นางชลพรรษ ดวงนภา

23
วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา www.kpi.ac.th หนา 1 ชื่อ นางสาวชลพรรษ ดวงนภา วิทยานิพนธปริญญาเอก สาขาวัฒนธรรมศาสตร สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชื่อเรื่อง การใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธในการจัดการปาวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด (The Utilization of Buddhist Economic Principle in Cultural Forest Management for Community Social and Economic Development in Trat Province) บทคัดยอ ปาไมมีความสําคัญอยางยิ่งตอการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิต ทั้งมนุษย พืชและสัตวตางพึ่งพา อาศัยปาซึ่งเปนแหลงกําเนิดตนน้ําลําธารและเปนแหลงกําเนิดของความหลากหลายทางชีวภาพ อีกทั้งยังชวยค้ําจุนความเจริญของประเทศทั้งดานสภาพแวดลอม เศรษฐกิจและสังคม ปจจุบัน ทั่วโลกประสบปญหาการลดลงของปาไมรวมทั้งประเทศไทยดวย สําหรับพื้นที่ปาไมในจังหวัด ตราดนั้น พบวา ในป . .2547 พื้นที่ปาไมในจังหวัดตราดมีจํานวนมากกวาในป . .2543 จํานวน 28.2 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 1 แตเมื่อเปรียบเทียบกับป . .2507 กลับพบวา พื้นที่ปาไม ในป ..2547 นั้น เหลือนอยกวาในป ..2507 ถึงรอยละ 31.57 จากเดิมที่มีพื้นทีปาไมรอยละ 65.8 ผูวิจัยจึงมีความสนใจทําการวิจัยเรื่องนีเพื่อศึกษาประวัติความเปนมา และ องคความรูของการจัดการปาวัฒนธรรม รวมทั้งศึกษาแนวทางการใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธ ในการจัดการปาวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนจังหวัดตราด ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพทางวัฒนธรรม ทําการเลือกพื้นที่ในการวิจัยแบบเจาะจง โดยเปนพื้นที่ที่มีการจัดการปาวัฒนธรรมในจังหวัดตราด จํานวน 6 หมูบาน เปนหมูบานที่มีปา ชายเลน 3 หมูบาน และปาบก 3 หมูบาน ทําการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง ไดแก กลุมผูรู กลุมผูปฏิบัติ และกลุมผูใหขอมูลทั่วไปจากภาครัฐ เอกชน และชุมชน จํานวน 204 คน ใชวิธีการ เก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารและเก็บขอมูลภาคสนามโดยการสํารวจ การสังเกต การสัมภาษณ การสนทนากลุการประเมินผลการจัดกิจกรรม และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทําการตรวจสอบ ขอมูลแบบสามเสา และตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูลโดยใชวิธี Investigator Triangulation

Upload: -

Post on 04-Mar-2016

215 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

นางชลพรรษ ดวงนภา

TRANSCRIPT

Page 1: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 1 

ชื่อ นางสาวชลพรรษ ดวงนภา

วิทยานิพนธปริญญาเอก สาขาวัฒนธรรมศาสตร สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ชื่อเรื่อง การใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธในการจัดการปาวัฒนธรรม เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด

(The Utilization of Buddhist Economic Principle in Cultural Forest Management for Community Social and Economic Development in Trat Province)

บทคัดยอ

ปาไมมีความสําคัญอยางยิ่งตอการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิต ทั้งมนุษย พืชและสัตวตางพ่ึงพาอาศัยปาซ่ึงเปนแหลงกําเนิดตนน้ําลําธารและเปนแหลงกําเนิดของความหลากหลายทางชีวภาพ อีกทั้งยังชวยคํ้าจุนความเจริญของประเทศทั้งดานสภาพแวดลอม เศรษฐกิจและสังคม ปจจุบัน ทั่วโลกประสบปญหาการลดลงของปาไมรวมท้ังประเทศไทยดวย สําหรับพ้ืนท่ีปาไมในจังหวัดตราดนั้น พบวา ในป พ.ศ.2547 พ้ืนที่ปาไมในจังหวัดตราดมีจํานวนมากกวาในป พ.ศ.2543 จํานวน 28.2 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 1 แตเมื่อเปรียบเทียบกับป พ.ศ.2507 กลับพบวา พ้ืนท่ีปาไม ในป พ.ศ.2547 นั้น เหลือนอยกวาในป พ.ศ.2507 ถึงรอยละ 31.57 จากเดิมท่ีมีพ้ืนที่ปาไมรอยละ 65.8 ผูวิจัยจึงมีความสนใจทําการวิจัยเรื่องน้ี เพ่ือศึกษาประวัติความเปนมา และ องคความรูของการจัดการปาวัฒนธรรม รวมท้ังศึกษาแนวทางการใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธ ในการจัดการปาวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนจังหวัดตราด

ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพทางวัฒนธรรม ทําการเลือกพ้ืนที่ในการวิจัยแบบเจาะจง โดยเปนพ้ืนที่ที่มีการจัดการปาวัฒนธรรมในจังหวัดตราด จํานวน 6 หมูบาน เปนหมูบานท่ีมีปาชายเลน 3 หมูบาน และปาบก 3 หมูบาน ทําการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง ไดแก กลุมผูรู กลุมผูปฏิบัติ และกลุมผูใหขอมูลทั่วไปจากภาครัฐ เอกชน และชุมชน จํานวน 204 คน ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารและเก็บขอมูลภาคสนามโดยการสํารวจ การสังเกต การสัมภาษณ การสนทนากลุม การประเมินผลการจัดกิจกรรม และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทําการตรวจสอบขอมูลแบบสามเสา และตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูลโดยใชวิธี Investigator Triangulation

Page 2: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 2 

ผลการวิจัยพบวา ปาวัฒนธรรมในจังหวัดตราดต้ังอยูในเขตพื้นท่ีปาสงวนแหงชาติและ ในท่ีสาธารณะประโยชน การจัดการปาวัฒนธรรมมักกระทําดวยการปลูกปาเปนสําคัญ โดยทําการปลูกปาชายเลนกอนปาบก โดยมีสาเหตุเนื่องมาจากการบุกรุกปาชายเลนเพ่ือทํานากุงของนายทุนและนักการเมืองทองถิ่น จากการใหสัมปทานของภาครัฐ และจากการกัดเซาะชายฝงจากคลื่นลมทะเล จนสงผลกระทบใหทรัพยากรชายฝงลดลง สําหรับพันธุไมที่ใชปลูกปาชายเลนนั้นในอดีต มีการปลูกไมหลายชนิดซ่ึงชุมชนเก็บหามาจากพื้นท่ีปาน้ัน ๆ ตอมาไดรับการสนับสนุนพันธุไมจากกรมปาไม ปจจุบันนิยมปลูกไมโกงกางเนื่องจากมีรากยึดแนนสามารถปองกันการกัดเซาะของคลื่นลมทะเลไดดี สวนการปลูกปาบกในอดีตน้ันเปนการเขารวมโครงการพัฒนาปาชุมชนของ กรมปาไม แลวจึงพัฒนามาเปนการปลูกปาเพ่ือปองกันการบุกรุกจากนายทุน ปจจุบันการปลูกปาบก มีวัตถุประสงคเพ่ือนําไมไปขายหารายไดจัดเปนสวัสดิการใหแกผูสูงอายุ ผูที่เจ็บปวยหรือทุพพลภาพ นําไปพัฒนาชุมชนและต้ังเปนกองทุนในการจัดการปา พันธุไมที่ใชปลูกปาบกมักเปนไมเศรษฐกิจ ในอดีตไดรับการสนับสนุนจากชุมชนและกรมปาไม การจัดการปาใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธเปนเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ ชุมชนตระหนักถึงผลประโยชนสวนรวม มีการต้ังกฎกติกาในการใชประโยชนจากปา อนุญาตใหนําไมไปสรางหรือซอมแซมบาน วัด โรงเรียน และสถานที่ราชการ โดยมีการปลูกปาทดแทน ใหชุมชนเก็บหาพืชผัก สมุนไพร สัตวน้ํา และใหสมาชิกปลูกพืชแซม

ในพ้ืนท่ีปาบก สําหรับพ้ืนท่ีปาชายเลนมีการฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรชายฝง มีการจัดการทองเที่ยวและการเรียนรูระบบนิเวศโดยสรางวิทยากรทองถิ่นและมัคคุเทศกนอย จัดท่ีพักโฮมสเตย นํารายไดไปเปนกองทุนในการจัดการปาโดยมีภาคเอกชนรวมสมทบ สวนปาบกมีการตัดไมขายนํารายไดไปเปนทุนในการปลูกปาทดแทน และจัดสวัสดิการคารักษาพยาบาลใหแกสมาชิก

สําหรับแนวทางการจัดการปาวัฒนธรรมโดยใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราดน้ัน เปนการดําเนินงานโดยยึดหลักพุทธศาสนา 4 ประการ คือ

1) อุฏฐานสัมปทา คือ การหาเปน ชุมชนรวมมือรวมใจกันวางแผนการจัดการปาเพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดแกคนในชุมชน

2) กัลยาณมิตตตา คือ การสรางคนเปน มีการแตงต้ังคณะกรรมการเพ่ือรวมกันบริหารจัดการปา

Page 3: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 3 

3) สมชีวิตา คือ การใชเปน ชุมชนใชประโยชนจากปาตามความจําเปนโดยคํานึงถึงความยั่งยืน รายไดนําไปจัดต้ังเปนกองทุนในการจัดการปาและกองทุนสวัสดิการชุมชนเพ่ือชวยเหลือผูสูงอายุ ผูที่เจ็บปวยหรือทุพพลภาพ และจัดต้ังเปนกองทุนในการพัฒนาชุมชน

4) อารักขสัมปทา คือ การเก็บเปน ชุมชนรวมกันดูแลรักษาปาใหมีความอุดมสมบูรณเพ่ือใหชุมชนไดใชประโยชนอยางยั่งยืน สวนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยการจัดการปาวัฒนธรรมน้ันเปนการวางแผนการปรับปรุงเทคนิควิธีการผลิต การแปรรูปผลผลิตท่ีไดจากปาและการหาตลาดจําหนายผลผลิต เพื่อเพ่ิมมูลคาของผลผลิตและทําใหประชาชนในชุมชนมีรายไดสูงข้ึน

โดยสรุป การใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธในการจัดการปาวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด เปนการดําเนินงานโดยใชพุทธศาสนาเปนเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ ชุมชนตระหนักถึงคุณคาและความสําคัญของปาไม มีความรวมมือรวมใจในการจัดการปาวัฒนธรรม จนสงผลใหประชาชนในชุมชนมีรายไดสูงข้ึนและมีความอยูดีกินดีอยางถวนหนาเสมอภาคกัน

Page 4: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 4 

ABSTRACT

Forests are substantially important to the existence of all living creatures. Humans and animals alike must rely on forests which are the sources of water and birth of biological diversity. Forests’ also bolster the development and advancement of the nation’s environment, economy and society. Currently Thailand and the entire world are facing problems of deforestation. In 2004 forest area in Trat Province in Thailand increased by 28.2 square Kilometers or about 1% more than in 2000. But the total forest area in 2004 was lower by 31.57% compared to 1964. The problems of deforestation in Trat province has led the researcher to study the origin, history and management of cultural forests and the study of utilizing Buddhist economic principles in the management of cultural forests to develop the local economy of communities in Trat province

A qualitative research methodology was applied with purposive sample of 6 villages that applied cultural forest management in Trat province The villages studied were classified as 3 villages that managed mangrove forests, and 3 villages that managed terrestrial forests. The sampling group comprised of 204 individuals who were purposively chosen by selecting credible individuals with knowledge and practical experience from government, private sectors and the general public. Field data was collected from surveys, observations, workgroup sessions, evaluations and investigator triangulation to verify the data.

The research found that cultural forests in Trat Province are located in areas of national forest and public benefit. The management of cultural forests is often done with cultivation and mangrove forests are planted before terrestrial forests. Encroachment is the main cause of deforestation which comes from shrimp farms of entrepreneurs, politicians and from wrong government concessions. Natural causes include sea breeze and waves affecting shorelines and decrease in coastal resources. In the past many species of trees planted to afforest mangrove forests were collected from availability within the local community, but now many diverse species of plants are supported by the Department of Forestry. Popular species include “mai gohng-gaang” or “rhizophorace trees” which have deep roots and are an effective deterrent against the scour of waves and sea breeze. Terrestrial afforestation in the past was developed as a joint project of the Department of Forestry and local communities. The project gradually developed to prevent the

Page 5: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 5 

encroachment of capitalists. Currently terrestrial afforestation is intended to create funds from sales of timber and forest products. Proceeds from the funds would be used provide benefits to the elderly, the ill, the disabled, to community development and to provide the funds needed to manage cultural forests. The trees planted are mostly species that can be used as timber and can be transformed into economic value. In the past, afforestaton received support from the community and from the Department of Forestry. Afforestation of two cultural foreste used Buddhist economic principles and community rules were defined so that the public can benefit from forest use. Local citizens are allowed to use the wood to build or repair homes and maintain public places such as schools and government offices. Afforestation compensates the community in many ways. Community members can collect herbs, animals and aquatic animals for food and growing short cycled plants and vegetation between trees. Mangrove forest conservations increases natural resources, aquatic wildlife, promotes a health eco-system, create rest areas and home stay. Allocation of funds from cultural forest management with cooperation from private sectors can provide funds from sales of timber, forest by-products which are used to provide benefits to community members in the form of medical treatment.

Guidelines for cultural forest management by use of Buddhist economics-principle for community economic development in Trat Province is undertaken by trust in Buddhism faith. Faith in Buddhism helps the community to recognize the value and importance of forestry and promotes cooperation in the management of cultural forests. By following 4 principles of Buddhism;

1) “ut-taan-sam-bpa-taa” or “the achievement of persistent effort” where the people in the community are diligent and hardworking. The people are united in collaboration to confederate plans to utilize the resources of the community to create the highest benefit.

2) “gan-la-yaa-na-mit-taa” or “to be in company of good friends” is to socialize and work together as a team to manage the forest.

3) “som-chee-wi-dtaa” or “balanced livelihood” is to have a contented life. Have sufficiency and appropriate to their position or needs. Utilize forests resources as necessary. Consider sustainability and equality. Create revenue to establish funds to manage community forests and welfare fund to help the elderly,

Page 6: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 6 

the ill, and the disabled and establish a fund for community development.

4) “aa-rak-ka-sam-bpa-taa” or “the achievement and protection” is to recognize the importance of saving products or earnings. Uniting to maintain cultural forests to create an abundance of resources so that the community can use the sustainable benefits. The economic development of communities by the management of cultural forests is a process that requires planning techniques to improve the methods of production, processing and distribution of forest by-products. Good planning and technique will increase the value of product output and increase the economic benefit for the community.

In conclusion, The utilization of Buddhist economic principle in cultural forest management for community social and economic development in Trat province is a process that utilizes Buddhism as an instrument to repose the trust and faith of the people. When community members realize the value and importance of forest resources, unity and coordinated participation will be created which will eventually bring benefits to the community in the form of higher incomes, higher quality of life and equality.

Page 7: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 7 

บทสรุปผูบริหาร

บทนํา

ปาไมมีความสําคัญอยางยิ่งตอการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิต ทั้งมนุษย พืชและสัตวตางพ่ึงพาอาศัยปาซ่ึงเปนแหลงกําเนิดตนน้ําลําธารและเปนแหลงกําเนิดของความหลากหลายทางชีวภาพ ชวยสรางความชุมชื้น ลดกาซคารบอนไดออกไซด รักษาความสมดุลของระบบนิเวศธรรมชาติ ใหอุดมสมบูรณ ตลอดจนเปนสิ่งชวยคํ้าจุนความเจริญของประเทศ ทั้งดานสภาพแวดลอม เศรษฐกิจและสังคม

ปจจุบันทั่วโลกประสบปญหาการลดลงของปาไม โดยพบวา ในป พ.ศ.2540 ทั่วโลกยังคงมีปาไมเหลืออยูเพียง 3,500 ลานเฮกเตอร ในจํานวนน้ีประมาณครึ่งหน่ึงเปนปาเขตรอน ปาไมที่ยังคงเหลืออยูสวนใหญเปนปาธรรมชาติและกึ่งธรรมชาติ จึงมีเพียงรอยละ 5 เทาน้ันที่ เปน ปาเศรษฐกิจหรือปาปลูกและประมาณกวาครึ่งเล็กนอยของเนื้อที่ปาไมของโลกนั้นอยูในประเทศ ที่กําลังพัฒนาซึ่งมักมีอัตราการทําลายปาในอัตราสูง และนอกจากน้ันยังพบวา ในป พ.ศ.2544 ปาไมทั่วโลกถูกทําลายลงหรือมีสภาพเส่ือมโทรมลงเปนอยางมากถึงประมาณรอยละ 80 สวนท่ียังคงเหลืออยูและที่มีความสมบูรณเพียงพอน้ันมีไมมากนัก โดยกระจายอยูในสวนตาง ๆ ของโลก เชน แถบลุมแมน้ําอะเมซอนในอเมริกาใต แคนาดา แอฟริกากลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต และรุสเซีย เปนตน แตปาไมเหลาน้ีก็ยังคงกําลังถูกคุกคามจากมนุษยโลกและกําลังถูกทําลายลงเรื่อย ๆ

สาเหตุสําคัญท่ีทําใหจํานวนพ้ืนท่ีปาไมลดลงอยางรวดเร็วนั้นเกิดจากการตัดไมทําลายปา การทําเหมืองแร การสูญเสียพ้ืนท่ีปาเน่ืองจากโครงการขนาดใหญของรัฐบาล การทําลายปาเพ่ือการทําไร การเลี้ยงสัตวและการนําไมไปใชประโยชนอ่ืน ๆ โดยพบวา การตัดไมออกจากปาในรูปทอนซุง แลวนําเขาสูโรงเลื่อยเพ่ือแปรรูปตางๆ นั้น เปนวิธีการท่ีทําลายปาไมอยางรวดเร็ว ในแตละปประมาณกันวามีการทําลายปาเพ่ือนําทอนซุงออกมาใชประโยชนคิดเปนพ้ืนที่ไมตํ่ากวา 50,000 ตารางกิโลเมตร ประเทศท่ีมีการทําลายปาในอัตราสูงมากที่สุด คือ ไนจีเรีย (ชัยวุฒิ ชัยพันธุ. 2544 : 281-282)

อาจกลาวไดวา สาเหตุที่พ้ืนที่ปาไมลดนอยลงเนื่องจากความตองการใชไมเพ่ิมมากข้ึน การตัดไมโดยไมมีการปลูกทดแทน ไมมีการกําหนดกฎ กติกา และการจํากัดปริมาณการตัดไม จึงทําใหประสบกับปญหาการขาดแคลนไมและตองมีการนําเขาจากตางประเทศ สําหรับประเทศ

Page 8: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 8 

ไทยพบวา ในป พ.ศ.2545 ภาคอุตสาหกรรมมีการนําเขาไมจากตางประเทศ ประมาณรอยละ 98.66 แนวโนมในอนาคตการนําเขาไมจากตางประเทศจะประสบปญหาและมีเง่ือนไขมากย่ิงข้ึนเพราะประเทศผูสงออกเริ่มระงับการสงออกไม และประเทศนําเขามักถูกโจมตีจากนักอนุรักษวาระงับการทําไมของตนเองแตสงเสริมการตัดไมจากปาธรรมชาติของประเทศอ่ืน ซึ่งในขณะน้ีไดมีการนําประเด็นดังกลาว มาใชเปนเง่ือนไขทางการคาในเวทีโลก (ชาคริต โภชะเรือง. 2548 : เว็บไซต)

การสูญเสียปาไมทําใหระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง สงผลกระทบตอที่อยูอาศัยของส่ิงมีชีวิต ทําใหปริมาณสัตวปาและสัตวน้ําลดลง ทําใหเกิดภัยธรรมชาติตาง ๆ คือ เกิดความแหงแลงเนื่องจากฝนไมตก เกิดอุทกภัยเนื่องจากพ้ืนดินไมซับนํ้า พ้ืนท่ีชายฝงทะเลพังทลายเน่ืองจาก ขาดตนไมกันคลื่นลม จนทําใหเกิดความขัดแยงในสังคมทองถิ่นตาง ๆ ระหวางนายทุนกับชาวบาน ปญหาดังกลาวไดทวีความรุนแรงเพ่ิมข้ึน สงผลกระทบเปนลูกโซตอสภาพแวดลอม เศรษฐกิจและสังคมชนบทอยางมาก ประเด็นสําคัญที่กําลังเปนปญหาของประเทศตาง ๆ ทั่วโลกอยูในขณะนี้ก็คือ ทําใหอากาศรอนข้ึน อุณหภูมิของโลกสูงข้ึน ซึ่งเรียกวา “ภาวะโลกรอน” (Global Warming) จนมีการคาดการณวาภาวะโลกรอนจะทําใหฤดูกาลตาง ๆ เปลี่ยนแปลง ธารนํ้าแข็งข้ัวโลกละลายมากข้ึนสงผลใหระดับน้ําทะเลสูงข้ึน พ้ืนที่ชายฝงทะเลจะไดรับผลกระทบ พ้ืนที่บางแหงอาจกลายเปนทะเลทราย พ้ืนที่บางแหงจะประสบปญหาน้ําทวมหนัก และอาจจมหายไปอยางถาวร ประชาชนจะขาดแคลนอาหารและนํ้าด่ืม สิ่งมีชีวิตท่ีไมสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมไดก็จะคอยๆ ลมตายลง ปริมาณผลผลิตเพ่ือการบริโภคโดยรวมจะลดลง และจะทําใหมีจํานวนผูอดอยากเพิ่มข้ึนถึง 60-350 ลานคน

สําหรับสถานการณดานปาไมของประเทศไทยในชวง 40 กวาปที่ผานมาน้ัน มีการสูญเสียพ้ืนท่ีปาไมไปถึง 67 ลานไร หรือโดยเฉลี่ยปละประมาณ 1.6 ลานไร คิดเปนรอยละ 33.15 ของพ้ืนท่ีประเทศท้ังหมด (สถานการณปาไม. 2550 : เว็บไซต) โดยพบวา ในป พ.ศ.2504 ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีปาไมทั้งหมด 171 ลานไร หรือประมาณรอยละ 40 ของพ้ืนท่ีทั้งประเทศ แตในป พ.ศ.2547 พ้ืนที่ปาไมลดลงเหลือเพียงประมาณ 104.6 ลานไร คิดเปนรอยละ 32.69 ของพ้ืนที่ทั้งประเทศ (รายงานพิเศษวันตนไมประจําปของชาติ ป 2549. 2549 : เว็บไซต)

สาเหตุการลดลงของพ้ืนท่ีปาไมเกิดจากการบุกรุกตัดไมทําลายปา เพ่ือสรางท่ีอยูอาศัยและใชทําการเกษตร โดยพบวา ในป พ.ศ.2540-2541 มีการตัดไมทําลายปามากท่ีสุดทางภาคเหนือ ในพ้ืนท่ีปาสาละวิน ปาทุงแสลงหลวง และปาแมยม สวนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบวา

Page 9: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 9 

มีการลักลอบตัดไมและลาสัตวในปาทับลานและปาดงใหญในลักษณะท่ีเปนขบวนการใหญ สวนทางภาคตะวันตก พบรองรอยของการลักลอบตัดไมและแปรรูปไมในพ้ืนท่ีปาของจังหวัดกาญจนบุรี บริเวณหวยแมวงษ ในเขตอุทยานแหงชาติศรีนครินทรถึง 3 แหง และท่ีจังหวัดอุทัยธานีก็เชนเดียวกัน นอกจากปญหาการบุกรุกทําลายปาแลว ยังพบปญหาการเกิดไฟปา การเผาปาลาสัตว เผาเพ่ือทําไรเลื่อนลอย และเผากําจัดวัชพืช จนสงผลใหพ้ืนท่ีปาไมลดลงจํานวนมาก จากสถิติการเกิดไฟปา ในป พ.ศ.2539-2549 พบวา ในป พ.ศ.2539 เกิดไฟปาเผาผลาญพ้ืนท่ีปามากท่ีสุด เปนจํานวนถึง 12,130,450 ไร และเผาผลาญนอยที่สุด จํานวน 53,884 ไร แตหลังจากน้ันกลับพบวา ระหวางเดือนตุลาคม 2549 – เมษายน 2550 เกิดไฟปาเผาผลาญพ้ืนที่เปนจํานวนถึง 115,260.8 ไร ในจํานวนน้ีเปนพ้ืนท่ีปาในภาคเหนือ จํานวน 54,580.3 ไร (สถิติการเกิดไฟปา. ม.ป.ป. : เว็บไซต)

ปญหาการสูญเสียปาไมในประเทศไทยนั้นเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะทางภาคใตและภาคเหนือ ดังเชน กรณีเหตุการณอุทกภัยทางภาคใตเม่ือปลายป พ.ศ.2531 ทําใหเกิดกระแสการตอตานของมวลชนตาง ๆ รวมทั้งราษฎรท่ีอาศัยอยูในบริเวณพ้ืนท่ีปา รัฐบาลจึงไดระงับการทําไมในภาคใตต้ังแตจังหวัดชุมพรลงไปเปนการชั่วคราว มวลชนเกือบทุกแขนงตางเรงรัดใหรัฐบาลยกเลิกสัมปทานทําไมทั้งหมด จนในท่ีสุดรัฐบาลไดออกพระราชกําหนดแกไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติพุทธศักราช 2498 เมื่อวันท่ี 14 มกราคม พ.ศ.2532 หลังจากน้ันไดมีคําส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ 32/2532 เมื่อวันท่ี 17 มกราคม พ.ศ.2532 ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติใหยกเลิกการใหสัมปทานปาไมทั่วประเทศ สวนพ้ืนที่ที่มีสภาพปาสมบูรณใหประกาศเปนอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปา แตถึงแมวารัฐบาลจะประกาศยกเลิกสัมปทานการทําไมแลวก็ตาม การลดลงของพ้ืนท่ีปาไมยังเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง โดยพบวา ชวงกอนยกเลิกสัมปทานปาไม ในป พ.ศ.2525-2532) พ้ืนท่ีปาไมถูกบุกรุกทําลาย โดยเฉลี่ยปละ 1.2 ลานไร แตภายหลังการยกเลิกสัมปทานปาไม ในป พ.ศ.2532-2538 ก็ยังพบปญหาการบุกรุกทําลายปาโดยเฉลี่ยปละ 1.2 ลานไรเชนเดิม สวนทางภาคเหนือนั้น พบวา เกิดอุทกภัยรายแรงในป พ.ศ.2544-2545 ที่บานน้ํากอ อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ และที่อําเภอวังชิ้นจังหวัดแพร และอีกหลายอําเภอ ในจังหวัดสุโขทัย ทําให พ้ืนท่ีทําการเกษตรเสียหายเปนอยางมาก สวนพ้ืนท่ีปาไมใน ภาคตะวันออกก็พบวามีการบุกรุกทําลายปาเชนเดียวกัน โดยพบวา ในป พ.ศ.2504 พื้นท่ีปาไมในภาคตะวันออกมีอยูรอยละ 58.0 ของพื้นที่ทั้งหมดของภาค แตในป พ.ศ.2538 พ้ืนที่ปาไมกลับ

Page 10: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 10 

ลดลงเหลือเพียงรอยละ 20.8 ของพ้ืนท่ีทั้งหมดของภาคเทาน้ัน โดยมีอัตราการลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 2.6 ตอป (การจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ลุมนํ้า. 2550 : เว็บไซต)

สําหรับพ้ืนท่ีปาไมของจังหวัดตราด พบวา ในป พ.ศ.2516 และป พ.ศ.2519 พ้ืนที่ปาไมถูกทําลายเปนจํานวนมากเน่ืองจากมีการขยายพ้ืนท่ีเพ่ือทําการเกษตรและการขาดการบํารุงรักษา เนื้อที่ในปาสัมปทาน จากการเปรียบเทียบกับพ้ืนท่ีปาไม พบวา ในป พ.ศ.2507 พ้ืนท่ีปาไมมีอยูรอยละ 65.8 ของพื้นที่จังหวัด แตในป พ.ศ.2519 พ้ืนท่ีปาไมเหลือเพียงรอยละ 34 เทาน้ัน โดยถูกทําลายไปกวา 100,000 ไร สงผลใหตนนํ้าลําธารเสียหาย ปริมาณนํ้าในลํานํ้าสายสําคัญของจังหวัดลดนอยลง ฤดูฝนมักจะเกิดปญหาน้ําหลากไหลพัดพาไปตกตะกอนตามพ้ืนท่ีราบจนกอใหเกิดผลเสียหายตอการทําเกษตรกรรมอยางมาก (มาริสา โกเศยะโยธิน. 2543 : 28) ในป พ.ศ.2525-2536 มีการสํารวจพ้ืนที่ปาไม จากการวิเคราะหภาพถายดาวเทียม พบวา พ้ืนท่ีปาไมในจังหวัดตราดยังลดลงอยางตอเน่ือง กลาวคือ ในป พ.ศ.2525 พ้ืนที่ปาไมเหลือเพียงรอยละ 28.17 และในป พ.ศ.2536 พ้ืนท่ีปาไมลดลงเหลือเพียงรอยละ 27.42 (เน้ือที่ปาไม. ม.ป.ป. : เว็บไซต) โดยพบวา สาเหตุการลดลงของพ้ืนท่ีปาไมนั้น เกิดจากการบุกรุกพ้ืนท่ีปาชายเลนเพื่อทํานากุงและถูกคลื่นพายุ ซัดฝง ตลอดจนการทําเหมืองพลอยในเขตอําเภอบอไร สงผลใหเกิดปญหานํ้าทวม อยูเสมอ

ในป พ.ศ.2543 ไดมีการสํารวจพ้ืนท่ีในจังหวัดตราด จากภาพถายดาวเทียม Landsat 5 TM (ขอมูลชวงเดือนมกราคม-เมษายน 2543) พบวา จังหวัดตราดมีพ้ืนท่ีปาไม จํานวน 936.8 ตารางกิโลเมตร แยกเปนพ้ืนท่ีปาบก จํานวน 843.7 ตารางกิโลเมตร ปาชายเลน จํานวน 93.1 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 33.23 ของพ้ืนท่ีในจังหวัด ตอมาในป พ.ศ.2547 ไดทําการสํารวจพ้ืนท่ีอีกครั้ง และเมื่อวิเคราะหจากภาพถายดาวเทียม Landsat-5 พบวา จังหวัดตราดมีพ้ืนที่ปาไม จํานวน 965 ตารางกิโลเมตร แยกเปนพ้ืนท่ีปาบก จํานวน 861.3 ตารางกิโลเมตร ปาชายเลน จํานวน 103.7 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 34.23 ของพ้ืนท่ีในจังหวัด (เนื้อที่ปาไม. ม.ป.ป. : เว็บไซต) และเมื่อทําการวิเคราะหขอมูลสามารถสรุปไดวา ในป พ.ศ.2547 พ้ืนที่ปาไมในจังหวัดตราดมี จํานวนมากกวาในป พ .ศ .2543 จํานวน 28.2 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 1 แตเมื่อเปรียบเทียบกับป พ.ศ.2507 กลับพบวา พ้ืนที่ปาไมในป พ.ศ.2547 นั้นเหลือนอยกวาในป พ.ศ.2507 ถึงรอยละ 31.57 จากเดิมท่ีมีพ้ืนที่ปาไมรอยละ 65.8

Page 11: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 11 

ปญหาการบุกรุกพ้ืนท่ีปาในจังหวัดตราดท่ีสงผลกระทบตอชาวบานในชุมชนอยางรุนแรง เกิดข้ึนในป พ.ศ.2524 ที่ชุมชนบานเปร็ดใน หมูที่ 2 ตําบลหวงนํ้าขาว อําเภอเมืองตราด สาเหตุเกิดจากการบุกรุกทําลายปาเพ่ือทํานากุงของนายทุนจากจังหวัดสมุทรปราการและสมุทรสาคร ซึ่งไดรวมมือกับนักการเมืองทองถิ่นเขามาทํานากุงโดยการเชาท่ีนาของชาวบาน และใหขอเสนอกับชาวบานวาจะสรางคันดินกั้นน้ําเค็มใหชาวบานหลงเชื่อจึงรวมลงชื่อยินยอม แตแลวนายทุน ก็ไมไดทําให เพียงแตขุดคลองขวางกั้นระหวางพ้ืนที่ปาของชาวบานกับปาสงวนแหงชาติออกจากกันเทาน้ัน จึงทําใหเกิดปญหานํ้าเค็มไหลเขาสูนาขาว ชาวบานจึงไดรวมกันผลักดันนายทุนออกจากพ้ืนที่ และในท่ีสุดการขับไลประสบผลสําเร็จในป พ.ศ.2529 หลังจากน้ันชาวบานจึงรวมกันปลูกปาและทําการฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ําควบคูไปดวย

ความสําเร็จในการจัดการปาชายเลนของชุมชนบานเปร็ดใน เปนกรณีตัวอยางแกชุมชนอ่ืนในจังหวัดตราด กอปรกับรัฐบาลไดสงเสริมใหมีการปลูกปาชุมชนทั่วประเทศตามโครงการพัฒนาชุมชนของกรมปาไม ในป พ.ศ.2529 การปลูกปาจึงไดเริ่มดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ.2530 เปนตนมา และในป พ.ศ .2537 หมูบานทางควาย หมูที่ 4 ตําบลแสนตุง อําเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ไดเขารวมโครงการดังกลาวดวย และในป พ.ศ.2545 ไดดําเนินการปลูกปาตามโครงการพระราชเสาวนีย แตการปลูกปาดังกลาวไมไดรับการดูแลมากนัก ปลูกแลวก็ปลอยใหข้ึนเองตามธรรมชาติ บางสวนไดรับผลกระทบจากภาวะนํ้าทวมก็ตายลง ดังนั้น ในป พ.ศ.2546 ผูนําของกลุมสัจจะสะสมทรัพยบานทางควายไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของปาไม อีกท้ังมีการเลาลือวาจะมีนายทุนมาบุกรุกทํานากุง เกรงวาจะเกิดปญหาดังเชนกรณีชุมชนบานเปร็ดใน จึงไดไปปรึกษากับพระสุบิน ปณีโต ประธานท่ีปรึกษากลุมสัจจะสะสมทรัพยจังหวัดตราด ซึ่งไดใหคําแนะนําวาควรดําเนินการปลูกปาเพ่ิมข้ึนและใหชุมชนชวยกันดูแลรักษาเพ่ือปองกันการบุกรุกจากนายทุน ชุมชนจึงไดรวมกันดําเนินการปลูกปาเพ่ิมข้ึนและดําเนินการอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน

การจัดการปาของกลุมสัจจะสะสมทรัพยบานทางควายเปนกรณีตัวอยางแกกลุมสัจจะสะสมทรัพยกลุมอ่ืน นอกจากนั้น พระสุบิน ปณีโต ยังไดใหคําแนะนําวา หมูบานท่ีมีพ้ืนที่สาธารณะประโยชนซึ่งวางเปลาไมไดใชใหเกิดประโยชนอ่ืนใดน้ัน ชุมชนควรรวมกันดําเนินการปลูกปาแลวนํารายไดมาจัดสวัสดิการใหแกคนในชุมชนโดยเฉพาะผูสูงอายุและนําไปพัฒนาชุมชน อีกทั้ง ยังเปนการลดภาวะโลกรอนอีกดวย ในป พ.ศ.2548 กลุมสัจจะสะสมทรัพยบานคลองพีด หมูที่ 10 ตําบลหวยแรง อําเภอเมืองตราด จังหวัดตราด จึงไดรวมกันดําเนินการปลูกปาข้ึนอีกหนึ่งกลุม

Page 12: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 12 

และในป พ.ศ.2549 กลุมสัจจะสะสมทรัพยอีกหลายกลุมไดมีการปลูกปาอยางตอเน่ือง โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัดตราด

การจัดการปาวัฒนธรรมของหมูบานบานเปร็ดใน หมูบานทางควาย และหมูบานคลองพีด ลวนเกิดจากผูนําของกลุมสัจจะสะสมทรัพยและสมาชิก ซึ่งเปนผูมีคุณธรรมและมีความเสียสละเพ่ือประโยชนสวนรวม สําหรับกลุมสัจจะสะสมทรัพยนั้นเกิดข้ึนจากการจัดต้ังโดยพระสุบิน ปณีโต ปจจุบันดํารงตําแหนงรองเจาอาวาสวัดไผลอม อําเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ในการจัดต้ังกลุมสัจจะสะสมทรัพยนั้น พระสุบิน ปณีโต ไดใชหลัก “เศรษฐศาสตรเชิงพุทธ” ซึ่งเปนหลักธรรมทางพุทธศาสนามาเปนแนวทางในการดําเนินงาน ดวยการแปรคําสอนท่ีเปนนามธรรมใหเปนรูปธรรม สอนใหชาวบานรูจักขยันหมั่นเพียรบากบ่ันในการหาทรัพย วางแผนรวมมือกันแกปญหาอยางเหนียวแนนจริงจัง ไมทอถอย รูจักประหยัดเก็บออม มีการชวยเหลือเกื้อกูล เอ้ือเฟอเผ่ือแผเห็นอกเห็นใจซ่ึงกันและกัน และเสียสละเพื่อสวนรวมเปนการสรางมิตรเพ่ือการทํางานเปนทีม มีการดํารงชีวิตอยางสมถะ รูจักประมาณตนใหเปนไปอยางพอเพียง และมีการใชจายอยางเหมาะสมแกฐานะ ใหชาวบานมีความชวยเหลือเอ้ืออาทรกันโดยการนําเงินมารวมกัน ในลักษณะการออม และใหสมาชิกที่ประสบปญหาทางเศรษฐกิจไดกูเงินเพ่ือนําไปลงทุนประกอบอาชีพ การบริหารงานใหสมาชิกมีสวนรวมในกิจกรรมของกลุมทุกข้ันตอน และทุกข้ันตอนกิจกรรมสอดแทรกหลักธรรมไวในกิจกรรมเพื่อตัดความเห็นแกตัว ใหมีคุณธรรมและเสียสละเพื่อประโยชนสวนรวม มีการต้ังกฎเกณฑในเรื่องการแบงปนผลกําไร เมื่อกลุมเติบโตข้ึนไดนําดอกผลมาจัดสวัสดิการใหแกสมาชิก เชน คารักษาพยาบาล คาฌาปนกิจศพ ทุนการศึกษาและนําไปพัฒนาชุมชน การทํางานของกลุมสัจจะสะสมทรัพยเปนไปในลักษณะเรียนรูคูกับการทํางาน ทําใหสมาชิกคิดเปน ทําเปน และแกไขปญหาเปน สงผลใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ และมีการเชื่อมโยงกิจกรรมไปสูการจัดการปาวัฒนธรรม

การวิจัยเรื่อง “การใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธในการจัดการปาวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด” เพ่ือหาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดยการจัดการปาวัฒนธรรม โดยใชหลักธรรมทางพุทธศาสนาเปนเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ เพ่ือใหชุมชนตระหนักถึงคุณคาความสําคัญของปาไม และใหความรวมมือรวมใจในการจัดการปาวัฒนธรรม เพ่ือรักษาปาใหเปนแหลงไมใชสอย แหลงอาหาร และแหลงอาชีพของชุมชน ซึ่งจะสงผลใหระบบเศรษฐกิจของชุมชนดีข้ึน และเปนฐานรากของการพัฒนาเศรษฐกิจระดับประเทศตอไป

Page 13: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 13 

วัตถุประสงค

1. เพ่ือศึกษาประวัติความเปนมาและองคความรูของการจัดการปาวัฒนธรรม จังหวัดตราด

2. เพ่ือศึกษาแนวทางการจัดการปาวัฒนธรรมโดยใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด วิธีดําเนินการวิจัย

วิธีวิจัย ใชระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพทางวัฒนธรรม (Cultural Qualitative Research) โดยการเก็บรวบรวมขอมูลเอกสาร (Document) และเก็บขอมูลภาคสนาม (Field Study) โดยการสํารวจ (Basic Survey) การสังเกต (Observation) การสัมภาษณ (Interview Guide) การสนทนากลุม (Focus Group Discussion) การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การประเมินผลการจัดกิจกรรม ทําการตรวจสอบขอมูลแบบสามเสา และตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูลโดยใช วิธี Investigator Triangulation และนําขอมูลมาทําการวิเคราะห การนําเสนอขอมูลโดยสรุปใหตรงตามประเด็นความมุงหมายของการวิจัยและนําเสนอผลการวิจัยโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห (Descriptive Analysis)

พ้ืนท่ีในการวิจัย ผูวิจัยใชวิธีเลือกพ้ืนท่ีในการวิจัยแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกพ้ืนที่ที่มีการจัดการปาวัฒนธรรมในจังหวัดตราด จํานวน 6 หมูบาน จําแนกเปนหมูบานที่มีปาชายเลน 3 หมูบาน และเปนหมูบานท่ีมีปาบก 3 หมูบาน ซึ่งผูวิจัยทําการเลือกพ้ืนที่โดยการมองภาพรวมของการจัดการปา และทําการเลือกหมูบานท่ีมีชื่อเสียงดานการจัดการปา เปนหมูบานที่มีจัดการจัดการปาต้ังแต 10 ปข้ึนไป และเปนหมูบานท่ีมีการจัดการปาระหวาง 1-5 ป ทําใหไดพ้ืนที่ในการวิจัย ดังน้ี

1) หมูบานท่ีมีปาชายเลน จํานวน 3 หมูบาน เปนหมูบานท่ีมีการจัดการปาวัฒนธรรมรูปแบบของกลุมสัจจะสะสมทรัพย 1 หมูบาน รูปแบบของภาครัฐ 1 หมูบาน และรูปแบบของคณะกรรมการหมูบาน 1 หมูบาน ไดแก

1.1) บานเปร็ดใน หมูที่ 2 ตําบลหวงน้ําขาว อําเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

1.2) บานกลาง หมูที่ 6 ตําบลแหลมงอบ อําเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด

1.3) บานสวนมะพราว หมูที่ 7 ตําบลคลองใหญ อําเภอคลองใหญ

Page 14: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 14 

2) หมูบานท่ีมีปาบก จํานวน 3 หมูบาน เปนหมูบานท่ีมีการจัดการปาวัฒนธรรมรูปแบบของกลุมสัจจะสะสมทรัพยทั้ง 3 หมูบาน ไดแก

2.1) บานทางควาย หมูที่ 4 ตําบลแสนตุง อําเภอเขาสมิง จังหวัดตราด

2.2) บานคลองพีด หมูที่ 10 ตําบลหวยแรง อําเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

2.3) บานรื่นรมยสามัคคี หมูที่ 9 ตําบลสะตอ อําเภอเขาสมิง จังหวัดตราด

ประชากรและกลุมตัวอยาง

1) ประชากร ไดแก ประชาชนที่อยูในชุมชนที่มีการจัดการปาวัฒนธรรม หัวหนาหนวยงาน เจาหนาท่ีหนวยงานภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวของกับการจัดการปาไมและท่ีดินในจังหวัดตราด ไดแก สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สถานีพัฒนาปาชายเลนท่ี 4 (น้ําเชี่ยว) จังหวัดตราด สํานักงานท่ีดินจังหวัดตราด สํานักงานปฏิรูปท่ีดินจังหวัดตราด สํานักงานจังหวัดตราด สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตราด ที่วาการอําเภอเมืองตราด ที่วาการอําเภอคลองใหญ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางจังหวัดตราด ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล คณะกรรมการบริหารจัดการปาบกและปาชายเลน ประธานท่ีปรึกษากลุมสัจจะสะสมทรัพย จังหวัดตราด (พระสุบิน ปณีโต) ผูประสานงานโครงการปลูกปา คณะกรรมการสมาคมสัจจะพัฒนาคุณธรรมตราด/คณะกรรมการอุดมการณ ผูนําชุมชน ประธานกลุมสัจจะสะสมทรัพย ประธานกลุมสตรีอาสาพัฒนา สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล ชาวบานท่ีมีความรูในการจัดการปา หมอดินอาสา และเจาอาวาส

2) กลุมตัวอยาง ทําการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง ไดแก กลุมผูรู (Key Informants) กลุมผูปฏิบัติ (Casual) และกลุมผูใหขอมูลทั่วไป (General) จํานวน 204 คน ไดแก

2.1) กลุมผูรู (Key Informants) เปนกลุมบุคคลท่ีเปนผูใหขอมูลในแนวลึก จํานวน 34 คน ทําการเลือกโดยใชวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ประกอบดวย

2.1.1) ภาครัฐ จํานวน 15 คน ไดแก หัวหนาหนวยงานท่ีเกี่ยวของกับการจัดการปาไมและท่ีดิน 15 หนวยงาน หนวยงานละ 1 คน รวม 15 คน ประกอบดวย หัวหนาสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หัวหนาสถานีพัฒนาปาชายเลนที่ 4 (น้ําเชี่ยว ตราด) เจาพนักงานท่ีดินจังหวัดตราด ปฏิรูปที่ดินจังหวัดตราด หัวหนาสํานักงานจังหวัดตราด พัฒนาการจังหวัดตราด หัวหนาสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางจังหวัดตราด

Page 15: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 15 

นายอําเภอเมืองตราด นายอําเภอคลองใหญ นายกองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 6 ตําบลๆ ละ 1 คน รวม 6 คน

2.1.2) ภาคเอกชน/ชุมชน จํานวน 13 รูป/คน ไดแก ประธานท่ีปรึกษากลุมสัจจะสะสมทรัพย จังหวัดตราด (พระสุบิน ปณีโต) ประธานกลุมสัจจะสะสมทรัพย/ประธานกลุมสตรีอาสาพัฒนา/คณะกรรมการหมูบาน จํานวน 6 หมูบาน ๆ ละ 1 คน รวม 6 คน ชาวบานท่ีมีความรูในการจัดการปาไม หมอดินอาสา เจาอาวาสและสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล ในหมูบาน จํานวน 6 หมูบานๆ ละ 1 คน รวม 6 คน/รูป และผูนําชุมชน 6 คน ประกอบดวย ผูใหญบาน 6 หมูบาน ๆ ละ 1 คน รวม 6 คน

2.2) กลุมผูปฏิบัติ (Casual Informants) ผูปฏิบัติโดยตรง จํานวน 80 คน ทําการเลือกโดยใชวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ประกอบดวย เจาหนาท่ีภาครัฐจาก 15 หนวยงาน ๆ ละ 3 คน รวม 45 คน คณะกรรมการบริหารจัดการปาชายเลน จํานวน 3 หมูบานๆ ละ 5 คน รวม 15 คน คณะกรรมการบริหารจัดการปาบก จํานวน 3 หมูบานๆ ละ 5 คน รวม 15 คน ผูประสานงานโครงการปลูกปา และคณะกรรมการสมาคมสัจจะพัฒนาคุณธรรมตราด/คณะกรรมการอุดมการณ จํานวน 5 คน

2.3) กลุมผูใหขอมูลทั่วไป (General Informants) จํานวน 90 คน ใชวิธีสุมแบบกอนหิมะ (Snowball Sampling) ประกอบดวย ชาวบานท่ีมีสวนรวมและไดรับประโยชนในจัดการปาวัฒนธรรม จํานวน 6 หมูบานๆ ละ 5 คน รวม 30 คน ชาวบานท่ีไมมีสวนรวมแตไดรับประโยชนในจัดการปาวัฒนธรรม จํานวน 6 หมูบานๆ ละ 5 คน รวม 30 คน และชาวบานท่ีมีสวนรวม แตไมไดรับประโยชนจากในจัดการปาวัฒนธรรม จํานวน 6 หมูบาน ๆ ละ 5 คน รวม 30 คน ผลการวิจัย

ผลการวิจัยเรื่อง “การใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธในการจัดการปาวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด” ไดขอสรุปดังน้ี

1. ประวัติความเปนมาและองคความรูของการจัดการปาวัฒนธรรม จังหวัดตราด พบวา ปาวัฒนธรรมในจังหวัดตราดต้ังอยูในเขตพ้ืนท่ีปาสงวนแหงชาติและในท่ีสาธารณะประโยชน การจัดการปาวัฒนธรรมมักกระทําดวยการปลูกปาเปนสําคัญ โดยทําการปลูกปาชายเลนกอนปาบก สาเหตุเนื่องมาจากการบุกรุกปาชายเลนเพ่ือทํานากุงของนายทุนและนักการเมืองทองถิ่น จากการ

Page 16: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 16 

ใหสัมปทานของภาครัฐ และจากการกัดเซาะชายฝงจากคลื่นลมทะเล จนสงผลกระทบใหทรัพยากรชายฝงลดลง สําหรับพันธุไมที่ใชปลูกปาชายเลนน้ันในอดีตมีการปลูกไมหลายชนิดซ่ึงชุมชนเก็บหามาจากพ้ืนท่ีปาน้ัน ๆ ตอมาไดรับการสนับสนุนพันธุไมจากกรมปาไม ปจจุบันนิยมปลูกไมโกงกางเน่ืองจากมีรากยึดแนนสามารถปองกันการกัดเซาะของคลื่นลมทะเลไดดี สวนการปลูกปาบกในอดีตน้ันเปนการเขารวมโครงการพัฒนาปาชุมชนของกรมปาไม แลวจึงพัฒนามาเปนการปลูกปาเพ่ือปองกันการบุกรุกจากนายทุน ปจจุบันการปลูกปาบกมีวัตถุประสงคเพ่ือนําไมไปขายหารายไดจัดเปนสวัสดิการใหแกผูสูงอายุ ผูที่เจ็บปวยหรือทุพพลภาพ รวมทั้งนําไปพัฒนาชุมชนและต้ังเปนกองทุนในการจัดการปา พันธุไมที่ใชปลูกปาบกมักเปนไมเศรษฐกิจในอดีตไดรับการสนับสนุนจากชุมชนและกรมปาไม การจัดการปาใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ชุมชนตระหนักถึงผลประโยชนสวนรวม มีการต้ังกฎกติกาในการใชประโยชนจากปา สําหรับไมใชสอยนั้นอนุญาตใหนําไมไปสรางหรือซอมแซมบาน วัด โรงเรียน และสถานที่ราชการ โดยมีการปลูกปาทดแทน แตปาชายเลนบางแหงไมอนุญาตใหตัดไม และใหชุมชนเก็บหาพืชผัก สมุนไพร สัตวน้ํา รวมทั้งใหสมาชิกปลูกพืชแซมในพ้ืนที่ปาบก สําหรับพ้ืนที่ปาชายเลนมีการฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรชายฝง มีการจัดการทองเท่ียวและการเรียนรูระบบนิเวศโดยสรางวิทยากรทองถิ่นและมัคคุเทศกนอย จัดท่ีพักโฮมสเตย นํารายไดไปเปนกองทุนในการจัดการปาโดยมีภาคเอกชนรวมสมทบ สวนปาบกมีการตัดไมขายนํารายไดไปเปนทุนในการปลูกปาทดแทน และจัดสวัสดิการคารักษาพยาบาลใหแกสมาชิก

2. แนวทางการจัดการปาวัฒนธรรมโดยใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด

2.1 การมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการปาวัฒนธรรม

2.1.1 การมีสวนรวมในการตัดสินใจ ยึดหลักธรรม “อุฏฐานสัมปทา” คือ ความถึงพรอมดวยความหม่ันเพียรหรือการ “หาเปน” หมายถึง เปนผูขยันในการหาทรัพย เนื่องจากปาไมใหประโยชนทั้งทางตรงและทางออม ชุมชนควรรวมมือรวมใจอยางเหนียวแนนในการแกไขปญหา และรวมมือกันดําเนินการปลูกปาท้ังปาชายเลนและปาบก ใหชุมชนไดใชประโยชนจากไมใชสอย พืชผัก สมุนไพรและสัตวน้ํา จัดการเรียนรูและการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ซึ่งจะสงผลใหระบบเศรษฐกิจของชุมชนดีข้ึน การจัดการปาวัฒนธรรมควรใหทุกคนในชุมชนมีสวนรวมคิด โดยการจัดทําประชาคมหมูบาน เปดโอกาสใหทุกคนแสดงความคิดเห็นและออกเสียงตัดสินใจเพ่ือรวมกันวางแผนการจัดการปา หนวยงานภาครัฐ องคกรทองถิ่น องคกรชุมชน ผูนําชุมชนและ

Page 17: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 17 

ปราชญชาวบานควรใหขอมูล แนวคิด หลักการ กฎหมาย กระบวนการจัดการปาและความรูทางวิชาการในการจัดการปาวัฒนธรรม เพ่ือสรางความเขาใจแกผูเขารวมเขารวมประชุมกอนที่จะใหชุมชนไดตัดสินใจในการวางแผนการจัดการปา

2.1.2 การมีสวนรวมปฏิบัติการ ยึดหลักธรรม “กัลยาณมิตตตา” คือ การ “สรางคนเปน” หมายถึง การทํางานเปนทีม เปนผูที่มีศีล มีธรรม เปนผูเสียสละ เห็นแกสวนรวม ชุมชนควรใหความรวมมือรวมใจในการวางแผนการจัดการปา คัดเลือกคณะกรรมการดําเนินงานเพ่ือรวมกันทํางานเปนทีม ผูรวมงานตองเปนผูที่มีความซ่ือสัตย มีคุณธรรม มีความเสียสละ และเห็นแกประโยชนสวนรวม หนวยงานภาครัฐควรใหการสนับสนุนความรูทางวิชาการและกระบวนการจัดการปา ชุมชนควรใหความรวมมือในการจัดกิจกรรมทุกครัวเรือน เชน การปลูก การตัดสาง การตัดหญา ใสปุย ทําแนวกันไฟ เก็บขยะ การมีสวนรวมในการดําเนินงานจะทําใหทุกคนรูสึกเปนเจาของในผืนปา เกิดความหวงแหน และชวยกันดูแลรักษาปาไวใหยั่งยืนตอไป

2.1.3 การมีสวนรวมในผลประโยชน ยึดหลักธรรม “สมชีวิตา” คือ ความเปนอยูอยางเหมาะสม หรือการ “ใชเปน” คือ ควรใหชุมชนใชประโยชนจากปาตามความจําเปนเหมาะสม โดยคํานึงถึงความย่ังยืนและมีความเสมอภาค กําหนดกฎ กติกา ระเบียบ ขอบังคับ หรือขอตกลงในการใชประโยชนจากปา เพ่ือรักษาปาไวใหเปนแหลงไมใชสอย แหลงอาหารและแหลงอาชีพของชุมชน การใชประโยชนจากปาจะตองคํานึงถึงความย่ังยืน การตัดไมจะตองกําหนดหลักเกณฑในการตัดไม วิธีการตัดไม อายุของไมที่จะตัด และปริมาตรของไม โดยการจํากัดปริมาณการตัดฟนหรือการตัดไมออกจากปา การตัดฟนตองไมเกินกําลังผลิตของปาไม ปาชายเลนควรตัดแบบเลือกตัด เพราะถาตัดหมดจะทําใหเกิดผลกระทบตอชายฝงและระบบนิเวศ เนื่องจากปาชายเลนสามารถปองกันการพังทลายของดินชายฝง ลดความรุนแรงของลมพายุ เปนแหลงรวมความหลากหลายทางชีวภาพ สวนปาบกสามารถตัดไดสองวิธี คือ การตัดแบบเลือกตัดและแบบตัดหมด และเมื่อตัดแลวใหทําการปลูกทดแทน รายไดจากการจัดกิจกรรมควรนําไปจัดต้ังเปนกองทุนในการจัดการปา กองทุนเพ่ือชวยเหลือผูสูงอายุ เจ็บปวยหรือทุพพลภาพและกองทุนในการพัฒนาชุมชน โดยจัดต้ังเปนกองทุน 5 กองทุน คือ (1) กองทุนบํานาญผูสูงอายุ ผูที่เจ็บปวย หรือทุพพลภาพ รอยละ 50 (2) กองทุนพัฒนาหมูบาน รอยละ 20 (3) กองทุนในการจัดการปา กองทุนการศึกษา และกองทุนเพ่ือชวยเหลือบรรเทาดานสาธารณภัย เชน น้ําทวม ไฟไหม วาตภัย จัดสรรใหแตละกองทุน ๆ ละ รอยละ 10

Page 18: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 18 

2.1.4 การมีสวนรวมในการประเมินผล ยึดหลักธรรม “อารักขสัมปทา” คือ “เก็บเปน” หมายถึง การสรางนิสัยรักการเก็บออม มัธยัสถ เก็บรักษาทรัพยที่รวบรวมมาจากน้ําพักน้ําแรง ชุมชนควรมีสวนรวมในการควบคุมและติดตามประเมินผลการดําเนินงาน เพ่ือรวมกันดูแลรักษาปาไวใหเปนแหลงไมใชสอย แหลงอาหารและแหลงอาชีพของชุมชนอยางยั่งยืน โดยสังเกตการเจริญเติบโตของตนไม พืชผัก สมุนไพร สัตวน้ํา สัตวปา และแมลงตาง ๆ รวมทั้งปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานเพ่ือหาแนวทางแกไขปญหาหรือพัฒนาใหดียิ่งข้ึน ควรมีบทลงโทษในการฝาฝนการกระทําท่ีเปนการบุกรุกทําลายปาและส่ิงแวดลอม

2.2 การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดยการจัดการปาวัฒนธรรม ยึดหลักธรรม “อุฏฐานสัมปทา” หมายถึง ความถึงพรอมดวยความหม่ันเพียร คือ “หาเปน” ขยันขันแข็งในการทํางาน รูจักใชปญญาคิดหาวิธีการท่ีเหมาะแกกาลเทศะ มีความคิดริเริ่มสรางสรรคผลงาน รูวิธีการจัดการ วิธีการทํา และวิธีการดําเนินการทางเศรษฐกิจ อันจะทําใหงานอาชีพของตนสําเร็จไดผลดี ดังน้ัน ชุมชนควรรวมกันวางแผนปรับปรุงเทคนิควิธีการผลิต การแปรรูปผลผลิตท่ีไดจากปาและการหาตลาดจําหนายผลผลิต เพ่ือเพ่ิมมูลคาของผลผลิต ซึ่งจะสงผลใหประชาชนในชุมชนมีรายไดสูงข้ึน ดังน้ี

2.2.1 การผลิต ปาเปนแหลงไมใชสอย แหลงอาหารและแหลงอาชีพของชุมชน ชุมชนใดมีปาท่ีอุดมสมบูรณชาวบานก็จะไดรับประโยชนมาก สงผลใหระบบเศรษฐกิจของชุมชนดีข้ึน ดังน้ัน หนวยงานภาครัฐ องคกรทองถิ่น องคกรชุมชน เอกชน และชาวบานในชุมชนควรใหสนับสนุนเงินทุนและวัตถุดิบเพ่ือใชในการจัดการปาวัฒนธรรม ดังน้ี

2.2.1.1 เงินทุน หนวยงานภาครัฐ องคกรทองถิ่น องคกรชุมชน เอกชน และชาวบานในชุมชนควรใหการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือเปนคาใชจายในการดําเนินงาน กิจกรรม ที่ชุมชนสามารถดําเนินการเองไดก็ไมตองขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เชน การเพาะพันธุ กลาไม การกอสรางท่ีชาวบานสามารถชวยกันลงแรงได เมื่อชุมชนมีรายไดจากผลผลิตก็จะมีทุน ในการจัดการปาโดยไมตองขอรับการสนับสนุนงบประมาณอีกตอไป และเน่ืองจากจังหวัดตราด มีลักษณะพ้ืนท่ีติดตอกับทะเล ชุมชนจึงควรดําเนินการปลูกปาท้ังปาชายเลนและปาบก ในพ้ืนท่ีสาธารณะประโยชน ที่ปาสงวนแหงชาติ ที่ริมทะเล ริมถนน ริมตลิ่ง ริมสระน้ํา ริมหวย หนอง คลอง บึง ที่หัวไรปลายนา เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดแกชุมชน โดยทําการขออนุญาตจากองคการบริหารทองถิ่น เทศบาล และอําเภอ หากชุมชนใดไมมีที่สาธารณะประโยชนอาจ

Page 19: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 19 

รวมกลุมทําการซ้ือที่ดินในหมูบานหรือหมูบานใกลเคียงเพื่อทําการปลูกปาได เม่ือชุมชนมีรายไดจากผลผลิตก็จะมีทุนในการจัดการปาโดยไมตองขอรับการสนับสนุนงบประมาณอีกตอไป

2.2.1.2 วัตถุดิบ ชุมชน หนวยงานภาครัฐ องคกรทองถิ่นและองคกรชุมชน ควรใหการสนับสนุนวัตถุดิบในการจัดการปา ไดแก พันธุไม ปุย ปายประชาสัมพันธโครงการ ปายติดแสดงพันธุไม และพันธุสัตวน้ํา สําหรับการจัดหาพันธุไมนั้นสามารถดําเนินการได 4 ลักษณะ คือ (1) การรับบริจาค (2) การจัดซ้ือ (3) การเพาะพันธุกลาไม และ (4) การเก็บหาพันธุไมที่ข้ึนเองตามธรรมชาติ และควรเลือกพันธุไมใหเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีและวัตถุประสงคของการใชงาน ดังน้ี

1) ปาชายเลน ควรเลือกพันธุไมใหเหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่โดยสังเกตดูวาบริเวณน้ันมีพันธุไมอะไรข้ึนอยูหรือเคยมีพันธุไมอะไรข้ึนอยู แลวจึงตัดสินใจเลือกพันธุไมชนิดนั้นมาปลูก และตองพิจารณาถึงสภาพแวดลอมที่พันธุไมแตละชนิดข้ึนอยูและเจริญเติบโตไดดี โดยพิจารณาจากสภาพพ้ืนท่ีที่น้ําทวม บริเวณท่ีอยูติดริมฝงทะเลหรือแมน้ําจะมีน้ําทวมถึงอยูเสมอควรปลูกโกงกาง แสม ลําพู ลําแพน บริเวณท่ีอยูดานในมีน้ําทวมเปนครั้งคราวควรปลูกถั่ว พังกาหัวสุม โปรง ตะบูน ตาตุม และควรมีการสงเสริมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การวางปะการังเทียม การจัดการเรียนรูและการทองเท่ียว โดยจัดท่ีพักโฮมสเตย และจําหนายสินคาหรือของที่ระลึก ซึ่งจะสงผลใหชาวบานในชุมชนมีรายไดเสริมอีกทางหนึ่ง

2) ปาบก ควรปลูกไมหลาย ๆ ชนิด เชน ไมเศรษฐกิจ ไมปา ไมมงคล ไมในพุทธประวัติ ไมที่หายาก ไมพ้ืนบาน สมุนไพร และปลูกพืชแซมหรือพืชรวมขณะที่ตนไมยังเล็กอยู ในชวง 1-3 ปแรก เชน มันสําปะหลัง สับปะรด เปนการใชพ้ืนที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด และทําใหชาวบานมีรายไดเสริมอีกทางหนึ่งดวย

2.2.2 การแปรรูปผลผลิตท่ีไดจากปา ชุมชนควรรวมกันคิดคนหาวิธีการแปรรูปผลผลิตจากปาเพ่ือเพ่ิมมูลคาใหแกผลผลิต การใชประโยชนจากไมควรใชอยางคุมคาท่ีสุด ต้ังแตลําตน กิ่ง ใบ ดอก ผล ราก ไมใชสอยสามารถนําไปแปรรูปเปนเครื่องเรือน เฟอรนิเจอร เครื่องมือ เครื่องใช เครื่องประดับ เครื่องดนตรี ใชเปนพลังงาน เชน ทําฟน ถาน พืชผักสามารถนําไปแปรรูปไดโดยการตากแหง ดอง หรือทําเปนอาหารสําเร็จรูป สมุนไพรสามารถนําไปทํายารักษาโรค ประกอบอาหาร ทําเครื่องสําอาง สัตวน้ําสามารถนําไปแปรรูปโดยการตากแหงหรือทําเปนอาหารสําเร็จรูป และสามารถสงเสริมการจัดการทองเท่ียวและเรียนรูระบบนิเวศ โดยจัดท่ีพักโฮมสเตย

Page 20: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 20 

จัดทําอาหารพ้ืนบานโดยนําผลผลิตจากปามาประกอบอาหารตอนรับแขก จําหนายสินคาอุปโภคบริโภคและของ ที่ระลึกใหแกนักทองเที่ยว จัดงานเทศกาลตาง ๆ เพ่ือสงเสริมการทองเท่ียว โดยดําเนินการในลักษณะกลุม เชน กลุมแมบาน กลุมชางซ่ึงเปนภูมิปญญาทองถิ่น กลุมสตรีอาสาพัฒนาชุมชน กลุมผูสูงอายุ กลุมนักเรียน และกลุมเยาวชน

2.2.3 การหาตลาดจําหนายผลผลิต การจําหนายผลผลิตจากปาท่ีไมไดเกิดจากการจัดกิจกรรมในลักษณะการรวมกลุม เชน การเก็บหาพืชผัก สมุนไพรและสัตวน้ํา สามารถนําผลผลิตไปจําหนายไดดวยตนเอง สวนการจําหนายผลผลิตจากปาท่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมในลักษณะการรวมกลุม เชน เครื่องเรือน เฟอรนิเจอร เครื่องมือเครื่องใช เครื่องประดับ ของที่ระลึก ควรจําหนายโดยการจัดลานคาชุมชน และนําไปจําหนายในงานประจําปของจังหวัดตราด หรือนําไปจําหนายใหแกผูที่มาศึกษาดูงาน ซึ่งจะทําใหผูผลิตมีอํานาจตอรองในระบบตลาดไดโดยไมถูกกดราคา เพ่ือใหผูบริโภคไดซื้อสินคาในราคาท่ีถูกกวาทองตลาด ควรมีการประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของเพ่ือเปนการขยายตลาดและสรางเครือขายระหวางผูผลิตกับผูบริโภค

องคความรูใหมท่ีไดจากการวิจัย

ผลการวิจัยไดแนวทางการจัดการปาวัฒนธรรมโดยใชหลักเศรษฐศาสตร เชิงพุทธ เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด เปนการดําเนินงานท่ีอาศัยความรวมมือรวมใจกันอยางเหนียวแนนในการแกไขปญหาของชุมชน ใชหลักพุทธศาสนาเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจชาวบานในชุมชน มีความขยันหาทรัพย ประหยัด เก็บออม ใชจายอยางเหมาะสมแกฐานะ ชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีการสรางมิตร รวมกันทํางานเปนทีมโดยการจัดต้ังกลุมเพ่ือรวมกันบริหารจัดการปา ลักษณะการทํางานแบบบูรณาการ โดยเชื่อมโยงเงินตรา สังคม คุณคาทางจิตใจ สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมเขาดวยกัน ยึดองครวมเปนหลัก จนชุมชนเกิดความตระหนักถึงคุณคาและความสําคัญของปาไม ใหความรวมมือรวมใจในการจัดการปาและรวมกันดูแลรักษาปาใหเปนแหลงไมใชสอย แหลงอาหาร แหลงอาชีพ แหลงความรู และแหลงทองเท่ียวของชุมชน ชุมชนใชประโยชนจากปาโดยคํานึงถึงความอยางยั่งยืน ทําใหประชาชนในชุมชนมีรายไดสูงข้ึน มีความอยูดีกินดีอยางถวนหนาเสมอภาคกัน สงผลในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน และเปนฐานรากของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตอไป

Page 21: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 21 

ขอเสนอแนะ

จากผลการวิจัย เรื่อง การใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธในการจัดการปาวัฒนธรรมเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด มีขอเสนอแนะ ดังน้ี

1. ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน

1.1 ผลการวิจัยพบวา ถึงแมวาการจัดการปาชายเลนทําใหสัตวน้ําบริเวณชายฝงเพ่ิมมากข้ึนก็ตาม แตความตองการของประชาชนก็เพ่ิมมากข้ึนดวย เนื่องจากมีการนําไปจําหนายนอกพ้ืนที่ และเปนอาชีพหลักของชุมชน ดังน้ัน สํานักงานประมงจังหวัดตราดควรสงเสริมใหชุมชน ทําการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําเพ่ือเพ่ิมผลผลิตและการสงออก

1.2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมควรสงเสริมใหชุมชนปลูกปาในที่ดินทํากินของตนเอง เพ่ือเปนการเพ่ิมพ้ืนท่ีปา ทําใหชุมชนไดใชประโยชนจากปาและมีรายไดเพ่ิมข้ึน

1.3 สถานศึกษาควรสงเสริมการศึกษาเรียนรูเรื่องของปาไมและระบบนิเวศจากสถานท่ีจริง เพ่ือใหนักเรียน นักศึกษา ทราบปญหาและผลกระทบจากการทําลายระบบนิเวศ เพ่ือปลูกจิตสํานึกใหเห็นถึงคุณคาความสําคัญของปาและรวมกันดูแลรักษาปาใหยั่งยืนตอไป

1.4 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมควรสงเสริมการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู เพ่ือแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นและรับฟงขอเสนอแนะในการจัดการปาวัฒนธรรม

1.5 ผลการวิจัยพบวา ชุมชนบางแหงไมมีการรวมกลุมอาชีพ ดังนั้น สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตราด สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดตราด สํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดตราด ควรสงเสริมใหชุมชนมีการรวมกลุมอาชีพในการแปรรูปผลผลิตท่ีไดจากปา เพ่ือเพ่ิมมูลคาของผลผลิต เปนการสรางงานและอาชีพเสริมใหแกชุมชน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจังหวัดตราดควรสงเสริมใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมการผลิตหรือแปรรูปผลผลิตจากปาเพ่ือสรางอาชีพใหแกนักเรียน นักศึกษาในระหวางเรียน

2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอไป

2.1 ผลการวิจัย พบวา พ้ืนที่บริเวณชายฝงถูกคลื่นกัดเซาะอยูเสมอ จึงควรมีการวิจัย เรื่อง การปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะของคล่ืนบริเวณชายฝง เพ่ือหาแนวทางแกไขปญหาดังกลาว

Page 22: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 22 

2.2 ควรมีการศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมินผลการจัดการปาวัฒนธรรมโดยใชหลักเศรษฐศาสตรเชิงพุทธเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดตราด เพ่ือประเมินผลการจัดกิจกรรมและหาแนวทางแกไขปญหา

2.3 ควรมีการศึกษาวิจัย การจัดการปาวัฒนธรรมท่ีอ่ืนในจังหวัดตราด เพ่ือทําการเปรียบเทียบผลการดําเนินงาน และนําไปพัฒนาการจัดปาใหดียิ่งข้ึน

2.4 ควรมีการศึกษาวิจัย การเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการจัดการปาวัฒนธรรม จังหวัดตราด เพ่ือเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการจัดการปาใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

2.5 จากการวิจัยพบวา พ้ืนที่บริเวณชายฝงทะเลท่ีมีชุมชนตั้งบานเรือนอยูอยางแออัด มีน้ําเนาเสียและสงกลิ่นเหม็น ทําใหสัตวน้ําท่ีอาศัยอยูบริเวณน้ันหายไป จึงควรมีการวิจัยเพ่ือศึกษาผลกระทบและหาแนวทางแกไขปญหาตอไป

2.6 ควรมีการศึกษาวิจัย การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการส่ิงแวดลอมจังหวัดตราด เพ่ือนําผลไปใชในการพัฒนา

2.7 ควรมีการศึกษาวิจัย การจัดการปาวัฒนธรรมจังหวัดอ่ืน เพ่ือนําผลไปใชในการพัฒนา และสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการปาวัฒนธรรม

Page 23: นางชลพรรษ  ดวงนภา

วิทยานิพนธฉบับนี้ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกลา 

www.kpi.ac.th หนา 23 

บรรณานุกรม

“การจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ลุมนํ้า,” หองสมุดส่ิงแวดลอมมูลนิธิสืบนาคะเสถียร. ม.ป.ป. <http://www.seub.or.th/libraryindex/forest/forest_031.html> 15 มีนาคม 2550.

ชาคริต โภชะเรือง. “แผนยุทธศาสตรการจัดการพ้ืนที่ปาไมของชาติแบบบูรณาการ (พ.ศ.2547-2556),” นโยบายสาธารณะภาคใต. 7 ธันวาคม 2548. http://www.southhpp.org/paper/276 15 มีนาคม 2550.

ชัยวุฒิ ชัยพันธุ. พัฒนาชนบทย่ังยืน สําหรับสาขาเศรษฐศาสตร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.

“เนื้อที่ปาไม,” เปรียบเทยีบเนื้อท่ีปาไมของประเทศไทย ระหวางป 2525-2536 เปนรายจังหวัด. ม.ป.ป. <http://www.forest.go.th/stat/stat38/TAB1.html>

มาริสา โกเศษะโยธิน. การศึกษาภูมิปญญาพ้ืนบานในการพ่ึงตนเองของชุมชนเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืนของประชาชนบริเวณชายแดน ไทย-กัมพูชาดานตะวันออก : ศึกษากรณีกลุมสัจจะสะสมทรัพย วัดไผลอม อําเภอเมือง จังหวัดตราด. สระแกว : ช. ดํารงชัยการพิมพ, 2543.

“รายงานพิเศษวันตนไมประจําปของชาติ ป 2549,” แนวหนา 31 กรกฏาคม พ.ศ.2550. 10 พฤษภาคม 2549. <http://www.naewna.com/news.asp?ID=7633> 28 กรกฎาคม 2550.

“สถิติการเกิดไฟปา,” สวนควบคุมไฟปา สํานักปองกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา. ม.ป.ป.<http://www.dnp.go.th/forestfire/2546/firestatistic%20Th.htm> 28 กรกฎาคม 2550.

“สถานการณปาไม,” environ kids. 25 มกราคม 2550. <http://www.environnet.in.th/kids/kdoc/ Situation47.doc> 1 กรกฎาคม 2550.