตเริ่มตน

ประวตัิศาสตร

ชาติไทย ส่ิงที่นําเสนอออกมาถายทอดผานการแสดงนาฏศิลปไทยนั้น ทําใหเราเห็นวตัถใุนทางศิลป

ที่มนุษยไดสรางสรรคข้ึนมา ทั้งวรรณคดี ประตมิากรรม จิตรกรรม เปนตน ในแตละยคุของ

ประวตัิศาสตรไทยไดเผยใหเห็นถึงส่ิงมาชีวติที่มีอยู รวมถึงความเจริญของมรดกทางวฒันธรรมไทย

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 3

ความหมายของนาฏศิลป

คําวา “นาฏศิลป” เปนคําสมาส แยกไดเปน 2 คํา คือ คําวา “นาฏ” และ “ศิลป”

นาฏ หมายถึง การรายราํ และการเคล่ือนไหวไปมา สันสกฤตใชรปูศพัทคาํ

วา “นฤตย” ภาษามคธ ใชคาํวา “นจฺจ” และ “นฤตฺย” เปนช่ืออยางหนึ่งของการฟอนราํ

บวงสรวงพระผูเปนเทวาลัย โดยเลือกเอาจังหวะและทาราํที่เต็มไปดวยทาเคารพสักการะ และเลือก

แสดงตอนที่เปนการกระทาํนบัเนื่องในชีวประวตัิของพระผูเปนเจาดวย สวนคําวา “นิจฺจ” มี

คาํอธิบายเพิ่มอกี ไดแก การฟอนราํ นับตั้งแตการฟอนรําพืน้เมืองของชาวบาน เชน รํา

โทน ตลอดจนไปถงึการฟอนที่เรียกวา ระบาํของนางรํา (ที่กลาวถึงในกฎหมายเกา) ระบาํ

เดี่ยว ระบาํคู ระบาํชุด หรือระบาํของนางนัจจะ ซ่ึงมีอยูในอินเดียจนบดันี ้

ศิลปะ ความหมายของศิลปะกลางออกไปตามความคิด และแตละแขนงสาขา ซ่ึงจะ

กําหนดแนนอนไมได เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงอยูเสมอ ในสมัยแรก ๆ ศิลปะหมายถึงการชางทั่ว

ๆ ไป ตองใชฝมือปฏิบตัิโดยอาศัยมือ ความคิด และความชํานาญในการที่จะประกอบวตัถุนั้น ๆ

ใหเกดิความงดงาม ประณตี ละเอียดออน กอใหเกิดความรูสึกยินดีช่ืนชมและเปนทีป่ระทับใจแกผู

ที่ไดพบเห็น

ศิลปะ อาจหมายถงึการแสดงออกเพื่อสนองความตองการทางอารมณ การ

ลอกเลียนแบบ การถายทอดความหมายตาง ๆ หรือเปนส่ิงที่มนษุยเกิดจินตนาการในอนัที่จะแสดง

คณุคาแหงความงอกงามออกมาในรูปแบบตาง ๆ หรือไดพบเห็นจากธรรมชาติแลวนาํมาดัดแปลง

ประดษิฐข้ึนใหมีความวิจิตรละเอียดออนซาบซ้ึง

ศิลปะ คือ ส่ิงที่มนุษยสรางสรรคขึ้นโดยดัดแปลงจากธรรมชาติใหประณีตสวยงาม

ศิลปะนัน้ยอมเกดิขึ้นไดทกุขณะ ธรรมชาติเปนสวนหนึง่ทีจ่ะนําศิลปะอันสงูสงปรากฏ

แกมวลมนุษย คือ เปนแรงบนัดาลใจ ศลิปะที่เกดิข้ึนนัน้จะตองใหความเพลิดเพลิน นิยม

ยินด ี ซาบซ้ึงแกผูดูและผูชม รวมทั้งความคดิ สตปิญญา ความงามทางดานสุนทรียภาพ

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 4

ศิลปะ เปนคําภาษาสันสกฤต (ส.ศิลฺป ป.สิปปฺ มีฝมือยอดเย่ียม) ซ่ึงหมายถึงการ

แสดงออกมาใหปรากฏข้ึนอยางงดงามนาพงึชมกอใหเกิดอารมณสะเทือนใจ ตรงกับคาํ

ภาษาอังกฤษวา “ARTS”

ศิลปะอาจแบงแยกออกตามความสําคัญไดดังนี ้

1. วิจิตรศิลป หรือประณตีศิลป (FINE ARTS) เปนศิลปะแหงความสุขที่มุงหมาย เพื่อ

ชวยสนองความตองการทางอารมณ จิตใจ และสติปญญา กอใหเกิดความสะเทือนใจ นับเปน

ศิลปะทีบ่ริสุทธ์ิที่สรางสรรคจากสตปิญญาจิตใจ รวมกบัความเจริญทางดานสุนทรียภาพของศิลปน

แตละคน แสดงออกโดยใชฝมือเปนสวนใหญ แบงออกเปน 5 ประเภทคอื

1. วรรณกรรม (LITERATURE)

2. ดนตรีและนาฏศิลป (MUSIC AND DRAMA)

3. จิตรกรรม (PAINTING)

4. ปฏิมากรรม หรือ ประติมากรรม (SCULPTURE)

5. สถาปตยกรรม (ARCHITECTURE)

วิจิตรศิลปทั้ง 5 ประเภทนี้กอใหเกดิอารมณและพุทธิปญญา กลาวคือ มนุษยอาศัย

ศิลปะเพือ่แสวงหาความด ี และความบนัเทิงใจใหกบัจิตใจคน เห็นคุณคาทางศาสนาและ

วรรณคด ี ความงามสงาแหงสถาปตยกรรม บังเกดิความพอใจและมีอารมณคลอยตามไปกบั

ความรูสึกนึกคดิของเรื่องราวและการแสดงออกของศิลปน

2. ประยุกตศิลป (APPLIED ARTS) เปนศิลปะแหงอัตถะประโยชน เพื่อสนองความ

ตองการทางอารมณ และดานวัสดุที่กาวหนา โดยนําไปใชประโยชนเกี่ยวกบัหตัถกรรมและโภค

ภัณฑ เชน เครื่องใชภายในบาน การประดษิฐเครื่องแตงกาย อาหาร ซ่ึงศิลปะนี้อาจประดิษฐข้ึน

ดวยเครื่องมอื หรือเครือ่งจักร

3. มัณฑนศิลป (DECORATIVE ARTS) เปนศิลปะแหงการตกแตงประดับประดา เชน

การตกแตงสวน อาคาร สถานทีต่าง ๆ หองรับแขก โดยใชศิลปะในการตกแตงในสถานที่หรอื

อาคารนั้น มีความงามสงเสริมทางดานจิตใจและอารมณ

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 5

4. อุตสาหกรรมศิลป หรือ พาณิชยศลิป (INDUSTAIL OR COMMERCAIL ARTS)

เปนศิลปะที่สรางข้ึนเพื่อประโยชนใชสอยสวนใหญ ทําเปนอตุสาหกรรมในครอบครวั หรือใน

โรงงาน อันเปนผิตผลเพื่อการเงิน เชน การปนรปูตาง ๆ การผลิตเครือ่งปนดนิเผา งานไม งาน

โลหะ เปนตน สวนดานพาณิชยศิลปนัน้ คือศิลปะเกี่ยวกบัการคา ซ่ึงตองพยายามออกแบบให

เหมาะสมและถกูรสนิยมของประชาชน ทําใหเกิดความตองการซ้ือ ไดแก ศิลปะการโฆษณา การ

จัดตูโชว ภาพโปสเตอร

5. ศิลปบริสุทธิ์ (PURE ARTS) เปนศิลปะเพื่อตอบสนองอารมณของศิลปนในการ

แสดงผลงานของตนออกมาในรปูแบบอิสระ โดยไมไดมุงหวังใหศิลปะทีผ่ลิตข้ึนมานั้น มีผลงานทาง

การเงินเปนสําคญั นับเปนศิลปะทีผ่ลิตข้ึนเพื่อศิลปะโดยแทจริง

6. PLASTIC ARTS เปนศิลปะประเภทที่มีรูปทรง คือ มีคณุคาเชิงสามมิติ มีความ

กวาง สูง และความลึก ศิลปะประเภทนี้ไดแก จิตรกรรม ภาพพิมพ รวมทั้งปฏิมากรรม และ

สถาปตยกรรมดวย

ศิลปะที่กลาวมานี ้ ลวนแตเปนศิลปะที่มีคณุคาทางความงามในแตละสาขาตามแนวตาง ๆ

การใหความคดิ การสรางสรรคแตกตางกันไป สรปุความไดวา ศิลปะทกุประเภทมีจุดหมายเปนจุด

เดียวกนัคือ สรางข้ึนเพือ่ใหเปนทีน่ิยมยินด ี ขัดเกลาความคิดและจิตใจใหผองใส อันจะกอใหเกดิ

ความสุขแกมวลมนุษยโดยทัว่ไป

ฉะนั้น คาํวา “นาฏศิลป” จึงประมวลความหมายไดวา การฟอนราํที่มนษุยประดิษฐ

ข้ึนจากธรรมชาติดวยความประณตีอนัลึกซ้ึง เพียบพรอมไปดวยความวิจิตรบรรจงอัน

ละเอียดออน นอกจากหมายถึงการฟอนราํ ระบํา รํา เตน ฟอนแลว ยังหมายถึงการรองและการ

บรรเลงดวย

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 6

ที่มาของนาฏศลิป

นาฏศิลปหรือศิลปะการรายราํ สันนิษฐานวา มีมูลเหตุที่เกิดสําคัญ 2 ประการ คอื

1. เกิดจากธรรมชาต ิ ศิลปะทกุ ๆ อยางยอมมาจากธรรมชาติทั้งส้ิน การฟอนราํก็เปน

ศิลปะสาขาหนึ่งที่เรียกวานาฏศิลป โดยดดัแปลงปรับปรุงมาจากธรรมชาติเชนเดียวกบัศิลปะสาขา

อื่น ๆ การฟอนราํเปนการเคลือ่นไหวอวัยวะตาง ๆ ตั้งแตศีรษะลงมาถึงเทา มนุษยเราทุกคนตองมี

อารมณ รัก โกรธ เศราโศก บางขณะบางช่ัวเวลาก็มคีวามบันเทิงเริงใจ และมักจะแสดงกิรยิา

ทาทางเหลานัน้ออกมาใหผูอืน่เขาใจความหมาย กริิยาตาง ๆ เหลานี้ไดนํามาปรบัปรงุใหเหมาะสม

ไดสัดสวน จนกลายเปนทาฟอนราํ เชน การเตนเปนจังหวะ ยกขา ชูแขน เอียงไหล หมุน

ตัว ในระยะแรกอาจไมงดงาม แตตอมาภายหลังไดปรับปรุงและกาํหนดสัดสวนใหสวยงามข้ึน

ตามลําดับ

2. เกิดจากการบวงสรวงบูชาเทพเจา แตโบราณมนุษยทุกชาติทุกภาษาไมมีส่ิงใดอนั

จะยึดเปนทีพ่ึ่งทางจิต หรือเครื่องเคารพสักการะเหมือนปจจุบนั เทพเจาหรือพระผูเปนเจาเขามามี

บทบาทสําคญัในชีวติมนษุย ซ่ึงเกิดจากการสมมต ิ เม่ือมีการรวมพลังจิตมากเขา ก็ทําใหส่ิงสมมติมี

ความศักดิ์สิทธ์ิประสบความสําเร็จในทีป่รารถนา เชน ญี่ปุนนับถอืดวงอาทติย เปนการบูชา

ความสําคัญของดวงอาทติยทีใ่หความเรารอนและแสงสวาง อินเดียบูชารปูเคารพซ่ึงแตงตัง้เปนเทพ

เจาตาง ๆ ไทยเช่ือภูต ผี เทพารักษ เจาปา เจาเขา รูปเคารพตาง ๆ ที่มนุษยสมมติข้ึนตางไดรับ

การบวงสรวงบูชาดวยอาหาร หรือสรรพส่ิงอันควร จากนั้นมีการบวงสรวงดวยการรายราํ กระโดด

โลดเตนตามจังหวะ เชน พวกแอฟรกิา คนปา ชาวเขา เปนแบบแผนวฒันธรรมของแตละ

ชาต ิ นบัไดวาเปนนาฏศิลปพืน้ฐาน ประเทศอนิเดยีมีหลักฐานปรากฏวามกีารรายราํออนวอนบูชา

เทพเจาในคัมภีรหนึง่ในส่ีของคัมภีรไตรเวท อันมี

1. ฤคเวท

2. ยุชรเวท

3. สามเวท

4. อาถรรพเวท

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 7

ตอมามีการขับรองประกอบการรายราํ เพื่อใหมีความงดงามทางเสียงประกอบการรํา

เรียกวา นาฏยเวท เมื่อศิลปะแหงการราํรุงเรอืงในประเทศอินเดีย พราหมณไดนาํเอาตํารานาฏเวท

มาสอนในประเทศไทย ไมปรากฏหลักฐานแนชัดวาเขามาในสมัยใด และเปล่ียนช่ือตาํรานาฏ

ศาสตร เช่ือกันวา พระภรตมุนีเปนผูรจนา ตาํรานาฏยศาสตรนี ้ บางครัง้เรียกวา ตาํราภรต

ศาสตร มีตํานานแหงการฟอนราํของอนิเดีย กลาววา พระศิวะทรงเปนบรมครูแหงการฟอนราํ ดัง

มีตํานานที่ไดกลาวไว

ตํานานการฟอนราํของอนิเดีย

เปนที่ยอมรบักนัโดยทัว่ไปแลววา ประเทศตาง ๆ ในภาคพื้นเอเชีย เอเชีย

อาคเนย หลายประเทศรวมถงึประเทศไทย ไดรับอารยธรรมมาจากประเทศอนิเดียเปนสวน

ใหญ เม่ือไทยไดรับอารยธรรมจากอนิเดีย เปนตนวา ลัทธิ ศาสนา ขนบธรรมเนียม

ประเพณ ี และศิลปะแขนงตาง ๆ โดยมีการพิจารณาอยางถี่ถวนแลว วาเปนอารยธรรมที่มีระเบียบ

แบบแผนที่ดีจึงไดนาํมาดดัแปลงยึดถือเปนแบบฉบบั ตามความเห็นชอบของไทย การฟอนราํหรือ

วิธีการดานนาฏศิลป ก็เปนอารยธรรมแขนงหนึ่งทีไ่ทยไดแบบแผนและแนวความคิดเดิมมาจาก

อินเดีย บรรดานกัปราชญราชบณัฑติของไทยหลายคนไดยนืยันในเรื่องนี้ปรากฏเปนลายลักษณ

อักษร ในการศกึษาเรื่องราวและประวตัิความเปนมาของนาฏศิลปไทยนั้น ถอืวามีความจําเปน

อยางย่ิงที่จะตองรูเรื่องตํานานการฟอนราํของอนิเดยีดวย

ตํานานการฟอนรําของอินเดยีตามที่ปรากฏใน “โกยัลปุราณะ” (โกยัลปราณะ คือ

ตํานานเกี่ยวกับความเปนมาของเทวาลัยตาง ๆ) ในศาสนาฮินด ู ฉลับอนิเดียใตกลาววา ใน

กาลครั้งหนึ่งมีฤๅษพีวกหนึ่งตัง้อาศรมบาํเพญ็พรตอยูกับภรรยาในปาตาระคา ตอมาฤๅษพีวกนี้

ประพฤติอนาจารฝาฝนเทวบญัญัต ิ รอนถึงพระศวิะตองชวนพระนารายณลงมาปราบ พระศวิะทรง

แปลงพระองคเปนโยคีหนุมรูปงาม พระนารายณทรงแปลงองคเปนภรรยาสาวสวย ทั้งนี้เพื่อลอให

พวกฤๅษีและภรรยาเกดิความหลงใหลในความงามเพราะอาํนาจราคะจรติ จนเกิดการววิาทแยงชิง

กันในบรรดาฤๅษีและภรรยาดวยกนัเอง แตพระศวิะและประนารายณแปลงกายไมปลงใจดวย เม่ือ

ฤๅษีและภรรยาไมประสบความสําเร็จ จึงทําใหฤๅษเีหลานัน้เกิดโทสะพากนัสาปแชงพระศวิะและประ

นารายณแปลงกายทั้งสอง แตพระศิวะและพระนารายณไมไดรับอนัตรายแตอยางใด พวกฤๅษีจึง

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 8

เนรมิตเสือขึ้นตัวหนึ่งเพือ่ฆาโยคีและภรรยาปลอมตวัใหตาย พระศิวะจึงตองฆาเสือและนาํหนังเสือ

มาทําเปนเครื่องแตงองค พวกฤๅษีจึงเนรมิตใหเกดิพญานาคข้ึนตวัหนึ่งเพือ่ตองการใหพนพิษใสโยคี

และภรรยาปลอมตวั พระศวิะจึงจบัพญานาคตัวนัน้มาพันพระวรกายทาํเปนสายสังวาลยประดบั

องค ตอมาก็ทรงกระทาํปาฏิหาริยโดยการรายราํทาํทาไปมาแตพวกฤๅษีก็ยังไมส้ินฤทธ์ิ พวกฤๅษีจึง

เนรมิตยักษคอมมีสีผิวดําสนิทข้ึนตนหนึ่งมีช่ือวา มุยะละคะ หรืออสูรมูลคน ี พระศวิะเห็นดังนั้นจึงใช

พระบาทขวาเหยียบยกัษตนนั้นแลวทรงฟอนราํอยูบนหลังยักษตนนัน้ตอไปจนหมดกระบวนทา

รํา เมื่อฤๅษีเห็นดังนั้นก็สิ้นทิฐิยอมรบัผดิ ทูลขอชมาโทษและสัญญาวาจะปฏบิัติตนอยูในเทวบญัญตัิ

อยางเครงครดัตอไป

ตอมาพญาอนันตนาคราชซ่ึงเปนบัลลังคนาคของพระนารายณ ไดฟงพระนารายณ

ทรงเลาถึงการฟอนราํของพระศิวะในปา ตาระคา มีความประสงคที่จะไดดกูารฟอนราํของพระศิวะ

บาง (บางตําราวาการปราบฤๅษีในครั้งนั้น พญาอนันตนาคราชไดตามเสร็จไปดวย) พญาอนนัต

นาคราชจึงทลูพระนารายณใหทรงทูลพระศิวะ ใหทรงฟอนรําใหด พระนารายณจึงทรงแนะนาํให

พญาอนนัตนาคราชบาํเพญ็พรตบูชาพระศวิะเพื่อขอพรแลวจะไดทกุ ๆ อยางทีต่องการ พญาอนนัต

นาคราชก็ทรงทําตาม และเม่ือไดเวลาทูลขอการฟอนราํ พระศิวะกท็รงรบัคาํวาจะลงมาฟอนราํใหดู

ในโลกมนษุย ณ ตําบลที่มีช่ือวา “จิทัมพรัม” ซ่ึงถือวาเปนศนูยกลางของโลก ใหพญาอนนัต

นาคราชมาคอยด ู ครั้นถึงวันทีก่าํหนดพระศิวะก็เสด็จลงมายัง “ติลไล” หรือตาํบล “จิทัมพ

รัม” (ในแควนมัทราษฏร) ทรงเนรมิต “นฤตสภา” (หรือเทวสภา) ข้ึนแลวจึงฟอนราํตามที่เคย

ทรงประทานสัญญาแกอนันตนาคราชอีกครั้งหนึ่ง ครั้งนี้มีพระบัญชาใหภรตมุนี ซีงอยูใน ณ ที่นั้น

ดวย บนัทึกสรางเปนตาํราการฟอนราํข้ึน

ตอมา พระพรหมไดมีเทวบญัชาแกพระภรตฤๅษ ี ใหสรางโรงละคร และจัดการแสดง

ละครข้ึน พระภรตฤาษีรบัเทวบัญชาแลว ก็ขอใหพระวศิกุรรมเปนผูสรางโรงละครได ทั้งโรงขนาด

ใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ซ่ึงมีทั้งโรงรูปสามเหลี่ยม ส้ีเหล่ียมจัตุรัส และ

ส่ีเหล่ียมผืนผา แลวพระภรตฤๅษกี็บญัญัตกิารแสดงข้ึน โดยแตงเปนโศลกบรรยายทาราํตาง ๆ

ของพระศวิะ 108 ทาโดยใหราํเบิกโรงดวยการราํตามโศลก ซ่ึงขับกลอมเปนทํานองจนจบ

เพลง แลวจึงจับเรื่องใหญ ตําราการแสดงละครของพระภรตฤๅษี มีช่ือวา “นาฏยศาสตร” หรือ

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 9

“ภรตศาสตร”

จากตาํนานทีก่ลาวมานี้ จะเห็นวาพระศวิะทรงเปนผูเช่ียวชาญการฟอนรําอยางมากที่จะหาผูใด

เทยีบได ดวยเหตุนี้ชาวอินเดียทั้งหลายจึงนบัถือพระศิวะวาทรงเปนนาฏราช คือพระราชาแหงการ

ฟอนราํ ชาวอินเดียไดสรางพระศวิะเปนทาฟอนราํโดยกําหนดใหเปนทาเหยียบยักษคอม ตาม

ตํานานทีป่รากฏในโกยัลปราณะ นอกจากนี้ยังมีอกีทาราํทาหนึง่เปนทาฟอนราํและยกพระบาทขาง

ซายเหมือนกนั แตไมมีการเหยียบหลังยกัษ ทั้งสองทานี้เรียกช่ือเหมือนกนัวา “เทวรูปปางนาฏ

ราช”

ในประเทศอนิเดียเมืองจิทัมพรัม หางจากเมืองมัทราช (อินเดียใต) ราว 150 ไมล มี

เทวาลัยแหงหนึง่ช่ือ “จิทัมพรัม” แตชาวบานนิยมเรียกวา “เทวาลัยศิวะนาฏราช” เปนเทวาลัยที่

สรางข้ึนตัง้แต พ.ศ. 1800 ภายในมีชองทางเดนิเขาสูตวัเทวาลัยช้ันใน มีภาพแกะสลกัดวยหนิเปน

รูปตัวระบําผูหญิงแสดงทาราํตาง ๆ 108 ทา (ตามตํานานทีว่าพระศวิะทรงฟอนราํ 108 ทา ) ทา

รําตาง ๆ นี้ตรงกับคาํทีก่ลาวไวในตาํราที่มีชื่อวา “นาฏยศาสตร” ทาฟอนราํเหลานี้เปนทาราํที่

นาฏศิลปอนิเดียใชเปนแบบฉบบัในการฟอนราํ เพราะเช่ือวาเปนทารําที่พระศิวะทรงฟอนราํที่

ตําบล อันเปนทีต่ั้งของเทลาลัยนี้เอง การฟอนราํตามภาพแกะสลัก ทาราํที่เทลาลัยศวิะนาฏราช

เปนที่นิยมแพรหลายตอมาทัว่ประเทศอนิเดีย และโดยนัยนีก้็ไดเขามาแพรหลายในประเทศไทย

ดวย ทานผูทรงวิทยาคณุทั้งหลายไดตัง้ขอสันนษิฐานวา คงเขามาในสมัยกรุงศรีอยุธยา

นี่เอง เพราะใน พ.ศ. 1800 ซึ่งเปนเวลาทีส่รางเทวสถานที่เมืองจิทัมพรัมนั้นเปนระยะเวลาที่

ไทยเพิ่งตั้งกรุงสุโขทัยทาราํ ที่ไทยเราไดดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกนั้นกต็องเปนความคดิของ

นักปราชญในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอมานักปราชญของไทยสมัยกรุงรตันโกสินทรไดแกไขปรบัปรุง

หรือประดิษฐข้ึนอีกช้ันหนึ่ง ทาฟอนรําของนาฏศิลปไทย จึงดูหางไกลกบัทาราํของอินเดยีที่ปรากฏ

อยูทุกวันนี ้

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 10

เทวรูปพระศิวะ ปาง “นาฏราช” ศิลปะแบบอนิเดยีใต

แสดงทาเหยียบอสูรช่ือ มุยะละคะ

ตําราฟอนรํา ของไทยแตเดิมแปลมาจากตาํราของอินเดีย ดังทีก่ลาวไวในตาํนานฟอน

รําของอนิเดีย และบรมครูทางนาฏศิลปไดคดิประดษิฐข้ึนใหมในช้ันหลังก็มีโดยพบจาก คํากลอน

ของเกาวาดวยตํารามีอยู 3 บท

1. เปนกลอนสุภาพ แตงบอกตําราทาราํไวแตโบราณมีทาราํ 66 ทา (รําแมบทใหญ)

2. บทละครเรื่องรามเกียรติ ์ พระราชนพินธในรัชกาลที่ 1 ตอนนารายณปราบนน

ทุก คดัแตทาเฉพาะที่จะรําในบทนัน้ไปเรียงไวในบทกลอน 1 บท เรียกวาแมบทนาง

นารายณ

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 11

3. เปนคาํไหวครูของละครชาตร ี โนราหเมืองนครศรีธรรมราช

รูปแบบของนาฏศิลปไทย

เมื่อมองยอนกลับไปในศตวรรษที่ 13 วัฒนธรรมไทยไดพัฒนาข้ึนมา 2 สาย คือ

1. วัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งถอืปฏิบตัิมาจากคนพืน้บาน ดังนั้นจังไดอิทธิพลอยางมากจาก

อารยธรรมตางประเทศโดยเฉพาะอารยธรรมของชาวอินเดีย ที่ไดแผขยายเขามาทัว่มหาสมุทร

อินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย และเช่ือกันวาไดเขาถึงประเทศไทยในสมัยอาณาจักรทวารวด ี และ

อาณาจักรเขมรโบราณ อิทธิพลและศาสตรของชาวอนิเดียไดแสดงรปูแบบของตวัเองโดยผานทาง

ศาสนา (ศาสนาฮินดู และพุทธ) ภาษา จากโคลงที่กลาวถึงความกลาหาญ คือ จักรและนารายณ

ศาสตรา รวมทั้งเรื่องอืน่ๆ อารยธรรมตะวนัตกที่ไดแผขยายเขามาในประเทศไทยโดยอาศัยชองทาง

การคาขายระหวางประเทศในชวงปลายอยุธยาเปนตนมา ซ่ึงไดนําเอาวฒันธรรมเขามาเผยแพรดวย

เชน รูปแบบการเตนบัลเลตมาจากการแสดงของชาวยุโรป การแสดงรองเง็งมากจากการแสดงของ

ชาวสเปน รวมแลวประเทศไทยไดรับวฒันธรรมตาง ๆ เขามาผสมผสานกลมกลืนจนมีรปูแบบใหมที่

มีลักษณะโดดเดนเพียงแบบเดียวในทีสุ่ด

2. วัฒนธรรมที่เกดิข้ึนจากคนพื้นเมือง สามารถมองยอนไปในสมัยสุโขทัย ราว ๆ

ป ค.ศ.1238 – 1378 อันเปนสมัยที่สุโขทัยเปนราชธาน ี เวลานั้นประเทศไทยมีความเจริญรุงเรือง

ทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ทําใหชาวบานเกดิการละเลนในแตละทองถิน่ทีต่างกนัตามภูมิ

ประเทศ การดาํรงชีวติ สภาพสังคมและวฒันธรรมยอย ดังเชน

- นาฏศลิปภาคกลาง เชน เตนกาํราํเคียว เปนการแสดงของชาวบานภาคกลาง

ที่มาจาก

กิจกรรมการทาํนาํ เกี่ยวขาว ในฤดูเก็บเกีย่วซ่ึงการปลูกขาวก็เปนอาชีพหลัก

ของ

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 12

- นาฏศิลปภาคเหนือ เชน ฟอนเล็บ เปนการแสดงทีบ่งบอกถึงความเปน

ภาคเหนือดวยเครื่องแตงกาย ลักษณะทาราํ

- นาฏศิลปภาคอีสาน เชน เซ้ิงโปงลาง เปนการแสดงที่เปนเอกลักษณของภาค

อีสานโดยเฉพาะการนาํเอาเครือ่งดนตรีของทางภาคอีสานเปนทาํนองเพลง

- นาฏศิลปภาคใต เชน มโนราห ซ่ึงเปนเอกลกัษณประจําภาคใตซ่ึงคนใตเปนคนที่

มักทําอะไรรวดเรว็ ดังนั้นการราํมโนราหจึงเปนการรําที่ดรูวดเร็วและแข็งแรง ไมออน-ชอยเหลือการ

รําในภาคอื่น ๆ

ภายหลังจากการกาํเนิดนาฏศิลปไทยนั้นทาํใหนาฏศิลปไทยวิวฒันาการและเกดิการ

พฒันาจนถกูจัดประเภทโดยแบงออกตามลักษณะการแสดงซ่ึงประกอบไปดวย

1. โขน

2. ละคร

3. ระบาํ รํา ฟอน

และนาฏศิลปไทยสามารถจําแนกรูปแบบเปนหลักไว 2 แบบ คือ

1. นาฏศิลปอยางมีแบบแผน (มาตรฐาน)

2. นาฏศิลปพืน้เมือง (ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต)

ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 13

ที่มา....

กรมศลิปากร . ระบาํ รํา ฟอน , กรุงเทพ ฯ : ฝายโสตทัศนวัสดุ , 2532

พาณี สีสวย. สุนทรียของนาฏศิลปไทย , กรุงเทพ ฯ : ธนะการพิมพ , 2526

ราน ี ชัยสงคราม. นาฏศลิปไทยเบื้องตน , กรุงเทพ ฯ : องคการคาของครุสุภา , 2544

สุมนมาลย นิ่มเนติพนัธ และคณะ .หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการ

เรียนรูศลิปะ นาฏศิลป ม.4–ม.6 ชวงชั้นที่ 4 , กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน , 2547

อมรา กล่ําเจรญิ. สุนทรียนาฏศิลปไทย , กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร , 2531