Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... ·...

151
ÖćøóĆçîćïìđøĊ÷îüĊéĉìĆýîŤđøČęĂÜÖćøĔßšÖúšĂÜēìøìĆýîŤÿĞćĀøĆïîĆÖýċÖþćøąéĆïðøĉââćêøĊ öĀćüĉì÷ćúĆ÷øćßõĆäÿüîÿčîĆîìć ēé÷ îć÷èĆåüčçĉ ðúęĞćðúĉü ÖćøÙšîÙüšćĂĉÿøąîĊĚđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÖćøýċÖþćêćöĀúĆÖÿĎêøðøĉââćýċÖþćýćÿêøöĀćïĆèæĉê ÿć×ćüĉßćđìÙēîēú÷ĊÖćøýċÖþć õćÙüĉßćđìÙēîēú÷ĊÖćøýċÖþć ïĆèæĉêüĉì÷ćúĆ÷ öĀćüĉì÷ćúĆ÷ýĉúðćÖø ðŘÖćøýċÖþć 2556 úĉ×ÿĉìíĉĝ×ĂÜïĆèæĉêüĉì÷ćúĆ÷ öĀćüĉì÷ćúĆ÷ýĉúðćÖø หอ

Upload: others

Post on 19-Jan-2020

19 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

2556

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 2: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

DEVEL USING

By สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 3: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

..…….......................................................

(

....................................................

(

............/......................../..............

....................................................

(

............/......................../..............

....................................................

(

............/......................../..............

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 4: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

52257306 : สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา

คําสําคัญ : บทเรียนวีดิทัศน / การใชกลองโทรทัศน

ณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว : การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน

สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

อาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ : ผศ. ดร.เอกนฤน บางทาไม . 140 หนา

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) ศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพชองบทเรียนวีดิ

ทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2)

เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน ดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 3) ศึกษาความ

คิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปท่ี 2

คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จํานวน 30 คน ดวยวิธีเลือกแบบเจาะจง

(Purposive Sampling) โดยเลือกวิชาเอก วิทยุโทรทัศน

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้คือ 1) แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางสําหรับผูเชี่ยวชาญดาน

เนื้อหาและดานสื่อวีดิทัศน 2) แบบวัดประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 3)

บทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 4) แบบวัดทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5)แบบสอบ

ถามความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก

คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานดวย t-test (dependent)

ผลการวิจัยพบวา 1) บทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนมีประสิทธิภาพ 86.78/87 ซ่ึง

เปนไปตามเกณฑท่ีกําหนดไว 2) ผลการเรียนรูของนักศึกษามีผลการเรียนรูหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

เปนไปตามเกณฑ 3) ความคิดเห็นของนักเรียน ท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน เห็น

วามีความเหมาะสมในระดับเห็นดวยมากท่ีสุดมาก

2556

......................................

……………………………………

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 5: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

52257306 : MAJOR : EDUCATIONAL TECHNOLOGY

KEY WORD : VIDEO PROGRAM / USING TELEVISION CAMERA

NATTAWUT PULMPUIL : THE DEVELOPMENT OF VIDEO PROGRAM ON USING

TELEVISION CAMERA FOR STUDENTS OF RAJABHAT SUAN SUNANDHA UNIVERSITY.

INDIPENDENT STUDY ADVISOR : ASST.PROF.EAKNARIN BANGTAMAI.,Ph.D 140 pp

The purpose of this research were 1)study and develop of video program on

using television camera for students of Rajbhat Suan sunandha University 2)

compare the learning achievement of students before and after school. With a video

program on using television camera for students of Rajbhat Suan sunandha

University 3) study the opinions of the students on video program using television

camera for students of Rajbhat Suan sunandha University sample First year

undergraduate students at 2 Arts Suan sunandha Rajabhat University of 30 people

choose a specific way (Purposive Sampling) by choosing a major television.

The instruments used in this research were 1) structured interview for

content experts and the video media 2). The test to evaluate the quality of a video

program on using television camera. 3) video program on using television camera

4) measurement of the learning 5) test, opinions toward a video program on using

television camera was used to analyze the data including Mean, standard deviation,

and tests the hypothesis with t-test (dependent).

The results showed that the 1) video program on the use of television

camera effective 86.78 / 87 which above the norm defined 2) the learning

achievement of students with learning after studying The significant .01 3) the

opinions of the students. video program on using television camera. That was a

very good level.

Department of Educational Technology Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2013

Student’s signature…………………………………..

An Independent Study Advisor’s signatures……………………………….

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 6: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

การคนควาอิสระ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน เรื ่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับ

นักศึกษาสาขาวิชา นิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยความ

กรุณาใหคําปรึกษาแนะนําจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.เอกนฤน บางทาไม ผูเปนอาจารยท่ีปรึกษาการ

คนควาอิสระ ผูวิจัยขอขอบพระคุณเปนอยางสูง

ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ประทิน คลายนาค ประธานกรรมการ และรอง

ศาสตราจารย สมหญิง เจริญจิตกรรมผูทรงคุณวุฒิท่ีกรุณาใหคําปรึกษาและแนะนําแกไขขอบกพรอง

เพ่ือความถูกตองและสมบูรณ

ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญทุกทาน ท่ีกรุณาเปนผูเชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจแกไขเครื่องมือ

ในการวิจัย ใหมีความครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ และขอขอบพระคุณอาจารยปติมนัส บรรลือ

หัวหนาสาขาวิชานิเทศนศาสตรเอกโทรทัศน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ท่ีใหขอมูลและอํานวย

ความสะดวกในการศึกษาวิจัยเปนอยางดี ตลอดจนผูใหความชวยเหลือในการทํางานวิจัยในครั้งนี้

ขอบคุณคณะอาจารยเพ่ือน ๆ ตลอดจนเจาหนาท่ีภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัย

ศิลปากร ทุกคนท่ีใหความชวยเหลือเปนกําลังใจซ่ึงกันและกัน ขอบคุณครอบครัวท่ีสนับสนุนให

กําลังใจ และเปนแรงผลักดันใหผูวิจัยไดศึกษาตอจนสําเร็จการศึกษา

ประโยชนและคุณคาอันเกิดจากการคนควาอิสระครั้งนี้ ผูวิจัยขอมอบเปนเครื่องบูชาพระคุณ

บิดา มารดา และครูอาจารยผูประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูใหกับผูวิจัย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 7: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

บทคัดยอภาษาไทย ............................................................................................... ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ .......................................................................................... จ

กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................ ฉ

สารบัญ ................................................................................................................ ช

สารบัญตาราง ....................................................................................................... ฎ

สารบัญแผนภูมิ ..................................................................................................... ฏ

1 ...................................................................................................... 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ............................................... 1

วัตถุประสงคของการวิจัย ..................................................................... 4

สมมติฐานในการวิจัย............................................................................ 4

ขอบเขตของการวิจัย ............................................................................ 4

นิยามศัพทเฉพาะ ................................................................................. 5

กรอบแนวคิดการวิจัย ........................................................................... 6

2 ............................................................. 7

แนวคิดการใชสื่อการเรียนการสอน ...................................................... 8

ประเภทของสื่อการเรียนการสอน .......................................................... 9

คุณคาและประโยชนของสื่อการเรียนการสอน ............................... 11

การพัฒนาและการใชวีดิทัศนเพ่ือการเรียนการสอน ............................. 13

ความหมายของวีดิทัศน ................................................................. 13

วีดิทัศนเพ่ือการศึกษา .................................................................... 14

รูปแบบรายการวีดิทัศนพ่ือการศึกษา ............................................. 15

การใชสื่อวีดิทัศนในหองเรียน ........................................................ 17

การสรางบทเรียนวีดิทัศน .............................................................. 18

ความสําคัญของเสียงในการผลิตรายการวีดิทัศน............................ 19

หลักการใชเสียงบรรยายในรายการวีดิทัศน ................................... 20

คําศัพทในการเขียนบทโทรทัศน .................................................... 21

การพัฒนาสื่อการสอน ................................................................... 24

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 8: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

2

การประเมินผลรายการวีดีทัศน ................................................... 25

ทฤษฎีและจิตวิทยาท่ีเก่ียวของกับการออกแบบวีดิทัศนเพ่ือการศึกษา .. 27

หลักสูตรวิชาการผลิตรายการโทรทัศน TVB3201 ................................ 28

การหาประสิทธิภาพสื่อ ........................................................................ 33

ประสิทธิภาพสื่อการสอน ............................................................... 33

การกําหนดเกณฑประสิทธิภาพ ..................................................... 34

การยอมรับประสิทธิภาพของสื่อ .................................................... 35

การประเมินหาประสิทธิภาพของสื่อ .............................................. 35

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ............................................................................... 36

งานวิจัยในประเทศ ........................................................................ 36

งานวิจัยในตางประเทศ .................................................................. 37

3 ................................................................................... 39

ประชากรและกลุมตัวอยาง ................................................................... 39

ตัวแปรท่ีศึกษา ..................................................................................... 39

ระเบียบวิธีวิจัย ..................................................................................... 39

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ....................................................................... 40

การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ................................ 40

ข้ันตอนการดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล ........................... 56

สถิติท่ีใชในการวิจัย .............................................................................. 57

การวิเคราะหขอมูลสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ............................... 57

4 ............................................................................ 61

ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสวนสุนันทา ............................................................................... 62

ตอนท่ี 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียน

วีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา .................................................................... 63

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 9: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

4

ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นของนักศึกษาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนสุนันทา ........................................................................................................ 64

5 ....................................................... 65

สรุปผลการวิจัย .................................................................................... 66

อภิปรายผล .......................................................................................... 67

ขอเสนอแนะ ........................................................................................ 71

.................................................................................................... 72

......................................................................................................... 76

ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญ ........................................................... 77

ภาคผนวก ข เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย .................................................. 80

ภาคผนวก ค ผลการตรวจสอบเครื่องมือ .............................................. 107

ภาคผนวก ง สคริปบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

ภาพตัวอยางบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

ภาพการทดลองใชบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน........ 127

ประวัติผูวิจัย ...................................................................................................... 140

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 10: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

ตารางท่ี 1 แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest - Posttest Design .... 40

ตารางท่ี 2 คาดัชนีความสอดคลองดานเนื้อหาของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศนโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ................................................. 43

ตารางท่ี 3 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานสื่อวีดิทัศน 45

ตารางท่ี 4 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานผูสอน ... 47

ตารางท่ี 5 ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อ การใชกลองโทรทัศน

รายบุคคลจํานวน 3 คน .......................................................................... 48 ตารางท่ี 6 ขอบกพรองและการปรับปรุงของสื่อบทเรียนวีดิทัศน การเรื่อง การ

ใชกลองโทรทัศน จากการทดลองใชครั้งท่ี 1 ............................................. 49

ตารางท่ี 7 ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน

รายบุคคลจํานวน 9 คน ........................................................................... 49

ตารางท่ี 8 ขอบกพรองและการปรับปรุงของสื่อบทเรียนวีดิทัศน การเรื่อง การ

ใชกลองโทรทัศน จากการทดลองใชครั้งท่ี 2 ............................................. 50

ตารางท่ี 9 แสดงเกณฑเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น ........................................... 54

ตารางท่ี 10 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ......... 62

ตารางท่ี 11 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนวีดิ

ทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ................................................................ 63

ตารางท่ี 12 ความคิดเห็นของนักศึกษาตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน .......................................................................................... 64

ตารางท่ี 13 คาดัชนีความสอดคลอง ของเน้ือหาท่ีนํามาผลิตบทเรียนวีดิทัศน

( IOC )ท่ีไดจากการประเมินความเหมาะสมและสอดคลองจาก

ผูเชี่ยวชาญ 3ทาน ................................................................................... 117

ตารางท่ี 14 แสดงคาความยากงาย และอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ จํานวน

60 ขอ ...................................................................................................... 121

ตารางท่ี 15 คาดัชนีความสอดคลอง(IOC)คําถามแบบประเมินคุณภาพสื่อ

ผูเชี่ยวชาญดานวีดิทัศน ............................................................................ 123

ตารางท่ี 16 สรุปคาความสอดคลองคําถาม(IOC)แบบประเมินคุณภาพบทเรียน

วีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานผูสอน ............................................................ 125

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 11: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

1 ......................................................................... 6

2 ............................................. 10

3 ................. 42

4 ............. 45

5 ข้ันตอนการสรางและหาคุณภาพบทรียนวีดิทัศน .................... 51

6 ข้ันตอนการสรางและหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ .... 53

7 ข้ันตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิ

ทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ......................................................... 55

แผนภูมิท่ี 8 แสดงข้ันตอนการดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล ..... 57

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 12: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

1

1

สื่อการศึกษามีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในวงการการศึกษาปจจุบัน ดวยปจจัยหลายอยางท้ังสภาพสังคมท่ีตองความรวดเร็วในการเรียนรู ผูเรียนท่ีเพ่ิมจํานวนมาข้ึนทํา ความเหลื่อมล้ําทางการเรียนรู การตอบสนองการเรียนรู ท่ีแตกตางกันระหวางบุคคลและการตองพัฒนาคุณภาพและการศึกษา สื่อการศึกษาจึงเปนสิ่งท่ีจําเปนในการเรียนการสอน

จากประสบการณทํางานของผูวิจัยในสวนของการผลิตรายการโทรทัศนและมีสวนในการใหความรูและประเมินนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร ท่ีเขามารับการฝกงานท่ีหนวยงานพบวานักศึกษาท่ีเขามาฝกงานไมสามารถใชกลองผลิตรายการโทรทัศนไดอีกท้ังยังไมเขาใจในเรื่องของมุมภาพและการถายทํา จากการสัมภาษณผูสอนในรายวิชาการผลิตรายการโทรทัศน ไดใหสัมภาษณวา เนื่องจากวิชาการผลิตรายการโทรทัศนในสวนของบทเรียนเรื่องกลองและการถายทํานั้นเปนภาคปฏิบัติ การเรียนการสอนเปนการสาธิตซ่ึงอุปกรณท่ีใชในการเรียนการสอนไมเพียงพอตอจํานวนผูเรียนจึงทําใหผูเรียนสวนมากไมเขาใจในภาคปฏิบัติ ซ่ึงนาจะมีสื่อท่ีแสดงวิธีการสาธิตการใชกลองสําหรับผลิตรายการโทรทัศนและขั้นตอนในการถายเพ่ือใหผูเรียนไดเห็นภาพและการปฏิบัติจริง

โดยในการเรียนการสอนในเรื่องการใชกลองสําหรับผลิตรายการโทรทัศน ท่ีทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูนั้นเปนกระบวนการที่ตองใชเทคนิคและวิธีการสอนหลายประการ ซ่ึงตองใชเทคนิคและวิธีการสอนแตละอยาง ท่ีมีความเหมาะสมตามสถานการณและเนื้อหาท่ีแตกตางกัน ไมมีเทคนิคและวิธีการสอนใดท่ีสามารถใชเหมาะสมกับทุกสภาพการณ อยางไรก็ตามเปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปวา การเรียนการสอนท่ีมีวัสดุอุปกรณตลอดจนเครื่องมือชวยอยางเหมาะสม จะทําใหผูเรียนไดรับความรูและประสบการณมากกวาการเรียนการสอนท่ีใหผูเรียนฟงคําพูดจากผูสอนเพียงอยางเดียว

สื่อการสอนจึงเปนสิ่งท่ีสามารถชวยใหผูเรียนเขาใจบทเรียนไดงายยิ่งข้ึนเพราะลักษณะเปนรูปธรรมสามารถมองเห็นไดงายกวาการท่ีครูเปนผูอธิบายอยางเดียวดังนั้น การเลือกสื่อการสอนเพ่ือใหผูเรียนไดเกิดความรูอยางมีประสิทธิภาพนั้นเปนสิ่งสําคัญ ซ่ึงสื่อท่ีมีประสิทธิภาพจะตองมีคุณสมบัติคือ สื่อมีความสอดคลองกับเนื้อหาบทเรียนและจุดมุงหมายท่ีจะสอน สื่อมีเนื้อหาถูกตอง ทันสมัย นาสนใจ ชวยใหเขาใจบทเรียนไดอยางมีข้ันตอน เหมาะสมกับระดับชั้น ความรู และประสบการณของผูเรียน มีความสะดวกในการใช ไมซับซอนยุงยากจนเกินไป เปนสื่อท่ีมีคุณภาพเทคนิคการผลิตท่ีดี มีความชัดเจนและเปนจริง ( กิดานันท มลิทอง 2543 )

ในบรรดาสื่อและเครื่องมือตางๆ ท่ีนํามาใชในการเรียนการสอนที่นั้นวีดิทัศนเพ่ือการศึกษานับวาเปนสื่อท่ีมีความสอดคลองกับวิธีสอนมากท่ีสุด เน่ืองจากวีดิทัศนเพ่ือการศึกษาน้ันประกอบไปดวยภาพและเสียงซ่ึงมีประสิทธิภาพจากการศึกษาพบวาวีดิทัศนการศึกษา สามารถรวบรวมเอาสื่อตางๆเขาไวไดทุกชนิด ไมวาจะเปนตัวหนังสือ สไลด ภาพยนตร บทเรียนโปรแกรม และอ่ืนๆซ่ึงมีประสิทธิภาพ ไมนอยไปกวาครูผูสอนหรือการใชสื่ออ่ืนๆ สามารถแกปญหาตางๆในการสอนได เชน การขาดแคลนของวัสดุอุปกรณ การขาดแคลนครูผูสอน หรือ ขอจํากัดในเรื่องเวลาในการสอนดานทักษะหรือกระบวนการ เปนตน วีดิทัศนจึงเปนสื่อท่ีมีบทบาทและมีคุณคาตอการเรียนการสอนใน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 13: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

2

ปจจุบันอยางมากโดยชวยอํานวยความสะดวกแกผูใชงาน รวมท้ังมีสวนท่ีทําใหกระบวนการศึกษาตองเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยเฉพาะดานวัสดุเครื่องมืออุปกรณท่ีไดนําเทคโนโลยีมาใชในการผลิตสื่อการสอน เพ่ือทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูตามวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายท่ีผูสอนไดวางไวเปนอยางดี (กิดานันท มลิทอง ,2540) โดยมีการทําสื่อหลากหลายประเภทเขามาจัดการเรียนการสอน รวมไปถึงการนําวีดีทัศนมาใชในการเรียนการสอน ซึ่งมีประโยชนและมีคุณคาตอการเรียนรูเปนอยางมาก เพราะวีดีทัศนสามารถถายทอดไดท้ังภาพและเสียง สะดวกในการเก็บรักษาและสามารถนําไปเผยแพรไดงายกวา มีความทนทานสูง เก็บรักษางาย พกพาไดสะดวก สามารถเลนไดกับคอมพิวเตอรท่ัวไปตลอดจนเครื่องเลนวีดีทัศนมีราคาไมแพง และยังมีอิทธิพลในการสรางแรงจูงใจใหกับผูเรียนอีกดวย อีกท้ังในวีดีทัศนมี 2 รูปแบบคือ ภาพและเสียงบรรยาย ซ่ึงการบรรยายก็เปนตัวแปรหนึ่งท่ีจะเปนสิ่งท่ีจะชวยเสริมอธิบายการเรียนรู และเนื้อหาใหนักศึกษา แตรูปแบบของการบรรยายมีหลายวิธีเชน การบรรยาย การสนทนา การบอกเร่ือง ซ่ึงเทคนิคการบรรยายแตละวิธีก็มีขอดีแตกตางกัน ซ่ึงในบางครั้งการใชวีดิทัศนเพ่ือการสอนเราตองใหมีการบันทึกเสียงบรรยายท่ีแปลกออกไปเพ่ือเพ่ิมความนาสนใจและมีการโนมนาวจิตใจของผูฟงใหมากข้ึน การบรรยาย ชวยใหการอภิปรายเรื่องราวในวีดีทัศนไดดีข้ึนทําใหนักศึกษาไดรับทราบขอมูลเพ่ิมเติมและสามารถเนนจุดท่ีสําคัญของภาพได บทเรียนวีดิทัศนเปนนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีสามารถชวยใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนไดอยางนาเชื่อถือได เม่ือพิจารณาจากหลักการของสื่อวีดิทัศนแลวผูเรียนจะไดเห็นภาพในลักษณะตาง ๆ ไดยินเสียงประกอบท่ีสมจริง มีคําถามมีคําตอบ และเสียงดนตรีประกอบท่ีนาสนใจ วีดิทัศนนับเปนสื่อท่ีใชในการเรียนการสอนชนิดหนึ่งท่ีวงการศึกษาใหความสนใจ ท้ังยังชวยใหครูดําเนินการสอนท่ีมีประสิทธิภาพเทาเทียมกันในมาตรฐานเดียวกัน และยังทําใหประหยัดเวลาในการเตรียมการสอนทําใหการสอนเรื่องนั้น ๆ บรรลุวัตถุประสงคเดียวกัน ดวยวิธีเดียวกันและชวยใหการเรียนการสอนบรรลุจุดมุงหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ

สื่อวีดิทัศนมีคุณสมบัติครบถวนในทางดานโสตทัศนศึกษา คือสามารถใหขาวสารแกผูรับ ท้ังดานประสาทสัมผัสทางตาและทางหู สามารถสรางประสบการณท่ีเปนรูปประธรรมไดดี ( Howell 1970:6-7 ) รายการวีดิทัศนเปนสื่อท่ีใหผลทางดานการรับรูสูงมาก ดวยเหตุผลท่ีวาการรับรูของคนเรา เกิดจากการเห็น 75 % การไดยิน 13 % การสัมผัสถูกตอง 6 % กลิ่น 3 % รส 3 % ( Dale 1956 : 134 )

การเรียนในวิชาการผลิตรายการโทรทัศนของนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เรื่องของการใชกลองสําหรับผลิตรายการโทรทัศนนั้นจะอยูในหนวยการเรียน ท่ี 8 เรื่องกลองสําหรับผลิตรายการ และในหนวยท่ี 9 เรื่องการถายดวยกลองวีดีทัศนการเรียนการสอนในเรื่องการผลิตรายการโทรทัศนเพ่ือการศึกษาเบ้ืองตน เนื้อหาจะกลาวถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน ตั้งแตการวางแผน การเตรียมการ การดําเนินการรวมถึงการประเมินการผลิตรายการ เพ่ือใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในการฝกทักษะการผลิตรายการโทรทัศนข้ันพ้ืนฐานไดอยางถูกตองเหมาะสม โดยเฉพาะในสวนของเนื้อหาเรื่องกลองโทรทัศนและการถายทํา ถือไดวาเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญของผูเรียน เนื่องจากวากลองโทรทัศนเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสอันดับแรกท่ีผูผลิตรายการโทรทัศนจะตองรูจักเปนอยางดี เพราะกลองเปนตัวสรางภาพใหปรากฏเพ่ือนําไปบันทึกเทปโทรทัศน (เดชา จันทภาษา 2533 : 61) ทุกสิ่งทุกอยางท่ีเราเห็นจากจอโทรทัศนยอม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 14: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

3

เกิดข้ึนจากกลองโทรทัศน กลองโทรทัศนถายทอดสิ่งใดผูชมยอมไดเห็นภาพเหลานั้นเสมอ(รวมศักดิ์ แกวปลั่ง และอนันตธนา อังกินันทน 2521 : 109) การใชกลองโทรทัศนเพ่ือจะใหภาพท่ีดีนั้นนอกจากจะตองทราบสวนประกอบและการทํางานของกลองแลว ยังตองอาศัยความรูความเขาใจถึงลักษณะการจัดองคประกอบของภาพใหเหมาะสม และประกอบกับทักษะในการปฏิบัติตามข้ันตอนการใชกลองโทรทัศนอยางถูกตอง(จันทรฉาย เตมิยาคาร 2532 : 28) ในการการจัดองคประกอบของภาพโทรทัศน แมจะอาศัยหลักการเดียวกับภาพนิ่ง แตก็มีความยากในการจัดมากกวา เพราะเปนภาพเคลื่อนไหวท่ีตองเคลื่อนกลองโทรทัศนตามอยูเสมอ (วสันต อติศัพท 2533 : 229) ลักษณะของภาพในรายการโทรทัศนควรมีความสวยงาม มีความหมายสัมพันธกับเนื้อหาและเหตุการณ แสดงข้ันตอนอยางตอเนื่อง มีลําดับของขนาดและมุมมองชัดเจน ประยุกตใชไดหลายลักษณะ และแสดงทาทางท่ีแสดงอารมณ (สมเชาว เนตรประเสริฐ 2540 : 228) กลองโทรทัศนจะสื่อสารภาพตามท่ีมองเห็นไดอยางไรตอผูชม จะเลือกจุดใดของภาพในเหตุการณนั้น มุมกลองท่ีใชจะเปนประโยชนมากในการใหผูชมไดรับรูตอเหตุการณนั้น ซ่ึงเปนการถายทอดจินตนาการออกมาใหเปนรูปธรรมท่ีสื่อความหมายตอผูชม (วสันต อติศัพท 2533 : 225)

ในการจัดการเรียนการสอนเรื่องกลองโทรทัศนและการถายทํา จําเปนท่ีจะตองสอนใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจในเนื้อหาเปนอยางดี หลังจากนั้นจึงเปนการฝกปฏิบัติเพ่ือใหเกิดทักษะเพ่ิมข้ึน ดังนั้นวิธีการนําเสนอเนื้อหาและวิธีการสอนจึงควรจะมีความหลากหลายในการถายทอดเนื้อหา เพ่ือใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู และมีประสิทธิภาพในการเรียนรูมากท่ีสุดซ่ึงปจจุบันการเรียนการสอนเรื่องกลองโทรทัศนและการถายทํา ยังประสบปญหาเก่ียวกับการขาดแคลนส่ือการสอนท่ีมีประสิทธิภาพและมีรูปแบบท่ีไมหลากหลายนัก ทําใหผูเรียนเกิดความเบ่ือหนายในการเรียน และไมสามารถเขาใจเนื้อหาท่ีเรียนไดท้ังหมด สื่อการสอนจึงเปนสิ่งท่ีสามารถชวยใหผูเรียนเขาใจบทเรียนไดงายข้ึน ทําใหผูเรียนไดรับความรูและประสบการณมากกวาการเรียนการสอนท่ีผูสอนเปนผูอธิบายเพียงอยางเดียว

การผลิตรายการโทรทัศนในแตละข้ันตอนนั้นลวนมีความสําคัญท้ังสิ้น ซ่ึงในแตละข้ันตอนนั้นจะมีรายละเอียดละกระบวนการตามขั้นตอน โดยเฉพาะในกระบวนการข้ันตอนการผลิตการถายทํานั้นตองอาศัยทักษะการถายภาพของชางภาพ เพ่ือใหไดภาพท่ีสื่อความหมายตามการวางแผนและสามารถนําไปสูข้ันตอนการตัดตอหรือกระบวนการหลังการผลิตไดโดยงายเพราะฉะนั้นการผลิตรายการโทรทัศนนั้นผลงานจะออกมาดีหรือไมนั้นจุดท่ีสําคัญของการทํางานคือข้ันตอนการถายทําโดยตองอาศัยความชํานาญของชางภาพที่มีความรูในเรื่องของการถายภาพดวยกลองผลิตรายการโทรทัศน

การถายภาพดวยกลองผลิตรายการโทรทัศนนั้นมีกระบวนการและเทคนิคในการถายทําท่ีละเอียด ชางภาพท่ีถายกลองโทรทัศนนั้นจึงจําเปนตองมีความรูและทักษะกระบวนการตาง ๆ ไมวาจะเปน ระบบของกลองโทรทัศน อุปกรณ เสริมท่ีใชกับกลองโทรทัศนไมวาจะเปนขาตั้งกลอง เลนส หรืออุปกรณเสริมอ่ืน ๆ รวมไปถึงการจัดองคประกอบภาพ และมุมกลองท่ีใชในการถายทําถึงแมในปจจุบันนี้กลองโทรทัศนไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและระบบใหมีการใชงานไดงายข้ึนมีขนาดท่ีเล็กลงชางภาพใชงานไดคลอง แตหลักการถายภาพที่ถูกตองและการใชท่ีถูกวิธียังจําเปนตองมีการเรียนการสอนตามหลักวิชาการ โดยการเรียนการสอนในเรื่องการใชกลองถายวีดีทัศนนั้น จําเปนตองใชอุปกรณกลองท่ีมีราคาแพง ใชเวลาในการสอนมากและตองใชบุคลากรมาก ซ่ึงการเรียนการสอน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 15: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

4

สวนมากเปนลักษณะการสาธิตและการทดลองปฏิบัติ โดยนักศึกษาท่ีเรียนเรื่องการผลิตรายการโทรทัศนโดยเฉพาะในหนวยเรื่องของการใชกลองนั้น นักศึกษาตองเรียนรูในเรื่องตางๆ คือ ระบบการทํางานของกลองผลิตรายการโทรทัศน อุปกรณเสริมสําหรับกลองผลิตรายการโทรทัศน มุมภาพการเคลื่อนไหวกลองและองคประกอบสําหรับการถายภาพดวยกลองผลิตรายการโทรทัศน และการบํารุงรักษาอุปกรณกลองผลิตรายการโทรทัศน

ดังนั้น ผูวิจัยจึงไดทํา การศึกษาเพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองการโทรทัศน ข้ึนเพ่ือเปนสื่อประกอบการเรียนการสอนในวิชาการผลิตรายการโทรทัศน ดวยคุณลักษณะของส่ือวีดิทัศนท่ีสามารถตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล ชวยสรางแรงจูงใจในการเรียนรูและดึงดูดความสนใจของผูเรียน อีกท้ังยังสามารถใชในการสอนไดแบบท้ังรายกลุมและรายบุคลสื่อวีดิทัศนยังเปนสื่อท่ีตอบสนองการเรียนรูท่ีแตกตางระหวางบุคคล ซ่ึงจะชวยใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากข้ึน

1. เพ่ือศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพชองบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน ดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

3. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

1.บทเรียนวีดิ ทัศน เรื่ องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษา

ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. ความคิดเห็นของนักศึกษา สาขาวิชานิเทศศาสตร ท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศนอยูในระดับดี

1. เนื้อหาวิชาท่ีใชในการทดลองคือ วิชาการผลิตรายการโทรทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน ในระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปการศึกษา 2556 2. ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จํานวน 150 คน 3. กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ จํานวน 30 คน ดวยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกวิชาเอกวิทยุโทรทัศน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 16: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

5

4. ตัวแปรท่ีใชศึกษาคือ 4.1 ตัวแปรตน คือ การเรียนจากบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน 4.2 ตัวแปรตาม คือ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน

5. ลําดับเนื้อหาของสื่อการสอนของบทเรียนวีดิทัศน แบงเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 สวนประกอบและการทํางานของกลอง ตอนท่ี 2 มุมภาพและขนาดภาพ ตอนท่ี 3 การเคลื่อนกลองและการควบคุมกลอง

6. ระยะเวลาท่ีใชทดลอง 1 ครั้ง 4 คาบ (คาบละ60นาที) โดยแบงเปนลําดับ ดงันี้ 1. แนะนําบทเรียนและทดสอบกอนเรียน (Pre – Test 50 นาที) 2. นักศึกษาศึกษาจากบทเรียนวีดิทัศนท่ีผูวิจัยไดพัฒนาข้ึน ตอนท่ี 1 สวนประกอบการ

ทํางานและชนิดของกลอง (50 นาที) ตอบขอซักถามและทดสอบทายบทเรียน 3. นักศึกษาศึกษาจากบทเรียนวีดิทัศนท่ีผูวิจัยไดพัฒนาข้ึน ตอนท่ี 2 มุมภาพและขนาดภาพ (50 นาที) ตอบขอซักถามและทดสอบทายบทเรียน 4. นักศึกษาศึกษาจากบทเรียนวีดิทัศนท่ีผูวิจัยไดพัฒนาข้ึน ตอนท่ี 3 การเคลื่อนกลองและการควบคุมกลอง (50นาที) ตอบขอซักถามและทดสอบทายบทเรียน

5. ทดสอบหลังเรียนและทําแบบสอบถามความคิดเห็น (Post-Test 50 นาที)

1.บทเรียนวีดิทัศน หมายถึง รายการวีดิทัศนการสอน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน ระดับ

ปริญาตรีชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ท่ีผูวิจัยพัฒนาข้ึน สรางตามข้ันตอน หลักการและวิธีการในการสรางสื่อวีดิทัศน การตรวจ แกไข ปรับปรุงจากผูเชี่ยวชาญดานการถายภาพโทรทัศน และดานการผลิตวีดิทัศน

2. การพัฒนา หมายถึง การออกแบบและสรางบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน เปนเทคโนโลยีการเรียนการสอนท่ีพัฒนาข้ึนมาโดยใชเทคโนโลยีผสมท่ีเปนภาพและเสียงนําไปให ผูเชี่ยวชาญประเมินคุณภาพปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญปรับปรุงจนมีคุณภาพตามเกณฑท่ีกําหนดแลวนําไปทดลองกับนักเรียนตามข้ันตอนปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบระหวางเรียนและหลังเรียนไดจากการทําแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือกซ่ึงผานการหาคาดัชนีความสอดคลองกับวัตถุประสงค (Index of Congruence: IOC) วิเคราะหขอสอบหาคาความยากงายคาความเชื่อม่ันและคาอํานาจจําแนกแลวดวยบทเรียนวีดิทัศนท่ีผูวิจัยสรางข้ึน 4 . ประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศน หมายถึง ผลการประเมินจากการเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน โดยใชเกณฑ 80/80 ดังนี้ 80 – แรก หมายถึง คะแนนระหวางเรียนคิดเปนคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 80 – หลัง หมายถึง คารอยละของคะแนนเฉลี่ยท่ีนักศึกษาทําแบบทดสอบภายหลังการเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนไดถูกตองคิดเปนรอยละ 80

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 17: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

6

5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการเรียนรูดานความรู ความจํา ความเขาใจ และการนําไปใชวิชาผลิตรายการโทรทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนท่ีผูวิจัยสรางข้ึนวัดไดโดยใชแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีผูวิจัยสรางข้ึน 6. ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 7. นักศึกษาระดับปริญญาตรี หมายถึง นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

1 กรอบแนวคิดการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองสําหรับโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ศึกษาแนวทางการสรางบทเรียน วีดิทัศนเรื่อง การใชกลองโทรทัศนโดยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง แลวสรุปความ คิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ โดยใชข้ันตอนการผลิต 1. ข้ันวางแผน 2. ข้ันเตรียมการ 3. ข้ันดําเนินการผลิต 4. ข้ันตัดตอ และ5. ข้ันประเมินผลรายการ(ประทิน คลายนาค, 2550 )

1.สวนประกอบการทํางานและชนิดของกลอง 2.หลักหารจัดวางองคประกอบและขนาดภาพ 3.การเคลื่อนกลองและการควบคุมกลอง

(ห ลั ก สู ต ร วิ ช า TVB3201ก า ร ผ ลิ ตรายการโทรทัศน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา)

บทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน

ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ช อ งบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเ รียนและหลัง เรียน ดวยบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน

ความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 18: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

7

2

การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษา

ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 1. 1.1 ความหมายของสื่อการเรียนการสอน 1.2 ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 1.3 คุณคาและประโยชนของสื่อการเรียนการสอน 2. 2.1 ความหมายของวีดิทัศน 2.2 วีดิทัศนเพ่ือการศึกษา 2.3 รูปแบบรายการวีดิทัศนเพ่ือการศึกษา 2.4 การใชสื่อวีดิทัศนในหองเรียน

2.5 การสรางบทเรียนวีดิทัศน 2.6 ความสําคัญของเสียงในการผลิตรายการวีดิทัศน 2.7 หลักการใชเสียงบรรยายในรายการวีดิทัศน

2.8 คําศัพทในการเขียนบทโทรทัศน 2.9 การพัฒนาสื่อการสอน

2.10 การประเมินผลรายการวีดีทัศน 3. 3.1 ทฤษฎีการเรียนรูของธอรนไดค (Learning theroy) 3.2 ทฤษฎีเสริมแรงของสกินเนอร (Reinforcement)

4. TVB3201 4.1 สวนประกอบของกลองโทรทัศน 4.2 การทํางานของกลองโทรทัศน 4.3 ชนิดของกลองโทรทัศน 4.4 การใชกลองโทรทัศน 4.5 มุมกลอง 4.6 การเคลื่อนไหวกลอง

5. 5.1 ประสิทธิภาพของสื่อการสอน 5.2 การกําหนดเกณฑประสิทธิภาพ 5.3 การยอมรับประสิทธิภาพของสื่อ 5.4 การประเมินหาประสิทธิภาพของสื่อ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 19: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

8

6. 6.1 งานวิจัยในประเทศ 6.2 งานวิจัยในตางประเทศ 1. 1.1 สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางท่ีใชในการถายทอดความรู ประสบการณ อาจจากผูสอนหรือ

แหลงความรูอ่ืนๆไปยังผูเรียน แหลงความรู (ชลิยา ลิมปยากร, 2536 : 42) ชลิยา ลิมปยากร (2536 : 42) ไดกลาวถึงความหมายของสื่อการเรียนการสอนไววา สื่อ

ตางๆ ท่ีผูสอนและผูเรียนนํามาใชในระบบการเรียนการสอนเพ่ือชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายของการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

สมหญิง เจริญจิตรกรรม (2525 : 32) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2526 :112) สมบูรณ สงวนญาติ (2534 : 44) และคารเตอร (Carter 1983 : 307) กลาวไววา สื่อการเรียนการสอนหมายถึง วิธีการและกิจกรรมท่ีครูผูสอนนํามาใชในการถายทอดความรูจากครูไปสูผูเรียนเพ่ือใหบรรลุเปาหมายในการเรียนการสอน

สมเชาว เนตรประเสริฐ (2542 : 16) กลาววา สื่อการสอน (Instruction Media) มีความหมาย 2 นัยดังนี้

1. สื่อการสอน ในฐานะตัวเชื่อมโยงขอมูลเพ่ือถายทอดเนื้อหาสาระ จากครูไปสูผูเรียนสื่อลักษณะนี้จะมุงเนนทางดานการนําไปใชในฐานะตัวสงผานขอมูลจากผูสงไปยังผูรับ

2. สื่อการสอน ในฐานะที่เปนกายภาพของตัวสื่อแตละชิ้นโดยครอบคลุมถึงวัสดุอุปกรณ และวิธีการ สามารถนําไปใชเปนสื่อการสอนแยกแตละชนิดดวยตัวของมันเอง หรือจะใชรวมกับสิ่งอ่ืนๆ เชน วัสดุอุปกรณ วัสดุกับวิธีการหรืออุปกรณกับวิธีการหรืออาจใชรวมกันท้ัง 3 อยาง

เรืองวิทย นนทะภา และคณะ (2540 : 28) ไดกลาวไวในเอกสารวิชาสื่อและเทคโนโลยีการสอน วาสื่อการเรียนการสอน หมายถึงตัวกลางท่ีใชถายทอดความรู ความคิด ตลอดจนทักษะตางๆ ไปยังผูเรียน ฉะนั้นสื่อการเรียนการสอนจึงหมายถึงทุกสิ่งทุกอยาง ท่ีแทรกอยูระหวางความรู ความคิด ทักษะกับผูเรียน ท่ีสามารถนํามาใชในการเรียนการสอนได เชน

1. วัตถุ สิ่งของตามธรรมชาติ ตนไม สัตว แร ดิน หิน ทราย 2. ปรากฏการณธรรมชาติ ลม ฝน ฟาแลบ ฟารอง 3. วัตถุสิ่งของท่ีประดิษฐ หรือสรางข้ึนสําหรับการเรียนการสอน เชน แผนภาพ หุนจําลอง 4. คําพูด ภาษาทา การย้ิม การแสดงอารมณโกรธ 5. วัสดุและเครื่องมือสื่อสารตางๆ เชน วิทยุ เทป แผนเสียง ภาพยนตร 6. กิจกรรม หรือกระบวนการถายทอดความรูตางๆ เชน การศึกษานอกสถานท่ีการสาธิต

การแสดงนิทรรศการ การปฏิบัติงาน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฯลฯ Geriach and Ely (1971 : 282) ไดกลาววา สื่อการสอนเปนกุญแจสําคัญในการวางแผน

และการสอนเชิงระบบ สื่อเปนคําท่ีมีความหมายกวางขวางมาก ไมวาจะเปนบุคคล วัสดุอุปกรณ หรือเหตุการณท่ีสรางเง่ือนไข ซ่ึงสามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ทักษะ ตลอดจนทัศนคติ โดยนัยนี้ ครู

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 20: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

9

ตํารา และสิ่งแวดลอมรอบๆ โรงเรียนตางก็เปนสื่อการสอนท้ังสิ้นจากความหมายของสื่อการเรียนการสอนดังกลาวพอท่ีจะสรุปไดวา สื่อการเรียนการสอน หมายถึงสื่อตางๆท่ีผูสอนและผูเรียนนําไปใชเปนตัวกลางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวไดอยางมีประสิทธิภาพ

1.2 สื่อการเรียนการสอนมีจํานวนมากขึ้นตามความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี นักเทคโนโลยีทางการศึกษาไดกําหนดและแบงประเภทของสื่อการเรียนการสอนไวแตกตางกันออกไป ท้ังนี้ขอยกแนวคิดของศิริพงศ พยอมแยม (2533 : 70 – 71) ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ (2523 : 112) สันทัด ภิบาลสุข และพิมพใจ ภิบาลสุข (2523 : 41 – 42) มนตรี แยมกสิกร (2526 : 5 – 7) วีระไทยพานิช (2528 : 55 – 57) ทานเหลานี้ไดแบงประเภทของสื่อการเรียนการสอนไวเหมือนกัน โดยแบงสื่อการเรียนการสอนออกเปน 3 ประเภทคือ

1. สื่อประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ (Equipments or Hardwares) สื่อประเภทนี้เปนตัวกลาง หรือทางผานของความรูท่ีจะถายทอดไปยังผูเรียน ซ่ึงไดแก สื่อใหญ (Big media)ที่จะตองใชไฟฟา และอิเลคทรอนิกสตางๆ เชน เครื่องฉายภาพยนตร เครื่องฉายสไลด เครื่องฉายภาพโปรงใส เครื่องรับโทรทัศน เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องบันทึกเทปโทรทัศนตลอดจนเครื่องชวยสอน เครื่องคอมพิวเตอร และกระดานชอรค รวมทั้งแผนปายสําลี แผนปายนิเทศ ฯลฯ

2. สื่อประเภทวัสดุ (Meterials or Softwares) สื่อการเรียนการสอนประเภทนี้จะเปนสื่อขนาดเล็ก (Small media) แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

2.1 สื่อท่ีตองอาศัยสื่อใหญในการนําเสนอ จึงจะสามารถใชในการเรียนการสอนได เชน สไลด ฟลมภาพยนตร มวนเทปและแผนโปรงใส ฯลฯ

2.2 สื่อท่ีเปนตัวของมันเอง ไมตองอาศัยสื่ออ่ืน ๆ ในการนําเสนอก็สามารถใชในการเรียนการสอนได เชน ของจริง ของจําลอง รูปภาพ แผนท่ีและลูกโลก ฯลฯ

3. สื่อประเภทเทคนิคและวิธีการ (Techniques and Methods) เปนสื่อการเรียนการสอนท่ีเปนกระบวนการ เทคนิคหรือวิธีการ ซ่ึงตองใชควบคูกับวัสดุและเครื่องมือโดยเนนท่ีเทคนิคหรือวิธีการเปนสําคัญ เชน การแสดงหุน การแสดงละคร การสาธิต การศึกษานอกสถานท่ี และการจัดนิทรรศการ ฯลฯ

นอกจากนี้ยังมีการแบงประเภทของสื่อการสอนตามระดับประสบการณของผูเรียน ซ่ึง เดล Edger dale (อางถึงใน หนึ่งฤทัย เต็กจินดา 2540 : 25 ) ไดอธิบายถึงความสัมพันธระหวางสื่อโสตทัศนูปกรณตางๆ ในขณะเดียวกัน ก็เปนการแสดงข้ันตอนของประสบการณ การเรียนรูและการใชสื่อแตละประเภทในกระบวนการเรียนรูดวย โดยพัฒนาแนวความคิดของ Bruner ซ่ึงเปนนักจิตวิทยา จนไดแบงสื่อการสอนออกเปน 10 ประเภท ซ่ึงพิจารณาจากลักษณะของประสบการณท่ีไดรับจากสื่อ การสอนประเภทน้ัน และยึดเอาความเปนรูปธรรมและนามธรรมเปนหลักในการแบงประเภท และไดเรียงลําดับจากประสบการณท่ีเปนรูปธรรมท่ีสุดจนถึงประสบการณท่ีเปน นามธรรมท่ีสุด (Abstract Concrete Continuum) เรียกวา “ ” (Cone of Experience)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 21: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

10

2 1 (Direct Purposeful Experience) เปน

ประสบการณท่ีเปนรากฐานของประสบการณท้ังปวง เพราะไดเรียนรูจากประสบการณจริง ไดเห็น ไดยินเสียง ไดสัมผัสดวยตนเอง เชน การเรียนจากของจริง (Real object) ไดรวมกิจกรรมการเรียนดวยการลงมือกระทํา เปนตน

2 (Contrived Simulation Experience) จากขอจํากัด ท่ีไมสามารถจัดการเรียนการสอนจากประสบการณจริงใหแกผูเรียนได เชน ของจริงมีขนาดใหญหรือเล็กเกินไป มีความซับซอน มีอันตราย จึงใชประสบการณจําลองแทน เชน การใชหุนจําลอง (Model)

3 (Dramatized Experience) เปนประสบการณท่ี จัดข้ึนแทนประสบการณจริงท่ีเปนอดีตไปแลว หรือเปนนามธรรมท่ียากเกินกวาจะเขาใจและไมสามารถใชประสบการณจําลองได เชน การละเลนพ้ืนเมือง ประเพณีตางๆ เปนตน

4 (Demonstration) คือการอธิบายขอเท็จจริง ความจริงและกระบวน การท่ีสําคัญดวยการแสดงใหเห็นเปนลําดับข้ัน การสาธิตอาจทําไดโดยครูเปนผูสาธิต นอกจากนี้อาจใชภาพยนตร สไลดและฟลมสตริป แสดงการสาธิตในเนื้อหาท่ีตองการสาธิตได

5 (Field Trip) การพานักศึกษาไปศึกษายังแหลงความรูนอกหองเรียน เพ่ือเปดโอกาสใหนักศึกษารูหลายๆดาน ไดแก การศึกษาความรูจากสถานท่ีสําคัญ เชน โบราณสถาน โรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน

6 (Exhibition) คือ การจัดแสดงสิ่งตางๆ รวมทั้งมีการสาธิต และการฉายภาพยนตรประกอบเพ่ือใหประสบการณในการเรียนรูแกผูเรียนหลาย ดาน ไดแก การจัดปายนิทรรศการ การจัดแสดงผลงานนักศึกษา

7 (Motion Picture and Television) ผูเรียนไดเรียนดวยการเห็นและไดยินเสียงเหตุการณและเรื่องราวตางๆ ไดมองเห็นภาพในลักษณะการเคลื่อนไหวเหมือนจริงไปพรอมๆ กัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 22: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

11

8 (Recording, Radio and Picture) ไดแก เทปบันทึกเสียง แผนเสียง วิทยุ ซ่ึงตองอาศัยเรื่องการขยายเสียง สวนภาพนิ่ง ไดแกรูปภาพท้ังชนิดโปรงแสงท่ีใชกับเคร่ืองฉายภาพขามศีรษะ (Overhead projector) สไลด (Slide) ภาพน่ิงจากคอมพิวเตอร และภาพบันทึกเสียงท่ีใชกับเครื่องฉายภาพทึบแสง (Overhead projector)

9 (Visual Symbol) มีความเปนนามธรรมสูง จําเปน ท่ีจะตองคํานึงถึงประสบการณของผูเรียนเปนพ้ืนฐานในการเลือกนําไปใช สื่อเหลานี้คือ แผนภูมิ แผนสถิติ ภาพโฆษณา การตูน แผนท่ี และสัญลักษณตางๆ เปนตน

10 (Verbal Symbol) เปนประสบการณข้ันสุดทาย ซ่ึงเปนนามธรรมท่ีสุด ไมมีความคลายคลึงกันระหวางวจนสัญลักษณกับของจริง ไดแก การใชตัวหนังสือแทนคําพูด การใชกรวยประสบการณของเดล จะเริ่มตนดวยการใหผูเรียนมีสวนรวมอยูในเหตุการณหรือการกระทําจริง เพ่ือใหผูเรียนมีประสบการณตรงเกิดข้ึนกอนแลวจึงเรียนรูโดยการเฝา สังเกตในเหตุการณท่ีเกิดข้ึนซ่ึงเปนข้ันตอไปของการไดรับประสบการณรอง ตอจากนั้นจึงเปนการเรียนรูดวยการรับประสบการณโดยผานสื่อตางๆ และทายท่ีสุดเปนการใหผูเรียนเรียนจากสัญลักษณซ่ึงเปนเสมือนตัวแทนของ เหตุการณท่ีเกิดข้ึน

1.3 สื่อการเรียนการสอนสามรถชวยการเรียนการสอนของครูไดดีมากยิ่งข้ึนจะเห็นวา ใน

ขณะเดียวกันครูยังไดมีโอกาสรวบรวมความรูมากข้ึนในการจัดแหลงวิทยาการท่ีเปนเนื้อหาเหมาะสมแกการเรียนรูตามจุดมุงหมายในการสอนชวยครูในดานการคุมพฤติกรรมการเรียนรูและสามารถสนับสนุนการเรียนรูของนักศึกษาได สื่อการสอนจะชวยสงเสริมใหนักศึกษาไดทํากิจกรรมหลายๆรูปแบบ ชวยใหครูผูสอนไดสอนตรงตามจุดมุงหมายการเรียนการสอน และยังชวยในการขยายเนื้อหาท่ีเรียนทําใหการสอนงายข้ึน และยังจะชวยประหยัดเวลาในการสอน นักศึกษาจะไดมีเวลาในการทํากิจกรรมการเรียนมากข้ึน นอกจากนี้สื่อยังชวยแกปญหาพ้ืนฐานหรือภูมิหลังของนักศึกษาท่ีแตกตางกันชวยทําใหครูสอนไดดีข้ึน และชวยใหการสอนของครูบรรลุเปาหมาย นักเทคโนโลยีทางการศึกษาตางก็เห็นความสําคัญของสื่อการเรียนการสอนวา มีบทบาทอยางยิ่งตอการเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรูของผูเรียนใหสูงข้ึน ท้ังในดานการเรียนรูและการประหยัดเวลา (ศิริพงศ พยอมแยม 2533 : 76)

กิดานันท มลิทอง (2543 : 98) ไดกลาวถึงคุณคาของสื่อการเรียนการสอนไววาเปนสิ่งท่ีชวยใหเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เพราะชวยใหผูเรียนเกิดความเขาใจในเนื้อหาบทเรียนทียุงยากซับซอนไดงายข้ึนในระยะเวลาอันสั้น และสามารถชวยใหเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องนั้นไดอยางถูกตองและรวดเร็ว โดยไดสรุปคุณประโยชนไวดังนี้

1. สื่อจะชวยกระตุนและสรางความสนใจใหกับผูเรียน ทําใหเกิดความสนุกและไมรูสึกเบื่อหนายการเรียน

2. การใชสื่อทําใหผูเรียนมีความเขาใจตรงกัน และเกิดประสบการณรวมกันในวิชาท่ีเรียน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 23: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

12

3. ชวยใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น เกิดมนุษยสัมพันธอันดี ในระหวางผูเรียนดวยกันเองและผูสอน

4. ชวยสรางเสริมลักษณะท่ีดีในการศึกษาคนควาหาความรู ชวยใหผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรคจากการใชสื่อการเรียนการสอนนั้น

ชลิยา ลิมปยากร (2536 : 41 – 42) ไดกลาวถึงความสําคัญและคุณคาของสื่อ การเรียนการสอนไวดังนี้

1. ดึงดูดความสนใจของผูเรียน 2. เปนรูปธรรม เปนจริงเปนจัง เห็นภาพพจนตาง ๆ 3. นําเหตุการณท่ีอยูไกลมาศึกษาในชั้นเรียนได 4. ใหประสบการณท่ีตื่นตา ตื่นใจ 5. ใชเพ่ือเรียนซอมเสริม หรือการศึกษาซํ้าเพ่ือใหเกิดความเขาใจท่ีชัดเจน 6. ทําใหจํา และเก็บสะสมประสบการณไวไดนาน 7. ใชสอนขอเท็จจริง ความเปนเหตุเปนผล 8. ประหยัดเวลา และลดคําบรรยาย 9. ชวยจูงใจ ปลูกฝงทัศนคติ และความเชื่อถือได 10. ชวยใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน 11. ชวยใหผูเรียนตรวจสอบผลการเรียนรูไดอยางรวดเร็ว Edger dale (อางถึงใน หนึ่งฤทัย เต็กจินดา 2540 : 25 ) ไดกลาวถึงคุณคาของสื่อการ

เรียนการสอนไวดังนี้ 1. สามารถสงเสริมความเขาใจอันดี สรางความเห็นอกเห็นใจระหวางนักศึกษาในชั้น 2. ทําใหนักศึกษาสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมตามท่ีประสงคได 3. ใหประสบการณในการเรียนรู แปลก ๆ ใหม ๆ หลายดานแกผูเรียน 4. ทําใหผูเรียนเห็นความสําคัญของเน้ือหาวิชาท่ีเรียน ตรงตามความตองการเปนผลใหเพ่ิม

แรงจูงใจใหเกิดการเรียนรูมากยิ่งข้ึน 5. ทําใหการเรียนรูมีความหมาย ทําใหผูเรียนท่ีมีระดับสติปญญาแตกตางกันมาก ๆเขาใจใน

เนื้อหาวิชาท่ีเรียนเชนเดียวกัน 6. เราใจใหผูเรียนนําความรูท่ีไดเรียนไปใชอยางมีความหมาย 7. ทําใหผูเรียนมีปฏิกิริยาสะทอนกลับซ่ึงชวยใหทราบวาผูเรียนเกิดการเรียนรูเพียงใด 8. ทําใหผูเรียนไดรับประสบการณท่ีสมบูรณ เกิดการสังเกตท่ีถูกตองและมีความหมาย 9. ชวยขยายและเพ่ิมพูนขอบเขตของประสบการณของผูเรียน ใหกวางขวางยิ่งข้ึนและชวย

ใหจดจําไดรวดเร็วและแมนยําข้ึนโดยไมตองอาศัยคําอธิบาย 10. ผูเรียนเกิดความคิดไดกระจาง แจมแจง และเปนระเบียบ จากแนวคิดทางดานความสําคัญ คุณคา และบทบาทของสื่อการเรียนการสอนท่ีนัก

เทคโนโลยีทางการศึกษาไดกลาวไวนั้น สรุปไดวา สื่อการเรียนการสอนกอใหเกิดประโยชนท้ังตอผูเรียนและผูสอน ประโยชนตอผูเรียนคือ สื่อการเรียนการสอนจะกระตุนและสรางความสนใจใหกับผูเรียน ทําใหผูเรียนมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น ผูเรียนเกิดความคิด

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 24: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

13

สรางสรรค เขาใจบทเรียนไดงายและรวดเร็ว นอกจากนี้แลวยังชวยพัฒนาทักษะในดานการแกปญหาตาง ๆ และชวยใหเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับประโยชนตอผูสอนคือ สื่อการเรียนการสอนจะชวยสามารถใหจัดประสบการณใหกับผูเรียนไดหลายรูปแบบ ชวยถายทอดความรูไดงายข้ึน และประหยัดเวลาในการสอน ชวยสอนในสิ่งท่ีอยูไกลและสิ่งท่ีเล็กมองไมเห็นไดนอกจากนี้แลวสื่อการเรียนการสอนยังชวยสรางบรรยากาศในการเรียนการสอนใหนาสนใจยิ่งข้ึนสื่อการเรียนการสอนจะชวยแบงเบาภาระของผูสอน กระตุนใหผูสอนตื่นตัวอยูเสมอในการผลิตสื่อใหม ๆ ข้ึนเพ่ือใชประกอบ การสอน ตลอดจนคิดคนเทคนิควิธีการตาง ๆ เพ่ือใหสอนไดตรงตามจุดมุงหมายท่ีตั้งไว ในทํานองเดียวกันสื่อการเรียนการสอนยังสรางความเสมอภาคทางการศึกษาเพราะชวยใหผูเรียนจํานวนมากเรียนรูไดอยางท่ัวถึงกัน และชวยลดความสูญเปลาทางการศึกษาตลอดจนชวยทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

พิไลพรรณ ปุกหุต(2536 : 843) ไดกลาวถึงประโยชนวาใชเปนชุดการสอนท่ีสมบูรณ เพราะมีท้ังภาพและเสียง ซ่ึงสามารถอํานวยประโยชนในการเรียนรูของชุดการสอนรวมกับสื่ออ่ืนๆตลอดจนเปนสื่อการสอน ในการสอนเปนคณะ

วิภา อุตมฉันท (2538 : 4-5) ไดกลาวถึงลักษณะพิเศษของวีดิทัศนวาเปนสื่อใกลตัวและเปนสื่อท่ีใหท้ังภาพและเสียงสามารถนําเสนอดวยโสตทัศนูปกรณแบบเกาเกือบท้ังหมด เชนหุนจําลองu3619 . กราฟ ภาพถาย ภาพยนต มานําเสนอดวยวีดิทัศนซ่ึงจะอํานวยความสะดวกตอผูสอนและกระตุนใหผูเรียนรูสึกใกลชิดเสมือนเปนสื่อสวนตัว

2.

วีดิทัศนเปนการเลาเรื่องดวยภาพ ภาพทําหนาท่ีหลักในการนําเสนอ เสียงจะเขามาชวยเสริมในสวนของภาพเพ่ือใหเขาใจเนื้อเรื่องมากยิ่งข้ึน วีดิทัศนเปนสื่อในลักษณะท่ีนําเสนอเปนภาพเคลื่อน ไหวและสรางความตอเนื่อง ของการกระทําของวัตถุจากเรื่องราวตางๆ สรางความรูสึกใกลชิดกับผูชม เปนสื่อท่ีเขาถึงงาย มีความรวดเร็วการผลิตวีดิทัศนในการศึกษาน้ัน เปนเรื่องของการสื่อสาร การถายทอดความรูผานสื่อ วีดิทัศนไปยังกลุมเปาหมาย คือ นักศึกษาและครูเปนจุดมุงหมายหลัก ข้ันตอนการผลิตนั้นเหมือนกับการผลิตรายการวีดิทัศนท่ัวไป แตจะแตกตางกันท่ีรายละเอียดความถูกตอง นาเชื่อถือ และการสื่อความหมายเพ่ือการเรียนรู การสอน รายการวีดิทัศน ท่ีมีคุณภาพนั้นตองสื่อความหมายหรือถายทอดความรูตางๆ ไดตามวัตถุประสงคหลักท่ีตั้งเอาไว

2.1 (Video Tape) วีดิทัศนหรือท่ีนิยมเรียกทับศัพทในภาษาอังกฤษ วา วีดิโอ (Video) ตามพจนานุกรมเวบ

เตอร อานวา วีดีโอ เปนภาษาลาติน แปลวาฉันเห็น (I See) (นภาภรณ อัจฉริยระกุล และพิไลพรรณ ปุกหุต 2529 : 48) สวนคําวาวีดิโอนี้ ศัพทานุกรมสื่อสารมวลชนของคณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ใหความหมายวา สวนท่ีมองเห็น (Visual)หรือสวนท่ีเปนภาพ (Picture, Image) ในรายการวิทยุโทรทัศนหรือจากการฉายภาพหรือภาพยนตซ่ึงแตกตางจากสวนของเสียง (Audio)

ทางดานความหมายจากนักวิชาการของคําวา วีดิทัศน มีผูใหความหมายไวหลากหลายซ่ึงแตละแนวคิดจะกลาวถึงวีดิทัศนแตกตางกันออกไปตามลักษณะแงคิดของแตละมุมมองดังนี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 25: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

14

ประทิน คลายนาค (2550 : 36) กลาววา ในปจจุบันวีดิทัศนมีความหมายกวางมากจะรวมไปถึงเครื่องมือและอุปกรณโทรทัศนท่ีใชตามบาน สถาบัน และหนวยงานตางๆ ท้ังยังรวมไปถึงอุปกรณตามสถานีวิทยุโทรทัศนอีกดวย เชน เทปวีดิทัศน (Video Tape) เคร่ืองบันทึกเทปวีดิทัศน กลองโทรทัศน และเครื่องตัดตอ

วาสนา ชาวหา (2533 : 202) กลาววา เทปโทรทัศน สามารถบันทึกไดท้ังภาพและเสียงพรอมกัน หลังการบันทึกสัญญาณแลว สามารถฉายดูไดทันที โดยไมตองผานกระบวนการลางเหมือนฟลมภาพยนตร และยังสามารถลบสัญญาณเดิม และบันทึกใหมไดหลายครั้ง เชนเดียวกับการบันทึกเสียง เนื้อเทปและวัสดุท่ีเคลือบผิวเสนเทปคลายกับเทปบันทึกเสียง ดังนั้นการบันทึกสัญญาณภาพและเสียงลงเทป จึงอยูในรูปของสัญญาณแมเหล็กไฟฟา เชนเดียวกับเทปบันทึกเสียง

กิดานันท มลิทอง (2543 : 198)กลาววา ราชบัณฑิตยสถาน จะเรียกวา วีดิทัศนโดยแบงเปนวัสดุ คือ แถบวีดิทัศน และ อุปกรณเครื่องเลนวีดิทัศน แถบวีดิทัศนเปนวัสดุท่ีสามารถใชบันทึกภาพและเสียงไวไดพรอมกันในแถบเทป ในรูปแบบของคลื่นแมเหล็กไฟฟา และสามารถลบแลวบันทึกใหมได และแถบวีดิทัศนทําดวยสารโพลีเอสเตอร

ทางดานความหมายของคําวา วีดิทัศนในความหมายถึงวิธีการนําสัญญาณภาพมาสรางใหเกิดภาพและเสียง สุริยัน ศรีสวัสดิ์กุล (2539 : 781) ไดใหคําจํากัดความวา สัญญาณภาพ เก่ียวกับสัญญาณของภาพหรือเก่ียวของกับสวนตางๆของระบบโทรทัศนท่ีนําสัญญาณเหลานี้ไปในลักษณะของรูปแบบท่ียังไมผานการ Modulate หรือผานการ Modulate แลวอยางใดอยางหนึ่ง

Hills (1982 : 280) ไดกลาวถึง วีดิทัศน (Videotape Recorder หรือ VTR)เปนการบันทึกภาพจากโทรทัศน โดยใชเทปบันทึกภาพแบบมวนเปด ซ่ึงสามารถบันทึกรายการโทรทัศนท่ีกําลังออกอากาศอยูหรือบันทึกขณะท่ีถายทําจากการเชื่อมตอจากกลองโทรทัศนจากแนวคิดดังกลาวจะเห็นวาความหมายของวีดิทัศนหรือวีดิโอเทป (Videotape) หรือเทปวีดิทัศน มีลักษณะสองลักษณะ คือในสวนท่ีเปนเครื่องมือและอุปกรณและอีกสวนหนึ่งจะเปนลักษณะวิธีการนําสัญญาณมาผสมผสานเปนลักษณะภาพและเสียงโดยใชอุปกรณชวยซ่ึงการนํามาใชประโยชนในการศึกษานั้นจําเปนตองนําเอาวิธีการและอุปกรณมาผสมผสานกันเพ่ือสรางสื่อการเรียนอันกอประโยชนสําหรับผูเรียน

Mcinnes (1980 : 1 อางถึงใน ไพรัตน นวลขํา 2546 : 27) ไดใหความหมายของวีดิทัศน หมายถึง วิธีการ ชนิดหนึ่งซ่ึงสรางภาพและเสียง ใหเกิดข้ึนพรอมกันโดยการu3651 .ชกลองถายภาพทางอิเล็กทรอนิกส เครื่องบันทึกเทปและจอฉาย

2.2 วีดิทัศนเพ่ือการศึกษานับเปนสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบหนึ่ง มีบทบาทมากในปจจุบัน

วิภา อุตมฉันท (2538 : 5) กลาววา วีดิทัศนจัดเปนสื่อท่ีนํามาชวยสอน และชวยเสริมใหผูเรียนเพ่ิมพูนประสบการณใหกวางขวางคือ มีประสบการณในมิติแหงความเปนจริง (Reality) มีประสบการณในมิติแหงกาลเวลา (Time) และมีประสบการณในมิติของสถานท่ี (Space) กลาวไดวาวีดีทัศนชวยขยายโลกของผูเรียนใหกวางขวางข้ึน โดยผานประสบการณทางออม (Indirect Experience)ในท่ีสุดจะนําพาผูเรียนไปสูประสบการณทางตรง (DirectExperience) ดังนั้นวีดิทัศนเพ่ือการศึกษา วสันต อติ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 26: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

15

ศัพท (2533: 14) แบงขอบเขตของรายการวีดิทัศนออกไดเปน 2 ประเภท ตามลักษณะของรายการไดแก

1. รายการวีดิทัศนเพ่ือการศึกษา (Education Television : ETV) รายการประเภทนี้มุงสงเสริมการใหใชความรูท่ัวๆไป

2. รายการวีดิทัศนเพ่ือการสอน (Instructional Television : ITV) รายการประเภทน้ีเนนในเรื่องของการเรียนการสอนแกกลุมผูเรียนโดยตรงทั้งเนื้อหาหลักและสอนเสริมการนํารายการวีดิทัศน เพ่ือการเรียนการสอนสามารถใชไดหลายวิธี

กิดานันท มลิทอง (2543 : 198) กลาวถึง การใชวีดิทัศนเพ่ือใหความรูในการศึกษาและ ใชในการสอนโดยตรงเปนการใหความสะดวกท้ังผูสอนและผูเรียนท้ังนี้สามารถสงการสอนไปยังผูเรียนท่ีอยูหางไกลได ผูสอนสามารถบันทึกการสอนของตนไวใชสอนไดอีก หรือจะขอยืมวีดิทัศนจากแหลงอ่ืน มาใชสอนในหองเรียน สามารถเลือกดูภาพตามท่ีตองการ โดยใชการบังคับแถบเทปใหเลื่อนเดินหนา ถอยหลัง ดูภาพชาหรือหยุดดูเฉพาะภาพได แตภาพท่ีหยุดดูจะไมคมชัดเทาท่ีควร ในเครื่องเลนบางชนิดยังปรับภาพใหขยายเพ่ือดูไดใหญชัดเจนยิ่งข้ึน การบันทึกวีดิทัศนเพ่ือใชเปนบทเรียนสามารถทําไดในหองสตูดิโอหรือภายในหองปฏิบัติการ

จุดเดนของวีดิทัศนและขอดีท่ีใชวีดิทัศน ในการเรียนการสอนจะสามารถตัดตอสวนท่ีไมตองการหรือเพ่ิมเติมสวนใหมลงไปได และสรุปเปนขอๆไดดังนี้

1. สามารถใชในสภาพการณท่ีผูเรียนมีจํานวนมากและผูสอนมีขอจํากัด เพราะสามารถแพรภาพและเสียงไปตามหองเรียนตางๆและผูเรียนท่ีอยูตามบานได

2. เปนสื่อการสอนท่ีสามารถ นําสื่อหลายอยางมาใชรวมกันไดสะดวกในรูปแบบสื่อประสม 3. เปนสื่อท่ีชวยเพ่ิมประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนไดโดยเชิญผูเชี่ยวชาญ หรือผูท่ีมี

ความสามารถพิเศษในแตละแขนงวิชามาสอนโดยใชวีดิทัศนได 4. สามารถสาธิตไดอยางชัดเจน เพ่ือใหผูเรียนเห็นสิ่งท่ีตองการเนน โดยใชเทคนิคการถาย

ใกล (Close-Up) เพ่ือขยายภาพหรือวัสดุใหผูเรียนเห็นท่ัวถึงกันอยางชัดเจน 5. ชวยปรับปรุง เทคนิคการสอนของครูประจําและครูฝกสอน 6. เปนสื่อท่ีสามารถนํารูปธรรมมาประกอบการสอนไดสะดวกรวดเร็ว ชวยใหผูเรียนไดรับ

ความรูท่ีทันสมัยจากความสําคัญของวีดิทัศนในการเรียนการสอนนั้น กลาวไดวา วีดิทัศนเปนสื่อท่ีสามารถนําเสนอไดท้ังภาพ เสียง แสง สี ไปพรอมๆกัน กระตุนและดึงดูดความสนใจตอผูเรียนสามารถนําสื่อหลายชนิดไวในวีดิทัศนเพียงชิ้นเดียว วีดิทัศนสามารถสอนไดตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา ซ่ึงผูเรียนนั้นเปนรายบุคคล รายกลุม อีกท้ัง สามารถศึกษาไดทุกเวลา และยังใชเทคนิคในการบังคับภาพ ในการเลื่อนลําดับภาพ เดินหนา ถอยหลัง หยุดภาพ กําหนดการเคลื่อนไหวภาพชา-เร็ว ขยายภาพได

2.3 วิธีการดําเนินการเสนอรายการวีดิทัศนมีหลายรูปแบบ การเลือกรูปแบบแลวแตจุดประสงค

ของการทํารายการ การเลือกรูปแบบรายการวีดิทัศนเพ่ือการศึกษาจะชวยเสริมรายการใหนาสนใจมากยิ่งข้ึนรูปแบบรายการวีดิทัศนมีการนําเสนอหลากหลาย อานนท หินแกว (2533 : บทคัดยอ) คัติ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 27: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

16

ยา เพชรชูชวย (2534 : บทคัดยอ ) ศึกษาพบวารูปแบบรายการท่ีเหมาะสมสําหรับเยาวชนในการพัฒนาทักษะตางๆ รูปแบบการสนทนา อภิปราย สงผลตอใหความรูดานพุทธิพิสัย รูปแบบการสาธิต จะมีผลตอความรูดานพุทธิพิสัยและทักษะพิสัยสวนรูปแบบสารคดีและก่ึงสารคดี เหมาะใหเกิดความรูดานเจตพิสัยจากรูปแบบรายการวีดิทัศนหลาย ๆ รูปแบบดังกลาว ผูวิจัยใชรูปแบบรายการสารคดีเพราะเปนรายการท่ีสามารถเลาเรื่องราวท่ีนาสนใจ อีกท้ังใหความรู ความเพลิดเพลิน เราอารมณและโนมนาวจิตใจ และยังเสนอไดหลายรูปแบบ อาจเปนภาพถาย สไลด ภาพยนตร

วิภา อุตมฉันท (2538 :16) จําแนกไว 3 ประเภท ดังนี้ 1. รายการพูดคนเดียว (Straight talk Program) โดยทั่วไปมักเปนรายการผลิตในสตูดิโอ ผู

พูดจะพูดคนเดียวตอหนากลอง ซ่ึงเสมือนเปนตัวแทนกลุมผูชม ศิลปะการพูด และบุคลิกของผูพูดจึงเปนสิ่งมีคายิ่งสําหรับรายการประเภทนี้ การพูดจะตองเปนไปอยางธรรมชาติวิธีท่ีจะชวยการพูดใหนาสนใจและเขาใจงาย ผูพูดควรใชแผนภาพ วัตถุ แผนผัง กระดานดําหรืออุปกรณอ่ืนๆเขาชวย บางครั้งอาจแทรกภาพ (Insert) หรือตัดเขาสูภาพท่ีถายทํามากอนหรือถายทอดตรงมาจากท่ีอ่ืน ชวยเพ่ิมความหลากหลายใหแกรายการ ลักษณะเดนของรูปแบบรายการชนิดนี้คือ เพ่ือใหขอมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งในลักษณะท่ีกระชับ และ นาเชื่อถือ

2. รายการสัมภาษณและสนทนา (Interview and Forum Program) การสัมภาษณคือการพูดคุยระหวางคนสองคน สวนการสนทนา หมายถึง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุมคนรวมรายการมากกวาสองคนข้ึนไป แตท้ังสองแบบลวนมีคนหน่ึงท่ีทําหนาท่ีพิธีกรคอยกํากับรายการในกรณีสัมภาษณ พิธีกรจะทําหนาท่ีเปนผูสัมภาษณไปดวยในเวลาเดียวกัน ในขณะทําหนาท่ี พิธีกรจะตองพยายามดึงประเด็นท่ีคิดวาเปนความสนใจของผูชมมากที่สุด เขาสูคําถามหรือวงสนทนาใหได สภาพตรงกันขามท่ีตองพยายามหลีกเลี่ยงก็คือ พิธีกรไมมีจุดรวมความสนใจ มุงแตจะใหผูชมไดรับรูหมดทุกเรื่อง ลักษณะนี้กลับจะทําใหประเด็นปญหาไมชัดเจนผูชมเกิดความสับสน ความสําเร็จของรายการจึงอยูท่ีพิธีกรซ่ึงจะตองสามารถนําการสนทนาอยางราบรื่น ไมวกวนและขาดความตอเนื่อง

3. รายการสารคดี (Documentaries) สารคดีทําหนาท่ีเสนอเหตุการณ และเรื่องราวท่ีเกิดข้ึนตามความเปนจริง สารคดีไมเพียงบรรยายเรื่องราวตางๆ ตามท่ีเกิดข้ึนจริงและบันทึกเอาไวเทานั้น แตยังสามารถนําเรื่องราวในอดีตมาเสนอใหมตามแตโอกาส ยกตัวอยาง เชน สามารถใชฟลมภาพยนตประวัติศาสตรรูปภาพหรือโบราณวัตถุตางๆ มาผลิตรายการสารคดีประวัติศาสตรข้ึนมาใหม ปจจุบันกลองวิดีโอท่ีมีขนาดเล็กกะทัดรัดชวยใหการผลิตรายการสารคดีงาย และ แพรหลายมากขึ้น

วสันต อติศัพท (2533 : 146) เสนอรูปแบบรายการเพ่ือการศึกษาดังนี้ 1. รายการสอนตรง (Direct Teaching) เปนรูปแบบด้ังเดิม ท่ีใชในการถายทอดความรูและยังนิยมใชกันอยูมากในปจจุบัน เพราะใหการเรียนรูไดดีในเวลาไมมากนัก โดยเฉพาะเม่ือครูโทรทัศนมีความสามารถสูงในการสอน การอธิบาย ยิ่งทําใหรายการแบบนี้มีประสิทธิภาพสูง

2. รายการบรรยาย (Monoloque) เปนรายการท่ีมีผูปรากฎตัวพูดคุยกับผูชมเพียงคนเดียวคลายๆกับการสอนตรง เพียงประเภทแรกเนนในเรื่องการสอนเปนหลักแตประเภทนี้จะเนนในการใหความรูความคิดท่ัวๆไปแกผูชมมากกวา

3. รายการสอนแบบจุลภาค เปนการสอนในสถานการณแบบยอสวน ในหองเรียนแบบงายๆ ท่ีสามารถควบคุมไดทุกกระบวนการโดยใชนักศึกษาเพียง 5 – 6 คนและใชเวลาประมาณ5 –15

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 28: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

17

นาที เปนการฝกทักษะตางๆเพ่ือนําไปใชในสถานการณจริง การบันทึกดวยวีดิทัศน สามารถทําไดสะดวก และใหผูเรียนเห็นท้ังภาพและเสียง โดยดูภาพตัวเองสอนจากวีดิทัศน

4. รายการสถานการณจําลอง เปนการบันทึกสถานการณตางๆท่ีไดสรางข้ึน เพ่ือการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนาบุคลิกภาพของผูเรียนใหเหมาะสมกับงานในสาขานั้นๆ รวมทั้งการสรางสถานการณจําลองประเภทตางๆไวเพ่ือเปนกรณีตัวอยางในการศึกษา

5. รายการสาธิต การสาธิต คือการอธิบายถึงขอเท็จจริง โดยมีการแสดงประกอบในบางสวน หรือท้ังหมด โดยมุงใหผูชมทราบวิธีการดําเนินงานตามลําดับข้ัน โดยสามารถที่จะเห็นภาพและไดยินเสียง และสามารถท่ีจะทําภาพขนาดตางๆเพ่ือความชัดเจนในการชม

6. รายการสารคดี เปนรายการเพ่ือการเลาเรื่องราวท่ีนาสนใจใหผูชมเขาใจ สารคดีนั้นควรจะใหความรู ความเพลิดเพลิน เราอารมณ และการโนมนาวจิตใจ ลักษณะสารคดีสามารถเสนอไดหลายรูปแบบ อาจเปนดวยภาพถาย สไลด ภาพยนต ก็ได ท่ีจะนําเสนอในรูปวีดิทัศน

7. รายการดนตรีและรายรํา เปนการเสนอภาพที่ปรากฏในแงผลของภาพ ซ่ึงเปนการจัดองคประกอบของภาพ การใชเงาในการตกแตงภาพ ตลอดจนการเคลื่อนไหวตาง ๆ และในแงของการใหขาวสาร ไมวาจะเปนเทคนิคการใชนิ้วกับเครื่องดนตรี การเคลื่อนไหวของมือหรือเทาในการรายรําโดยท่ีการจับภาพและการตัดตอภาพจะตองเขากับอารมณและจังหวะของภาพท่ีปรากฏ

ซ่ึงลักษณะรายการประเภทนี้จะเหมาะสมกับการสงเสริมกิจกรรมพิเศษของนักศึกษา และการสอนภาษารูปแบบรายการของวีดิทัศนมีหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงจะสงผลตอการเรียนรูของนักศึกษาระหวางการเรียนแบบรายการสารคดีกับแบบรายการสาธิต พบวาไมมีความแตกตางกัน

อานนท หินแกว (2533 : บทคัดยอ) คัติยา เพชรชูชวย (2534 : บทคัดยอ ) ศึกษาพบวารูปแบบรายการท่ีเหมาะสมสําหรับเยาวชนในการพัฒนาทักษะตางๆ รูปแบบการสนทนา อภิปราย สงผลตอใหความรูดานพุทธิพิสัย รูปแบบการสาธิต จะมีผลตอความรูดานพุทธิพิสัยและทักษะพิสัยสวนรูปแบบสารคดีและก่ึงสารคดี เหมาะใหเกิดความรูดานเจตพิสัยจากรูปแบบรายการวีดิทัศนหลาย ๆ รูปแบบดังกลาว ผูวิจัยใชรูปแบบรายการสารคดีเพราะเปนรายการท่ีสามารถเลาเรื่องราวท่ีนาสนใจ อีกท้ังใหความรู ความเพลิดเพลิน เราอารมณและโนมนาวจิตใจ และยังเสนอไดหลายรูปแบบ อาจเปนภาพถาย สไลด ภาพยนตร

2.4 ราลฟ (Ralph 1970 : 91 – 93) ไดใหรายละเอียดเก่ียวกับการติดต้ังเครื่องรับวีดิทัศนไว

โดยแบงเปนสวนตาง ๆ ดังนี้ 1. ระยะการชมวีดิทัศน สําหรับจอภาพขนาด 21 และ 23 นิ้ว ผูท่ีนั่งชมในสวนหนาสุดควร

นั่งหางจากจอภาพประมาณ 5 ฟุต และผูนั่งชมสวนหลังสุดควรนั่งหางจากจอภาพประมาณ 20 ฟุต 2. ความสูงของจอภาพ ท้ังนี้ข้ึนอยูกับวาผูเรียนนั่งชมโดยใชเกาอ้ีหรือโตะเรียน ในกรณีท่ี

ผูเรียนนั่งชมภาพโดยใชเกาอ้ีนั้น ความสูงของจอภาพโดยวัดจากพ้ืนหองไปถึงจอภาพ ควรมีความสูง 7 ฟุต จากสายตาผูชมถึงจอภาพควรมีความสูงประมาณ 3 ฟุต และชวงหางระหวางแถวของผูชม หางกันประมาณ 3 ฟุต และในกรณีท่ีผูชมนั่งชมภาพโดยใชโตะเรียนนั้นความสูงของจอภาพโดยวัดจากพ้ืน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 29: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

18

หองไปถึงจอภาพควรมีความสูงประมาณ 5 ฟุต 6 นิ้ว จากสายตาผูชมถึงจอภาพควรมีความสูงประมาณ 1 ฟุต 6 นิ้ว และชวงหางระหวางแถวของผูชมหางกันประมาณ 5 ฟุต

3. มุมของการชมภาพ จะใชระดับสายตาของผูชมเปนศูนยกลาง ไปยังจอภาพในแนวราบนั้นควรเปนมุม 30 องศา

4. ขนาดของหองเรียน หากความกวาu3591 .ของหอง 25 ฟุต และความยาว 30 ฟุตทําการจัดตั้งเครื่องรับวีดิทัศนไวบริเวณมุมหองสวนหนา ผูชมท่ีนั่งสวนขางหองควรทํามุมจากระดับสายตาไปถึงจอภาพประมาณ 45 องศา 2.5 บทเรียนวีดิทัศนท่ีสรางข้ึนนั้นจะมีคุณภาพและประสิทธิภาพท่ีดี ยอมข้ึนอยูกับองคประกอบหลาย ๆ ประการดวยกัน การเขียนบทวีดิทัศนท่ีดีถือเปนองคประกอบหน่ึงท่ีทําใหบทเรียนวีดิทัศนท่ีสรางข้ึนมามีคุณภาพ การเขียนบทวีดิทัศน ถือไดวาเปนการนําเอาความคิดสรางสรรคมาทํา ใหเปนรูปธรรมข้ันหนึ่งกอน เพ่ือแสดงใหเห็นวาเหตุการณในรายการจะดําเนินไปอยางไร โดยแสดงใหเห็นท้ังลักษณะภาพที่จะปรากฏคํา บรรยายหรือบทสนทนาซ่ึงผูเขียนบทจะตองจินตนาการออกมาวาจะนํา เสนออยางไรดี ดังนี้ (วสันต อติศัพท, 2533: 120-121) 1. การเขียนเคาโครงบท (Treatment) ซึ่งเปนบทหรือเคาโครงยอ ๆ วาเหตุการณในรายการจะดํา เนินไปอยางไร รายการจะนาดูหรือไม สวนหนึ่งข้ึนอยูกับการวางเคาโครงเรื่องเชนกัน 2. การออกแบบเวที (Floor Plan) ผูเขียนบทบางคนอาจจะขามตอนน้ีแตหากวาผูเขียนบทและผูกํากับรายการเปนคน ๆ เดียวกัน ก็ควรจะมีการออกแบบเวทีไวกอนเพ่ือวาจะไดสะดวกในการจินตนาการออกมาเปนภาพ อีกท้ังจะชวยใหระบุลํา ดับภาพ (Shot) มุมกลองไดเลยทีเดียวในบท อีกท้ังยังทําใหเราคิดออกวาจะใหตัวผูแสดงอยูเคลื่อนไหวไปทางไหนอยางใดไดดวย ผูเขียนบทท่ีดีควรจะจัดทําสิ่งนี้ดวย 3. การเขียนลําดับเรื่อง (Story Board) ในข้ันนี้สําหรับผูเขียนบทท่ีมีความละเอียด อาจจะวาดภาพคราว ๆ ของแตละภาพ วาจะเปนไปอยางไรบาง ชวยใหตัวเองและคนท่ีเก่ียวของเขาใจสิ่งท่ีผูเขียนบทตองการไดดีข้ึน 4. การเขียนบท (Script Writing) เปนการนําเอาเคาโครงบทที่วางไวมาขยายใหเปนบทโดยสมบูรณ ตั้งแตลําดับภาพ กลองและลักษณะภาพ คําบรรยาย/บทสนทนา ตลอดจนเสียงประกอบอ่ืน ๆ ในบางกรณีผูเขียนบทอาจจะยังไมระบุลักษณะภาพและกลองท่ีใชเอาไว โดยจะมาระบุในตอนซอมกับกลองโทรทัศนจริง ๆ และเลือกลักษณะภาพตอนนั้นเลย แตอยางไรก็ตามหากมีการออกแบบเวทีไวกอนข้ันนี้ ควรจะระบุลักษณะภาพและกลองไปเลยเพราะสะดวกในการซอม ทําใหการดําเนินงานเปนไปอยางรวดเร็ว การแกไขอาจมีเพียงเล็กนอยเทานั้น 5. เขียนรางบท (Draft Script) เปนการเขียนรางออกมาตามประเภทของบท 6. การเขียนเอกสารประกอบบท (Paperwork) เชน รายชื่อผูปฏิบัติงานสิ่งท่ีตองการทางเทคนิค เชน แสง เสียง ฉากและอุปกรณประกอบฉาก ซ่ึงจะมีความสําคัญตอการปฏิบัติงาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 30: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

19

7. ทดสอบตนรางและปรับปรุงบท (Tryout and Revision) นําบทมาอานออกเสียงเพ่ือดูลีลาและชวงเวลาอาจใหผูรวมงานอานและวิพากษวิจารณ แลวนําขอคิดมาปรับปรุงใหดีข้ึน จากนั้นจึงนําบทโทรทัศนไปใหคณะกรรมการและผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบและปรับปรุงแกไข จากขอความขางตนจะเห็นไดวา การเขียนบทโทรทัศนหรือบทวีดิทัศนนั้น มีความ สําคัญตอการถายทําวีดิทัศนมาก บทเรียนวีดิทัศนจะออกมาอยางมีประสิทธิภาพก็ข้ึนอยูกับ การเขียนบท ดังนั้น ผูสรางบทเรียนวีดิทัศนจะตองมีความรูความเขาใจในลําดับข้ันตอนของการเขียนบทวีดิทัศน เพ่ือการถายทําวีดิทัศนจะไดตรงตามจุดประสงคท่ีกําหนดไว

2.6 เสียงในรายการวีดิทัศนมีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาภาพ เพราะเสียง นอกจากจะชวยเรงเราความสนใจของผูชมไดเปนอยางดีแลว เสียงยังมีสวนสําคัญท่ีจะทําใหผูชมสื่อความหมาย ใหเกิดความเขาใจท่ีตรงกันไดตามวัตถุประสงคท่ีผูผลิตรายการวีดิทัศนตองการ และกลาวถึงเสียงกับการสื่อความหมายไววาในการสื่อความหมายตอผูชมหรือผูเรียน (Target Audience) ดวยภาพ แตลําพังอาจไมสามารถทํา ใหผูชมเกิดความเขาถึงเนื้อหาท่ีเราตองการส่ือความหมายอยางลึกซ้ึง นอกจากนี้ยังอาจทําใหการแปลความหมายหรือตีความหมายไมตรงกันหรือแตกตางกัน ท้ังนี้ก็ดวยเหตุผลท่ีวาผูชมหรือผูเรียนจะมีความสามารถในการเขาถึงเนื้อหาและตีความหมายตามประสบการณพ้ืนฐานของแตละบุคคล ซ่ึงแนนอนวาตองมีความหลากหลายอยางยิ่ง เสียงจึงเปนองคประกอบท่ีชวยในการสื่อความหมายของภาพไดชัดเจนขยายความในเนื้อหาของเรื่องราว สรางความสมจริงสมจังแหงเนื้อหา สรางอารมณความรูสึกของผูชมหรือผูเรียนในการผลิตรายการ วีดิทัศนนั้น เสียงจัดเปนองคประกอบหลักในการใหขาวสารขอมูลวีดิทัศนมีองคประกอบในดานภาพและเสียง มีคํา พูดท่ีกลาวกันวา ภาพเพียงภาพเดียวอาจสื่อความหมายไดดีกวาคํา พูดถึงพันคํา แตในโลกแหงยุคเทคโนโลยีสารสนเทศเชนในปจจุบันเราอยูในสังคมท่ีพลิกผันดานคํา พูดหรือถอยคํา คําพูดชวยเพ่ิมความเขาใจจากภาพเพราะจะทําใหมีเปอรเซ็นตการรับรูเพ่ิมข้ึน ยกตัวอยาง งาย ๆ ถาหากเราจะใชภาพท่ีตองการสื่อความหมายเก่ียวกับคําพูดท่ีเปนนามธรรมชั้นสูง เชน ความยุติธรรม เสรีภาพ ไวยากรณ กระบวนการประสิทธิภาพหรือการเรียนรู เราจะตองใชภาพมากเพียงใดท่ีจะสื่อความหมายใหถึงผูชมไดเขาใจตรงกันภายในเวลาอันสั้น ซ่ึงจะเห็นไดวาเสียงท่ีใชประกอบในรายการวีดิทัศนนั้น มีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาภาพแตประการใด เสียงท่ีใชใน การผลิตรายการโทรทัศนก็เชนเดียวกันจะตองอาศัยองคประกอบของเสียงใหสมดุลและพอเหมาะ ดังนั้น ในการผลิตรายการวีดิทัศนควรจะมีองคประกอบของเสียงตางๆ ดังนี้ 1. เสียงบรรยาย (Narration) การบรรยายเปนวิธีการใชเสียงในการใหขาวสารขอมูลเพ่ิมเติมในการบอกเลาเรื่องราวดวยภาพ ผูใชเสียงบรรยายจะอธิบายเหตุการณ หรือเชื่อมตอชองวางหรือชวงของเหตุการณท่ีนําเสนอบนจอใหมีความตอเนื่อง 2. คําสนทนา (Dialogue) หมายถึง การพูดกันหรือสนทนากันระหวางคน 2 คน หรือมากกวานั้น หรือการท่ีคน ๆ หนึ่งพูดในขณะท่ีคนอ่ืน ๆ กําลังฟง หรือแมแตการท่ีคน ๆ หนึ่งพูดกับตัวเอง ซ่ึงการคิดดัง ๆ นั้นถือเปนการสนทนากับตัวเอง ซ่ึงก็ยังถือไดวาเปนรูปแบบของการสนทนา แตจะเรียกวา “การสนทนาภายใน” การสนทนาเนนความหมายหลักของการบอกเลาเหตุการณ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 31: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

20

ท้ังหมดดวย (ใจความ) การลําดับเรื่องราว (เคาโครงเรื่อง) การบอกกลาวถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลภายในเรื่อง (การแสดงลักษณะนิสัยของตัวละคร) และการอธิบายถึงวาเหตุการณนั้นเกิดข้ึน ท่ีไหน เม่ือไหร หรือภายใตสถานการณใด (บริบท) 3. เสียงดนตรีประกอบ (Background Music) เปนเสียงดนตรีท่ีตองเลือกจากแผนเสียง เทปหรือคอมแพคดิสกหรือการเลนดนตรีท่ีแตงข้ึนเพ่ือประกอบการผลิตรายการวีดิทัศนโดยเฉพาะในการเลือกดนตรีประกอบจะตองเลือกดนตรีท่ีเหมาะสมและเขากับบรรยากาศของภาพที่ใชใน การบรรยายประกอบภาพนั้น เพ่ือไมใหผูชมไมเกิดความเบื่อหนาย ควรมีเสียงดนตรีประกอบ คลอไปดวย โดยเริ่มใชเสียงดนตรีจากคอยท่ีสุดมาจนถึงดังตามลําดับ เสียงปกติเรียกวา Fade In เม่ือเริ่มบรรยายก็คอย ๆ ลดระดับเสียงดนตรีใหเบาลงเรื่อย ๆ เรียกวา Fade Out จนเสียงดนตรีเงียบหายไปหรือคลอเบา ๆ ไปพรอมกับคําบรรยายเรียกวา Fade Under 4. เสียงประกอบ (Sound Effect) ไดแกเสียงท่ีเกิดข้ึนจากธรรมชาติไมไดเปนเสียงดนตรี เชน เสียงเครื่องยนต เสียงนํ้าไหล และเสียงนกรอง ฯลฯ ซ่ึงเม่ือนํา ประกอบกับภาพ จะชวยเรงเราความสนใจแกผูชม และชวยทําใหภาพท่ีนําเสนอมีชีวิตชีวาสมจริงสมจัง 2.7

คําบรรยายเปนสื่อเชื่อมโยงภาพท่ีนํามาฉายเขาไวดวยกัน จึงสมควรท่ีจะเนนคําพูดในท่ีบางแหงใหหนักแนนและเลาเรื่องใหกระชับคําบรรยายท่ีดีนั้นควรเปนถอยคํางาย ๆ สั้น ๆ และ พุงตรงเขาสูเปาหมายไมชักชา สวนในดานภาษาท่ีใชในการบรรยายควรใชภาษาท่ีงาย ๆ ไมจําเปนตองสละสลวยและขอความกระชับ ซ่ึงมีขอเสนอแนะในการเขียนไวดังนี้ 1. คําบรรยายเปนแตเพียงการเสริมภาพเพ่ือใหผูชมเขาใจไดมากข้ึนไมใชเปนคํา บรรยายท่ีแขงกับภาพนั้น ๆ เชน การอธิบายรายละเอียดตาง ๆ และการอางอิงไปถึงสิ่งท่ีไมปรากฏในรูปภาพ 2. ใหอธิบายภาพโดยเฉพาะภาพท่ีแปลกตามาก ๆ ทันทีทันใดดวยคําอธิบายท่ีตรงไปสูเปาหมายมากท่ีสุด 3. พยายามใชคําพูดใหถูกตองตามหลักภาษาอยางเครงครัด และผูท่ีทําหนาท่ีเปนผูบรรยายนั้นควรพยายามฝกการอานใหเหมือนการพูดตามปกติ 4. ควรจัดใหมีจังหวะของการพูดอยางเหมาะสม มีการเวนชวงการพูดหรือเนนคําพูดเม่ือเห็นสมควร 5. สํานวนกับคํา บรรยายควรใหเหมาะสมกับภูมิหลังของผูชม 6. ควรเปนสํานวนการเขียนแบบสนทนาท่ีสุภาพ 7. ควรตรวจทานตนฉบับคํา บรรยายใหเรียบรอย ตนฉบับควรสะอาดชัดเจนอานงาย 8. เม่ือเขียนคําบรรยายเสร็จแลวควรลองอานประกอบการฉาย เพ่ือตรวจดูวาขอความการบรรยายตรงกับภาพท่ีปรากฏบนจอหรือไม

สรุปไดวา วีดิทัศนการสอนท่ีใชเสียงบรรยายประกอบท่ีดีมีประโยชนตอการศึกษาและการเรียนการสอนนั้น คําบรรยายควรเปนถอยคํา งาย สั้น และสุภาพ ควรมีจังหวะของการพูดอยางเหมาะสม มีการเวนชวงคําพูด หรือเนนคําพูดเม่ือเห็นสมควร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 32: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

21

2.8

คําศัพทเทคนิคท่ีนิยมใชในการเขียนบทโทรทัศนมีอยู 4 ชนิด (ประทิน คลายนาค, 2550: 96-107) คือ คําศัพทท่ีใชในการเปลี่ยนมุมกลอง คําศัพทใชบอกระยะของการถายภาพ คําศัพทสําหรับการเปลี่ยนภาพ และคําศัพทสําหรับสรางภาพหรือเทคนิคพิเศษ ผูเขียนบทตองศึกษาทําความเขาใจวาควรใชในโอกาสสถานการณ บรรยากาศใด

การถายทํารายการโทรทัศนจะมีการสับเปลี่ยนลักษณะของภาพอยูตลอดเวลาเพ่ือใหเกิดความตอเนื่องและเห็นภาพไดหลายแงมุมจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู 3 ลักษณะ คือ 1. ระยะทางระหวางผูดูกับวัตถุ 2. ตําแหนงของวัตถุท่ีผูดูมองเห็นวามีความสัมพันธกับผูดูอยางไร 3. มุมการมองภาพใหผูดูเห็นภาพวาอยูในลักษณะใด ในบทโทรทัศนควรกําหนดลักษณะของภาพและการเปลี่ยนภาพจากช็อตหนึ่งไปสูอีกช็อตหนึ่ง มีศัพทท่ีใชดังนี้ PAN คือ การเคลื่อนไหวกลองเพ่ือติดตามการแสดงในแนวราบทางดานซายหรือขวา ก็ได โดยกลองจะต้ังอยูกับท่ี แตกวาหนาเลนสไปทางดานซาย ภาพท่ีปรากฏบนจอสูสายตาผูชมจะคลายกับการท่ีผูชมหันหนากวาสายตาดูเหตุการณไปทางดานซายหรือขวา การ PAN มี 2 ชนิด ดังนี้ PAN LEFT คือ การสายหนากลองไปทางดานซายมือของชางกลองจะเปนภาพเคลื่อนท่ีทางดานขางจากดานซายไปทางดานขวาของจอภาพ PAN RIGHT คือ การสายหนากลองไปทางดานขวามือของชางกลอง จะเห็นภาพเคลื่อนท่ีทางดานขางจากทางดานขวาไปทางดานซายของจอภาพ จะใชการ PAN เม่ือตองการสื่อความหมายใหผูชมทราบดังนี้ 1. PAN เพ่ือติดตามการเคลื่อนท่ีของสิ่งท่ีตองถาย เชน PAN ตามการวิ่งของผูแสดง 2. PAN เพ่ือเปลี่ยนจุดสนใจของภาพ เชน PAN จากคนทางซายไปยังคนทางขวา 3. PAN เพ่ือแสดงสวนตาง ๆ ของสิ่งท่ีตองถายตามลําดับ เชน จากสวนท่ี 1 ไปยัง สวนท่ี 5 4. PAN เพ่ือแสดงความกวางขวางของสถานท่ี จนไมสามารถแสดงใหผูชมเห็นไดหมดภายในกรอบเดียว TILT คือ การเคลื่อนไหวกลองเพ่ือติดตามสิ่งท่ีตองการถายในแนวด่ิง โดยกลองจะต้ังอยูกับท่ีเชนเดียวกับการ PAN แตเคลื่อนไหวกลองเงยข้ึนหรือกมตํ่าลงมา แบงเปน 2 ลักษณะ คือ TILT UP เปนการเงยกลองข้ึนสูง ใชแสดงความสูงหรือติดตามการเคลื่อนไหวของวัตถุท่ีเคลื่อนท่ีในแนวสูง TILT DOWN เปนการกดกลองใหกมต่ําลง ใชแสดงการติดตามวัตถุท่ีเคลื่อนท่ีต่ําลง PEDESTAL คือ การยกตัวกลองใหสูงข้ึนหรือตํ่าลง โดยการปรับท่ีขาต้ังกลอง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 33: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

22

CRANE หรือ BOOM เปนการยกตัวกลองข้ึนลงดวยรถเครน ซ่ึงใชกับกลองผลิตรายการขนาดใหญ ผลท่ีไดคลายกับ PEDESTAL UP หรือ PEDESTAL DOWN แตเหนือกวาคือ จะไดระยะสูงกวา และทํางานไดสะดวกกวา DOLLY คือ การถายท่ีตั้งกลองไวบนอุปกรณท่ีมีลอเลื่อน ท่ีเรียกวา DOLLY ทําใหสามารถเข็นกลองเคลื่อนเขาหาวัตถุ หรือถอยหางออกมาจากวัตถุหรือสิ่งท่ีตองการจะถายไดอยางนิ่มนวล แบงได 2 ลักษณะ คือ DOLLY IN คือ การใชกลองติดลอเลื่อนเคลื่อนท่ีเขาหาสิ่งท่ีจะถาย เพ่ือใหผูชมเห็นภาพท่ีใกลข้ึนและใหญข้ึนเห็นรายละเอียดชัดเจนมากข้ึน ใชแทนสายตาของผูแสดงขณะกําลังเดินไปขางหนา DOLLY OUT คือ การใชกลองติดลอเลื่อนเคลื่อนท่ีถอยหลังหางออกมาจากสิ่งท่ีถายภาพเล็กลงเพ่ือใหผูชมไดมองเห็นภาพรวมไดดียิ่งข้ึน ตรงกันขามกับ DOLLY IN TRUCK หรือ TRACK คือ การต้ังกลองบนอุปกรณลอเลื่อนแบบเดียวกับ DOLLY แตเปลี่ยนเปนการเคลื่อนไหวกลองไปทางดานขางจะเปนดานซายหรือขวาก็ได โดยจะขนานไปกับการเคลื่อนไหวของสิ่งท่ีถาย ทําใหมองเห็นมุมตาง ๆ ของเหตุการณและเกิดมิติดานลึกในภาพ ผูเขียนบทจะใหเทคนิคนี้เพ่ือ ติดตามการเคลื่อนท่ีของสิ่งท่ีถายทางดานขาง เพ่ือใหเห็นความยาวของวัตถุตามแนวยาว เนนมุมมองท่ีมีมิติท้ังดานกวางและดานลึก ZOOM เปนการถายภาพโดยต้ังกลองอยูกับท่ีแลวใชการเปลี่ยนทางยาวโฟกัสของเลนสซูมดึงภาพใหใกลเขามาจนมีขนาดใหญ หรือเลื่อนภาพออกไปทําใหเห็นเหตุการณอยาง กวาง ๆ มีอยู 2 ลักษณะคือ ZOOM IN คือ การดึงภาพเขามามากข้ึนกวาเดิม ทําใหภาพมีขนาดใหญ ชัดเจน เห็นรายละเอียดมาก ใชเม่ือตองการนําสายตาผูชมไปสูสิ่งท่ีตองการกลาวถึง ZOOM OUT คือ การผลักภาพออกไป ทําใหวัตถุท่ีตองการถายมีขนาดเล็กลงในกรอบภาพและเห็นพ้ืนหลังเพ่ิมมากข้ึน ลดความสําคัญของวัตถุลง และเพ่ิมความสําคัญของสภาพแวดลอมมากข้ึน

Extreme Long Shot (XLS หรือ ELS) ขนาดภาพที่ถายในระยะไกลสุด นําไปใชกับ การถายภาพใหเห็นบริเวณหรือพ้ืนท่ีโดยรวม เชน ภาพวิวทิวทัศน ภาพชายทะเล กลุมคนจํานวนมาก นิยมใชในการเริ่มเรื่องหรือจบเรื่อง หรือในตอนท่ีตองการใหเห็นภาพโดยรวม Long Shot (LS) เปนการถายภาพระยะไกล หากเปนบุคคลจะเห็นเต็มตัวใหรายละเอียดของภาพมากข้ึน Medium Shot (MS) ภาพถายระยะปานกลาง หรือบุคคลครึ่งตัวซ่ึงนิยมใชในการถายทํารายการโทรทัศนท่ัวไป จะเห็นไดจากภาพรายงานขาวทางโทรทัศน Close-Up (CU) หรือ Close Shot เปนภาพระยะใกล เชน ภาพเห็นหัวไหลหรือราวนมข้ึนไป Extreme Close-Up (ECU หรือ XCU) เปนภาพท่ีตองการเนนเฉพาะสวน เชน ใบหนา ดวงตา ภาพมีรายละเอียดมากแมกระทั่งการแสดงอารมณ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 34: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

23

นอกจากนี้การถายภาพบุคคลยังแบงเปน 5 ลักษณะไดแก 1. Bust Shot คือภาพเหนือราวนมข้ึนไป 2. Knee Shot คือ เปนการจัดภาพถายเหนือหรือใตหัวเขา 3. Two Shot คือ เปนภาพของบุคคล 2 คน หรือวัตถุ 2 ชิ้น อยูในเฟรมเดียวกัน 4. Three Shot หรือ Group Shot เปนภาพบุคคลหรือวัตถุตั้งแต 3 ชิ้น อยูในเฟรมเดียวกัน 5. Over Shoulder (OS) คือ การจับภาพเหนือหัวไหล กลองหรือผูดูจะเห็นภาพของอีกคนหนึ่งซ่ึงเปนคูสนทาในลักษณะมองขามหัวไหล สิ่งท่ีตองระวัง คือตองไมใหคอขาด แขนขา หรือมือขาด

การเปลี่ยนภาพในท่ีนี้หมายถึงการเปลี่ยนจากกลองหน่ึงไปยังอีกกลองหน่ึง หรือจากช็อตหนึ่งไปเปนอีกช็อตหนึ่ง มีวัตถุประสงคหลักเพ่ือใหเกิดการเชื่อมโยงระหวางภาพตอภาพหรือฉากตอฉากใหมีความสัมพันธตอเนื่องกัน ผูเขียนบทจึงตองกําหนดศัพทไวในบทโทรทัศน ไดแก CUT คือ การตัดภาพหน่ึงไปภาพหนึ่งในทันที เปนวิธีการท่ีใชกันมากท่ีสุด ชวยใหเห็นเหตุการณตอเนื่อง เชน รายการสัมภาษณ การตัดภาพเหมาะกับการนําเสนอดังตอไปน้ี 1. เม่ือตองการใหเกิดการกระทําตอเนื่อง ถากลองไมสามารถติดตามภาพหรือเหตุการณนาน ๆ ได ใหใชการคัดก็จะทําใหเรื่องราวดูตอเนื่องกัน 2. เพ่ือแสดงรายละเอียดเหมือนท่ีกลาว คือ ถาตองการใหผูชมเห็นรายละเอียดใหตัดภาพจากระยะไกลเปนระยะใกล 3. ใชเพ่ือเปลี่ยนสถานท่ี เชน ตัดภาพจากในอาคารเปนทองถนน จะทําใหรูสึกวาเหตุการณเกิดข้ึนในเวลาเดียวกัน 4. เปลี่ยนภาพจากระยะไกลเปนระยะใกล จะทําใหรูสึกใกลชิดและมีสวนรวมอยูในเหตุการณ 5. ใหความรูสึกตอจังหวะลีลาของเหตุการณ การตัดภาพเร็วจะทําใหดูตื่นเตนแตถาตัดภาพชาจะดูสุขุมและเยือกเย็น FADE คือ การจางภาพท่ีปรากฏอยูจนมืดสนิท หรือจากภาพมืดสนิทคอย ๆ สวางข้ึนมาเปนภาพใหม มี 2 ลักษณะ FADE IN ใชตัวยอวา F/I ภาพที่ปรากฏอยูตอนแรกจะมืดสนิทคอย ๆ สวางเห็นภาพใหมสวางทีละนอย มักใชเวลาเริ่มเรื่องหรือเปลี่ยนฉากใหผูชมรับรูวาเวลาไดผานไปเนิ่นนาน FADE OUT ใชตัวยอวา F/O ภาพท่ีปรากฏบนจอตอนแรกจะเปนภาพตามปกติ จากนั้นจะคอย ๆ มืดจนจอภาพดําสนิท มักใชในการปดรายการหรือจบเรื่อง การใช FADE ในขณะดําเนินเรื่องสําหรับเปลี่ยนฉาก เชน จากฉากกลางคืนเปลี่ยนเปนเชา ทําใหรูวาเวลาผานไปเนิ่นนาน DISSOLVE เปนภาพจางซอนคลายกับเฟดอินและเฟดเอาทท่ีเกิดข้ึน ภาพเดิมคอย ๆ จางลงและภาพใหมคอย ๆ ชัดข้ึนในเวลาเดียวกัน ทําใหภาพดูตอเนื่องราบเรียบไมกระโดด เชน เวลาเย็นเปนคํ่า เวลาสามทุมเปนเท่ียงคืน โดยการจับภาพท่ีนาฬิกาใหเห็นเวลา เปนตน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 35: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

24

SUPERIMPOSE เปนภาพเหมือนดิสโซลฟ แตภาพสองภาพยังปรากฏบนจอในลักษณะซอนกันและจางคนละครึ่ง เชน ภาพวิญญาณออกหรือเขาราง ใหความรูสึกแปลกมหัศจรรย MIX หนาจอจะมีภาพจากกลองตัวอ่ืนรวมอยูดวย เชน การพยากรณอากาศ หรือ การเจาะภาพเล็ก ๆใหเห็นผูแปลจากคําพูดเปนภาษามือ WIP คือ เปนการเปลี่ยนภาพโดยใชการกวาดภาพท่ีอยูบนจอแลวกวาดภาพใหมเขามาแทนท่ี มีหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนแบบบนลงลาง จากซายไปขวา หรือทแยงมุม ซ่ึงตองอาศัยเครื่องมือท่ีเรียกวา SEG (Special Effect Generator) เปนเครื่องมือผสมสัญญาณภาพและเสียงเขามาทําใหผูชมรูสึกแปลกตาและนาสนใจ

บทโทรทัศนท่ีทําใหรายการโทรทัศนสมบูรณและนาสนใจมากนั้นตองอาศัยเทคนิคพิเศษเขาชวยและตองอาศัยเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกสเขาชวยเชนเดียวกัน มีศัพทเทคนิคพิเศษท่ีควรรูจักไดแก DOWNSTREAM KEY (DSK) คือ การซอนตัวหนังสือท่ีเปนไตเติล หรือขอความลงบนภาพเพ่ือบอกรายละเอียด เชน ขณะกําลังสัมภาษณจะมีชื่อและตําแหนงปรากฏออกมา หรือ การสอนภาษาอังกฤษเม่ือวิทยากรพูดศัพทท่ียาก ก็มีตัวอักษรใหเห็นพรอม ๆ กัน CHROMA KEY เปนเทคนิคการสรางภาพพิเศษโดยใหผูแสดงยืนหรือทํากิจกรรมในหองสงซ่ึงมีฉากหลังเปนสีฟาหรือสีน้ําเงิน ท่ีเรียกวา Blue Screen แลวใชกลองถายภาพไปซอนกับภาพฉากที่เตรียมไวลวงหนา

2.9 การพัฒนาสื่อการสอนมีอยูหลายรูปแบบ สําหรับการพัฒนาชุดการสอนแผนจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัยของชัยยงค พรหมวงศ สมเชาว เนตรประเสริฐ และสุดา สินสกุล (2521 ข : 48 – 49) ไดเสนอข้ันตอนการผลิตเปนชุดการสอนแบบกลุมกิจกรรมเหมาะสําหรับการสอนแบบศูนยการเรียน มี 10 ข้ันตอน มีรายละเอียดดังนี้

1. กําหนดหมวดหมูเนื้อหาและประสบการณ อาจจะกําหนดเปนหมวดวิชาหรือบูรณาการเปนแบบสหวิทยาการตามท่ีเห็นเหมาะสม

2. กําหนดหนวยการสอนแบงเนื้อหาวิชาออกเปนหนวยการสอนโดยประมาณเนื้อหาวิชาท่ีจะใหครูสามารถถายทอดความรูแกนักศึกษาไดในหนึ่งสัปดาหหรือหนึ่งครั้ง ๆ ละ 1-2 ชั่วโมง

3. กําหนดหัวเรื่อง ผูสอนจะตองถามตนเองวาในการสอนแตละหนวยควรใหประสบการณแกผูเรียนอะไรบางแลวกําหนดหัวเรื่องออกเปนหนวยการสอนยอย

4. กําหนดมโนทัศนและหลักการ จะตองใหสอดคลองกับหนวยและหัวเรื่อง โดยสรุปแนวคิด สาระ และ หลักเกณฑสําคัญไวเพ่ือเปนแนวทางในการจัดเนื้อหาท่ีสอนใหสอดคลองกัน

5. กําหนดวัตถุประสงค ใหสอดคลองกับหัวเรื่อง เปนจุดประสงคท่ัวไปกอนแลวเปลี่ยนเปนวัตถุประสงคเชิงพฤติกกรรมท่ีตองมีเง่ือนไขและเกณฑการเปลี่ยนพฤติกรรมไวทุกครั้ง

6. กําหนดกิจกรรม ใหสอดคลองกับวัu3605 .ถุประสงคเชิงพฤติกรรม ซ่ึงจะเปนแนวทางในการเลือกและการผลิตสื่อการสอน และ กิจกรรมการเรียน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 36: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

25

7. กําหนดแบบประเมินผล ตองออกแบบการประเมินผลใหตรงกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม โดยใชการสอบแบบอิงเกณฑ

8. เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุอุปกรณและวิธีการท่ีครูใชถือเปนสื่อการสอนท้ังสิ้น เม่ือผลิตสื่อการสอนของแตละหัวเรื่องแลว ก็จัดสื่อการสอนเหลานั้นไวเปนหมวดหมูในกลองท่ีเตรียมไวกอนนําไปทดลองหาประสิทธิภาพ

9. หาประสิทธิภาพชุดการสอน เพ่ือเปนการประกันวาชุดการสอนท่ีสรางข้ึนมามีประสิทธิภาพในการสอน ผูสรางตองกําหนดเกณฑข้ึน โดยคํานึงถึงหลักการท่ีวาการเรียนรูเปนกระบวนการเพื่อชวยใหการเปลี่ยนพฤติกรรมของผูเรียนบรรลุผลการกําหนดเกณฑตองคํานึงถึงกระบวนการ และ ผลลัพธ โดยกําหนดตัวเลขเปนรอยละของ คะแนนเฉลี่ยมีคา เปน E 1 / E 2

10. การใชชุดการสอน ชุดการสอนท่ีปรับปรุงและมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีตั้งไวสามารถนําไปสอนผูเรียนไดตามประเภทของชุดการสอนและระดับการศึกษา

2.10 วชิระ อินทรอุดม (2539) ไดกลาวถึงการประเมินรายการวีดีทัศนวา การประเมินรายการวีดิทัศนวา การประเมินรายการวีดีทัศน เปนข้ันตอนสุดทายของการผลิต ซ่ึงข้ันตอนการประเมินจะตองมีการวิเคราะหความเหมาะสมของรายการ คุณภาพของรายการ และการบรรลุวัตถุประสงคตั้งไว จึงอาจกลาวไดวา การประเมินวีดีทัศน หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพของรายการวีดีทัศนวามีคุณภาพภายในและคุณภาพภายนอกเพียงใด รายการวีดีทัศนนั้นชวยใหบรรลุวัตถุประสงคการเรียนการสอนหรือไม ซ่ึงขอมูลท่ีไดจากการประเมินจะนําไปสูการปรับปรุงคุณภาพของรายการใหเหมาะสมกับกลุมเปาหมายตอไป การประเมินรายการวีดิทัศนจึงมีวัตถุประสงคหลักดังนี้ 1. เพ่ือจําแนกคุณภาพของรายการวีดีทัศน 2. เพ่ือใหไดขอมูลเก่ียวกับขอดีขอเสียของรายการวีดีทัศนนั้น 3. เพ่ือนําไปสูการใชในกระบวนการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพ่ือเปดโอกาสใหผูท่ีเก่ียวของ เชน ครู นักศึกษา นักเทคโนโลยีการศึกษา ผูเชี่ยวชาญ และผูผลิตรายการไดแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับรายการวีดีทัศนนั้น 5. เพ่ือตัดสินวารายการวีดีทัศนนั้นคุมคาหรือไม การประเมินรายการวีดีทัศนมีอยูหลายประเภท ข้ึนอยูกับวัตถุประสงคของการประเมินวาจะทําการประเมินอะไร โดยใคร และมีวิธีในการประเมินอยางไร ในท่ีนี้จึงจํากัดขอบเขตประเภทของการประเมินรายการวีดีทัศนเปน 3 ประเภท คือ 1. การประเมินกระบวนการผลิต เปนข้ันตอนของคณะผูผลิตท่ีจะตองทําการประเมินในแตละข้ันตอนการผลิตวามีจุดใดบกพรอง จะทําการปรับปรุงแกไขอยางไรเริ่มต้ังแตการประเมินกระบวนการวางแผนการผลิต การประเมินการเตรียมการผลิต การประเมินกระบวนการผลิตและประเมินข้ันหลังการผลิต ท้ังนี้เพ่ือใหขอมูลเก่ียวกับปญหาและอุปสรรคดาน งบประมาณ เวลา บุคลากรในการผลิต การประสานงานผลิต และคุณภาพผลผลิต ซ่ึงขอมูลเหลานี้จะเปนประโยชนตอการปรับปรุงกระบวนการผลิตรายการวีดิทัศนท่ีมีลักษณะคลายคลึงกันในคราวตอไป

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 37: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

26

2. การประเมินการใชรายการวีดีทัศน เปนการประเมินภายหลังท่ีนํารายการวีดิทัศนนั้นไปใชกับกลุมเปาหมายแลว ซ่ึงอาจมีการประเมิน 2 ลักษณะ คือ 2.1 การประเมินความกาวหนา เปนการประเมินดูวาผูเรียนไดเรียนรูสาระในรายการวีดิทัศนเพ่ิมข้ึนมากนอยเพียงใด ซ่ึงสวนใหญจะประเมินจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 การประเมินผลลัพธ จะเปนการประเมินในภาพรวมท้ังหมดของการใช เริ่มตั้งแตการวางแผนการใช การเตรียมการใช กระบวนการใชและผลจากการใชโดยจะใชการประเมินหลายวิธีดวยกัน เชน การสังเกตพฤติกรรมผูเรียน การสอบถามความคิดเห็น การสัมภาษณ การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนตน ขอมูลท่ีไดจะนําไปสูการปรับปรุงคุณภาพของรายการวีดิทัศนและนําไปสูการปรับปรุงกระบวนการใช 3. ผูประเมินรายการวีดิทัศน ในการประเมินรายการวีดิทัศน จําเปนตองอาศัยความคิดเห็นและขอมูลจากบุคลากรหลายฝาย ไดแก 3.1 ครูผูใชรายการวีดีทัศน จะเปนผูใหขอมูลไดวา รายการวีดีทัศนนั้นสอนไดตรงตามวัตถุประสงคหรือไม เนื้อหาถูกตองหรือไม สื่อสารไดตรงตามท่ีตองการหรือไม การนําเสนออันลําดับการสอนเหมาะสมมากนอยเพียงใด 3.2 นักศึกษาท่ีชมรายการวีดีทัศน จะเปนผูใหขอมูลไดวา ภายหลังท่ีชมรายการวีดีทัศนแลว ผูเรียนมีความรูเพ่ิมเติมข้ึนมากนอยเพียงใด ผูเรียนมีความคิดเห็นเก่ียวกับรายการอยางไร 3.3 นักเทคโนโลยีการศึกษาและผูเชี่ยวชาญดานการผลิตรายการวีดีทัศนจะเปนผูใหขอมูลไดวา รูปแบบรายการ วิธีการนําเสนอ การออกแบบสาร การส่ือสารดวยภาพและเสียงมีความเหมาะสมหรือไม มีคุณภาพทางเทคนิคเพียงใด เกณฑการประเมินรายการวีดีทัศน เพ่ือการประเมินรายการวีดีทัศนมีอํานาจในการจําแนกและตรวจสอบ จึงตองมีเกณฑในการประเมินดังนี้ 1. เกณฑเพ่ือประเมินคุณสมบัติภายนอก เปนเกณฑท่ีใชตรวจสอบคุณสมบัติภายนอกของรายการวีดีทัศน เชน ขนาดของตลับวีดีทัศน สีสันของบรรจุภัณฑ ความสวยงาม คูมือประกอบการใชและคุณภาพทางกายภาพของวีดีทัศน เปนตน 2. เกณฑเพ่ือประเมินคุณสมบัติภายใน เปนเกณฑท่ีใชตรวจสอบคุณภาพและความสามารถในการสื่อสารกับกลุมเปาหมาย ตรวจสอบวิธีการสอนและองคประกอบอ่ืนๆ ท่ีจะทําใหบรรลุวัตถุประสงคการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ ในการประเมินรายการวีดีทัศนเพ่ือการศึกษาจะตองมีเครื่องมือประเมิน ดังนี้ 1. แบบสอบถาม แบบสอบถามจะเปนชุดของคําถามท่ีเก่ียวกับรายการวีดีทัศน เชน ความถูกตองดานเนื้อหา คุณภาพทางเทคนิคนิค เหมาะสมกับระดับผูเรียน และความเหมาะสมดานการนําเสนอ ซ่ึงอาจเปนแบบสอบถามชนิด Rating Scale หรือ Check List 2. การสัมภาษณ การสัมภาษณเปนการไดขอมูลมาโดยการโตตอบทางวาจาและบันทึกขอมูลโดยผูสัมภาษณ จะใชไดดีกับการเก็บขอมูลดานความรูสึกนึกคิด ความสนใจและเจตคติซ่ึง คําถามอาจยืดหยุนไดข้ึนอยูกับการใชดุลยพินิจของผูสัมภาษณ โดยท่ัวไปนิยมใชการสัมภาษณใน 2 ลักษณะ คือการสัมภาษณท่ีมีโครงสรางแนนอน (Structured Interview) ซึ่งจะมีการกําหนดคําถาม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 38: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

27

ท่ีจะสัมภาษณไวคอนขางจะตายตัว และการสัมภาษณท่ีไมมีโครงสรางแนนอน(Unstructured Interview) ซึ่งคําถามสามารถปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับสถานการณได

3. แบบสังเกต การสังเกตเปนการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีอาศัยประสาทสัมผัสทางตาและหูเปนสําคัญเหมาะสําหรับการสังเกตพฤติกรรมผูเรียน เชน ในระหวางชมวีดิทัศนผูเรียนมีลักษณะอยางไรบรรยากาศในชั้นเรียนเปนอยางไร โดยท่ัวไปการสังเกตมี 2 ลักษณะ คือ การสังเกตโดยตรง(Direct Observation) โดยผูเก็บรวบรวมขอมูลจะเปนคนสังเกตเอง และการสังเกตโดยออม (Indirect Observation) เปนการสังเกตโดยผานเครื่องมืออยางใดอยางหนึ่ง เชน บันทึกเปนวีดีทัศน หรือ การบันทึกเปนภาพถาย เปนตน 4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนการใหผูเรียนแสดงคําตอบซ่ึงอาจจะมีท้ังการเขียนตอบ เลือกตอบ หรือการตอบทางวาจาก็ได คําตอบท่ีไดจะมุงวัดความสามารถทางดานพุทธิปญญาเปนสวนใหญ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนิยมใชกันอยู 3 ลักษณะ คือ 4.1 แบบปากเปลา (Oral Test) 4.2 แบบเขียนตอบ (Paper-Pencil Test) (1) แบบความเรียง (Essay Type) (2) แบบจํากัดคําตอบ (Fixed-Response Type) 4.3 แบบปฏิบัติ (Performance Test) ท้ังแบบสอบถาม แบบสังเกตการณสัมภาษณ และแบบทดสอบอยางนอยท่ีสุดจะตองมีความเท่ียงตรง (Validity) ในการวัดมีความเชื่อม่ัน(Reliability) และมีความเปนปรนัย (Objective) แบบประเมินรายการวีดีทัศน สวนใหญจะเปนแบบสอบถามท่ีใชประเมินรายการวีดิทัศนโดยตรงขอคําถามจะเก่ียวกับคุณภาพดานเทคนิคการผลิต เทคนิคดานภาพเทคนิคดานเสียง ความเหมาะสมและสัมพันธกันระหวางภาพและเสียง 3. การสรางบทเรียนวีดิทัศนตองอาศัยพ้ืนฐานทางจิตวิทยาการเรียนรูไดแกหลักจิตวิทยาของธอรนไดค(Thorndike)และสกินเนอร(Skinner)พยอม วงศสารศรี (2527,88-89)กลาวถึงทฤษฎีการเรียนรูของธอรนไดค และ พรรณี ช.เจนจิต(2528,170-179) กลาวถึงทฤษฎีเสริมแรงของสกินเนอรไวดังนี้

3.1 (Learning theroy) หรือท่ีเรียกวา (Exercise) ซ่ึงความสัมพันธของกฏท้ังสาม สามารถนํามาประยุกตในการเรียนการสอนมาก 3.1.1 กฏแหงความพรอม(Law Of readiness) กฏน้ีไดกลาวถึงสภาพการณ ท่ีผูเรียนมีแนวโนมท่ีจะพึงพอใจ หรือรําคาญใจกับการยอมรับหรือปฎิเสธ ผูเรียนจะพึงพอใจ และยอมรับ เม่ือมีความพรอมท้ังในแงการปรับตัว การเตรียมพรอม ความต้ังใจ ความสนใจและมีทัศนคติ อันจะกอใหเกิดกระทําข้ึน ในการสรางบทเรียนวีดิทัศนนี้ ผูสรางตองมีการเตรียมพรอมในดานตางๆ เปนอยางมาก นับตั้งแตการเลือกเนื้อหา วิธีการทดลอง เพ่ือใหผูเรียนกอความเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับวุฒิภาวะ และสภาพของผูเรียน 3.1.2 กฎแหงผล(Law Of effect) กลาววา เม่ือใดท่ีการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเราและการตอบสนองดีข้ึนรางวัลและความสําเร็จจะเปนการเสริมแรงใหแสดงพฤติกรรมนั้นมากข้ึน สวน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 39: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

28

การลงโทษและความลมเหลวจะลดการแสดงพฤติกรรม การเรียนดวย บทเรียนวีดิทัศน จะมีการใหรางวัลชมเชยเปนระยะๆ และในขณะเดียวกันก็รูผลสําเร็จของตัวเองไปดวยเพ่ือใหเกิดสภาพการณท่ีทําใหเกิดความพึงพอใจจะไดอยากทําบทเรียนตอไปจนจบ 3.1.3 กฏแหงการฝก (Law Of exercise) กลาววา การเชื่อมโยงระหวางการตอบสนองสิ่งเราท่ีเกิดข้ึนซํ้าหลายคร้ังๆ จะชวยใหการเชื่อมโยงระหวางสองสิ่งนี้แนนแฟนยิ่งข้ึน หมายความวาถากระทําพฤติกรรมใดๆ อยูเสมอจะทําใหเกิดพฤติกรรมนั้นไดสมบูรณแตถาพฤติกรรมใดๆ ท่ีไมไดทําซํ้าบอยๆ ก็จะมีแนวโนมท่ีจะถูกลืม

3.2 (Reinforcement)ของสกินเนอร(Skinner) 3.2.1 เง่ือนไขการตอบสนอง (Operant conditioning) พฤติกรรมสวนใหญของมนุษยประกอบดวยการตอบสนองท่ีแสดงออกมา พฤติกรรมสวนนี้จะเกิดข้ึนบอยคร้ังแคไหนข้ึนอยูกับอัตราการตอบสนอง หรืออัตราการแสดงออกของพฤติกรรม 3.2.2 การเสริมแรง (Reinfocement) หมายถึง การใหสิ่งเราเพ่ือทําใหอัตราการกระทําเปลี่ยนไปในทางท่ีตองการ การเสริมแรงในบทเรียนวีดิทัศน อาจจะเปนการใหคําชมเชย หรือการใหรูผลแหงการกระทําของตนวาถูกหรือผิดในทันที 3.2.3 การเสริมแรงเปนครั้งคราว(Intermittent or Partial reinfocement) หมายถึงการเสริมแรงเปนครั้งคราวเม่ือมีการตอบสนองการเสริมแรงประเภทนี้จะเปนผลใหการตอบสนองมากกวาการเสริมแรงสมํ่าเสมอ และคงอยูไดทนกวา กฏขอนี้นํามาใชบทเรียนวีดิทัศนโดยการใหคําชมเชยเปนครั้งคราว 3.2.4 การดัดรูปแบบพฤติกรรม (Shaping) เปนวิธีการใชเสริมแรงเพ่ือใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทีละนอยๆ จนกระท่ังเกิดพฤติกรรมใกลเคียงกับพฤติกรรมท่ีเราตองการสกินเนอรเนนวาจะทําการดัดรูปแบบพฤติกรรมไดโดยการเสริมแรงบทเรียนวีดิทัศนใชวิธีนําหนวยยอยตางๆ มาเรียงประกอบกัน และเสริมแรงทุกข้ันตอนเริ่มตั้งแตตัวประกอบหนวยยอยแรกสุดจนเกิดการตอบสนองท่ีตองการในข้ันสุดทายของการเรียนรู 4. TVB3201

วิชา TVB3201 การผลิตรายการโทรทัศน (Television Program Production)เปนวิชาเอกเลือกในหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ซ่ึงมีจํานวน 3 หนวยกิต มีรายละเอียดดังนี้

คําอธิบายรายวิชาศึกษาหลักการ แนวคิดในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน วัสดุอุปกรณ รูปแบบรายการกระบวนการผลิตระบบวิทยุโทรทัศน ฝกปฏิบัติการผลิตรายการวิทยุโทรทัศนรูปแบบตาง ๆ ท่ีเหมาะสมกับเนื้อหาและกลุมเปาหมาย วัตถุประสงครายวิชา 1. เพ่ือใหผูเรียนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน วัสดุอุปกรณท่ีใชในการผลิตรายการโทรทัศน 2. เพ่ือใหผูเรียนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับรูปแบบของรายการโทรทัศนท่ีสําคัญ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 40: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

29

3. เพ่ือใหผูเรียนสามารถวางแผนกระบวนการผลิต เลือกแนวทางการดําเนินงานและผลิตรายการโทรทัศนไดอยางเหมาะสม 4. เพ่ือใหผูเรียนมีทักษะในการใชเครื่องมือในการผลิตรายการโทรทัศนไดอยางถูกตองเหมาะสม รายละเอียดเนื้อหาวิชา 1. ความรูเบื้องตนเก่ียวกับการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน 2. หลักการผลิตรายการโทรทัศนใหตรงกับเนื้อหาและกลุมเปาหมาย 3. เครื่องมือท่ีใชในการผลิตรายการโทรทัศน 4. รูปแบบรายการโทรทัศนท่ีสําคัญ 5. การผลิตงานโฆษณา 6. การผลิตหนังสั้น 7. การผลิตสารคดี 8. การผลิตงานเพ่ือการนําเสนอ 9. การรายงานขาวทางโทรทัศน

เวลาท้ังหมดท่ีใชในการเรียนการสอน วิชา TVB3201 การผลิตรายการโทรทัศนสัปดาหละ 4 คาบ รวม 15 สัปดาห จํานวนคาบรวม 60 คาบ สําหรับเนื้อหาท่ีจะนํามาสรางบทเรียนวีดิทัศน คือกลองโทรทัศนและถายทํา โดยเนนเนื้อหาทางดานทฤษฎี

โดยในสวนเนื้อหาดานการใชกลองผลิตรายการโทรทัศนและการถายทํามีดังนี้

4.1 กลองโทรทัศนโดยท่ัวไปจะประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ (ประทิน คลายนาค2545 : 117-118)

1. เลนส (Lens) เปนอุปกรณมีหนาท่ีรวมแสงสวางท่ีสะทอนจากวัตถุซ่ึงอยูหนากลองใหตกลงบนอุปกรณรับภาพพอดี จากนั้นอุปกรณรับภาพ เชน หลอดรับภาพ (Pickup Tube)หรือ CCD (Charge-Coupled Device) จะทําหนาท่ีเปลี่ยนแสงสวางใหเปนสัญญาณไฟฟากลองโทรทัศนท่ัวไปมักจะใชเลนสชนิดซูมเลนส ซ่ึงสามารถผลักภาพออกไปหรือดึงภาพเขามาไดทําใหสะดวกตอการปรับภาพใหมีขนาดใหญข้ึนหรือเล็กลงไดตามตองการ หรือสามารถปรับเปลี่ยนขนาดของภาพจากการถายระยะไกลเปนระยะใกลไดอยางนุมนวลและตอเนื่อง โดยไมตองเคลื่อนท่ีท้ังตัวกลองและวัตถุใหเขาหาหรือถอยหางออกจากกัน รูรับแสงภายในเลนสจะเปนตัวควบคุมปริมาณของแสงใหเขาไปยังกลองไดมากนอยตามสภาพของแหลงแสงสวางหรือสถานท่ีท่ีไปถายทํา

2. ตัวกลอง ตามหลักการแลวในตัวกลองจะมีอุปกรณรับภาพอยูภายใน ทําหนาท่ีเปลี่ยนภาพท่ีเราเห็นใหเปนสัญญาณทางไฟฟาซ่ึงเรียกวาสัญญาณวีดิโอ อุปกรณรับภาพท่ีใชกันในปจจุบันมีอยู 2 ชนิดคือ หลอดรับภาพ ซ่ึงมักจะใชกับกลองสตูดิโอขนาดใหญ เนื่องจากใหลักษณะของภาพสวยงามมีคุณภาพดี กับอุปกรณ CCD ซ่ึงบางทีเรียกวา ชิพ (Chips) หรืออิเมจเซนเซอร (Image Sensors) อุปกรณรับภาพนี้จะมีความไวตอแสงเชนเดียวกับมิเตอรวัดแสงกลาวคือ เม่ือหลอดภาพหรือ CCD ไดรับแสงสวางมากจะเกิดเปนสัญญาณวีดิโอแรงเหมือนกับตอนท่ีเข็มของเครื่องวัดแสงตีสูงข้ึน แตถามีแสงสวางนอยก็จะไดสัญญาณวีดิโอนอยหรือเหมือนกับเข็มของเครื่องวัดแสงตีข้ึนนอย ลักษณะ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 41: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

30

เดียวกันนี้บริเวณท่ีเปนฉากซ่ึงไดรับแสงไมเทากันก็จะแปรเปล่ียนไปเปนสัญญาณวีดิโอไมเทากัน สัญญาณวีดิโอท่ีไดนี้ก็จะถูกสงไปยังหนวยควบคุมกลองท่ีเรียกวา CCU (Camera Control Unit) แลวสงไปเขาเครื่องบันทึกเทปวีดิทัศนตอไป

3. จอมองภาพ (View Finder) เปนมอนิเตอรขนาดเล็กติดต้ังอยูบนตัวกลองเพ่ือแสดงใหเห็นวากลองกําลังจับภาพอะไรอยู จอมองภาพของกลองสวนมากจะเปนชนิดโมโนโครมคือเปนภาพขาวดํา แตกลองสตูดิโอคุณภาพสูงบางตัวอาจใชจอมองภาพท่ีใหภาพสี ดังนั้นเราจึงเห็นเปนภาพสีเหมือนจริงและกลองก็จะใหสัญญาณภาพที่เปนสีนั้น ๆ เชนกัน

4.2

กลองโทรทัศนไมวาจะเปนชนิดท่ีใชกับหองผลิตรายการขนาดใหญ หรือชนิดท่ีใชกันท่ัวไปแบบพกพา มีหลักการทํางานเหมือนกันคือจะทําหนาท่ีเปลี่ยนแสงของวัตถุใหเปนสัญญาณทางไฟฟา ซ่ึงสุดทายแลวสัญญาณนี้จะเปลี่ยนกลับมาเปนภาพอีกครั้งดวยเคร่ืองรับโทรทัศนหรือจอมองภาพท่ีเรียกวาวิวไฟเดอร กลองโทรทัศนสีก็ใชหลักการดังกลาวนี้เชนเดียวกัน อุปกรณซ่ึงใชเก็บแสงสีใหเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาของกลองโทรทัศนมีอยู 2 ชนิด คือ CCD กับหลอดภาพCCD (Charge-Coupled Device) คือซิลิกอนชิพ ภายในบรรจุอนุภาคไวแสงขนาดเล็กวางเรียงกันในแนวตั้งและแนวนอนเรียกวา พิกเซล (Pixels) ซ่ึงมาจากคําวา Pix(ภาพ) รวมกับคําวา Element (อนุภาค) หนาท่ีของพิกเซลจะเปลี่ยนแสงสีตาง ๆ ของวัตถุใหเปนสัญญาณไฟฟา CCD ท่ีมีจํานวนพิกเซลมาก เชน ขนาด 2/3 นิ้ว แนวตั้งมี 581 x แนวนอน 754จะไดจํานวน พิกเซลถึง 440,000 พิกเซล จะมีความไวแสงมากและใหภาพละเอียดคมชัดเทาเทียมกับหลอดภาพหลอดภาพ หรือหลอดรับภาพ (Pickup Tube) จะแตกตางไปจาก CCD ตรงท่ีไมมีอนุภาคไวแสงของพิกเซล แตจะใชการกวาดภาพของลําอิเล็กตรอนไปบนแผนนําแสงซ่ึงติดตั้งไวดานหนาของหลอดใหเปนสัญญาณไฟฟาหลอดภาพสวนมากพัฒนามาจากหลอดวิดีคอน(Vidicon) เปนหลอดพลัมบิคอน (Plumbicon) ซาติคอน (Saticon) หรือฮารพิคอน (Harpicon)ที่ ใช กันปจจุบันมีขนาด 22-30 มม. หลอดภาพท่ีมีจํานวนเสนของการกวาดภาพมากจะใหความคมชัดของภาพสูง จึงเหมาะท่ีจะนําไปใชกับกลองระบบ HDTV (High Definition Television)และโดยเฉพาะกับกลอง ENG/EFP ระดับมืออาชีพ 4.3

กลองโทรทัศนท่ีเราพบโดยท่ัวไปแบงออกได 3 ชนิด คือ (ประทิน คลายนาค2545 : 119) 1. กลองสตูดิโอ รวมท้ังกลองชนิด HDTV ดวยกลองสตูดิโอ เปนกลองโทรทัศนท่ีมีคุณภาพสูง

ใหภาพสีสันคมชัดเหมาะสําหรับสถานีหรือหองผลิตรายการขนาดใหญ มีราคาแพงมาก เวลาใชงานจะตองมีอุปกรณตอพวงกับเครื่องควบคุมกลอง ท่ีเรียกวา CCU (Camera Control Unit) เคร่ืองบันทึกเทปวีดิทัศนแยกตางหาก รวมไปถึงไมโครโฟนที่ใชเก็บเสียงดวยกลอง HDTV เปนกลองชนิดพิเศษใหภาพท่ีมีความละเอียดคมชัดสูงสีสวยงามบางตัวตองใชหลอดภาพถึง 3 หลอด หรือใช CCD 3 ตัว เพ่ือแยกสีออกจากกันโดยเฉพาะและใหจํานวนเสนของการกวาดภาพสูง จํานวนเสนการกวาดภาพของกลอง HDTV จะสูงกวากลองธรรมดาถึงสองเทา เชน ระบบ NTSC มี 525 เสน แตระบบนี้จะมีถึง 1,125 เสน จึงสามารถเก็บรายละเอียดของภาพไดอยางดี นอกจากนี้สัดสวนการจับภาพของกลองยังเหมือนหรือใกลเคียงกับกลองถายภาพยนตร 35 มม.อีกดวย ภาพในแนวนอนท่ีไดจึง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 42: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

31

กวางกวากลองโทรทัศนธรรมดา ตัวอยางสัดสวนของภาพจากจอโทรทัศนท่ัวไปจะเปน 3:4 (สูง:กวาง) แตระบบ HDTVจะมีสัดสวนเปน 3:5.33 (หรือ 9:16 หนวย)

2. กลอง ENG/EFP และชนิด Camcorderกลอง ENG/EFP และ Camcorder อาจกลาวไดวากลอง ENG/EFP เปนกลองชนิดกระเปาหิ้วพกพาไดสะดวก ถือหรือแบกเวลาถายภาพคนเดียวไดโดยไมตองใชขาตั้งกลองเวลาใชงานก็สามารถถายภาพไดเลย เนื่องจากจะมีเครื่องบันทึกเทปวีดิทัศนและไมโครโฟนครบชุดอยูแลว เครื่องบันทึกรุนเกาจะมีกระเปาสะพายไปพรอมกับกลองได แตกลองชนิด Camcorderรุนใหม ในตัวกลองจะมีท้ังไมโครโฟนและตลับเทปบรรจุอยูภายในเรียบรอย มีขนาดกะทัดรัดจึงใชงานไดสะดวกยิ่งข้ึน

3.กลองคอนเวิตติเบิล (Convertible camera) เปนกลอง ENG/EFP คุณภาพสูงใชงานไดท้ังในหองผลิตรายการขนาดใหญและนอกสถานท่ี เนื่องจากสามารถถอดเปลี่ยนเลนสจอมองภาพและอุปกรณอ่ืน ๆ ไดสะดวก แตก็ตองใชงานรวมกับเครื่องควบคุมกลองอยูตลอดเวลาเพ่ือใหสามารถควบคุมกลองจากภายนอก ตัวกลองไดเหมือนกับกลองสตูดิโอธรรมดา 4.4 ข้ันตอนท่ีควรปฏิบัติในการใชกลองโทรทัศน

1. ข้ันตอนแรกของการเปนชางภาพท่ีดี คือจะตองศึกษาคูมือของการใชกลองชนิดนั้น ๆ อยางละเอียดจนสามารถเขาใจและสามารถใชกลองไดอยางถูกวิธีตามท่ีทางผูผลิตไดแจงไว

2. ฝกความชํานาญของการใชฟงกชั่น (Function) ตาง ๆ จากตัวกลองจนเกิดความคุนเคย ซ่ึงถามีความชํานาญแลวจะสามารถถายภาพออกมาไดตามท่ีตองการ และโอกาสเกิดความผิดพลาดของการถายภาพก็จะหมดไป

3. ตรวจเช็คความพรอมตาง ๆ ของอุปกรณท่ีรวมอยูในชุดบันทึกเทปโทรทัศนอยูเสมอ โดยเริ่มตั้งแตตัวกลอง แบตเตอรี่ ขาตั้งกลอง มอนิเตอร ไมโครโฟน สายเคเบิลสายไฟ ฯลฯ

4. ศึกษารายละเอียดของบทโทรทัศนกอนการถายเพ่ือใหเกิดความเขาใจในเนื้อหา ซ่ึงจะสงผลใหการถายภาพเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีตองการ

5. กอนการถายภาพแตละครั้งควรมีการศึกษาสถานท่ี ๆ จะทําการถายเสียกอนโดยเลือกมุมและกําหนดตําแหนงของกลองใหไดภาพท่ีดีท่ีสุด ซ่ึงนอกจากผูกํากับแลว ชางภาพควรมีการเตรียมตัวในดานนี้ดวย เพราะจะทําใหสามารถสรางสรรคภาพใหออกมาไดอยางมีคุณภาพ

6. นอกจากการฝกการใชกลองใหเกิดความชํานาญแลว ขาต้ังกลอง (Tripod)เปนอีกปจจัยหนึ่งท่ีจะทําใหภาพท่ีถายออกมาเกิดความนุมนวลไมสั่นไหว ควรฝกใชจนสามารถควบคุมระบบการทํางานของขาต้ังกลองไดเปนอยางดี ซ่ึงจะสงผลใหภาพท่ีถายออกมาไมสั่นไหวมีคุณภาพเปนท่ีนาพอใจ

7. กลองโทรทัศนในระบบตาง ๆ ถึงแมวาจะมีระบบการทํางานท่ีคลาย ๆ กัน แตเพ่ือใหการบันทึกเทปโทรทัศนออกมาอยางมีคุณภาพ จึงควรศึกษารายละเอียดของกลองแตละชนิดแตละระบบกอนนํามาใชงานจริงเสมอ ทําใหเม่ือนํากลองไปใชจริง โอกาสผิดพลาดจากการใชกลองก็จะไมเกิดข้ึน สงผลใหภาพท่ีถายออกมาไดตามวัตถุประสงคท่ีตองการ

8. กอนและหลังการใชกลองควรมีการบํารุงรักษา ทําความสะอาด ตรวจเช็คกลองและอุปกรณตาง ๆ ใหอยูในสภาพพรอมท่ีจะใชงานในครั้งตอไปอยูเสมอ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 43: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

32

9. หลังเสร็จสิ้นการใชงานแลว ควรแยกแบตเตอรี่ออกจากตัวกลองและชารตแบตเตอรี่ไวทุกครั้ง ไมควรคางแบตเตอรี่ไวในตัวกลองเปนเวลานาน เพราะอาจทําใหกลองโทรทัศนเกิดความเสียหายได (สมศักดิ์ พูนศิริ 2542 : 72) การจับถือกลองโทรทัศน

การจับถือกลองโทรทัศนเพ่ือถายทํารายการโทรทัศนมีลักษณะคลายกับการจับถือกลองถายรูปท่ัวไป ท่ีแตกตางกันบางก็ตรงท่ีกลองถายรูปเปนการถายภาพนิ่งแตกลองโทรทัศนจะตองถายภาพซึ่งมีการเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลาจึงตองสายกลองไปตามวัตถุ ลักษณะการถือกลองโทรทัศนแบบตาง ๆ (ประทิน คลายนาค 2545 : 141-142) 1. ทาแบกถือกลองธรรมดาระดับสายตา

2. ทาถือกลองในลักษณะเงยหนากลองข้ึน ใชเม่ือตองการถายภาพโดยใหมุมกลองอยูต่ํากวาระดับสายตา เพ่ือตองการใหเกิดความรูสึกวาวัตถุท่ีถูกถายมีความสงางาม นาเกรงขาม

3. ทาถือกลองยกข้ึนเหนือศีรษะแลวใหหนากลองกมลงมา ใชเม่ือตองการถายภาพในมุมสูงกวาระดับสายตา เชน เกิดเหตุการณและมีกลุมฝูงชนกําลังมุงดู ไมสามารถถายภาพในทาปกติไดจึงตองยกกลองใหสูงข้ึน มองภาพผานชองวิวไฟเดอรแลวจึงถายภาพ

4. ใชพ้ืนท่ีเรียบหรือพ้ืนโตะเปนท่ีวางศอก ทานี้ใชเม่ือตองการใหกลองนิ่งยิ่งข้ึนหรือกรณีไมมีขาตั้งกลอง

4.5

ลักษณะภาพ (Shot Size) เปนการกําหนดขนาดของภาพท่ีจะใหสื่อสารเนื้อหาหรือเหตุการณตอผูชม ลักษณะภาพตาง ๆ มีดังนี้ (วสันต อติศัพท 2533 : 225)

Extreme Long Shot (XLS หรือ ELS) คือภาพท่ีวัตถุอยูหางไกลจากกลองมากนําไปใชกับการถายภาพใหเห็นบริเวณหรือพ้ืนท่ีโดยรวม เชน ภาพวิวทิวทัศน ภาพชายทะเลกลุมคนจํานวนมาก จึงบอกรายละเอียดของภาพไดนอย

Long Shot (LS) เปนการถายภาพระยะไกล หากเปนภาพบุคคลก็จะเห็นเต็มตัวใหรายละเอียดของภาพมากข้ึน

Medium Shot (MS) ภาพระยะปานกลาง หรือภาพบุคคลครึ่งตัว ซ่ึงนิยมใชในการถายทํารายการโทรทัศนท่ัวไป จะเห็นไดจากภาพการรายงานขาวทางโทรทัศนท่ัวไป

Close-Up (CU) หรือ Close shot เปนภาพระยะใกล เชน ภาพเห็นหัวไหลหรือราวนมข้ึนไป

Extreme Close-Up (ECU หรือ XCU) เปนภาพท่ีตองการเนนเฉพาะสวน เชน ใ บ ห น า ดวงตา บางครั้งจะตัดสวนท่ีเปนผมไปบาง เพ่ือใหเห็นต้ังแตปลายคางไปจนถึงหนาผากเรียกวา ภาพแบบ Cross Shot ภาพจึงบอกรายละเอียดไดมากแมกระท่ังการแสดงออกทางอารมณ นอกจากนี้การถายภาพบุคคลยังแบงไดอีก 5 ลักษณะ ไดแก

1. Bust Shot คือภาพเหนือราวนมข้ึนไป 2. Knee Shot เปนการจัดภาพถายเหนือหรือใตหัวเขา 3. Two Shot เปนภาพของบุคคล 2 คน หรือวัตถุ 2 ชิ้นอยูในเฟรมเดียวกัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 44: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

33

4. Three Shot หรือ Group Shot เปนภาพคนหรือวัตถุตั้งแต 3 ชิ้นอยูในเฟรมเดียวกัน 5. Over-Shoulder (OS) คือการจับภาพเหนือหัวไหล กลองหรือผูดูจะเห็นภาพของอีกคน

หนึ่งซ่ึงเปนคูสนทนาในลักษณะมองขามหัวไหล สิ่งท่ีควรระวังในการถายภาพบุคคลก็คือตองไมจับภาพแลวทําใหดูคอขาด มือขาดหรือเทา

ขาด ลักษณะของภาพคอขาดก็คือจับภาพไมไหเห็นหัวไหล จะเห็นเฉพาะลําคอและสวนศีรษะ ภาพมือขาดจะจับภาพใหเห็นศีรษะ ลําตัว แขน สวนขอมือหายไป ซ่ึงไมควรกระทําอยางยิ่ง(ประทิน คลายนาค 2545 : 98-101) 4.6

นอกเหนือจากลักษณะภาพแลว มุมกลองยังชวยใหการรับรูของผูชมตอเหตุการณในรายการมีความหมายมากยิ่งข้ึนดวย (วสันต อติศัพท 2533 : 227-229)

1. ภาพมุมปกติ (Normal Angle Shot) เปนมุมกลองปกติท่ีใชมากท่ีสุด ภาพอยูในระดับสายตา โดยยึดเอาสิ่งท่ีถายเปนหลัก ไมใชระดับสายตาของผูถาย

2. ภาพมุมต่ํา (Low Angle Shot) เปนมุมกลองท่ีอยูต่ํากวาระดับสายตาและถายเงยข้ึนมายังสิ่งท่ีจับภาพ เปนภาพท่ีใหความรูสึกถึงพลัง อํานาจ ความยิ่งใหญ

3. ภาพมุมสูง (High Angle Shot) กลองจะตั้งอยูสูงกวาระดับสายตาและถายลงมา ใหภาพท่ีแสดงถึงความตอยต่ํา ขาดพลัง ความวาเหว รวมท้ังการจับภาพกวาง ๆ จากมุมสูงดวย

4. ภาพมุมเอียง (Canted Angle Shot) ทําไดโดยตั้งกลองใหเอียง ใหความรูสึกถึงความเคลื่อนไหว ความตื่นเตน ความไมม่ันคง รวมทั้งภาพแปลกตาดวย ภาพแบบนี้สะดวกที่จะใชกับกลองอีเอ็นจีมากกวากลองสตูดิโอ

5. ภาพมุมบน (Top-Angle Shot) เปนภาพท่ีไดจากการต้ังกลองไวบนแลวกมกลองลงมาใหตั้งฉากกับเสนแนวระนาบ ชวยใหไดภาพท่ีแปลกตาไป

6. ภาพมุมลาง (Bottom-Angle Shot) ตรงกันขามกับภาพมุมบน กลองจะตั้งอยูบนพ้ืน แลวเงยข้ึนบนใหตั้งฉากกับพ้ืน ใหความรูสึกเหมือนบางสิ่งบางอยางตกมาสูผูชม

7. ภาพอ็อฟเจ็คทีฟ (Objective Shot) เปนภาพท่ัว ๆ ไป เหมือนภาพมุมปกติเหมือนผูชมเปนบรุุษท่ีสามที่มองเห็นเหตุการณนั้นอยู

8. ภาพซับเจ็คทีฟ (Subjective Shot) เปนภาพท่ีกลองโทรทัศนจะไปอยูในตําแหนงของตัวละครและถายภาพแทนสายตาของเขา มักใชคูกับภาพอ็อฟเจ็คทีฟ ดังเชน ภาพชายคนหน่ึงกําลังนั่งอานหนังสือ ภาพตอไปเปนภาพถายแทนสายตาของเขาไปบนหนังสือหนานั้นเพ่ือสื่อสารใหผูชมทราบวาสิ่งท่ีเขากําลังอานนั้นคืออะไร

5. 5.1 สื่อการสอนใด ๆ ก็ตามเม่ือสรางข้ึนมาแลวจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองนําไปหาประสิทธิภาพ เพ่ือหาสิ่งท่ีจะยืนยันวามีคุณภาพจริง ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ (2521: 129-131) ไดกลาวถึงความจําเปนท่ีจะตองมีการหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีสรางข้ึน ดังนี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 45: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

34

1. สําหรับหนวยงานผลิตสื่อการสอน เปนการประกันคุณภาพของสื่อการสอนน้ันวาอยูในชั้นสูง เหมาะสมที่จะลงทุนผลิตออกมาเปนจํานวนมาก 2. สําหรับผูใชสื่อการสอน สื่อการสอนจะทําหนาท่ีชวยสรางสภาพการเรียนรูใหผูเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมตามท่ีมุงหวัง ดังนั้น กอนนําไปใชครูจึงควรม่ันใจวา สื่อการสอนนั้น มีประสิทธิภาพในการชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูจริง 3. สําหรับผูผลิตสื่อการสอน การทดสอบประสิทธิภาพจะทําใหผูผลิตม่ันใจไดวาเนื้อหาสาระท่ีบรรจุลงในสื่อการสอนเหมาะสม งายตอการเขาใจอันจะชวยใหผูผลิตมีความชํานาญ สูงข้ึนเปนการประหยัดแรงสมอง แรงงาน เวลา และเงินทองในการเตรียมตนฉบับ ในการวิจัยข้ันตอนการหาประสิทธิภาพสื่อ จะหาประสิทธิภาพสื่อเปนข้ันตอนดังนี้ 1. ทดสอบประสิทธิภาพแบบเด่ียว (1: 1) หรือ (One Group Try Out) โดยทดลองกับนักเรียนท่ีมีระดับการเรียนรู เกง ปานกลาง และออน เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาสื่อใหดีข้ึน ในข้ันนี้ E1/E2 จะมีคาประมาณ 60/60 2. กลุมเพ่ือทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุมยอย (1: 10) หรือ (Small Group Try Out) เปนลักษณะของกลุมยอย โดยทดลองกับนักเรียนท่ีมีระดับการเรียนรู เกง ปานกลาง และออน กลุมละ 3 คน เพ่ือปรับปรุงขอบกพรองและพัฒนาสื่อใหดีข้ึน ในข้ันนี้ E1/E2 จะมีคาประมาณ 70/70 3. กลุมเพ่ือทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุมใหญ (1: 100) หรือ (Field Try Out) คือ โดยทดลองกับนักเรียนจํานวน 30 คน โดยมีระดับความรู เกง ปานกลาง และออนกลุมละ 10 คน คํานวณหาประสิทธิภาพแลวทําการปรับปรุง นําผลการทดสอบผลลัพธท่ีไดกับเกณฑท่ีตั้งไว หากต่ํากวาเกณฑไมเกิน 2.5% ใหยอมรับได หากแตกตางมาก ตองปรับปรุง และเพ่ือหาประสิทธิภาพสื่อใหได 80/80 5.2 เกณฑประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เปนระดับท่ีผูผลิตสื่อการสอนจะพึงพอใจวา หากสื่อการสอนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแลว สื่อการสอนน้ันก็มีคุณคาท่ีจะนําไปสอนนักเรียน และคุมคาแกการลงทุนผลิตออกมาเปนจํานวนมาก การกําหนดเกณฑประสิทธิภาพทําไดโดยการประเมินพฤติกรรมของผูเรียน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมตอเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมข้ันสุดทาย (ผลลัพธ) โดย การกําหนดคาประสิทธิภาพเปน E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) และ E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ) 1. ประเมินพฤติกรรมตอเนื่อง (Transitional Behavior) คือ ประเมินผลตอเนื่องซ่ึงประกอบดวยพฤติกรรมยอยหลาย ๆ พฤติกรรม ซ่ึงเรียกวา “กระบวนการ” ของผูเรียนท่ีสังเกตจากการประกอบกิจกรรมกลุม (รายงานของกลุม) และรายงานบุคคล ไดแก งานท่ีมอบหมายและกิจกรรมอ่ืนใดท่ีผูสอนกําหนดไว 2. ประเมินพฤติกรรมข้ันสุดทาย (Terminal Behavior) คือ ประเมินผลลัพธของผูเรียนโดยพิจารณาผลสอบหลังเรียน และการสอบไลประสิทธิภาพของสื่อการสอนจะกําหนดเปนเกณฑท่ีผูสอนคาดหมายวาผูเรียนจะเปลี่ยนพฤติกรรมเปนท่ีพอใจ โดยกําหนดใหเปนเปอรเซ็นตของผลการสอบหลังเรียนของผูเรียนท้ังหมด E1/E2 คือประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 46: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

35

การท่ีจะกําหนดเกณฑ E1/E2 ใหมีคาเทาใดนั้น ใหผูสอนเปนผูพิจารณาตามความพอใจ โดยปกติเนื้อหาท่ีเปนความรูความจําจะตั้งไว 80/80, 85/85 หรือ 90/90 สวนเนื้อหาท่ีเปนทักษะ หรือ เจตนศึกษาอาจต้ังไวต่ํากวานี้ เชน 75/75 เปนตน อยางไรก็ตามไมควรต้ังเกณฑไวต่ํา เพราะตั้งเกณฑไวเทาใดก็มักไดผลเทานั้น ความหมายของเกณฑมาตรฐาน The 90/90 Standard วา

The 90/90 Standard น้ัน จะแตกตางกันไปตามแนวความคิดของผูออกแบบบทเรียน เปน 3 แบบ คือ 1. นักเรียนรอยละ 90 เรียนรูเพ่ิมข้ึนรอยละ 90 โดยการใชบทเรียน หรือนักเรียน รอยละ 90 ทําขอสอบในเนื้อหาไดรอยละ 90 จากเนื้อหาท้ังหมด 2. คาเฉลี่ยของกลุมตองเปนรอยละ 90 บทเรียนจะตองใชผลถึงรอยละ 90 ของสิ่งท่ีเราตั้งใจ (ตั้งจุดประสงค) ใหบทเรียนกระทํา 3. 90 ตัวแรก หมายถึง การแสดงคุณสมบัติ นักเรียนรอยละ 90 มีผลสัมฤทธิ์จาก แตละจุด และทุกจุดประสงคบทเรียนนั้น 5.3 ชัยยงค พรหมวงศ (2521: 52) เสนอไว 3 ระดับ คือ 1. “สูงกวาเกณฑ” เม่ือประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว มีคาเกินรอยละ 2.5 ข้ึนไป 2. “เทาเกณฑ” เม่ือประสิทธิภาพของสื่อเทากับหรือสูงกวาเกณฑท่ีตั้งไวไมเกิน 2.5 3. “ต่ํากวาเกณฑ” เม่ือประสิทธิภาพของสื่อตํ่ากวาเกณฑท่ีตั้งไว แตไมต่ํากวา 2.5 ถือวายังมีประสิทธิภาพท่ียอมรับได 5.4 การพัฒนาสื่อสไลดอิเล็กทรอนิกส ใชวิธีการหาประสิทธิภาพสื่อดวยสูตร E1/E2 ดังนี้

E1 =

E 2 =

สัญลักษณของสูตร มีความหมายดังนี้ E1 แทนคาประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว E2 แทนประสิทธิภาพของสื่อในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูเรียน x แทนคะแนนรวมของนักเรียนทุกคนท่ีไดจากการทําแบบฝกหัดระหวางเรียน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 47: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

36

F แทนคะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน N แทนจํานวนนักเรียนท้ังหมด A แทนคะแนนเต็มของแบบฝกหัด B คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน

6.

6.1 เอกนฤน บางทาไม (2545:บทคัดยอ) การพัฒนาสื่อวีดิทัศนวิชาถายภาพเรื่องอิเล็กทรอนิกส

แฟลช สําหรับกลองถายภาพ 35 มม. ประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน 3 ตอน แบงได ดังนี้ บทเรียนตอนท่ี 1 มีคา 84.30 บทเรียนตอนท่ี 2 มีคา 81.53 บทเรียนตอนท่ี 3 มีคา 87.92 โดยสื่อวีดิทัศนท้ัง 3 ตอน อยูในเกณฑท่ีมีประสิทธิภาพ ธีระสุต ยืนยงวนิชกิจ (2549 : บทคัดยอ) ไดพัฒนาวีดีทัศนเพ่ือการเรียนรูชุมชน กรณีศึกษาชุมชนชาวไทยยวน ตําบลดอนแร อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี พบวาวีดีทัศนท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ 85 ซ่ึงสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดและมีผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรูหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 จันทรจีรา แดงทองคํา (2549: 86) ไดพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง เคร่ืองปนดินเผาศิลปกรรม เกาะเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังชมดวย วีดิทัศนสูงกวากอนชมวีดิทัศนท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 พัชรินทร ธรรมสุวรรณ (2550: 53-54) ไดศึกษา พัฒนาบทเรียนวีดิทัศนฝกทักษะปฏิบัติ เรื่อง งานประดิษฐจากเศษวัสดุ ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 กลุมตัวอยางเปนนักเรียนในชวงชั้น ท่ี 2 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนวิจิตรวิทยา ท่ีกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 48 คน ไดมาโดยวิธีการสุมแบบหลายข้ันตอน (Multistage Random Sampling) เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควา เปนบทเรียนวีดิทัศนฝกทักษะปฏิบัติเรื่อง งานประดิษฐจากเศษวัสดุ แบบประเมินทักษะปฏิบัติ และแบบประเมินบทเรียนวีดิทัศนผลการศึกษาคนควาครั้งนี้พบวา บทเรียนวีดิทัศนฝกทักษะปฏิบัติ เรื่อง งานประดิษฐจากเศษวัสดุ มีคุณภาพดานเนื้อหาในระดับดีมาก คุณภาพดานสื่อในระดับดี และมีประสิทธิภาพ 87.18/84.23 วรุณพรรณ พองพรม (2550: 58) ไดพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนท่ีเรียนดวยตนเอง เรื่องการเขาเลมหนังสือ สําหรับนิสิตปริญญาตรี ผลจากการทดลองปรากฏวา การเรียนโดยใชบทเรยีนวดีิทัศนท่ีเรียนดวยตนเอง มีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีกําหนด กลุมตัวอยางเกิดความรูความเขาใจในเรื่อง การเขาเลมหนังสือ ท้ังนี้พอสรุปสาเหตุท่ีทําใหบทเรียนวีดิทัศนท่ีเรียนดวยตนเองเปนสื่อการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ มีโครงสราง มีระบบท่ีสามารถสนองความตองการของผูเรียนได และมีอิสระในการเรียนภายใตโครงสรางของบทเรียนนั้น ๆ บทเรียนวีดิทัศนท่ีเรียนดวยตนเอง ท่ีไดมีการทดลองใชและผานการหาประสิทธิภาพไดผลโดยรวมเปน 86.44/85.22

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 48: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

37

ยุพยงค กลั่นประเสริฐ (2551: 64) ไดศึกษาเพ่ือหาประสิทธิภาพบทเรียนวีดิทัศนแบบปฏิสัมพันธ เรื่อง การขยายพันธุพืช รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผลการศึกษาคนควาพบวา บทเรียนวีดิทัศนแบบปฏิสัมพันธ เรื่องการขยายพันธุพืช รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 มีประสิทธิภาพเทากับ 85.75/83.75 ซ่ึงสูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว ดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนวีดิทัศนแบบปฏิสัมพันธ เรื่อง การขยายพันธุพืช รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เทากับ 0.6034 ซ่ึงหมายความวา นักเรียนมีความกาวหนาในการเรียนรอยละ 60.34 ไพฑูรย กลั่นไพฑูรย (2551: 86) ไดพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนวิชาวาดเสน เรื่องทักษะพ้ืนฐานการวาดเสน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล ผลการวิจัยพบวาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนวิชาวาดเสน เรื่องทักษะพ้ืนฐานการวาดเสน สูงกวาเกณฑโดยมีคา 80.44 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทักษะการวาดเสนของนักเรียนท่ีเรียนดวยสื่อวีดิทัศนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ชวกิจ ทองนุยพราหมณ (2554: บทคัดยอ) ไดพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนดวยตนเอง เรื่อง การสรางสรรคงานทัศนศิลปดวยดินน้ํามัน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป สําหรับนักเรียนชวงชั้นท่ี 2 (ประถมศึกษาปท่ี 5) ผลการวิจัยพบวา ประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศน 96.16/93.53 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และความ พึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน มีความพึงพอใจในระดับมากท่ึสุด คมสันต ทับชัย :( 2551 : บทคัดยอ) พัฒนาสื่อวีดิทัศน เรื่อง เทคนิคการถายภาพดวยกลองดิจิทัล ระดับปริญญาตรีชั้นปท่ี 1 คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทรท่ีเรียนวิชาการถายภาพเพ่ือการสื่อสาร จํานวน 30 คนในภาคการศึกษาท่ี 2 ปการศึกษา 2551 โดยการสุมแบบเฉพาะเจาะจง ใชวิธีการทดลอง ใชเวลาในการทดลอง 4 คาบ(4 สัปดาห) คาบเรียนละ 50 นาที ผลการวิจัยพบวาประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศนมีคาเทากับ 79.30/79.77 ซึ่งสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไวคือ 75/75 โดยประเมินคุณภาพสื่อของสื่อวีดิทัศน จากผูเชี่ยวชาญจํานวน 6 ทาน ไดคาคะแนนเฉลี่ย(x)=4.29 คุณภาพสื่ออยูในระดับดี การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนกับหลังเรียนของกลุมตัวอยางเทากับ 32.25 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.01

6.2 ฟนเชอร (Fincher 1995: abstract) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการจําของนักศึกษาทางดานความรู ความเขาใจและทักษะการปฏิบัติจากการเรียนดวยวีดีทัศนแบบปฏิสัมพันธ (Interactive Video.IAV) กับวีดีทัศนแบบเสนตรง (Linear Video.LV) ซึ่งอาศัยหลักทฤษฏีเรียนรูควบคูกับวิธีสอนมาใชในการศึกษา ผลการศึกษาพบวากลุมผูเรียนจากการสังเกตท้ัง 2 กลุมท่ีเรียน จากวีดีทัศนปฏิสัมพันธกับ วีดีทัศนแบบเสนตรง ท้ังดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจําผลท่ีไดแตกตางกัน อาบรัม ( Abrams 1986:326) ไดทําการศึกษาผลของ Intreactive Video ท่ีมีตอการสอนทักษะการถายภาพเบื้องตน การศึกษาครั้งนี้เพ่ือประเมินผลสัมฤทธิ์ของ Intreactive Video ใน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 49: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

38

กระบวนการเรียนการสอน เปรียบเทียบกับวีดีโอสอนทักษะการถายภาพเบื้องตนในสถานการณเรียนแบบรายบุคคล ในระดับวิทยาลัย ผลการทดลองปรากฏวากลุมท่ีเรียนดวย Intreactive Video มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกวาท่ีเรียนจากวีดีโอธรรมดาท้ังกอนเรียนและหลังเรียนอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.01 ดิวอ้ี (Dewey 1983:3218) ไดศึกษาผลของวีดีโอเทปและวีดีโอดิสก สําหรับการสอนแบบมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนในสภาพการศึกษาแบบอิสระสําหรับการศึกษาครั้งนี้เพ่ือพัฒนาโมดูลสําหรับฝกทักษะฟุตบอลโดยการใชไมโครคอมพิวเตอร มาควบคุมระบบวีดีโอ MCVIT หรือ CAI แบบมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน ขอบเขตในการศึกษาคือ นักฟุตบอลในระดับไฮสคูลและโรงเรียนมัธยมศึกษา ท่ีมีประสบการณสูงและไมมีประสบการณเพ่ือท่ีจะศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผลการทดลองชี้ใหเห็นวา MCVIT (Microcomputer Controlled Videotape System) ทําใหนักฟุตบอลท้ังกลุมท่ีมีประสบการณสูงและตํ่ามีผลสัมฤทธิ์สูงข้ึน นั่นคือ ผลของการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนเพ่ิมข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซ่ึงสังเกตและพิสูจนได ฟชเชอร (Fisher 1997:216) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการใชเทปโทรทัศนในการสอนทักษะการวายน้ํา และการเรียนรูจังหวะการเคลื่อนไหว โดยการศึกษาวิจัยนักศึกษาชายและหญิงอายุประมาณ 10-13 ป จํานวน 60 คน แบงเปน 2 กลุม ผลการวิจัยพบวาผูเรียน 2 กลุม มีพัฒนาการเรียนดีข้ึน มีการเรียนรูทักษะท่ีสอนและมีทักษะในการวายน้ําไมแตกตางกันแตมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คารเนอร (Carner 1962:118) ไดประเมินผลการสอนอานทางโทรทัศนระบบวงจรปดโดยทดลองกับนักศึกษาชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 และ 6 โรงเรียนคอรทแลน (Cortland Public School) นักศึกษาเหลานี้ไดเรียนวิธีอานจากโทรทัศนทุกวัน เพ่ือฝกฝนในการอานและเขาใจ ผลปรากฏวานักศึกษาท่ีมีความสามารถในการอานท่ีอยูในระดับต่ํา ไดรับความรูในการอาน มากข้ึนกวาการเรียนในชั้นธรรมดา

จากงานวิจัยดังกลาวในขางตน พอสรุปไดวา วีดิทัศนเปนสื่อท่ีมีประโยชนมากตอการ

พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน โดยเฉพาะอยางยิ่งทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของนักศึกษาสูงข้ึนเม่ือเทียบกับการสอนแบบปกติ เพราะสื่อวีดิทัศน เปนสื่อท่ีมีท้ังภาพ เสียง กราฟฟก ภาพการตูน อีกท้ังยังเปนภาพเคลื่อนไหวที่แสดงเหตุการณจริงแสดงการสาธิต สมารถใชเรียนซํ้า เรียนไดท้ังรายบุคคลและรายกลุม และสามารถนําไปใชในการเรียนการสอนไดทุกระดับชั้น ท้ังนี้ประสิทธิภาพของการเรียนดวยวีดิทัศน ข้ึนอยูกับเทคนิคการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมตามความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ ดังนั้น วีดิทัศนจึงเปนlสื่อการเรียนการสอนอยางหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพในการเพ่ิมประสิทธิภาพทางการเรียนไดอยางดี

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 50: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

39

3

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาเปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพ่ือนําไปชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และสามารถนําความรูไปใชเปนพ้ืนฐานการเรียนและการผลิตรายการโทรทัศน หรือบทเรียนวีดิทัศนไดโดยมีข้ันตอนในการดําเนินการวิจัยดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. ตัวแปรท่ีศึกษา 3. ระเบียบวิจัย 4. เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 5. การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือ 6. การดําเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล 7. สถิติท่ีใชในการวิจัย 8. การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

1.1 ประชากร ท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จํานวน 150 คน 1.2 กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จํานวน 30 คน ดวยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกวิชาเอก วิทยุโทรทัศน

2.1 ตัวแปรตน ไดแกการเรียนจากบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 2.2 ตัวแปรตาม ไดแก 2.2.1 ประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 2.2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนท่ีเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 2.2.3 ความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 3. การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพัฒนา (Research and Development ) ผูวิจัยจึงไดกําหนดแบบแผนโดยใชแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest – Posttest Design คือ การออกแบบการใหความรูโดยมีการทดสอบกอนการเรียนรู (Pretest) จากนั้นใหนักศึกษาไดศึกษาบทเรียนวีดิทัศนแลวจึงทําแบบทดสอบหลังการเรียนรู ( Posttest) ตามแบบแผนดังนี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 51: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

40

ตารางท่ี 1 แบบแผนการวิจัยแบบ One-group Pretest-Posttest Design

T 1 X T 2 T 1 แทน การทดสอบกอนเรียน T 2 แทน การทดสอบหลังเรียน X แทน การเรียนโดยใชบทเรียนวีดิทัศนเรื่องใชกลองสําหรับผลิตรายการโทรทัศน 4. 4.1 แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางสําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดานสื่อวีดิทัศน 4.2 แบบวัดประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 4.3 บทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 4.4 แบบวัดทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.5 แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 5. 5.1 การสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพ่ือใชในการสอบถามความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญท้ังสองดาน คือ ดานเนื้อหาของวิชาการผลิตรายการโทรทัศน และดานการออกแบบการสรางบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ประเมินผลการวัดผลการเรียนและการออกแบบมีข้ันตอนดังนี้ 5.1.1 ศึกษาจากเอกสารและตําราท่ีเก่ียวของกับการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครง สราง

5.1.2 วิเคราะหโครงสรางรูปแบบสาระสําคัญท้ัง 2 ดาน คือ เนื้อหาวิชาการใชกลองผลิตรายการโทรทัศน และดานการออกแบบการสรางสื่อวีดิทัศน โดยกําหนดขอบเขตเนื้อหาวิชา จุดประสงค กิจกรมการวัดประเมินผล ข้ันตอนการสรางสื่อวีดิทัศนสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพ่ือสอบถามความคิดเห็น 5.1.3 นําไปใหอาจารยท่ีปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง จํานวน 3 ทานเปนผูตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของสํานวนภาษา และใชความเท่ียงตรงเชิงโครงสราง 5.1.4 สรางแบบสัมภาษณ 5.1.5 นําแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางท่ีแกไขแลวเรียบรอยแลวสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและการผลิตวีดิทัศน ดานละ 3 ทาน 5.1.6 วิเคราะหขอมูลเพ่ือหาขอสรุปและความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ โดยสรุปไดดังนี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 52: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

41

1. บทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองผลิตรายการ ควรมีรูปแบบใด

- เปนนรูปแบบสารคดี - มีตัวอยางการสาธิตเทคนิคการใชกลองผลิตรายการ - มีตัวอยางมุมภาพท่ีหลากหลาย - มีกราฟฟค ภาพอนิเมชั่น (Animation) เพ่ือดึงดูดความสนใจจากผูเรียน

- มีสื่อท่ีหลากหลายอยูในตัวสื่อวีดิทัศนเชนภาพนิ่ง ภาพกราฟฟค สิ่งพิมพ - มีดนตรีประกอบท่ีเราใจไมทําใหตัวสื่อดูนาเบื่อ

2. เนื้อหาท่ีนํามาผลิตบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองผลิตรายการควรเนนเนื้อหาดานใด

- สวนประกอบของกลอง - ระบบการทํางานของกลองผลิตรายการ - ลักษะของภาพขนาดของภาพ - มุมภาพท่ีใชในการผลิตรายการ - การจัดองคประกอบภาพ - จริยธรรมจรรยาบรรณของชางภาพ

3. การวัดและการประเมินควรมีลักษณะ

- วัดผลจาการทําแบบทดสอบเพ่ือทดสอบวาผูเรียนเขาใจเรื่องการใชกลองผลิตรายการ โดยแยกเปนเนื้อหาตามหนวยเรียน

- วัดผลจากการทําขอสอบแบบขอเขียนเพ่ือใหผูเรียนอธิบายความเขาใจเรื่องการใชกลองผลิตรายการ

- วัดผลจากผลงานการปฏิบัติ เพ่ือดูความถูกตองของการใชกลองผลิตรายการ 4. ขอเสนอแนะอ่ืนๆ

- ระวังในเรื่องการใชภาษาและอักขระในการบรรยายบท - ควรมีลูกเลนเพ่ือความนาสนใจของตัวสื่อเชนมีเนื้อเรื่องเปนบทละคร - ควรศึกษาและความตองการของกลุมเปาหมายหรือผูเรียนบาง - จัดใหมีการแขงขันการถายภาพดวยกลองผลิตรายการโทรทัศนเพ่ือจูงใจผูเรียน - สอดแทรกความรูดานคุณธรรมและศีลธรรม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 53: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

42

แผนภูมิท่ี 3 ข้ันตอนการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง 5.2

5.2.1. ศึกษาหลักสูตร เนื้อหาวิชา หลักสูตรวิชา TVB 3201 การผลิตรายการโทรทัศน 1

เรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน และหลักการสรางสื่อวีดิทัศน 5.2.2. กําหนดจุดประสงคการเรียนรู โดยใหสอดคลองกับคําอธิบายรายวิชา และจุดประสงค

การเรียนรูของหลักสูตร 5.2.3. นําความเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และการสรางสื่อวีดิทัศนท่ีไดจากการ

สัมภาษณแบบมีโครงสรางมาวิเคราะหเพ่ือเปนแนวทางในการจัดทํา storyboard 5.2.4. จัดทํา storyboard รวมท้ังรายละเอียดท่ีเก่ียวกับการวัดประเมินผล นําไปปรึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสม และความถูกตองในการสรางบทเรียนวีดิทัศนและนํา

ศึกษาจากเอกสารและตําราท่ีเก่ียวของวิธีการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง

วิเคราะหโครงสรางรูปแบบสาระสําคัญดานเนื้อหาและดานการสรางบทเรียนวีดิทัศน

อาจารยท่ีปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของสํานวนภาษาและความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง

สรางแบบสัมภาษณ

สัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และดานการสรางบทเรียนวีดิทัศนดานละ 3 ทาน

วิเคราะหขอมูลเพ่ือหาขอสรุปและความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

Page 54: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

43

ขอสรุปมาปรับปรุงแกไข storyboard กอนนําไปสรางบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน

5.2.5 นํา Storyboard ไปใหผูเชี่ยวชาญ ดานเนื้อหา เพ่ือหาความสอดคลองกับบทเรียนดวยดัชนีความสอดคลอง ( IOC : Index of Item Objective Congruence) โดยกําหนดเกณฑการพิจารณาดังนี้

เห็นวาสอดคลอง ใหคะแนน + 1 ไมแนใจ ใหคะแนน 0 เห็นวาไมสอดคลอง ใหคะแนน - 1 นําขอมูลท่ีรวบรวมไดจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญมาคํานวณหาคา IOC โดยใชดัชนีความ

สอดคลอง สอดคลอง (IOC : Index of Item Objective Congruence) ของผูเชี่ยวชาญมาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง แลวเลือกคาดัชนีความสอดคลองต้ังแต 0.5 ข้ึนไป พบวา คาดัชนีความสอดคลองของบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศนท่ีได อยูในชวง 0.67 – 1.00 ซ่ึงอยูในเกณฑท่ียอมรับได ไดผลดังตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 คาดัชนีความสอดคลองดานเนื้อหาของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา (n=3)

รายการประเมิน

ความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ

รวม IOC ความหมาย คนท่ี 1

คนท่ี 2

คนท่ี 3

1. ความสอดคลองเหมาะสมกับหลักสูตร 1 1 1 3 1 สอดคลอง 2. ความสอดคลองเหมาะสมกับธรรมชาติวิชา 1 1 1 3 1 สอดคลอง 3. ความสอดคลองเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 1 1 0 2 0.67 สอดคลอง 4. ความสอดคลองเหมาะสมกับสภาพปจจุบันและปญหา 1 1 1 3 1 สอดคลอง 5. ความเหมาะสมตอกระบวนการพัฒนาผูเรียน 1 0 1 2 0.67 สอดคลอง 6. ความเหมาะสมของเน้ือหา 1 1 1 3 1 สอดคลอง 7. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 0 1 1 2 0.67 สอดคลอง 8. ความเหมาะสมของการใชภาษา 1 1 1 3 1 สอดคลอง 9. ความเหมาะสมกับความสนใจของนักศึกษา 1 1 0 2 0.67 สอดคลอง 10. ความเหมาะสมของรูปแบบ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

เฉลี่ย 0.9 0.9 0.8 2.6 0.87 สอดคลอง

จากตารางท่ี 2 แสดงใหเห็นถึงความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาโดยเฉลี่ยรวมคาดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.87 สรุปไดวาผลการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนเพ่ือหาความสอดคลองและเหมาะสมกับรายวิชาโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 3 คน ใหความเห็นวามีความสอดคลองและเหมาะสมกับรายวิชา

Page 55: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

44

5.2.6. ดําเนินการสรางบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนเสนอตออาจารยท่ีปรึกษา เพ่ือตรวจสอบความถูกตอง

5.2.7. นําบทเรียนวีดิทัศนท่ีไดไปตรวจสอบประเมินคุณภาพสื่อ (Quality Evaluation) โดยนําไปใหผูเชี่ยวชาญดานการสรางสื่อวีดิทัศนจํานวน 3 ทาน และผูเชี่ยวชาญดานการสอนวิชาการผลิตรายการโทรทัศน จํานวน 3 ทาน ตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสมของบทเรียนวีดิทัศนและความถูกตองของเนื้อหา และทําการประเมินคุณภาพของบทเรียนวีดิทัศนโดยใชแบบประเมินคุณภาพสื่อท่ีสรางข้ึน มีมาตราประเมินคา 5 ระดับดังนี้

5 หมายถึง บทเรียนวีดิทัศน มีคุณภาพระดับดีมาก 4 หมายถึง บทเรียนวีดิทัศน มีคุณภาพระดับดี 3 หมายถึง บทเรียนวีดิทัศน มีคุณภาพระดับปานกลาง 2 หมายถึง บทเรียนวีดิทัศน มีคุณภาพระดับพอใช 1 หมายถึง บทเรียนวีดิทัศน มีคุณภาพระดับควรปรับปรุง โดยผูวิจัยไดกําหนดเกณฑท่ีใชในการแปลความหมาย โดยใชแนวคิดของเบสท (Best 1986 :

195) การใหความหมายโดยการใหคาเฉลี่ยเปนรายดานและรายขอ ดังนี้ ระดับอยูระหวาง 4.50 – 5.00 มีคา ดีมาก ระดับอยูระหวาง 3.50 – 4.49 มีคา ดี ระดับอยูระหวาง 2.50 – 3.49 มีคา ปานกลาง ระดับอยูระหวาง 1.50 – 2.49 มีคา พอใช ระดับอยูระหวาง 1.00 – 1.49 มีคา ควรปรับปรุง

การสรางแบบประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนมีข้ันตอนตอไปนี้

1. ศึกษาหลักการสรางแบบประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากเอกสาร ตําราและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

2. กําหนดรูปแบบของแบบประเมินคุณภาพสื่อวีดิทัศน ออกเปน 2 สวน คือแบบปลายปดมีลักษณะการตอบแบบมาตราสวนประเมิน (Rating Scale) 5 ระดับ และแบบสอบถามปลายเปดเพ่ือสอบถามความคิดเห็น

3. นําแบบประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศน ท่ีสรางเสร็จแลวไปใหอาจารยท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม และปรับปรุงแกไขขอบกพรองตามท่ีไดรับคําแนะนํา

4. นําแบบประเมินท่ีผานการปรับปรุงแลวไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบหาความเท่ียงตรงของแบบประเมิน โดยการหาคาดชันีประสิทธิผล (IOC) แลวนํามาปรับปรุงแกไขเพ่ิมเติม

5. ไดแบบประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศน ( รายละเอียดคาความสอดคลองแสดงในภาคผนวก ค : หนา 123 - 126 )

Page 56: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

45

จากข้ันตอนการสรางแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนวีดิทัศนสามารถเขียนเปนแผนภูมิไดดังนี้

ศึกษาหลักการสรางแบบประเมินจากเอกสารและตําราท่ีเก่ียวของ

กําหนดรูปแบบของแบบประเมิน

ไดแบบประเมินท่ีพรอมใชงาน

แผนภูมิท่ี 4 ข้ันตอนการสรางแบบประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนวีดิทัศน

ผลการประเมินคุณภาพสื่อโดยผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนวีดิทัศน 3 ทาน ไดผลดังตารางท่ี 3 และผูเชี่ยวชาญดานการสอน 3 ทาน ไดผลดังตารางท่ี 4

ตารางท่ี 3 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานสื่อวีดิทัศน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญ

X S.D. แปลผล 1 2 3

1.1 เหมาะสมกับผูเรียน 5 5 4 4.7 0.58 ดีมาก

1.2 ความเหมาะสมของเวลาในการนําเสนอ 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

1.3 การนําเขาสูเรื่อง เสนอเน้ือหา และสรุป 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

2.1 เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีกําหนด 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

2.2 เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 5 5 4 4.7 0.58 ดีมาก

2.3 เนื้อหาถูกตอง และมีคุณคาทางวิชาการ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

2.4 ชวยสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และศิลปวัฒนธรรม 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

ไมขัดตอความม่ันคงของชาติ

ปรับปรุง

นําแบบประเมินเสนออาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม

Page 57: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

46

ตารางท่ี 3 (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ

X S.D. แปลผล 1 2 3

3.1 ใชภาษาถูกตองชัดเจน 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

3.2 ใชภาษาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน 4 4 5 4.33 0.58 ดี

3.3 ใชศัพทเฉพาะเหมาะสมกับผูเรียน 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

4.1 ภาพ

- ขนาดและสีของตัวอักษร 5 5 5 5 0 ดีมาก

- ขนาดของภาพ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

- การใหรายละเอียดของภาพ 4 4 5 4.33 0.58 ดี

- การจัดองคประกอบศิลป 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

- การสื่อความหมาย 5 4 4 4.33 0.58 ดี

- การใชเทคนิคพิเศษ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

4.2 เสียง

- ความชัดเจนและความดังของเสียงดนตรี 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

- ความสัมพันธของภาพและเสียงประกอบ 5 5 4 4.67 0.58 ดีมาก

เฉลี่ย 4.6 4.7 4.7 4.80 0.26 ดีมาก จากตารางท่ี 3 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนวีดิทัศน

ไดใหคาเฉลี่ยเทากับ 4.80 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.26 เม่ือนํามาเปรียบเทียบคาเฉลี่ยจะอยูในชวง 4.50 – 5 หมายถึง สื่อมีคุณภาพอยูในระดับดีมาก แสดงวาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน ผานเกณฑการประเมินคุณภาพของสื่อโดยผูเชี่ยวชาญใหขอเสนอแนะเพ่ิมเติมวาควรปรับรูปแบบการใสเสียงดนตรีใหมีความสอดคลองกับรูปแบบของเนื้อหา เพ่ือใหมีความตอเนื่อง ซ่ึงผูวิจัยไดนําขอเสนอแนะดังกลาวมาปรับปรุงเพ่ือใหไดสื่อท่ีมีคุณภาพ

Page 58: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

47

ตารางท่ี 4 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานผูสอน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญ

X S.D. แปลผล 1 2 3

1.1 เหมาะสมกับผูเรียน 5 5 5 5 0 ดีมาก

1.2 ความเหมาะสมของเวลาในการนําเสนอ 4 5 4 4.33 0.58 ดีมาก

1.3 การนําเขาสูเรื่อง เสนอเน้ือหา และสรุป 5 4 5 4.67 0.58 ดีมาก

2.1 เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีกําหนด 5 5 5 5 0 ดีมาก

2.2 เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 5 5 5 5 0 ดีมาก

2.3 เนื้อหาถูกตอง และมีคุณคาทางวิชาการ 5 4 4 4.33 0.6 ดีมาก 2.4 ชวยสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และศิลปวัฒนธรรม 5 5 5 5 0 ดีมาก

ไมขัดตอความม่ันคงของชาติ

3.1 ใชภาษาถูกตองชัดเจน 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

3.2 ใชภาษาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

3.3 ใชศัพทเฉพาะเหมาะสมกับผูเรียน 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

4.1 ภาพ

- ขนาดและสีของตัวอักษร 5 5 5 5 0 ดีมาก

- ขนาดของภาพ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

- การใหรายละเอียดของภาพ 4 5 4 4.33 0.58 ดีมาก

- การจัดองคประกอบศิลป 5 5 5 5.00 0.00 ดีมาก

- การสื่อความหมาย 5 4 4 4.33 0.58 ดีมาก

- การใชเทคนิคพิเศษ 5 5 5 5 0 ดีมาก

4.2 เสียง

Page 59: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

48

ตารางท่ี 4 (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ

X S.D. แปลผล 1 2 3

- ความชัดเจนและความดังของเสียงดนตรี 4 4 5 4.33 0.58 ดี

- ความสัมพันธของภาพและเสียงประกอบ 5 4 5 4.67 0.58 ดีมาก

เฉลี่ย 4.5 4.6 4.7 4.74 0.29 ดีมาก

จากตารางท่ี 4 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานผูสอนวิชาการใชกลองผลิตรายการโทรทัศนไดใหคาเฉลี่ยเทากับ 4.74 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.29 เม่ือนํามาเปรียบเทียบคาเฉลี่ยจะอยูในชวง 4.50 – 5 หมายถึง สื่อมีคุณภาพอยูในระดับดีมาก แสดงวาสื่อวีดิทัศนเรื่องการใชกลองสําหรับผลิตรายการโทรทัศน ผานเกณฑการประเมินคุณภาพของสื่อ

นําบทเรียนวีดิทัศนท่ีผานการประเมินโดยผูเชี่ยวชาญไปหาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน โดยทดลองกับนักศึกษาชั้นปท่ี 2 ปการศึกษา 2556 จํานวน 3 คน โดยคัดเลือกนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนสูง กลาง ต่ํา อยางละ 1 คน โดยดูจากคะแนนในภาคเรียนท่ีผานมาท่ีกําลังศึกษาอยูในชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา แลวนํามาตรวจสอบหาประสิทธิภาพสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน ตามเกณฑ 80/80 เพ่ือตรวจสอบสํานวนภาษาและลําดับของเนื้อหาใหเหมาะสม ปรากฏดังตารางตอไปน้ี

ตารางท่ี 5 ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน รายบุคคลจํานวน 3 คน

คนท่ี

ระหวางเรียนชุดท่ี

รวม (30)

รอยละ E1

หลังเรียน (30)

รอยละ E2

1 (10)

2 (10)

3 (10)

1 8 8 6 22 73.33 27 90.00

2 6 6 6 18 60 18 60.00

3 5 8 6 19 63.33 20 66.67

รวม 19 22 18 59 65.55 65 72.22

E1 = 65.55 E2 = 72.22

Page 60: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

49

จากตารางท่ี 5 พบวา ผลของการทดสอบระหวางเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 65.55 และผลการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 72.22 แสดงวาประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน มีประสิทธิภาพ 65.55/72.22 ยังไมเปนไปตามเกณฑ 80/80 แสดงวาสื่อบทเรียนวีดิทัศนท่ีสรางข้ึนยังไมมีประสิทธิภาพตามเกณฑ จึงไดนําขอบกพรองท่ีไดมาแกไขตอไป ตารางท่ี 6 ขอบกพรองและการปรับปรุงของสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน จากการทดลองใชครั้งท่ี 1

1. เนื้อหาบางตอนเร็วไป ปรับระยะการดําเนินเรื่องใหสมํ่าเสมอ 2. เสียงบรรยายเบาไป เพ่ิมเสียงบรรยายใหดังข้ึน

5.2.9. หาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน โดยทดลองกับ

นักศึกษาชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2556 จํานวน 9 คน แลวนํามาตรวจสอบหาประสิทธิภาพบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ตามเกณฑ 80/80 เพ่ือตรวจสอบในดานระยะเวลา ปรากฏดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 7 ประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน เร่ือง การใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน แบบกลุมเล็กจํานวน 9 คน ตารางท่ี 7 ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน รายบุคคลจํานวน 9 คน

คนท่ี

ระหวางเรียนชุดท่ี รวม (30)

รอยละ E1

หลังเรียน (30)

รอยละ E2

1 (10)

2 (10)

3 (10)

1 10 7 9 26 86.67 25 83.33

2 9 8 7 24 80.00 28 93.33

3 7 8 10 25 83.33 24 80.00

4 8 8 8 24 80.00 28 93.33

5 9 6 6 21 70.00 16 53.33

6 9 9 8 26 86.67 25 83.33

7 7 9 8 24 80.00 24 80.00

8 9 6 6 21 70.00 23 76.67

Page 61: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

50

ตารางท่ี 7 (ตอ)

คนท่ี

ระหวางเรียนชุดท่ี รวม (30)

รอยละ E1

หลังเรียน (30)

รอยละ E2

1 (10)

2 (10)

3 (10)

9 9 10 8 27 90.00 26 86.67

รวม 77 71 70 218 80.74 219 81.11

E1 = 80.74 E2 = 81.11

จากตารางท่ี 7 พบวา ผลของการทดสอบระหวางเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80.74 และผลการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 81.11 แสดงวาประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน มีประสิทธิภาพ 80.74 /81.11 สูงกวาเกณฑ 80/80 แสดงวาสื่อวีดิทัศนท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนด และไดนําขอบกพรองท่ีไดมาแกไขตอไป ตารางท่ี 8 ขอบกพรองและการปรับปรุงของสื่อวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน จากการทดลองใชครั้งท่ี 2

1. การบรรยายเร็วไป ปรับเสียงบรรยายใหมใหชาลง 2. เสียงไมตรงกับภาพ ปรับแกไขใหเสียงตรงกับภาพ

5.2.10. ไดสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน เพ่ือหาประสิทธิภาพแบบ

ภาคสนาม (Field Tryout) โดยนําไปทดลองกับนักศึกษาชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2556 เพ่ือหาประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน โดยนําผลจากแบบทดสอบระหวางเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน มาตรวจสอบหาประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนวีดิทัศน 80/80

80 ตัวแรก (E1) คือคาเฉลี่ยรอยละ 80 ของคะแนนท่ีนักศึกษาทําไดจากแบบทดสอบระหวางเรียน

80 ตัวหลัง (E2) คือคาเฉลี่ยรอยละ 80 ของคะแนนที่นักศึกษาทําไดจากแบบทดสอบหลังเรียน

Page 62: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

51

จากข้ันตอนการสรางและการหาคุณภาพของสื่อวีดิทัศนสามารถสรุปเปนแผนภูมิได ดังนี้

แผนภูมิท่ี 5 ข้ันตอนการสราง และหาคุณภาพบทเรียนวีดิทัศน

กําหนดจุดประสงคการเรียนรู

นําความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และดานการออกแบบส่ือวีดิทัศนท่ีไดจากการสัมภาษณมาวิเคราะหเพ่ือเปนแนวทางในการจัดทํา Storyboard

นํา Storyboard สงอาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมปรับปรุงแกไข

ปรับปรุง ปรับปรุง ผานการตรวจสอบ

สรางบทเรียนวีดิทัศน

ผูเชี่ยวชาญดานการสอน 3 ทาน ผูเชี่ยวชาญดานสื่อวีดิทัศน 3 ทาน

ประเมินสื่อวีดิทัศนและปรับปรุงแกไข

หาประสิทธิภาพแบบรายบุคล (Individual Tryout) 3 คน เกณฑ 80/80 แลวนํามาปรับปรุงแกไข

หาประสิทธิภาพแบบกลุม (Small Group Tryout) 9 คน เกณฑ 80/80 แลวนํามาปรับปรุงแกไข

ไดบทเรียนวีดิทัศนสําหรับนําไปทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุมตัวอยาง

ศึกษาหลักสูตร ขอบขาย และเนื้อหาวิชาการผลิตรายการโทรทัศน รวมถึงรูปแบบการจัดการเรียนรูวิธีการ และหลักการสรางบทเรียนวีดิทัศน

หาคา IOC Storyboard

Page 63: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

52

5.4 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนกลุมสาระการเรียนรู

วิชาศิลปะ เรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กอนเรียนและหลังเรียน ดําเนินการสรางตามลําดับข้ันตอนดังตอไปนี้

5.4.1. ศึกษาเกณฑในการสรางแบบทดสอบจากเอกสารวัดและประเมินผลตางๆ ตามหลักสูตร ผลการเรียนรูรายวิชาศิลปะ และสรางตารางวิเคราะหเนื้อหาเพ่ือนําไปสรางตามแบบทดสอบ โดยจากเนื้อหา เร่ืองการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน

5.4.2. สรางแบบทดสอบใหสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีตั้งไว จํานวน1 ฉบับ ซ่ึงแบบทดสอบมีลักษณะเปนแบบชนิด 4 ตัวเลือก ประมาณ 60 ขอ โดยใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงคการเรียนรูท้ังหมด ซ้ึงมีการกําหนดคาของคะแนน ดังนี้ ตอบถูกได 1 คะแนน และตอบผิดได 0 คะแนน

5.4.3. นําแบบทดสอบท่ีสรางข้ึนเรียบรอยแลวไปใหผูเชี่ยวชาญ เพ่ือตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validiaty) ความชัดเจน ความถูกตองของภาษาท่ีใช และความสอดคลองดวยดัชนีความสอดคลอง (IOC: Index of Item Objective Congruence) โดยกําหนดเกณฑการพิจารณา ดังนี้

เห็นวาสอดคลอง ใหคะแนน +1 ไมแนใจ ใหคะแนน 0 เห็นวาไมสอดคลอง ใหคะแนน -1

นําคะแนนท่ีไดจากผูเชียวชาญมาคํานานหาคา IOC ใชดัชนีความสอดคลอง (index of Item Objective Congruence) มาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลองแลวเลือกคาดัชนีความสอดคลองตั้งแต 0.5 ข้ึนไป

5.4.4. นําแบบทดสอบท่ีผานเกณฑไปทดลองใชกับนักศึกษาชั้นปท่ี 3 สาขานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ท่ีเคยเรียน เรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน ในวิชาการผลิตรายการโทรทัศนมาแลว จํานวน 30 คน

5.4.5. นําคะแนนท่ีไดมาวิเคราะหหาคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบรายขอแลวเลือกขอสอบท่ีมีความยากงาย (p) ระหวาง 0.20 - 0.80 และมีอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.20 ข้ึนไป เพ่ือใชเปนเกณฑในการคัดเลือกขอสอบที่จะนําไปทดลองใชกับกลุมทดลองเพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวาขอสอบมีคาอํานาจจําแนกอยูในชวง 0.20 – 0.80 โดยใชสูตรคํานวณ (พวงรัตน ทวีรัตน 2543:130) เลือกแบบทดสอบท่ีมีคาความยากงายและอํานาจจําแนกตามเกณฑมาใชจํานวน 30 ขอ

5.4.6. นําแบบทดสอบท่ีมีคาความยากงาย และคาอํานาจจําแนกตามเกณฑ และนํามาหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบโดยใชสูตรของคูเดอร-ริชารด KR-20 ( แสดงรายละเอียดในภาคผนวก ค : หนา 121 – 122 )

Page 64: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

53

5.4.7. นําแบบทดสอบท่ีผานเกณฑแลวไปทดลองใชกับเด็กนักศึกษาชั้นชั้นปท่ี 3 สาขานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2556

จากข้ันตอนการสรางและหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังสามารถสรุปเปนแผนภูมิไดแผนดังนี้

ศึกษาการสรางแบบทดสอบแบบปรนัย วิเคราะห ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู สรางแบบทดสอบชนิด 4 ตัวเลือก โดยสรางใหครอบคลุมเนื้อหา และจุดประสงคการเรียนรู ปรับปรุงแกไข เสนอผูเชียวชาญจํานาน 3 ทาน ตรวจสอบ ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)

นําแบบทดสอบท่ีสรางข้ึน มาแกไขปรับปรุงตามคําแนะนําของผูเชียวชาญดานเนื้อหา

นําแบบทดสอบท่ีสรางข้ึนไปทดลองกับนักศึกษาชั้นปท่ี 3 ทีเคยเรียนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

นําผลท่ีไดจากการตรวจมาหาคาความยากงาย(p) และคาอํานาจจําแนก (r) เลือกขอท่ีเปนไดตามเกณฑ

คัดเลือกแบบทดสอบไว 30 ขอ นําแบบทดสอบไปคํานานหาคาความนาเชื่อม่ัน (Reliability)

นําแบบทดสอบไปใชในการในการทดลองจริง แผนภูมิท่ี 6 ข้ันตอนการสราง และหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอน และหลังเรียน

ไมผาน

ผาน

Page 65: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

54

5.5 การสรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา เพ่ือใชในการสอบถามนักศึกษาเก่ียวกับ

บทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน มีข้ันตอนและโครงสรางในการพัฒนาดังนี้ 5.5.1. ศึกษาหลักเกณฑ วิธีการ ในการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นจากเอกสาร และ

ตําราตางๆ ท่ีเก่ียวของ 5.5.2. สรางแบบสอบถามความคิดเห็นเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตาม

หลักการของลิเคอรท (Likert) คือ มีความเหมาะสมในระดับดีมาก ดี ปานกลาง พอใช และตองปรับปรุง จํานวน 10 ขอ การกําหนดคาระดับของขอความในแบบสอบถามความคิดเห็นมีดังนี้

ระดับคะแนน 5 มีคาเทากับ เห็นดวยมากที่สุด ระดับคะแนน 4 มีคาเทากับ เห็นดวยมาก ระดับคะแนน 3 มีคาเทากับ เห็นดวย ระดับคะแนน 2 มีคาเทากับ พอใช ระดับคะแนน 1 มีคาเทากับ ตองปรับปรุง 5.5.3. นําแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีสรางข้ึน ไปใหอาจารยท่ีปรึกษาตรวจสอบความ

เหมาะสมของขอคําถามแลวนําขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไข 5.5.4. นําแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีผานเกณฑเรียบรอยแลวไปเก็บขอมูลกับนักศึกษาท่ี

เปนกลุมตัวอยางในการวิจัย แลวดําเนินการวิเคราะหผล ตารางท่ี 9 แสดงเกณฑเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น

การใหคะแนน คะแนนเฉล่ีย ระดับความคิดเห็น

5 4.50 – 5.00 เห็นดวยมากท่ีสุด 4 3.50 – 4.49 เห็นดวยมาก 3 2.50 – 3.49 เห็นดวย 2 1.50 – 2.49 พอใช 1 1.00 – 1.49 ตองปรับปรุง

Page 66: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

55

จากข้ันตอนการสรางและหาคุณภาพแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน สรุปเปนแผนภูมิไดดังนี้

ศึกษาหลักเกณฑ วิธีการ ในการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นจากเอกสาร และตําราตางๆท่ีเก่ียวของ

กําหนดโครงสรางและสรางแบบสอบถามความคิดเห็น

สรางแบบสอบถามความคิดเห็นเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตามหลักการของลิเคอรท (Likert) จํานวน 10 ขอ

เสนออาจารยท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกตอง ปรับปรุงแกไข

นําแบบสอบถามความคิดเห็นมาปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ

นําแบบสอบถามความคิดเห็นไปทดลองใชจริง แผนภูมิท่ี 7 ข้ันตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

ไมผาน

ผาน

Page 67: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

56

ดําเนินการใชบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน นักศึกษาชั้นปท่ี 2 สาขาวิชานิเทศ

ศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2556 โดยมีวิธีในการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้

6.1. ชี้แจงทําความเขาใจ และกําหนดขอตกลงในการใชสื่อวีดิทัศนกับนักศึกษาแลวทําการทดสอบกอนเรียน (Pretest) ดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางเรียน เรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน

6.2. ดําเนินการจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ดังนี้ 6.2.1 ใหนักศึกษาทําแบบทดสอบกอนเรียนและพูดคุยถึงความสําคัญของการเรียน

การสอนวิชาการผลิตรายการโทรทัศน จากนั้นใหนักศึกษาศึกษาดวยตนเองจากสื่อวีดิทัศนซ่ึงมีผูวิจัยคอยใหคําแนะนําเม่ือเกิดปญหาหรือมีขอสงสัยในบทเรียน ใชเวลาประมาณ 50 นาที 6.2.2 ใหนักศึกษาศึกษาสื่อวีดิทัศนตอนท่ี 1 สวนประกอบการทํางานและชนิดของกลอง โดยนักศึกษาศึกษาดวยตนเองจากส่ือวีดิทัศนซ่ึงมีผูวิจัยคอยใหคําแนะนําเม่ือเกิดปญหาหรือมีขอสงสัยในบทเรียน และทําแบบทดสอบทายบทเรียน ใชเวลา 50 นาที 6.2.3 ใหนักศึกษาศึกษาสื่อวีดิทัศนตอนท่ี 2 เรื่องมุมภาพและขนาดภาพและทําแบบทดสอบทายบทเรียน ใชเวลา 50 นาที

6.2.4 ใหนักศึกษาศึกษาสื่อวีดิทัศนตอนท่ี 3 การเคลื่อนกลองและการควบคุมกลองโดยนักศึกษาศึกษาดวยตนเองจากสื่อวีดิทัศนซ่ึงมีผูศึกษาคอยใหคําแนะนําเม่ือเกิดปญหาหรือมีขอสงสัยในบทเรียน และทําแบบทดสอบทายบทเรียน ใชเวลา 50 นาที

6.3. เม่ือผูเรียนศึกษาบทเรียนครบแลวใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน จํานวน 30 ขอ แลวนําผลการทดสอบกอนและหลังเรียน มาตรวจสอบและเปรียบเทียบผลการเรียนรูของนักศึกษา โดยใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรอยละ

6.4. ใหผูเรียนทําแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน แลวนําผลท่ีไดไปหาคาเฉลี่ยเพ่ือเทียบกับเกณฑการประเมินความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอสื่อวีดิทัศน

Page 68: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

57

จากข้ันตอนดังกลาวเขียนเปนแผนภูมิไดดังนี้

นักศึกษาทดสอบกอนเรียน (Pre-test)

นักศึกษาเรียนดวยสื่อวีดิทัศน

นักศึกษาทดสอบหลังเรียน(Post-test)

นักศึกษาทําแบบสอบถามความคิดเห็น

สรุปรายงานผล

แผนภูมิท่ี 8 แสดงข้ันตอนการดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล

คาสถิติท่ีใชในการวิเคราะหและประเมินผลการทดลองของการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน

เรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน โดยการใชโปรแกรม SPSS ดวยวิธีการทางสถิติดังนี้

7.1 การประเมินความสอดคลองเชิงเนื้อหากับวัตถุประสงค โดยวิเคราะหหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Consistency : IOC)

7.2 ประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยวิเคราะหหาความยากงาย คาอํานาจ จําแนกและหาคาความเชื่อม่ัน โดยใชสูตร KR-20 ของ Kuder Richardson

7.3 การประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศนเรื่องการใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน โดยใชสูตร E1/E2 (เสาวนีย สิกขาบัณฑิต.2528)

7.4 การคํานวณหาคาสถิติพ้ืนฐาน โดยวิเคราะหหาคาเฉลี่ย X หาคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบคาที (t-test) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนกับหลังเรียน

Page 69: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

58

ผูวิจัยใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังนี้ 1. คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน SD สูตรหาคาเฉลี่ย

nX

X

เม่ือ X หมายถึง คาเฉลี่ยเลขคณิต X หมายถึง ผลรวมของขอมูลท้ังหมด

n หมายถึง จํานวนกลุมตัวอยาง สูตรหาคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

S.D. = 1

22

nnxxn

เม่ือ S.D. หมายถึง สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน x หมายถึง ผลรวมของคะแนนสอบ

2x หมายถึง ผลรวมของคะแนนทั้งหมด

n หมายถึง จํานวนกลุมตัวอยาง 2. คาความสอดคลอง สูตรหาคาความสอดคลอง

N

RIOC

เม่ือ IOC แทน ดัชนีความสอดคลอง R แทน ผลคะแนนรวมความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญท้ังหมด

N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ 3.หาคาประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน 80/80 การคิดคา และ E1 ของสื่อวีดิทัศนท่ีสรางข้ึน คํานวณคาทางสถิติ โดยใชสูตรตอไปน้ี

E 1 =

AN

X 100

E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ

Page 70: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

59

X คือ คะแนนรวมของแบบทดสอบระหวางเรียน

A คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบระหวางเรียน N คือ จํานวนนักศึกษาท้ังหมด การคิดคา และ E2 ของสื่อวีดิทัศนท่ีสรางข้ึน คํานวณคาทางสถิติ โดยใชสูตรตอไปน้ี

E 2 =

BN

X 100

E2 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ X คือ คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน

B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน N คือ จํานวนนักศึกษาท้ังหมด 4. หาคาความเชื่อม่ัน สูตรหาคาความเชื่อม่ันดวยวิธีของคูเดอร – ริชารดสัน

211 S

pqk

kru

เม่ือ ru แทน ความเชื่อม่ันของแบบทดสอบท้ังฉบับ

k แทน จํานวนของแบบทดสอบท้ังฉบับ p แทน อัตราสวนของผูตอบถูกในขอนั้น q แทน อัตราสวนของผูตอบผิดในขอนั้น

S 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน

5. การวิเคราะหความแตกตางระหวางคะแนนของแบบทดสอบกอนและหลังเรียน

โดยใช t-test Dependent Samples

Page 71: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

60

สูตร

t =

1

22

nDDn

D

เม่ือ df = n-1

สัญลักษณของสูตร t-test Dependent Samples มีความหมาย ดังนี้ D แทน ความแตกตางของคะแนนแตละคู N แทน จํานวนคูท้ังหมด

Page 72: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

61

4

การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา” โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

1. เพ่ือศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพชองบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน ดวยบทเรียนวีดิทัศน

เรื่อง การใชกลองสําหรับผลิตรายการโทรทัศนสําหรับนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชานิเทศศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

3. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองสําหรับผลิต

รายการโทรทัศนสําหรับนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ในการรายงานผล การวิเคราะหขอมูลนั้น ผูวิจัยไดสรุปผลการวิเคราะหขอมูลแบงออกเปน 3

ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ตอนท่ี 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียน และหลังเรียน ดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Page 73: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

62

ผูวิจัยไดดําเนินการใชบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กับนักศึกษา 30 คน ท่ียังไมเคยเรียนเรื่องการใชกลองโทรทัศนมากอน นําผลการทําแบบฝกหัดระหวางเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนท่ีไดจากการเรียนดวยบทเรียนวีดิ ทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ไดผลดังนี้ ตารางท่ี 10 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

E /E2

30 ครั้งท่ี 1 (10) ครั้งท่ี 2 (10) ครั้งท่ี 3 (10) รวม (30) 783

86.78/87 เฉลี่ย 255 265 261 781 คิดเปนรอยละ 86.78 87

จากตารางที่ 10 พบวานักศึกษาไดคะแนนเฉลี่ยทดสอบระหวางเรียนและหลังเรียน ไดคา E1/E2 เทากับ 86.78/87แสดงวาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว 80/80 ดังนั้นสรุปไดวาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนมีคา E1/E2 เทากับ 86.78/87 แสดงวาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่องประวัติศาสตรศิลปกรรมไทยท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑท่ีตั้งไว 80/80

Page 74: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

63

2

ผลจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาท่ีเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่อง

การใชกลองโทรทัศน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

จํานวน 30 คน ดวยขอสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก แบบฉบับเดียวสอบกอนเรียนและหลังเรียน

จํานวน 30 ขอ โดยทดสอบกอนการใช มีคาเฉลี่ยเทากับ 6.90 และทดสอบหลังการใช มีคาคะแนน

เฉลี่ยเทากับ 26.13 และนําคะแนนเฉลี่ยท่ีไดจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและ

หลังเรียนบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปรียบเทียบโดยใชคา (t-test dependent) ดังตารางท่ี 11

ตารางท่ี 11 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

S.D. t p

กอนเรียน 30 207 6.9 2.32 38.48 .000

หลังเรียน 30 783 26.13 2.01 *มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

จากตารางที่ 11 แสดงใหเห็นวาคะแนนผลสัมฤทธิ์กอนเรียนของนักศึกษามีคาเฉลี่ย ( ) เทากับ 6.9 คะแนนผลสัมฤทธิ์หลังการเรียน มีคาเฉลี่ย ( ) เทากับ 26.13 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D) กอนเรียนเทากับ 2.32 หลังเรียนเทากับ 2.01 สวนคาสถิติ t มีคาเทากับ 38.48 ซ่ึงแสดงใหเห็นวานักศึกษามีผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ดังนั้นสรุปไดวานักศึกษาท่ีเรียนโดยใชบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมีคะแนนสอบหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 แสดงวานักศึกษามีความกาวหนาทางการเรียนมากข้ึนหลังจากเรียนโดยใชบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ท่ีผูวิจัยสรางข้ึน

Page 75: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

64

ตารางท่ี 12 ความคิดเห็นของนักศึกษาตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน (n=30)

ระดับคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็น ( )

คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D.)

ระดับ การประเมิน

ลําดับ

1 สื่อวีดิทัศนนี้มีความนาสนใจ 4.87 0.35 เห็นดวยมากท่ีสุด 3

2 เนื้อหาท่ีเรียนเขาใจงาย 4.90 0.31 เห็นดวยมากท่ีสุด 2

3 ระยะเวลากับเนื้อหามีความเหมาะสม 4.93 0.25 เห็นดวยมากท่ีสุด 1

4 ภาพ เสียง และเนื้อเรื่องมีความเหมาะสม 4.90 0.31 เห็นดวยมากท่ีสุด 2

5 ภาพกับคําบรรยายทําใหเขาใจไดเร็วข้ึน 4.47 0.51 เห็นดวยมาก 7

6 การจัดลําดับภาพมีความเหมาะสม 4.83 0.38 เห็นดวยมากท่ีสุด 4

7 เสียงคําบรรยายชัดเจนเขาใจงาย 4.57 0.50 เห็นดวยมากท่ีสุด 6

8 นักเรียนสามารถทบทวนบทเรียนไดดวยตนเอง 4.83 0.38 เห็นดวยมากท่ีสุด 4

9 สื่อวีดิทัศนมีความเหมาะสมที่จะนํามาใชในการสอน 4.87 0.35 เห็นดวยมากท่ีสุด 3

10 สื่อวีดิทัศนนี้ชวยทําใหนักเรียนไดรับความรูเพ่ิมข้ึน 4.70 0.47 เห็นดวยมากท่ีสุด 5

เฉลี่ย 4.79 0.09 เห็นดวยมากท่ีสุด

จากตารางท่ี 12 แสดงใหเห็นถึงความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ผลการประเมินพบวาคาเฉลี่ยของคะแนนความคิดเห็นมีคาตั้งแต 4.47 ถึง 4.93 ซ่ึงมีความหมายวานักศึกษาสวนใหญเห็นดวยกับรายการในแบบสอบถามอยูในระดับเห็นดวยถึงเห็นดวยมาก เม่ือพิจารณาคาเฉลี่ยรวม ( ) มีคาเทากับ 4.79 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) เทากับ 0.09 ซ่ึงหมายถึงนักศึกษาเห็นดวยอยูในระดับเห็นดวยมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวา นักศึกษามีความเห็นดวยมากท่ีสุด 3 ลําดับแรกคือ 1.ระยะเวลากับเนื้อหามีความเหมาะสม 2. เนื้อหาท่ีเรียนเขาใจงาย ภาพ เสียง และเนื้อเรื่องมีความเหมาะสม 3. สื่อวีดิทัศนนี้มีความนาสนใจและสื่อวีดิทัศนมีความเหมาะสมท่ีจะนํามาใชในการสอน โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.93, 4.90 และ 4.87 ตามลําดับ และมีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.25 , 0.31 และ 0.35 ตามลําดับ

Page 76: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

65

5

การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา” โดยมีวัตถุประสงคดังนี้ 1. เพ่ือศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพชองบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน ดวยบทเรียนวีดิทัศน

เรื่อง การใชกลองสําหรับผลิตรายการโทรทัศนสําหรับนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชานิเทศศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

3. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองสําหรับผลิต

รายการโทรทัศนสําหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

1.ตัวแปรตน ไดแกการเรียนจากบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

2. ตัวแปรตาม ไดแก

2.1 ประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนท่ีเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน

2.3 ความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

ประชากร ท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปท่ี 2 คณะนิเทศศาสตรมหาวิทยาลัยราช

ภัฏสวนสุนันทา จํานวน 150 คน

กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปท่ี 2 คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

จํานวน 30 คน ดวยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกวิชาเอก วิทยุโทรทัศน

Page 77: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

66

1. แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางสําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดานสื่อวีดิทัศน

2. แบบวัดประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

3. บทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

4. แบบวัดทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

5. แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

1. วิเคราะหเพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน

ตามเกณฑ 80/80 โดยใชสูตร E1/E2

2. วิเคราะหความแตกตางของคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่อง

การใชกลองโทรทัศนกอนเรียนและหลังเรียนโดยใชสถิติ T-Test แบบ Dependent โดยใชคาเฉลี่ย

( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

จากการวิจัยการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ผลปรากฏเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไวดังนี้

1. บทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พบวามีคาเทากับ 86.78/87 ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80

แสดงวาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ท่ีผูวิจัยไดพัฒนาข้ึนนี้มีประสิทธิภาพและสามารถ

นําไปใชได

2. ผมสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามีความ

แตกตางกัน โดยเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน ท่ีเรียนดวยบทเรียนวีดิ

ทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน( = 26.13 , S.D. = 2.01 ) สูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน

เรื่องการใชกลองโทรทัศน( = 6.90 , S.D. = 2.32 ) กลาวคือ คะแนนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

3. ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน ของนักศึกษา

ระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ผลการวิเคราะหขอมูลของแบบสอบถาม

ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน มีความพึงพอใจอยูใน

ระดับเห็นดวยมาก ( = 4.79 , S.D. = 0.09 )

Page 78: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

67

การวิจัย เรื่องการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาสามารถอภิปรายผล ไดดังนี้

1. ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษา

ระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พบวามีประสิทธิภาพเทากับ 86.78/87

ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 ท่ีกําหนดไว ท้ังนี้ เพราะบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใช

กลองโทรทัศนท่ีผูวิจัยสรางข้ึนไดมีการศึกษาเก็บขอมูลจากผูเชี่ยวชาญดานการผลิตรายการโทรทัศน

ดานครูผูสอนสาขาวิชานิเทศศาสตร และดานการใชกลองผลิตรายการโทรทัศน เพ่ือศึกษาปญหาใน

การเรียนการสอนเรื่องการใชกลองโทรทัศน เพ่ือการผลิตรายการโทรทัศน ดวยวิธีการสัมภาษณแบบมี

โครงสราง เพ่ือใหไดเนื้อหาและแนวทางในการสรางบทเรียนวีดิทัศน ซ่ึงผูเชี่ยวชาญท้ัง 3 ดานไดให

รูปแบบของบทเรียนวาควร เปนรูปแบบสารคดี มีตัวอยางการสาธิตเทคนิคการใชกลองผลิตรายการมี

ตัวอยางมุมภาพท่ีหลากหลายมีกราฟฟค ภาพอนิเมชั่น (Animation) เพ่ือดึงดูดความสนใจจากผูเรียน

มีสื่อท่ีหลากหลายอยูในตัวสื่อวีดิทัศนเชนภาพนิ่ง ภาพกราฟฟค สิ่งพิมพ และมีดนตรีประกอบท่ีเราใจ

ไมทําใหตัวสื่อดูนาเบื่อ สวนดานเนื้อหาท่ีนํามาผลิตบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองผลิตรายการควร

เนนเนื้อหาดาน สวนประกอบของกลอง ระบบการทํางานของกลองผลิตรายการ ลักษณะของภาพ

ขนาดของภาพ มุมภาพท่ีใชในการผลิตรายการ การจัดองคประกอบภาพ และจริยธรรมจรรยาบรรณ

ของชางภาพ สําหรับการวัดและการประเมินควรมีลักษณะวัดผลจาการทําแบบทดสอบเพ่ือทดสอบวา

ผูเรียนเขาใจเร่ืองการใชกลองผลิตรายการ โดยแยกเปนเนื้อหาตามหนวยเรียน วัดผลจากการทํา

ขอสอบแบบขอเขียนเพ่ือใหผูเรียนอธิบายความเขาใจเร่ืองการใชกลองผลิตรายการ นอกจากนี้

ผูเชี่ยวชาญยังไดใหขอเสนอแนะในการสรางบทเรียนคือ ควรระวังในเร่ืองการใชภาษาและอักขระใน

การบรรยายบท ควรมีลูกเลนเพ่ือความนาสนใจของตัวสื่อเชนมีเนื้อเรื่องเปนบทละคร ควรศึกษาและ

ความตองการของกลุมเปาหมายหรือผูเรียนบาง จัดใหมีการแขงขันการถายภาพดวยกลองผลิต

รายการโทรทัศนเพ่ือจูงใจผูเรียน พรอมกับสอดแทรกความรูดานคุณธรรมและศีลธรรม จากนั้นได

สรุปผลจากผูเชี่ยวชาญท้ัง 3 ดาน แลวจึงดําเนินการสรางบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน

โดยนําไปประเมินคุณภาพสื่อโดยผานการตรวจสอบคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญเพ่ือหาคาดัชนีความ

สอดคลองดานเนื้อหา 3 ทาน พบวาบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมี

ความสอดคลองเหมาะสมกับหลักสูตร ความสอดคลองเหมาะสมกับสภาพปจจุบันและปญหา ความ

เหมาะสมของเนื้อหา ความเหมาะสมของการใชภาษา ความเหมาะสมของรูปแบบ ผลการประเมิน

คุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาทั้ง 3 ทานไดใหคาเฉลี่ยรวม( ) มีคาเทากับ 4.8

คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D.)มีคาเทากับ 0.26 หมายถึงบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใช

Page 79: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

68

กลองโทรทัศน ท่ีสรางข้ึนนี้อยูในระดับดีมากและนําสื่อไปประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญดานผูสอน

ท้ัง 3 ทานไดใหคาเฉลี่ยรวม( ) มีคาเทากับ 4.74 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D.)มีคาเทากับ 0.29

หมายถึงบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน ท่ีสรางข้ึนนี้อยูในระดับดีมาก เม่ือนําสื่อท่ีได

ปรับปรุงตามขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญแลวนํามาทดลองกับกลุมเล็กและกลุมใหญและนํามา

ปรับปรุงแกไขขอบกพรองจนไดบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศนท่ีมีประสิทธิภาพ แสดงวา

บทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน ท่ีผูวิจัยสรางข้ึน มีประสิทธิภาพสามารถนําไปใชในการ

เรียนการสอนได นอกจากนี้ยังมีการนําเอาเทคนิคการถายภาพสาธิตเพ่ือชวยใหเนื้อหามีความชัดเจน

มากยิ่งข้ึน จึงทําใหวีดิทัศนมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีกําหนดซ่ึงสอดคลองยุพยงค กลั่นประเสริฐ

(2551: 64) ไดศึกษาเพ่ือหาประสิทธิภาพบทเรียนวีดิทัศนแบบปฏิสัมพันธ เรื่อง การขยายพันธุพืช

รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผลการศึกษาคนควาพบวา บทเรียนวีดิ

ทัศนแบบปฏิสัมพันธ เรื่องการขยายพันธุพืช รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี

2 มีประสิทธิภาพเทากับ 85.75/83.75 ซ่ึงเปนไปตามเกณฑท่ีตั้งไว ดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนวีดิ

ทัศนแบบปฏิสัมพันธ เรื่อง การขยายพันธุพืช รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น

มัธยมศึกษาปท่ี 2 เทากับ 0.6034 ซ่ึงหมายความวา นักเรียนมีความกาวหนาในการเรียนรอยละ

60.34 แสดงวาบทเรียนวีดิทัศนท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีตั้งไว แตจากขอเสนอแนะของ

ผูเรียนพบวายังมีขอควรแกไขอันเนื่องมาจากในบทเรียนวีดิทัศนเสียงของผูบรรยาย และเสียงดนตรี

ประกอบไมสมํ่าเสมอ ซ่ึงสอดคลองกับ ประทิน คลายนาค (2541: 66) กลาววา วีดิทัศนชวยจูงใจ

ใหเกิดการเรียนรูไดอยางดี เพราะมีท้ังภาพเคลื่อนไหว และเสียงเหมือนจริง

2. ผลการเรียนรูของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาท่ี

เรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน พบวา ผมสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ี

เรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน มีผลการเรียนรูหลังเรียนสูงกวากอนเรียนโดย

เฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน ท่ีเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน( = 26.13 , S.D. = 2.01 ) สูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน( = 6.90 , S.D. = 2.32 ) มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 อาจเน่ืองมาจากการเรียน

การสอนโดยใชบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน เปนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียน

การสอนในภาคทฤษฎีกอนท่ีจะปฏิบัติจริง ใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการเรียน ไดศึกษาบทเรียนท่ีมีท้ัง

ภาพและเสียงดวยตนเองตามความสนใจ โดยบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลอง โทรทัศน ไดมีการ

แยกบทเรียนเปนตอนสั้นๆ 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 สวนประกอบการทํางานและชนิดของกลอง ความ

ยาวประมาณ 10 นาทีโดยนักศึกษาศึกษาดวยตนเองจากสื่อวีดิทัศนซ่ึงมีผูวิจัยคอยใหคําแนะนําเม่ือ

เกิดปญหาหรือมีขอสงสัยในบทเรียน ตอนท่ี 2 หลักการจัดวางองคประกอบและขนาดภาพเวลา

ประมาณ 10 นาที และตอนท่ี 3 การเคลื่อนกลองและการควบคุมกลอง เวลาประมาณ 10 นาที ซ่ึงใน

Page 80: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

69

แตละตอนจะมีพิธีกรแนะนําและการสาธิตวิธีปฏิบัติตามบทเรียนทุกตอน และมีการสรุปความ ให

นักเรียนไดนําไปประยุกตใชไดเม่ือตองปฏิบัติจริงมีความรูควบคูกับความสนุกสนานในการเรียนรู

รวมถึงหากนักเรียนมีความตองการท่ีจะเรียนหรือดูตัวอยางการปฏิบัติซํ้าเพ่ือทบทวนก็สามารถทําได

งาย ซ่ึงมีความแตกตางจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนสอดคลองกับผลการวิจัยของ พัชรินทร

ธรรมสุวรรณ (2550: 53-54) ไดศึกษา พัฒนาบทเรียนวีดิทัศนฝกทักษะปฏิบัติ เรื่อง งานประดิษฐจาก

เศษวัสดุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากบทเรียนไดผานกระบวนการหา

ประสิทธิภาพแบบเดี่ยวและแบบกลุมจนมีความเหมาะสมที่จะใชกับกลุมตัวอยางจริง โดยมีการพัฒนา

สื่อข้ึนเรื่อย ๆ ประกอบกันผานกระบวนการผลิตท่ีดีเปนไปตามข้ันตอน มีเนื้อหาท่ีตรงกับจุดประสงค

การเรียนรู ผานการปรับปรุงท้ังดานการผลิตจากผูเชี่ยวชาญและการแนะนําจากอาจารยท่ีปรึกษาทุก

ประการจึงทําใหไดสื่อท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ และการนําเอาสื่อวีดิทัศนเขามาใชในการเรียนการ

สอนเปนสิ่งท่ีดี เพราะโดยปกติการสอนวิชาตาง ๆ จะมีการสอนแบบบรรยายและไมคอยมีสื่อ

ประกอบสวนสื่อวีดิทัศนเปนการนําเอาสื่อหลายอยางมาใชรวมกันอยางสะดวก เปนการใชสื่อท่ี

เรียกวาสื่อประสม ทําใหเกิดการเรียนรูท่ีสมบูรณ และสามารถทําใหเห็นท้ังภาพและไดยินท้ังเสียง

ชวยใหผูเรียนไดรับความรู ความเขาใจในบทเรียนไดดียิ่งข้ึน ดังความเห็นของอาภรณ ใจเท่ียง (2550:

187) กลาววา สื่อการเรียนการสอนเปรียบไดกับมือท่ีสามของครู เพราะครูสามารถนํามาใชเปน

เครื่องทุนแรง ชวยเสริมใหการสอนนาสนใจ และลดพลังงานท่ีครูตองพูดอธิบายใหนอยลง ชวย

กระตุนความสนใจของผูเรียน สรางความเขาใจใหชัดเจนข้ึน และชวยใหผูเรียนเกิด การเรียนรูได

เร็ว ตลอดจนจําไดนานและนาจะเปนผลมาจากสื่อ วีดิทัศนชวยกระตุนและจูงใจใหผูเรียนเกิดความ

กระตือรือรนในการเรียนมากกวาการสอนปกติเพราะเปนการสรางและเปลี่ยนบรรยากาศในชั้นเรียน

ใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณตาง ๆ มากมาย สามารถสรางจินตนาการในการเรียนและการ

เรียนรูไดมากกวาการสอนปกติ จึงทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงข้ึน และการทดสอบได

ผานการตรวจคุณภาพ โดยผูเชี่ยวชาญกอนนําไปใช ทําใหหลังเรียนดวยสื่อวีดิทัศนผูเรียนเขาใจและ

ปฏิบัติงานไดมากข้ึน สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ .01 3. ความคิดเห็นของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 มหาวิทยาลัยราช

ภัฏสวนสุนันทาท่ีเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศนซ่ึงพบวา ผลการวิเคราะหขอมูล

ของแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน มีความ

พึงพอใจอยูในระดับดีมาก ( = 4.79 , S.D. = 0.09 ) เนื่องจากความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอ

บทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน เรื่อง อยูในระดับดีมากคือ 1. สื่อวีดิทัศนนี้มีความนาสนใจ

2. เนื้อหาท่ีเรียนเขาใจงาย 3. ระยะเวลากับเนื้อหามีความเหมาะสม 4. ภาพ เสียง และเนื้อเรื่องมี

ความเหมาะสม 5. การจัดลําดับภาพมีความเหมาะสม 6. เสียงคําบรรยายชัดเจนเขาใจงาย 7.

นักเรียนสามารถทบทวนบทเรียนไดดวยตนเอง 8. สื่อวีดิทัศนมีความเหมาะสมท่ีจะนํามาใชในการ

Page 81: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

70

สอน 9.สื่อวีดิทัศนนี้ชวยทําใหนักเรียนไดรับความรูเพ่ิมข้ึน และดานภาพกับคําบรรยายทําใหเขาใจได

เร็วข้ึน อยูในระดับดี เปนเหตุใหบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน เรื่องประวัติศาสตร

ศิลปกรรมไทย สามารถดึงดูดความสนใจจากนักเรียน ชวยกระตุนความตื่นตัวในการเรียนรู และดวย

เหตุท่ีบทเรียนวีดิทัศนเปนสื่อท่ีสามารถเสนอไดท้ังภาพและเสียง ทําใหการรับรูไดท้ังการเห็นและการ

ไดยินรวมกันกันไดผลของการรับรูถึง 88 % ของประสาทรับรูของมนุษย ซ่ึงชวยใหผูเรียนเกิดการรับรู

ไดเร็ว และ สอดคลองกับผลงานวิจัยของ เอกนฤน บางทาไม(2545: บทคัดยอ) ท่ีทําการวิจัยเรื่อง

การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องอิเล็กทรอนิกสแฟลชสําหรับกลองถายภาพ 35 มม. โดยความคิดเห็น

ของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน อยูในระดับดี โดยมีคาเฉลี่ย 4.24 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานท่ี

0.65

3. ผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจตอการเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใช

กลองโทรทัศน มีคาเฉลี่ย ( ) เทากับ 4.79คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D.)มีคาเทากับ 0.09 ทําให

เห็นวาผูเรียนมีความพึงพอใจตอบทเรียนวีดิทัศนอยูในระดับเห็นดวยมาก ท้ังนี้อาจเนื่องมาจาก

บทเรียนวีดิทัศน เปนสื่อท่ีมีการตอบสนองการเรียนรูของผูเรียน มีภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว มีการ

ออกแบบการนําเสนอท่ีดึงดูดความสนใจของผูเรียนและเรียงลําดับเนื้อหาจากงายไปสูยาก อีกท้ังยัง

แตกตางจากการเรียนดวยการใชผูสอนอยางเดียว เพราะการเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศนมีภาพการ

สาธิต มีเสียงประกอบ จึงทําใหผลการวิจัย เปนไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไว ซ่ึงสอดคลองกับ วรุณ

พรรณ พองพรม (2550: 58) ไดพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนท่ีเรียนดวยตนเอง เรื่อง การเขาเลมหนังสือ

สําหรับนิสิตปริญญาตรี และไดศึกษาความพึงพอใจของนิสิตปริญญาตรี ท่ีนําบทเรียนวีดิทัศนมาใชใน

การเรียนการสอนจึงทําใหมีทัศนคติท่ีดีและสงผลใหนิสิตมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี และสอดคลอง

กับ ชวกิจ ทองนุยพราหมณ (2554: บทคัดยอ) ไดพัฒนาบทเรียน วีดิทัศนดวยตนเอง เรื่อง การ

สรางสรรคงานทัศนศิลปดวยดินน้ํามัน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป สําหรับนักเรียนชวง

ชั้นท่ี 2 (ประถมศึกษาปท่ี 5) ผลการวิจัยพบวา ประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศน 96.16/93.53

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และความ

พึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน มีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุดแสดงวาสื่อวีดิทัศน มี

อิทธิพลตอการเรียนรูของผูเรียน ในดานการสรางแรงจูงใจตอการเรียนรู ไดเห็นภาพเคลื่อนไหวซึ่ง

ปฏิบัติตามได จากการสอนแบบปกติผูสอนไมสามารถสรางแรงจูงใจไดดีเทากับ การใชสื่อวีดิทัศน

ซ่ึงประกอบไปดวยภาพและเสียงท่ีนาสนใจ จากการท่ีผูวิจัยไดสังเกตพฤติกรรม ของผูเรียนกลุม

ตัวอยางบางคนซ่ึงเดิมเคยมีพฤติกรรมไมสนใจและมุงม่ันท่ีจะเรียนผานสื่อวีดีทัศน ผลการ

ทดสอบนักเรียนหลังจากการเรียนโดยใชสื่อวีดิทัศน พบวานักเรียนสามารถทําคะแนนไดใน เกณฑดี

ซ่ึงอาจเนื่องมาจากรูปแบบการเรียนโดยใชสื่อวีดีทัศนเปนรูปแบบการศึกษาท่ีแปลกใหมตอผูเรียน

Page 82: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

71

จากผลสรุปและการอภิปรายผลการวิจัย ผูวิจัยมีขอเสนอแนะสําหรับผลการวิจัยไปใช

ประโยชน และขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้งตอไป ดังนี้

1. กอนใหนักเรียนลงมือปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรูจากบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใช

กลองโทรทัศน ควรมีการชี้แจงเก่ียวกับความสําคัญของหลักการใชกลองเพ่ือผลิตรายการโทรทัศน

เพ่ือใหนักเรียนเกิดแรงจูงใจในการศึกษาบทเรียน

2. ชี้แจงคุณสมบัติและวิธีการใชบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศนใหนักเรียนไดรับ

ทราบ เพ่ือใหนักเรียนสามารถกลับไปทบทวนบทเรียนท่ีสนใจซํ้าอีกตามตองการดวยตนเองได

1. ควรวิจัยบทเรียนวีดิทัศนในหนวยการเรียนรูอ่ืนๆ ของวิชาการผลิตรายการโทรทัศนเชน

การจัดแสง เสียงประกอบในการผลิรตายการ เพ่ือเปนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ

บทเรียนวีดิทัศนท่ีมีประสิทธิภาพใหมีจํานวนมากขึ้นตอไป

2. ควรทําวิจัยกับกลุมผูเรียนท่ีมีความแตกตาง เพ่ือพัฒนาสื่อใหมีคุณภาพมากยิ่งข้ึน

3. ควรสรางบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศนท่ีมีรูปแบบการสอนแบบฝกทักษะ

และมีปฏิสัมพันธ

Page 83: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

72

กิดานันท มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ,

2543. คมสันต ทับชัย. “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องเทคนิคการถายภาพดวยกลองดิจิทัลสําหรับนักศึกษาชั้น

ปท่ี 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร”วิทยานิพนธมหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยี

การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2551.

จันทรจีรา แดงทองคํา. “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง เครื่องปนดินเผาศิลปกรรม เกาะเกร็ด อําเภอ

ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2549.

จันทรฉาย เตมิยาคาร. การผลิตรายการโทรทัศน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2532.

ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2520.

ชม ภูมิภาค. “เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา.” เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา 7, 1 (2544) : 16 – 17.

ชวกิจ ทองนุยพราหมณ. . “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนดวยตนเอง เรื่อง การสรางสรรค

งานทัศนศิลปดวยดินน้ํามัน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป สําหรับ นักเรียน

ชวงชั้นท่ี 2 (ประถมศึกษาปท่ี 5).” ปริญญานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี

การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,2554.

ชูศรี วงศรัตนะ. เทคนิคการใชสถิติเพ่ือการวิจัย. พิมพครั้งท่ี 9. กรุงเทพฯ : เทพเนรมิตการพิมพ,

2546.

ฐาปนีย ธรรมเมธา. สื่อการศึกษาเบื้องตน. พิมพครั้งท่ี 2. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร,2541. ธีระสุต ยืนยงวนิชกิจ. “การพัฒนาวีดิทัศนเพ่ือการเรียนรูชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนชาวไทยยวน ตําบล

ดอนแร อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549.

เดชา จันทภาษา. “กลองโทรทัศน.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการโทรทัศน หนวยท่ี

1-7, 61. นนทบุรี : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2533.

บุญเท่ียง จุยเจริญ. เทคนิคพ้ืนฐานการใชและบํารุงรักษาอุปกรณเทคโนโลยีการศึกษา.

Page 84: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

73

กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา วิทยาลัยครูสวนสุนันทา, 2534. ประทิน คลายนาค. การผลิตรายการโทรทัศนทางการศึกษา. พิมพครั้งท่ี 3. นครปฐม :

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. พัชรินทร ธรรมสุวรรณ. “บทเรียนวีดิทัศนฝกทักษะปฏิบัติ กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและ

เทคโนโลยีเรื่อง งานประดิษฐจากเศษวัสดุ สําหรับนักเรียนชวงชั้นท่ี 2.” สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,2550.

ไพฑูรย กลั่นไพฑูรย. . “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนวิชาวาดเสน เรื่อง ทักษะพ้ืนฐาน การวาดเสน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล.” การคนควาอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2551.

ยุพยงค กลั่นประเสริฐ. “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนแบบปฏิสัมพันธ เรื่อง การขยายพันธุพืช รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลย ี ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2.” การศึกษาคนควาอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาสารคาม,2551. รวมศักดิ์ แกวปลั่ง และอนันตธนา อังกินันท. วิทยุและโทรทัศนเพ่ือการศึกษา. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2521. รสริน พิมลบรรยงก. การผลิตการใชวัสดุกราฟค. นครรราชสีมา : ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง การศึกษา สถาบันราชภัฏนครราชสีมา,2536 วสันต อติศัพท. การผลิตเทปโทรทัศนเพ่ือการศึกษาและฝกอบรม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร,

2533. วิภา อุตมฉันท. การผลิตสื่อโทรทัศนและวิดีทัศน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2538. สมเชาว เนตรประเสริฐ. “วิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษา.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยุกระจายเสียง

และวิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษา หนวยท่ี 1-8, 61. นนทบุรี : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.

สมศักดิ์ พูนศิริ. “เทคนิคการถายภาพดวยกลองบันทึกเทปโทรทัศน.” ใน เอกสารประกอบการ ฝกอบรม หลักสูตรเทคนิคการผลิตเทปโทรทัศนเพ่ือการศึกษา สงเสริมและเผยแพรเบื้องตน. ศูนยสงเสริมและฝกอบรมการเกษตรแหงชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรวิทยาเขตกําแพงแสน, 2542 .

พยอม วงศสารศรี. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพสารเศรษฐ.

พรรณี ช. เจนจิต. 2528. จิตวทิยาการเรียนการสอน (จิตวิทยาการศึกษาสําหรับครูในชั้นเรียน).

พิมพครั้งท่ี 3.กรุงเทพมหานคร: อมรินทรการพิมพ,2527.

Page 85: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

74

วันชัย กอนกําเนิด. “การเปรียบเทียบผลการเรียนรูดวยวิธีเรียนแบบรวมมือกับวิธีเรียน แบบอิสระผานสื่อคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง องคประกอบศิลป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1.” วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. วรุณพรรณ พองพรม. “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนท่ีเรียนดวยตนเอง เรื่อง การเขาเลม หนังสือสําหรับนิสิตปริญญาตรี.” สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,2550. เอกนฤน บางทาไม. “การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนวิชาถายภาพ เรื่อง อิเล็กทรอนิกสแฟลช สําหรับกลอง

ถายภาพ 35 มม. ”วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.

Page 86: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

75

Abrams, Amold H. “Effectiveness of Interactive Video in Teaching BasicPhotography Skill (Disc, Intelligent, Computer Assisted) .” Dissertation Abstracts International 46, 11 (January 1986) : 3326-A.

Carner, Richard L. “An Evaluation of Teaching Reading to Element Pupils Through Closed Circruit TV .” Dissertation Abstracts International 7, 23 (March 1962) : 160. Dale,Edgar. Auidio Visual Method inTeaching. 3rd ed.New York: Holt Rinehart and Winston

Drydon Press , 1969.

Dewey, J. Richard. “The Effectiveness of Interactive Microcomputer Controlled Video Tape/ Disc Instructional in an Independent Study Enviroment.” Dissertation AbstractsInternational 44, 11 (1983) : 3218-A.

Fisher, Judith C. “The Effect Videotape Recording on Swimming Performance and

Knowledge ofStoke Mechanics.” Completed Research in HealthPhysical

Education and Research20, 73 (September 1977) : 216.

Fincher, ADA Louise. Effect of Learning style on cognitive and psychomotorAchievement and Retention When Using Liner and Interactive Video (Cognitive Achievement, Video). New York : University of Alabama, 1995.

Page 87: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

76

Page 88: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

77

Page 89: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

78

1.อาจารยปติมนัส บรรลือ หัวหนาสาขาวิชาวิทยุโทรทัศน คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนัทา

ศษ.ม.มหาวิทยาลัยศรีนครินทราวิโรฒ ประสานมิตร

2.นายสรสมร นาคะสิงห ชางภาพอิสระ

คอ.ม. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

3.นางสาวกุลยา เจริญมงคลวิไล นักวิชาการศึกษางานวิเทศสัมพันธ มหาวิทยาลัยมหิดล

ศษ.ม. มหาวิทยาลัยศิลปากร

1.นางสาวอาจารี ประทุมมา Producer สถานีโทรทัศนผานดาวเทียมชองสุวรรณภูมิ

นท.ม. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

2.นาวสาวสุธาสินี พรอมประดิษฐ Creative Director บจก. ทีวีท็อปน็อตโปรดักชั่น

นท.ม. มหาวิทยาลัยรังสิต

3.นายศุภลาภ เกาไศยาพร Producer ชอง Spring News

นท.ม. มหวิทยาลัยรามคําแหง

1. อาจารยกิติ์ติกานน กัณพิพัฒน อาจารยพิเศษ สาขาวิชาวิทยุโทรทัศน มหาวิทยาลัยราช

ภัฏ สวนสุนันทา

ศษ.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทราวิโรฒประสานมิตร

2.อาจารยเทพยพงษ เศษคัมบง อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ศษ.ม. สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 90: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

79

3อาจารยธนวุฒิ เศขรฤทธิ์ อาจารยประจําคณะนิเทศศาสตร

มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ

นท.ม.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

Page 91: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

80

Page 92: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

81

นายณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว รหัส 52257306 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยี

การศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร

ผูใหสัมภาษณ.........................................................................................ตําแหนง..................................

เนื้อหาท่ีสัมภาษณ

1.ทานคิดวาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนควรมีรูปแบบใด

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

..........................................................................................

2. เนื้อหาท่ีนํามาผลิตบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนควรเนนเนื้อหาในดานใด

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 93: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

82

3.การวัดและการประเมินผลควรมีลักษณะใด

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………

4. ขอเสนอแนะอ่ืนๆ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................

(...........................................)

ผูเชี่ยวชาญ

Page 94: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

83

Try Out Storyboard

บทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชานิเทศศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คําชี้แจง แบบประเมินนี้เพ่ือใหผูเชี่ยวชาญประเมินเนื้อหาท่ีนํามาสรางบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใช

กลองโทรทัศน โดยใสเครื่องหมาย ( ) ลงในชองความคิดเห็รตามคะแนนลําดับดังนี้

ระดับ 1 เหมาะสม

ระดับ 0 ไมแนใจ

ระดับ -1 ปรับปรุง

พรอมเขียนขอเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุง

รายการขอความคิดเห็น

ความคิดเห็น ขอเสนอแนะ 1 0 -1

1.ความสอดคลองเหมาะสมกับหลักสูตร 2.ความสอดคลองเหมาะสมกับธรรมชาติวิชา 3.ความสอดคลองเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4.ความสอดคลองเหมาะสมกับสภาพปจจุบันและปญหา 5.ความเหมาะสมตอกระบวนการพัฒนาผูเรียน 6. ความเหมาะสมของเนื้อหา 7.ความเหมาะสมของขนาดอักษร 8.ความเหมาะสมของการใชภาษา 9.ความเหมาะสมับการสนใจของผูเรียน 10.เหมาะสมของรูปแบบ

Page 95: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

84

ขอเสนอแนะเพ่ิมเติมเพ่ือการปรับปรุง

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................

ลงชื่อ................................................ผูเชี่ยวชาญ

(......................................................)

Page 96: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

85

แบบประเมินคุณภาพสื่อวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน

คําชี้แจง 1. แบบประเมินนี้เพ่ือใหผูเชี่ยวชาญดานการผลิตสื่อวีดิทัศนใชสําหรับประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน

2. แบบประเมินคุณภาพสื่อวีดิทศน แบงเปน 2 สวน คือ

สวนท่ี 1 รายการประเมินคุณภาพสื่อวีดิทัศน การใชกลองโทรทัศนโดยมีคาระดับความคิดเห็นใน แบบสอบถามน้ีมี 5 ระดับ ดังนี้

5 หมายถึง มากที่สดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอย 1 หมายถึง นอยท่ีสดุ สวนท่ี 2 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะอ่ืน ๆ

3. กรุณาทําเครื่องหมาย�ลงในชองระดับความสําคัญตามความคิดเห็นของทานท่ีพิจารณาแลวเห็นวาเปนขอเลือกท่ีเหมาะสมหากมีความคิดเห็นหรือขอแนะนําเพ่ิมเติมกรุณาเขียนลงในชองวางท่ีกําหนดให

Page 97: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

86

แบบประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศน เรื่องการใชกลองโทรทัศน

สวนท่ี 1 คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย( )ลงในชองประเมินความคิดเห็นของทาน

ลําดับ ท่ี

รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น 1 2 3 4 5

1 วิธีการนาเสนอบทเรียน 1.1เหมาะสมกับผูเรียนรายบุคคลรายกลุม 1.2ความเหมาะสมของเวลาในการนําเสนอ 1.3การนําเขาสูเรื่องเสนอเนื้อหา และสรุป

เหมาะสมกับการเรียนรายบุคคล/กลุม

2 การนําเสนอเนื้อหาของสื่อ 2.1เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีกําหนด 2.2เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 2.3เนื้อหาถูกตองและมีคุณคาทางวิชาการ 2.4ชวยสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมและ

ศิลปวัฒนธรรม อันดีและไมขัดตอความม่ันคงของชาติ

3. การใชภาษา 3.1ใชภาษาถูกตองชัดเจน 3.2ใชภาษาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน 3.3ใชศัพทเฉพาะเหมาะสมกับผูเรียน 4. เทคนิคการผลิต 4.1 ภาพ - ตัวอักษร (แบบ ขนาด ส ี - ขนาดของภาพ -รายละเอียดภาพ - เทคนิคพิเศษ - การจัดองคประกอบศิลป - การลาดับภาพ - การสื่อความหมาย

Page 98: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

87

ขอเสนอแนะและความคิดเห็น ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(...........................................................)

ลําดับ ท่ี

รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น 1 2 3 4 5

4.2 เสียง - เสียงบรรยาย (น้ําเสียงการออกเสียง

อักขระและจังหวะการอาน)

- เสียงดนตรี (ความชัดเจนระดับความดัง) - เสียงประกอบ (ตรงสัมพันธเหมาะสมกับ

ภาพและการบรรยาย)

ลงชื่อ ……………………………………..ผูเชี่ยวชาญ

Page 99: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

88

แบบประเมินความคิดเห็นของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สาขาวิชานิเทศศาสตร ท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

คําชี้แจง 1. แบบประเมินนี้เพ่ือใหนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

สาขาวิชานิเทศศาสตร ท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน 2. แบบประเมินความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอสื่อวีดิทัศนแบงเปน 2 สวน คือ

สวนท่ี 1รายการประเมินความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศน สวนท่ี 2 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะอ่ืน ๆ

3. กรุณาทําเครื่องหมายลงในชองระดับความสําคัญตามความคิดเห็นท่ีพิจารณา แลวเห็นวาเปนขอความท่ีเหมาะสมหากมีความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะเพ่ิมเติมกรุณาเขียนลงในชองวางท่ีกําหนดใหโดยมีแบงคุณภาพออกเปน 5 ระดับคือ

5 หมายถึง เห็นดวยมากท่ีสุด 4 หมายถึง เห็นดวยมาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง เห็นดวยนอย 1 หมายถึง เห็นดวยนอยท่ีสุด

Page 100: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

89

แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สาขาวิชานิเทศศาสตร ท่ีมีตอบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน

สวนท่ี 1 คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมายลงในชองประเมินความคิดเห็นของทาน

ขอเสนอแนะอ่ืนๆ

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

รายการ

ระดับความคิดเห็น 1 2 3 4 5

1. สื่อวีดิทัศนนี้มีความนาสนใจ 2. เนื้อหาท่ีเรียนเขาใจงาย 3. ระยะเวลากับเนื้อหามีความเหมาะสม 4. ภาพ เสียง และเนื้อเรื่องมีความเหมาะสม 5. ภาพกับคําบรรยายทําใหเขาใจไดเร็วข้ึน 6. การจัดลําดับภาพมีความเหมาะสม 7. เสียงคําบรรยายชัดเจนเขาใจงาย 8. นักเรียนสามารถทบทวนบทเรียนไดดวยตนเอง 9. สื่อวีดิทัศนมีความเหมาะสมที่จะนํามาใชในการสอน 10. สื่อวีดิทัศนนี้ชวยทําใหนักเรียนไดรับความรูเพ่ิมข้ึน

Page 101: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

90

แบบทดสอบวัดผลทางการเรียน

เรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุัทา

วิชาการผลิตรายการโทรทัศน

( แบบทดสอบกอนเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน )

– .............................................................................. .........................

: 1. ใหนักศึกษาวงกลมขอท่ีถูกตองเพียง 1 คําตอบ

2. แบบทดสอบฉบับนี้มี 30 ขอใชเวลาทํา 30 นาที

3. เปนแบบทดสอบ 4 ตัวเลือก 1 คําตอบ

ตัวอยาง () ถาตองการภาพที่แสดงถึงการแตงตัวของบุคคลต้ังแตหัวจรดเทาควรใชการเคลื่อนไหว

กลองแบบใด

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

แบบทดสอบนี้เปนสวนหนึ่งของเครื่องมือการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับ

นักศึกษา มหาวิทยาลับราชภัฏสวนสุนันทา

โดยนายณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว นักศึกษาหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมาบัณฑิต

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 102: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

91

1.

ก. บันทึกสัญญาณภาพ

ข. รวมแสงสวางท่ีสะทอนจากวัตถุ

ค. ใชสําหรับใหชางภาพมองภาพ

ง. ถูกทุกขอ

2.

ก. CCD ข. LCD

ค. CAI ง. CCU

3.

ก. Lens ข. Body

ค. View finder ง. Image Sensors

4.

ก. รูรับแสง ข. หลอดภาพ

ค. จอมองภาพ ง. CCD

5.

ก.CCD ข.CCU

ค.LENS ง.Sensors

6.

ก. เปดกลองไวตลอดเวลาเพ่ือความพรอม

ข. หลังเสร็จสิ้นการใชงานแลว ควรแยก

แบตเตอรี่ออกจากตัวกลอง

ค. ฝกความชํานาญของการใชฟงกชั่น

ง. ตรวจเช็คความพรอมตางๆของอุปกรณ

7.

ก.ใชรวมกับขาต้ังกลอง

ข.ตั้งกลองบนบากลั้นหายใจขณะถาย

ค.ตั้งกลองบนพ้ืน

ง.อยูท่ีสถานการณขณะถายทํา

8.

ก. ปดสวิตซใหเรียบรอยแลวเก็บในกระเปา

กลอง

ข. ถอดแบตเตอรี่ออกจากตัวกลอง

ค.เก็บกลองไวในหองท่ีมีอุณหภูมิสูง

ง. ใสแบตเตอรี่ไวท่ีกลองในสภาพพรอมใชงาน

9.

ก.ไมจําเปนเพราะกลองทุกตัวมีระบบท่ี

เหมือนกัน

ข.ไมจําเปนเพราะทําใหเสียเวลาในการถายทํา

ค.จําเปนเพราะจะทําใหเกิดโอกาสในการ

ผิดพลาดนอย

ง.จําเปนเพราะกลองทุกตัวไมเหมือนกัน

10.

ก.เพ่ือความสวยงามของภาพ

ข.เพ่ือคุณภาพความคมชัดของภาพ

ค.เพ่ือใหดีสีท่ีถูตองตามสภาพแสง

ง.เพ่ือใหไดภาพมีสีสันท่ีสดใส

11. Extreme Long Shot

ก. ภาพพิธีกรครึ่งตัว

ข. ภาพสัมภาษณบุคคล

ค. ภาพทิวทัศนชายทะเล

ง. ภาพสาธิตการแกะสลัก

Page 103: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

92

12.

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

13.

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

14.

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

15

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

16

ก. เวนพ้ืนท่ีดานบนจนเกินไป

ข. ถายภาพมุมต่ําเกินไป

ค. ถายไมเห็นหัวไหล

ง. ถายใกลเกินไป

17

ถายภาพมุมใด

ก. ภาพมุมปกติ (Normal Angle Shot)

ข. ภาพมุมตํ่า (Low Angle Shot)

ค. ภาพมุมสูง (High Angle Shot)

ง. ภาพมุมเอียง (Canted Angle Shot)

18

ก. ภาพอ็อฟเจ็คทีฟ ข. ภาพซับเจ็คทีฟ

ค. ภาพมุมบน ง. ภาพมุมเอียง

19. Bust Shot

ก. ภาพตั้งแตเขาข้ึนไป

ข. ภาพบุคคลเต็มตัว

ค. ภาพต้ังแตเอวข้ึนไป

ง. ภาพเต็มหนาถึงไหล

20

ก. Subjective Shot ข. Over Shoulder Shot

ค. Objective Shot ง. Two Shot

21.

ก. Truck ข. Tilt up

ค. Dolly ง. Tilt down

Page 104: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

93

22.

ก. Tilt up

ข. Truck left

ค. Dolly in

ง. Dolly out

23.

ก.ทําใหรูสึกวาสิ่งท่ีถายแข็งแรงมีพลัง

ข. มีความรูสึกแปลกตามีชีวิตชีวา

ค. ทําใหผูชมเหนความสมดุลของภาพ

ง. ถูกทุกขอ

24

ก. Dolly

ข. Zoom

ค. Tilt

ง. Pan

25.

ก.Pan Life

ข.Pan Righ

ค.Truck Life

ง.Truck Life

26.

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

27.ภาพ Zoom In มีลักษณะแบบใด

ก.ภาพเขาใกลวัตถุโดยท่ีกลองอยูกับท่ี

ข.ภาพเขาใกลวัตถุโดยท่ีกลองเคลื่อนท่ี

ค.ภาพออกหางจากวัตถุโยท่ีกลองอยูกับท่ี

ง.ภาพออกหางจากวัตถุโดยท่ีกลองเคลื่อนท่ี

28.

ก.Dooly Out

ข.Dooly IN

ค.Zoom In

ง.Zoom Out

29. Truck

ก.เพ่ือใหไดภาพจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง

ข.เพ่ือใหไดภาพมุมตางๆของเหตุการณ

ค.เพ่ือใหไดภาพท่ีไกลข้ึน

ง.เพ่ือใหไดภาพจากบนลงลาง

30.

ก.ภาพกวาดจากขางหนึ่งไปขางหน่ึง

ข.ภาพหมุนรอบวัตถุ

ค.ภาพเหวี่ยงจากบนลงลางหรือลางข้ึนบน

ง.ภาพเปลี่ยนจุดไปเรื่อยๆ

Page 105: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

94

แบบทดสอบวัดผลทางการเรียน

เรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุันทา

วิชาการผลิตรายการโทรทัศน

( แบบทดสอบระหวางเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน ตอน สวนประกอบและการใชกลองโทรทัศน )

– .............................................................................. .........................

: 1. ใหนักศึกษาวงกลมขอท่ีถูกตองเพียง 1 คําตอบ

2. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ขอใชเวลาทํา 10 นาที

3. เปนแบบทดสอบ 4 ตัวเลือก 1 คําตอบ

ตัวอยาง () ถาตองการภาพที่แสดงถึงการแตงตัวของบุคคลต้ังแตหัวจรดเทาควรใชการเคลื่อนไหว

กลองแบบใด

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

แบบทดสอบนี้เปนสวนหนึ่งของเครื่องมือการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลับราชภัฏสวนสุนันทา

โดยนายณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว นักศึกษาหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมาบัณฑิต

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 106: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

95

1.

ก. รูรับแสง ข. หลอดภาพ

ค. จอมองภาพ ง. CCD

2.

ก.คุณภาพของแสง

ข.คุณภาพของวัตถุท่ีถาย

ค.คุณภาพของชางภาพ

ง.คุณภาพของกลอง

3.

ก.สวนรับแสง ข.สวนท่ีใชมองภาพ

ค.สวนรับสัญญาณ ง.สวนวัดคุณภาพ

4.

วีดิโอ

ก.CCD ข.CCU

ค.LENS ง.Sensors

5.

ก. เลนส ค. จอมองภาพ

ข. ตัวกลอง ง. ถูกทุกขอ

6.

ก.เลนส ข.ตัวกลอง

ค.วิวไฟเดอร ง.แบตเตอรี่

7.

ข.เลนสนอมอล

ค.เลนซไวด

ง.เลนสฟชอาย

8.

ก. เปดกลองไวตลอดเวลาเพ่ือความพรอม

ข. หลังเสร็จสิ้นการใชงานแลว ควรแยก

แบตเตอรี่ออกจากตัวกลอง

ค. ฝกความชํานาญของการใชฟงกชั่น

ง. ตรวจเช็คความพรอมตางๆของอุปกรณ

9.

ก.ใชรวมกับขาต้ังกลอง

ข.ต้ังกลองบนบากลั้นหายใจขณะถาย

ค.ตั้งกลองบนพ้ืน

ง.อยูท่ีสถานการณขณะถายทํา

10.

ก. ปดสวิตซใหเรียบรอยแลวเก็บในกระเปา

กลอง

ข. ถอดแบตเตอรี่ออกจากตัวกลอง

ค.เก็บกลองไวในหองท่ีมีอุณหภูมิสูง

ง. ใสแบตเตอรี่ไวท่ีกลองในสภาพพรอมใชงาน

Page 107: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

96

แบบทดสอบวัดผลทางการเรียน

เรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนัทา

วิชาการผลิตรายการโทรทัศน

( แบบทดสอบระหวางเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน ตอน มุมภาพและขนาดภาพ )

– .............................................................................. .........................

: 1. ใหนกัศึกษาวงกลมขอท่ีถูกตองเพียง 1 คําตอบ

2. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ขอใชเวลาทํา 10 นาที

3. เปนแบบทดสอบ 4 ตัวเลือก 1 คําตอบ

ตัวอยาง () ถาตองการภาพที่แสดงถึงการแตงตัวของบุคคลต้ังแตหัวจรดเทาควรใชการเคลื่อนไหว

กลองแบบใด

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

แบบทดสอบนี้เปนสวนหนึ่งของเครื่องมือการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลับราชภัฏสวนสุนันทา

โดยนายณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว นักศึกษาหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมาบัณฑิต

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 108: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

97

1. MS.

ก. ข.

ค. ง.

2. Group Shot

ก. ข.

ค. ง.

3.

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง.Extreme Close-up

4. Over Shoulder

ก.ภาพเห็นหัวไหลข้ึนไป ข.ภาพผานไหลของคูสนทนา

ค.ภาพมุมบนมองเห็นหัวไหล ง.ภาพต้ังแตหัวไหลลงมา

5. Objective

ก.เปนภาพแสดงแทนสายตาผูชม

ข.เปนภาพแสดงแทนสายตาตัวละคร

ค.เปนภาพมุมแปลกตา

ง.เปนภาพการเคลื่อนกลองข้ึนลง

6.

ก. Objective ข. Subjective

ค. Over Shoulder ง.Long Shot

7.

ก. Hi Angle Shot ข. Low Angle Shot

ค.Normal Angle Shot ง.Super Angle Shot

8.

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

9

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

10

ก. เวนพ้ืนท่ีดานบนจนเกินไป

ข. ถายภาพมุมต่ําเกินไป

ค. ถายไมเห็นหัวไหล

ง. ถายใกลเกินไป

Page 109: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

98

แบบทดสอบวัดผลทางการเรียน

เรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุันทา

วิชาการผลิตรายการโทรทัศน

( แบบทดสอบระหวางเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน ตอนการเคลื่อนกลอง )

– .............................................................................. .........................

: 1. ใหนักศึกษาวงกลมขอท่ีถูกตองเพียง 1 คําตอบ

2. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ขอใชเวลาทํา 10 นาที

3. เปนแบบทดสอบ 4 ตัวเลือก 1 คําตอบ

ตัวอยาง () ถาตองการภาพที่แสดงถึงการแตงตัวของบุคคลต้ังแตหัวจรดเทาควรใชการเคลื่อนไหว

กลองแบบใด

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

แบบทดสอบนี้เปนสวนหนึ่งของเครื่องมือการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลับราชภัฏสวนสุนันทา

โดยนายณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว นักศึกษาหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมาบัณฑิต

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 110: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

99

1. Long Shot

Medium Shot

ก.TILT ข. DOLLY

ค.PAN ง.ZOOM

2.

ก.PAN ข.TILT

ค.TRUCK ง.CRANE

3.

ก. Truck ข. Tilt up

ค. Dolly ง. Tilt down

4.

ก.Tilt up ข.Truck left

ค.Dolly in ง.Dolly out

5.

ก.ทําใหรูสึกวาสิ่งท่ีถายแข็งแรงมีพลัง

ข. มีความรูสึกแปลกตามีชีวิตชีวา

ค. ทําใหผูชมเหนความสมดุลของภาพ

ง. ถูกทุกขอ

6

ก. Dolly ข. Zoom

ค. Tilt ง. Pan

7.

ก.Pan Life ข.Pan Right

ค.Truck Life ง.Truck Life

8.

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

9. Zoom In

ก.ภาพเขาใกลวัตถุโดยท่ีกลองอยูกับท่ี

ข.ภาพเขาใกลวัตถุโดยท่ีกลองเคลื่อนท่ี

ค.ภาพออกหางจากวัตถุโยท่ีกลองอยูกับท่ี

ง.ภาพออกหางจากวัตถุโดยท่ีกลองเคลื่อนท่ี

10.

ก.Dooly Out ข.Dooly IN

ค.Zoom In ง.Zoom Out

Page 111: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

100

แบบทดสอบวัดผลทางการเรียน

เรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุันทา

วิชาการผลิตรายการโทรทัศน

( แบบทดสอบหลังเรียนดวยบทเรียนวีดิทัศน)

– .............................................................................. .........................

: 1. ใหนักศึกษาวงกลมขอท่ีถูกตองเพียง 1 คําตอบ

2. แบบทดสอบฉบับนี้มี 30 ขอใชเวลาทํา 30 นาที

3. เปนแบบทดสอบ 4 ตัวเลือก 1 คําตอบ

ตัวอยาง () ถาตองการภาพที่แสดงถึงการแตงตัวของบุคคลต้ังแตหัวจรดเทาควรใชการเคลื่อนไหว

กลองแบบใด

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

แบบทดสอบนี้เปนสวนหนึ่งของเครื่องมือการพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศน สําหรับ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลับราชภัฏสวนสุนันทา

โดยนายณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว นักศึกษาหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมาบัณฑิต

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 112: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

101

1. เลนสกลองโทรทัศนมีหนาท่ีทําอะไร

ก. บันทึกสัญญาณภาพ

ข. รวมแสงสวางท่ีสะทอนจากวัตถุ

ค. ใชสําหรับใหชางภาพมองภาพ

ง. ถูกทุกขอ

2. สวนประกอบใดของกลองใชทําหนาท่ีมองภาพ

ขณะถายทํา

ก. Lens ข. Body

ค. View finder ง. Image Sensors

3. อุปกรณใดท่ีทําหนาท่ีควบคุมปริมาณของแสงให

ผานเขาไปยังกลองโทรทัศน

ก. รูรับแสง ข. หลอดภาพ

ค. จอมองภาพ ง. CCD

4. อุปกรณกลองสวนใดท่ีสงสัญญาณไปยังเครื่อง

บันทึกวีดิโอ

ก.CCD ข.CCU

ค.LENS ง.Sensors

5. ทานคิดวาชางภาพจําเปนตองศึกษาระบบตางๆ

ของกลองกอนใชจริงหรือไม

ก.ไมจําเปนเพราะกลองทุกตัวมีระบบท่ีเหมือนกัน

ข.ไมจําเปนเพราะทําใหเสียเวลาในการถายทํา

ค.จําเปนเพราะจะทําใหเกิดโอกาสในการผิดพลาด

นอย

ง.จําเปนเพราะกลองทุกตัวไมเหมือนกัน

6. ขอใดไมใชขอควรปฏิบัติในการใชกลองโทรทัศน

ก. เปดกลองไวตลอดเวลาเพ่ือความพรอม

ข. หลังเสร็จสิ้นการใชงานแลว ควรแยกแบตเตอรี่

ออกจากตัวกลอง

ค. ฝกความชํานาญของการใชฟงกชั่น

ง. ตรวจเช็คความพรอมตางๆของอุปกรณ

7. ชิพในตัวกลองท่ีทําหนาท่ีแปลงสัญญาณไฟฟาเปน

สัญญาณภาพเรียกวาอะไร

ก. CCD ข. LCD

ค. CAI ง. CCU

8. การปรับไวทบลานซกลองเพ่ืออะไร

ก.เพ่ือความสวยงามของภาพ

ข.เพ่ือคุณภาพความคมชัดของภาพ

ค.เพ่ือใหดีสีท่ีถูตองตามสภาพแสง

ง.เพ่ือใหไดภาพมีสีสันท่ีสดใส

9. การถายภาพใหเกิดความนุมนวลไมสั่นไหวกควร

ถายอยาไร

ก.ใชรวมกับขาต้ังกลอง

ข.ตั้งกลองบนบากลั้นหายใจขณะถาย

ค.ตั้งกลองบนพ้ืน

ง.อยูท่ีสถานการณขณะถายทํา

10. หลังจากใชงานกลองโทรทัศนเสร็จแลว ควรปฏิบัติ

อยางไร

ก. ปดสวิตซใหเรียบรอยแลวเก็บในกระเปากลอง

ข. ถอดแบตเตอรี่ออกจากตัวกลอง

ค.เก็บกลองไวในหองท่ีมีอุณหภูมิสูง

ง. ใสแบตเตอรี่ไวท่ีกลองในสภาพพรอมใชงาน

Page 113: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

102

11. ภาพท่ีเห็นอยูนี้เรียกวาอะไร

ก. Long Shot

ข. Medium Shot

ค. Close-up

ง. Extreme close-up

12. ภาพท่ีเห็นอยูนี้เรียกวาอะไร

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

13. ภาพใดตอไปนี้คือภาพ Extreme Long Shot

ก. ภาพพิธีกรครึ่งตัว

ข. ภาพสัมภาษณบุคคล

ค. ภาพทิวทัศนชายทะเล

ง. ภาพสาธิตการแกะสลัก

14. โดยสวนมากการถายภาพพิธีกรอานขาวจะใชลักษณะ

ภาพแบบใด

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

15. ถาตองการใหวัตถุ หรือบุคคลนั้นดูยิ่งใหญควรถายภาพ

มุมใด

ก. ภาพมุมปกติ (Normal Angle Shot)

ข. ภาพมุมตํ่า (Low Angle Shot)

ค. ภาพมุมสูง (High Angle Shot)

ง. ภาพมุมเอียง (Canted Angle Shot)

16. ขอใดควรระวังมากท่ีสุดในการถายภาพบุคคล

ก. เวนพ้ืนท่ีดานบนจนเกินไป

ข. ถายภาพมุมต่ําเกินไป

ค. ถายไมเห็นหัวไหล

ง. ถายใกลเกินไป

17. ถาผูรวมรายการมีการแสดงอารมณทางสีหนา หรือ

รองไหชางภาพควรจับภาพลักษณะใด

ก. Long Shot ข. Medium Shot

ค. Close-up ง. Extreme close-up

18. ขอใดหมายถึงมุมกลองท่ีนําเสนอภาพเหมือนดึงผูชม

เขามาอยูในเหตุการณท่ีเกิดข้ึน

ก. ภาพอ็อฟเจ็คทีฟ

ข. ภาพซับเจ็คทีฟ

ค. ภาพมุมบน

ง. ภาพมุมเอียง

19. Bust Shot หมายถึงภาพลักษณะใด

ก. ภาพตั้งแตเขาข้ึนไป

ข. ภาพบุคคลเต็มตัว

ค. ภาพต้ังแตเอวข้ึนไป

ง. ภาพเต็มหนาถึงไหล

20. ลักษณะภาพท่ีทําใหผูชมมองเห็นภาพผานไหลของผู

แสดงคนหน่ึงไปยังหนาของผูแสดงอีกคนหนึ่งคือขอใด

ก. Subjective Shot ข. Over Shoulder

ค. Objective Shot ง. Two Shot

Page 114: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

103

21. ภาพท่ีถายดวยเครนจะออกมามีลักษณะอยางไร

ก.ภาพกวาดจากขางหนึ่งไปขางหน่ึง

ข.ภาพหมุนรอบวัตถุ

ค.ภาพเหวี่ยงจากบนลงลางหรือลางข้ึนบน

ง.ภาพเปลี่ยนจุดไปเรื่อยๆ

22. ถาตองการใหผูชมเห็นภาพสิ่งท่ีถายใกลเขามาเหมือน

พาผูชมเขาไปดูใกลๆควรใชการเคลื่อนไหวกลองแบบใด

จ. Tilt up

ฉ. Truck left

ช. Dolly in

ซ. Dolly out

23. ขอใดเปนการแสดงรายละเอียดจากสวนบนลงไปยัง

สวนลางเพ่ือเปลี่ยนจุดสนใจ

ก. Truck

ข. Tilt up

ค. Dolly

ง. Tilt down

24. การเคลื่อนกลองโดยการสายหนากลองไปในแนวราบ

เรียกการเคลื่อนกลองลักษณะนี้วา

ก. Dolly ข. Zoom

ค. Tilt ง. Pan

25.เรา Truck กลองเพ่ืออะไร

ก.เพ่ือใหไดภาพจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง

ข.เพ่ือใหไดภาพมุมตางๆของเหตุการณ

ค.เพ่ือใหไดภาพท่ีไกลข้ึน

ง.เพ่ือใหไดภาพจากบนลงลาง

26. ถาตองการภาพที่แสดงถึงการแตงตัวของบุคคลตั้งแต

หัวจรดเทาควรใชการเคลื่อนไหวกลองแบบใด

ก.Tilt ข.Pan

ค.Truck ง.Dolly

27.ภาพ Zoom In มีลักษณะแบบใด

ก.ภาพเขาใกลวัตถุโดยท่ีกลองอยูกับท่ี

ข.ภาพเขาใกลวัตถุโดยท่ีกลองเคลื่อนท่ี

ค.ภาพออกหางจากวัตถุโยท่ีกลองอยูกับท่ี

ง.ภาพออกหางจากวัตถุโดยท่ีกลองเคลื่อนท่ี

28. ถาตองการภาพที่เหมือนกับภาผูชมถอยหลังออกมา

เพ่ือใหสิ่งท่ีถายไกลออกไปควรใชการเคลื่อนกลองแบบใด

ก.Dooly Out

ข.Dooly IN

ค.Zoom In

ง.Zoom Out

29. ภาพท่ีกวาดหนากลองจากซายไปขวาเรียกกษณะภาพ

แบบนี้วาอะไร

ก.Pan Life ข.Pan Right

ค.Truck Life ง.Truck Right

30.การเคลื่อนไหวกลองจะทําใหภาพท่ีไดมีลักษณะอยางไร

ก.ทําใหรูสึกวาสิ่งท่ีถายแข็งแรงมีพลัง

ข. มีความรูสึกแปลกตามีชีวิตชีวา

ค. ทําใหผูชมเหนความสมดุลของภาพ

ง. ถูกทุกขอ

Page 115: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

104

Pre Test )

1. ข

2. ก

3. ค

4. ก

5. ก

6. ก

7. ก

8. ข

9. ค

10. ค

11. ค

12. ก

13. ค

14. ข

15. ง

16. ค

17. ข

18. ข

19. ค

20. ข

21. ง

22. ค

23. ง

24. ง

25. ข

26. ก

27. ก

28. ก

29. ข

30. ค

Page 116: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

105

1 เรื่องสวนประกอบกลอง

1. ก

2. ง

3. ข

4. ก

5. ง

6. ค

7. ก

8. ก

9. ก

10. ข

2 เรื่องมุมภาพ

1. ข

2. ง

3. ค

4. ข

5. ก

6. ข

7. ก

8. ข

9. ง

10. ค

3 เรื่องการเคลื่อนไหวกลอง

1. ง

2. ง

3. ข

4. ค

5. ง

6. ง

7. ข

8. ก

9. ก

10. ก

Page 117: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

106

1. ข

2. ค

3. ก

4. ง

5. ค

6. ข

7. ก

8. ค

9. ก

10. ข

11. ก

12. ค

13. ค

14. ข

15. ข

16. ค

17. ง

18. ข

19. ค

20. ข

21. ค

22. ค

23. ง

24. ง

25. ข

26. ก

27. ก

28. ก

29. ข

30. ง

Page 118: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

107

Page 119: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

108

คาดัชนีความสอดคลองดานเนื้อหาของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนโดยผูเชี่ยวชาญดาน

เนื้อหา (n=3)

รายการประเมิน

ความคิดเห็นของ

ผูเช่ียวชาญ รวม IOC ความหมาย

คน

ท่ี 1

คน

ท่ี 2

คน

ท่ี 3

1. ความสอดคลองเหมาะสมกับหลักสูตร 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2. ความสอดคลองเหมาะสมกับธรรมชาติวิชา 1 1 1 3 1 สอดคลอง

3. ความสอดคลองเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 1 1 0 2 0.67 สอดคลอง

4. ความสอดคลองเหมาะสมกับสภาพปจจุบันและปญหา 1 1 1 3 1 สอดคลอง

5. ความเหมาะสมตอกระบวนการพัฒนาผูเรียน 1 0 1 2 0.67 สอดคลอง

6. ความเหมาะสมของเน้ือหา 1 1 1 3 1 สอดคลอง

7. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 0 1 1 2 0.67 สอดคลอง

8. ความเหมาะสมของการใชภาษา 1 1 1 3 1 สอดคลอง

9. ความเหมาะสมกับความสนใจของนักศึกษา 1 1 0 2 0.67 สอดคลอง

10. ความเหมาะสมของรูปแบบ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

Page 120: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

109

ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญดาผูสอน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญ

S.D. แปล

ผล 1 2 3

1.1 เหมาะสมกับผูเรียน 5 5 5 5 0 ดีมาก

1.2 ความเหมาะสมของเวลาในการนําเสนอ 4 5 4 4.33 0.58 ดีมาก

1.3 การนําเขาสูเรื่อง เสนอเนื้อหา และสรุป 5 4 5 4.67 0.58 ดีมาก

2.1 เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีกําหนด 5 5 5 5 0 ดีมาก

2.2 เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 5 5 5 5 0 ดีมาก

2.3 เนื้อหาถูกตอง และมีคุณคาทางวิชาการ 5 4 4 4.33 0.6 ดีมาก

2.4 ชวยสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ

ศิลปวัฒนธรรม 5 5 5 5 0 ดีมาก

ไมขัดตอความม่ันคงของชาติ

3.1 ใชภาษาถูกตองชัดเจน 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

3.2 ใชภาษาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

3.3 ใชศัพทเฉพาะเหมาะสมกับผูเรียน 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

4.1 ภาพ

- ขนาดและสีของตัวอักษร 5 5 5 5 0 ดีมาก

Page 121: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

110

ผูเชี่ยวชาญ

S.D. แปล

ผล 1 2 3

- ขนาดของภาพ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

- การใหรายละเอียดของภาพ 4 5 4 4.33 0.58 ดีมาก

- การจัดองคประกอบศิลป 5 5 5 5.00 0.00 ดีมาก

- การสื่อความหมาย 5 4 4 4.33 0.58 ดีมาก

- การใชเทคนิคพิเศษ 5 5 5 5 0 ดีมาก

4.2 เสียง

- ความชัดเจนและความดังของเสียงดนตรี 4 4 5 4.33 0.58 ดี

- ความสัมพันธของภาพและเสียงประกอบ 5 4 5 4.67 0.58 ดีมาก

เฉลี่ย 4.5 4.6 4.7 4.74 0.29 ดีมาก

Page 122: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

111

ผลการประเมินคุณภาพสื่อโดยผูเชี่ยวชาญดานบทเรียนวีดิทัศน 3 ทาน

ผูเชี่ยวชาญ

X S.D. แปล

ผล 1 2 3

1.1 เหมาะสมกับผูเรียน 5 5 4 4.7 0.58 ดีมาก

1.2 ความเหมาะสมของเวลาในการนําเสนอ 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

1.3 การนําเขาสูเรื่อง เสนอเน้ือหา และสรุป 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

2.1 เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีกําหนด 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

2.2 เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 5 5 4 4.7 0.58 ดีมาก

2.3 เนื้อหาถูกตอง และมีคุณคาทางวิชาการ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

2.4 ชวยสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ

ศิลปวัฒนธรรม 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

ไมขัดตอความม่ันคงของชาติ

3.1 ใชภาษาถูกตองชัดเจน 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

3.2 ใชภาษาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน 4 4 5 4.33 0.58 ดี

3.3 ใชศัพทเฉพาะเหมาะสมกับผูเรียน 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

4.1 ภาพ

- ขนาดและสีของตัวอักษร 5 5 5 5 0 ดีมาก

Page 123: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

112

ผูเชี่ยวชาญ

X S.D. แปล

ผล 1 2 3

- ขนาดของภาพ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

- การใหรายละเอียดของภาพ 4 4 5 4.33 0.58 ดี

- การจัดองคประกอบศิลป 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

- การสื่อความหมาย 5 4 4 4.33 0.58 ดี

- การใชเทคนิคพิเศษ 5 5 5 5 0.00 ดีมาก

4.2 เสียง

- ความชัดเจนและความดังของเสียงดนตรี 4 5 5 4.67 0.58 ดีมาก

- ความสัมพันธของภาพและเสียงประกอบ 5 5 4 4.67 0.58 ดีมาก

เฉลี่ย 4.60 4.7 4.7 4.80 0.26 ดีมาก

Page 124: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

113

ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองโทรทัศน รายบุคคลจํานวน 3 คน

คนท่ี

ระหวางเรียนชุดท่ี

รวม

(30)

รอยละ

E1

หลังเรียน

(30) รอยละ E2

1

(10)

2

(10)

3

(10)

1 8 8 6 22 73.33 27 90.00

2 6 6 6 18 60 18 60.00

3 5 8 6 19 63.33 20 66.67

รวม 19 22 18 59 65.55 65 72.22

E1 = 65.55 E2 = 72.22

Page 125: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

114

ประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน เรื่อง การใชกลองสําหรับการผลิตรายการโทรทัศน แบบกลุม

เล็กจํานวน 9 คน

คน

ท่ี

ระหวางเรียนชุดท่ี

รวม

(30)

รอยละ

E1

หลังเรียน

(30)

รอยละ

E2 1

(10)

2

(10)

3

(10)

1 10 7 9 26 86.67 25 83.33

2 9 8 7 24 80.00 28 93.33

3 7 8 10 25 83.33 24 80.00

4 8 8 8 24 80.00 28 93.33

5 9 6 6 21 70.00 16 53.33

6 9 9 8 26 86.67 25 83.33

7 7 9 8 24 80.00 24 80.00

8 9 6 6 21 70.00 23 76.67

9 9 10 8 27 90.00 26 86.67

รวม 77 71 70 218 80.74 219 81.11

E1 = 80.74 E2 = 81.11

Page 126: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

115

การหาประสิทธิภาพของบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนสําหรับนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คนท่ี

ระหวางเรยีนชุดท่ี รวม

(30)

รอยละ E1

หลังเรยีน (30)

รอยละ E2 1 (10) 2 (10) 3 (10)

1 8 8 8 24 80.00 29 96.67

2 9 8 9 26 86.67 23 76.67

3 8 9 8 25 83.33 29 96.67

4 8 9 9 26 86.67 25 83.33

5 10 8 9 27 90.00 29 96.67

6 10 10 8 28 93.33 28 93.33

7 6 7 9 22 73.33 25 83.33

8 6 7 9 22 73.33 28 93.33

9 9 10 10 29 96.67 26 86.67

10 9 9 9 27 90.00 26 86.67

11 8 10 8 26 86.67 28 93.33

12 8 9 10 27 90.00 27 90.00

13 10 9 9 28 93.33 27 90.00

14 9 10 9 28 93.33 26 86.67

15 7 9 8 24 80.00 22 73.33

16 10 9 9 28 93.33 24 80.00

17 8 9 8 25 83.33 23 76.67

18 8 9 9 26 86.67 24 80.00

19 7 8 7 22 73.33 25 83.33

20 7 8 8 23 76.67 25 83.33

Page 127: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

116

คนท่ี

ระหวางเรยีนชุดท่ี รวม

(30) รอยละ

E1 หลังเรยีน

(30) รอยละ E2

1 (10) 2 (10) 3 (10)

21 10 9 8 27 90.00 24 80.00

22 7 9 7 23 76.67 25 83.33

23 10 9 8 27 90.00 25 83.33

24 9 8 8 25 83.33 26 86.67

25 8 8 9 25 83.33 26 86.67

26 8 10 9 27 90.00 27 90.00

27 9 10 10 29 96.67 25 83.33

28 9 9 9 27 90.00 29 96.67

29 10 8 10 28 93.33 28 93.33

30 10 10 10 30 100.00 29 96.67

รวม 255 265 261 781 86.78 783 87.00

E1 = 86.78 E2 = 87

Page 128: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

117

ตารางท่ี 13 คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ท่ีไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง

ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน

จุดประสงคการเรียนรู ขอ ผูเชี่ยวชาญ

IOC หมายเหตุ 1 2 3

1. มีความรูความเขาใจในสวนประกอบของกลอง

ผลิตรายการ

1 1 0 1 0.67 นําไปใชได

2 1 1 1 1.00 นําไปใชได

3 1 1 1 1.00 นําไปใชได

4 1 1 1 1.00 นําไปใชได

5 1 1 1 1.00 นําไปใชได

6 0 0 0 0.00 ตัดออก

7 1 1 1 1.00 นําไปใชได

8 1 1 1 1.00 นําไปใชได

9 1 1 1 1.00 นําไปใชได

10 1 1 0 0.67 นําไปใชได

2. มีความรูความเขาใจในคุณลักษณะของการใช

กลองผลิตรายการ

11 1 1 0 0.67 นําไปใชได

12 1 0 1 0.67 นําไปใชได

13 1 1 1 1.00 นําไปใชได

14 1 1 1 1.00 นําไปใชได

15 1 1 1 1.00 นําไปใชได

16 1 1 1 1.00 นําไปใชได

17 1 1 1 1.00 นําไปใชได

Page 129: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

118

จุดประสงคการเรียนรู ขอ ผูเชี่ยวชาญ

IOC หมายเหตุ 1 2 3

( ตอ )

18 1 1 1 1.00 นําไปใชได

19 1 1 1 1.00 นําไปใชได

20 1 1 1 1.00 นําไปใชได

3. มีความรูความเขาใจในคุณลักษณะของมุม

ภาพ

21 1 1 1 1.00 นําไปใชได

22 1 1 1 1.00 นําไปใชได

23 1 1 1 1.00 นําไปใชได

24 1 1 1 1.00 นําไปใชได

25 1 1 1 1.00 นําไปใชได

26 1 1 1 1.00 นําไปใชได

27 1 1 1 1.00 นําไปใชได

28 0 1 1 0.67 นําไปใชได

29 1 1 1 1.00 นําไปใชได

30 1 1 1 1.00 นําไปใชได

31 1 1 1 1.00 นําไปใชได

32 0 1 1 0.67 นําไปใชได

33 1 1 1 1.00 นําไปใชได

34 1 1 1 1.00 นําไปใชได

35 1 1 1 1.00 นําไปใชได

Page 130: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

119

4. มีความสนใจในการแสวงหาความรูนอก 36 1 1 1 1.00 นําไปใชได

บทเรียน 37 1 1 1 1.00 นําไปใชได

38 1 1 1 1.00 นําไปใชได

39 1 1 1 1.00 นําไปใชได

40 1 1 1 1.00 นําไปใชได

41 1 1 1 1.00 นําไปใชได

42 1 1 1 1.00 นําไปใชได

5. มีความรูความเขาใจในเรื่องการเคลื่อนกลอง 43 1 1 1 1.00 นําไปใชได

44 1 0 1 0.67 นําไปใชได

45 1 1 1 1.00 นําไปใชได

46 1 1 1 1.00 นําไปใชได

47 1 1 1 1.00 นําไปใชได

48 1 1 1 1.00 นําไปใชได

49 1 1 1 1.00 นําไปใชได

50 1 1 1 1 นําไปใชได

51 1 1 1 1.00 นําไปใชได

52 1 1 1 1.00 นําไปใชได

53 1 0 1 0.67 นําไปใชได

54 1 1 1 1.00 นําไปใชได

55 1 1 1 1.00 นําไปใชได

56 1 1 1 1.00 นําไปใชได

Page 131: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

120

57 1 0 1 0.67 นําไปใชได

58 1 0 1 0.67 นําไปใชได

59 1 1 1 1.00 นําไปใชได

60 1 1 1 1.00 นําไปใชได

Page 132: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

121

ตารางท่ี 14 แสดงคาความยากงาย และอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ จํานวน 60 ขอ

p) 1 0.45 0.10 ตัดท้ิง 2 0.30 0.20 นําไปใช 3 0.25 0.10 ตัดท้ัง 4 0.40 0.20 นําไปใช 5 0.25 0.30 นําไปใช 6 0.50 0.40 นําไปใช 7 0.50 0.00 ตัดท้ิง 8 0.65 0.10 ตัดท้ิง 9 0.30 0.60 นําไปใช 10 0.80 0.00 ตัดท้ิง 11 0.35 0.30 นําไปใช 12 0.60 -0.20 ตัดท้ิง 13 0.45 0.10 ตัดท้ิง 14 0.65 -0.10 ตัดท้ิง 15 0.40 0.40 นําไปใช 16 0.40 0.00 ตัดท้ิง 17 0.50 0.00 ตัดท้ิง 18 0.80 0.00 ตัดท้ิง 19 0.45 0.10 ตัดท้ิง 20 0.60 0.40 นําไปใช 21 0.35 0.10 ตัดท้ิง 22 0.40 0.40 นําไปใช 23 0.60 0.80 นําไปใช 24 0.35 0.10 ตัดท้ิง 25 0.45 0.30 นําไปใช 26 0.55 0.50 นําไปใช 27 0.60 0.60 นําไปใช 28 0.60 0.20 นําไปใช

Page 133: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

122

p) 29 0.65 -0.10 ตัดท้ิง 30 0.50 0.60 นําไปใช 31 0.70 0.40 นําไปใช 32 0.60 0.00 ตัดท้ิง 33 0.70 0.20 นําไปใช 34 0.55 0.50 นําไปใช 35 0.55 0.50 นําไปใช 36 0.75 0.30 นําไปใช 37 0.45 0.10 ตัดท้ิง 38 0.60 0.40 นําไปใช 39 0.75 0.30 นําไปใช 40 0.65 0.10 ตัดท้ิง 41 0.45 0.50 นําไปใช 42 0.25 0.10 ตัดท้ิง 43 0.45 0.50 นําไปใช 44 0.45 0.50 นําไปใช 45 0.80 0.20 นําไปใช 46 0.30 0.40 นําไปใช 47 0.55 0.10 ตัดท้ิง 48 0.35 0.10 ตัดท้ิง 49 0.65 0.70 นําไปใช 50 0.45 0.00 ตัดท้ิง 51 0.55 0.70 นําไปใช 52 0.40 0.60 นําไปใช 53 0.40 0.20 นําไปใช 54 0.50 -0.20 ตัดท้ิง 55 0.35 0.10 ตัดท้ิง 56 0.45 0.10 ตัดท้ิง 57 0.55 0.10 ตัดท้ิง 58 0.55 0.10 ตัดท้ิง 59 0.45 -0.10 ตัดท้ิง 60 0.70 0.20 นําไปใช

Page 134: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

123

ตารางท่ี 15 คาความสอดคลอง(IOC)คําถามแบบประเมินคุณภาพสื่อผูเชี่ยวชาญดานวีดิทัศน

ผูเชี่ยวชาญ

รวม IOC ความหมาย 1 2 3

1.1 เหมาะสมกับผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

1.2 ความเหมาะสมของเวลาในการนําเสนอ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

1.3 การนําเขาสูเรื่อง เสนอเน้ือหา และสรุป 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.1 เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีกําหนด 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.2 เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.3 เนื้อหาถูกตอง และมีคุณคาทางวิชาการ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.4 ชวยสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และศิลปวัฒนธรรม 1 1 1 3 1 สอดคลอง

ไมขัดตอความม่ันคงของชาติ

3.1 ใชภาษาถูกตองชัดเจน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

3.2 ใชภาษาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

3.3 ใชศัพทเฉพาะเหมาะสมกับผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

4.1 ภาพ

- ขนาดและสีของตัวอักษร 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- ขนาดของภาพ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

Page 135: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

124

- การใหรายละเอียดของภาพ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- การจัดองคประกอบศิลป 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- การสื่อความหมาย 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- การใชเทคนิคพิเศษ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

4.2 เสียง

- ความชัดเจนและความดังของเสียงดนตรี 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- ความสัมพันธของภาพและเสียงประกอบ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

Page 136: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

125

ตารางท่ี 16 สรุปคาความสอดคลองคําถาม(IOC)แบบประเมินคุณภาพบทเรียนวีดิทัศนจากผูเชี่ยวชาญ

ดานผูสอน

ผูเชี่ยวชาญ

วม IOC ความหมาย 1 2 3

1.1 เหมาะสมกับผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

1.2 ความเหมาะสมของเวลาในการนําเสนอ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

1.3 การนําเขาสูเรื่อง เสนอเน้ือหา และสรุป 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.1 เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีกําหนด 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.2 เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.3 เนื้อหาถูกตอง และมีคุณคาทางวิชาการ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

2.4 ชวยสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ

ศิลปวัฒนธรรม 1 1 1 3 1 สอดคลอง

ไมขัดตอความม่ันคงของชาติ

3.1 ใชภาษาถูกตองชัดเจน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

3.2 ใชภาษาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

3.3 ใชศัพทเฉพาะเหมาะสมกับผูเรียน 1 1 1 3 1 สอดคลอง

4.1 ภาพ

- ขนาดและสีของตัวอักษร 1 1 1 3 1 สอดคลอง

Page 137: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

126

- ขนาดของภาพ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- การใหรายละเอียดของภาพ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- การจัดองคประกอบศิลป 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- การสื่อความหมาย 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- การใชเทคนิคพิเศษ 1 1 1 3 1 สอดคลอง

4.2 เสียง

- ความชัดเจนและความดังของเสียงดนตรี 1 1 1 3 1 สอดคลอง

- ความชัดเจนและความดังของเสียงดนตรี 1 1 1 3 1 สอดคลอง

Page 138: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

127

.

-

-

-

Page 139: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

128

ภาพ เสียง MS พิธีกรหญิง Vox.1 สวัสดีคะ ขอตอนรับเขาสูบทเรียน วีดิทัศน เรื่องการใช

กลองโทรทัศน ดิฉันสุธาสินี พรอมประดิษฐ จะพานักศึกษาทุกทานไปทําความรูจักกับกลองตัวนี้ แตกอนอ่ืนเรามาดูกันคะวาหนาท่ีของเจากลองโทรทัศนเนี่ยมีอะไรกันบางคะ

ภาพทิวทัศนสีสันสดใส ภาพมุมสูง CU กลองโทรทัศนหลายๆมุม ภาพกราฟฟกการทํางานของกลองโทรทัศน

เสียงผูบรรยายหญิง กลองโทรทัศนเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส คุณภาพของภาพท่ีถายออกมาจะดีหรือไมข้ึนอยูท่ีคุณภาพของกลองโทรทัศน ไมวาจะเปนความคมชัด ความสดใสของสีสัน หรือแมกระท่ังปริมาณ ของสัญญาณรบกวน ลวนเปนผลจากกลองโทรทัศนท้ังสิ้น กลองโทรทัศน คือ อุปกรณท่ีทําหนาท่ีเปลี่ยนแปลงสัญญาณภาพจากวัตถุท่ีอยูนิ่งหรือเคลื่อนไหวออกไปในรูปของสัญญาณไฟฟา เพ่ือใหภาพของวัตถุนั้นปรากฏบนจอโทรทัศน ภาพท่ีเราเห็นเคลื่อนไหวบนจอโทรทัศนนั้นก็คือ ผลของการสงและรับภาพนิ่งท่ีมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอยหลายภาพตอหนวยเวลา ลักษณะการทํางานของกลองโทรทัศนก็คือ เม่ือเราถายภาพหรือวัตถุท่ีเราตองการ แสงสีจากภาพหรือวัตถุนั้นจะสะทอนเขามาท่ีเลนสโดยท่ีแสงสีจากวัตถุนั้นมีความเขมมาก หรือนอยไมเทากันตามคุณลักษณะของวัตถุนั้น แสงสีท่ีผานเขาไปในเลนสของกลองโทรทัศนจะไป กระทบกับหนวยรับภาพ หนวยรับภาพก็จะทําหนาท่ีเปลี่ยนสัญญาณแสงใหเปนสัญญาณไฟฟาสงไปยังเครื่องรับโทรทัศน เครื่องรับโทรทัศนก็จะเปลี่ยนสัญญาณไฟฟาใหเปนภาพเคลื่อนไหวไดบน จอโทรทัศน

MS พิธีกรหญิง Vox 2. เม่ือเรารูจักท่ีมาของกลองโทรทัศนแลวตอไปเรามาทําความรูจักกันใหละเอียดมากข้ึนกับสวนประกอบของกลองโทรทัศนและการใชกลองโทรทัศนกันเลยดีกวาคะ

กราฟฟกหัวขอกลองโทรทัศนโดยท่ัวไปจะประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวน CU เลนส ภาพการใชงานเลนส

เสียงผูบรรยายหญิง

กลองโทรทัศนโดยท่ัวไปจะประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ

1. เลนส (Lens) เปนอุปกรณมีหนาท่ีรวมแสงสวางท่ีสะทอน

จากวัตถุซ่ึงอยูหนากลองใหตกลงบนอุปกรณรับภาพพอดี จากนั้น

อุปกรณรับภาพ เชน หลอดรับภาพ (Pickup Tube)หรือ CCD

(Charge-Coupled Device) จะทําหนาท่ีเปลี่ยนแสงสวางใหเปน

Page 140: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

129

ภาพzoom out ภาพzoom in

ภาพกราฟฟกการทํางานรูรับ

แสง

กราฟฟกหัวขอ

CU ตัวกลองโทรทัศน

ภาพหลอดรับภาพ

ภาพตัว CCD

กราฟฟกการทํางานของCCD

กราฟฟกหัวขอ

CU จอมองภาพท่ีกําลัง

ทํางานอยู

สัญญาณไฟฟากลองโทรทัศนท่ัวไปมักจะใชเลนสชนิดซูมเลนส ซ่ึง

สามารถผลักภาพออกไปหรือดึงภาพเขามาไดทําใหสะดวกตอการ

ปรับภาพใหมีขนาดใหญข้ึนหรือเล็กลงไดตามตองการ หรือสามารถ

ปรับเปลี่ยนขนาดของภาพจากการถายระยะไกลเปนระยะใกลได

อยางนุมนวลและตอเนื่อง โดยไมตองเคลื่อนท่ีท้ังตัวกลองและวัตถุให

เขาหาหรือถอยหางออกจากกัน รูรับแสงภายในเลนสจะเปนตัว

ควบคุมปริมาณของแสงใหเขาไปยังกลองไดมากนอยตามสภาพของ

แหลงแสงสวางหรือสถานท่ีท่ีไปถายทํา

2. ตัวกลอง ตามหลักการแลวในตัวกลองจะมีอุปกรณรับ

ภาพอยูภายใน ทําหนาท่ีเปลี่ยนภาพท่ีเราเห็นใหเปนสัญญาณทาง

ไฟฟาซ่ึงเรียกวาสัญญาณวีดิโอ อุปกรณรับภาพท่ีใชกันในปจจุบันมีอยู

2 ชนิดคือ หลอดรับภาพ ซ่ึงมักจะใชกับกลองสตูดิโอขนาดใหญ

เนื่องจากใหลักษณะของภาพสวยงามมีคุณภาพดี กับอุปกรณ CCD

ซ่ึงบางทีเรียกวา ชิพ (Chips) หรืออิเมจเซนเซอร (Image Sensors)

อุปกรณรับภาพนี้จะมีความไวตอแสงเชนเดียวกับมิเตอรวัดแสง

กลาวคือ เม่ือหลอดภาพหรือ CCD ไดรับแสงสวางมากจะเกิดเปน

สัญญาณวีดิโอแรงเหมือนกับตอนท่ีเข็มของเครื่องวัดแสงตีสูงข้ึน แต

ถามีแสงสวางนอยก็จะไดสัญญาณวีดิโอนอยหรือเหมือนกับเข็มของ

เครื่องวัดแสงตีข้ึนนอย ลักษณะเดียวกันนี้บริเวณที่เปนฉากซ่ึงไดรับ

แสงไมเทากันก็จะแปรเปลี่ยนไปเปนสัญญาณวีดิโอไมเทากัน

สัญญาณวีดิโอท่ีไดนี้ก็จะถูกสงไปยังหนวยควบคุมกลองท่ีเรียกวา

CCU (Camera Control Unit) แลวสงไปเขาเครื่องบันทึกเทปวีดิ

ทัศนตอไป

3. จอมองภาพ (View Finder) เปนมอนิเตอรขนาดเล็กติด

ตั้งอยูบนตัวกลองเพ่ือแสดงใหเห็นวากลองกําลังจับภาพอะไรอยู จอ

มองภาพของกลองสวนมากจะเปนชนิดโมโนโครมคือเปนภาพขาวดํา

แตกลองสตูดโิอคุณภาพสูงบางตัวอาจใชจอมองภาพท่ีใหภาพสี

ดังนั้นเราจึงเห็นเปนภาพสีเหมือนจริงและกลองก็จะใหสัญญาณภาพ

ท่ีเปนสีนั้น ๆ เชนกันการใชกลองโทรทัศน

Page 141: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

130

กราฟฟกหัวขอ

MS คนกําลังเปดอานคูมือ

LS คนกําลังศึกษาในความ

สนใจกลองโทรทัศน

LS คนกําลังนั่งเช็คอุปกรณ

โดยใหเห็นอุปกรณท้ังหมด

MS คนกําลังยืนการบทอยู

ภาพการประกอบกลองกับขา

ตั้งกลอง

CU ลูกน้ํา

LS การใชขาตั้งกลอง

CU หนาจอเมนู

CU ปุมตางๆท่ีกลอง

LS ชางภาพทําความสะอาด

กลอง

ข้ันตอนท่ีควรปฏิบัติในการใชกลองโทรทัศน

1. ข้ันตอนแรกของการเปนชางภาพที่ดี คือจะตองศึกษา

คูมือของการใชกลองชนิดนั้น ๆ อยางละเอียดจนสามารถเขาใจและ

สามารถใชกลองไดอยางถูกวิธีตามท่ีทางผูผลิตไดแจงไว

2. ฝกความชํานาญของการใชฟงกชั่น (Function) ตาง ๆ

จากตัวกลองจนเกิดความคุนเคย ซ่ึงถามีความชํานาญแลวจะสามารถ

ถายภาพออกมาไดตามท่ีตองการ และโอกาสเกิดความผิดพลาดของ

การถายภาพก็จะหมดไป

3. ตรวจเช็คความพรอมตาง ๆ ของอุปกรณท่ีรวมอยูในชุด

บันทึกเทปโทรทัศนอยูเสมอ โดยเริ่มต้ังแตตัวกลอง แบตเตอรี่ ขาตั้ง

กลอง มอนิเตอร ไมโครโฟน สายเคเบิลสายไฟ ฯลฯ

4. ศึกษารายละเอียดของบทโทรทัศนกอนการถายเพ่ือให

เกิดความเขาใจในเนื้อหา ซ่ึงจะสงผลใหการถายภาพเปนไปตาม

วัตถุประสงคท่ีตองการ

5. กอนการถายภาพแตละครั้งควรมีการศึกษาสถานท่ี ๆ จะ

ทําการถายเสียกอนโดยเลือกมุมและกําหนดตําแหนงของกลองใหได

ภาพท่ีดีท่ีสุด ซ่ึงนอกจากผูกํากับแลว ชางภาพควรมีการเตรียมตัวใน

ดานนี้ดวย เพราะจะทําใหสามารถสรางสรรคภาพใหออกมาไดอยางมี

คุณภาพ

6. นอกจากการฝกการใชกลองใหเกิดความชํานาญแลว ขา

ตั้งกลอง (Tripod)เปนอีกปจจัยหนึ่งท่ีจะทําใหภาพท่ีถายออกมาเกิด

ความนุมนวลไมสั่นไหว ควรฝกใชจนสามารถควบคุมระบบการ

ทํางานของขาตั้งกลองไดเปนอยางดี ซ่ึงจะสงผลใหภาพท่ีถายออกมา

ไมสั่นไหวมีคุณภาพเปนท่ีนาพอใจ

7. กลองโทรทัศนในระบบตาง ๆ ถึงแมวาจะมีระบบการ

ทํางานท่ีคลาย ๆ กัน แตเพ่ือใหการบันทึกเทปโทรทัศนออกมาอยางมี

คุณภาพ จึงควรศึกษารายละเอียดของกลองแตละชนิดแตละระบบ

กอนนํามาใชงานจริงเสมอ ทําใหเม่ือนํากลองไปใชจริง โอกาส

Page 142: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

131

Ms เก็บกลองลงกลอง

CU ถอดแบตออกจากตัว

กลอง

Ls. กระบวนการไวทบลานซ

ผิดพลาดจากการใชกลองก็จะไมเกิดข้ึน สงผลใหภาพท่ีถายออกมาได

ตามวัตถุประสงคท่ีตองการ

8. กอนและหลังการใชกลองควรมีการบํารุงรักษา ทําความ

สะอาด ตรวจเช็คกลองและอุปกรณตาง ๆ ใหอยูในสภาพพรอมท่ีจะ

ใชงานในครั้งตอไปอยูเสมอ

9. หลังเสร็จสิ้นการใชงานแลว ควรแยกแบตเตอรี่ออกจาก

ตัวกลองและชารตแบตเตอรี่ไวทุกครั้ง ไมควรคางแบตเตอรี่ไวในตัว

กลองเปนเวลานาน เพราะอาจทําใหกลองโทรทัศนเกิดความเสียหาย

ได

10. การปรับไวทบลานซ ในการถายทํานอกสถานท่ี

แหลงท่ีมาของแสง จะมีหลากหลาย ต้ังแตแสงอาทิตย แสงตก

กระทบตาของคนเราจะมองเห็นเปนแสงสีขาวในทุกสภาวะ แตถา

มองผานกลองผลิตรายการ เราจะเห็นแสงสีขาวแน สีขาวอมน้ําเงิน

หรือสีขาวอมแดง แตกตางกันตามแหลงท่ีกําเนิดแสง เพราะฉะนั้นใน

การถายภาพวีดิทัศนนอกสถานท่ี ชางภาพตอง ปรับไวทบลาซทุกครั้ง

ท่ีอุณหภมิสีเปลี่ยนหรือมีแหลงกําเนิดแสงท่ีตางกัน การปรับไวทบ

ลานสทําไดโดยเล็งกลองเขาหาวัตถุท่ีมีสีขาว หรือบนกระดาษขาว

แลวกดปุมไวทบลานสบนตัวกลอง

MS พิธีกร Vox 3. จะเห็นไดวาสวนประกอบของกลอง หลักๆมีดวยกันอยู 3 ตัว คือเลนส ตัวกลอง และจอมองภาพ เราไดเรียนรูถึงการใชกลองเปนท่ีเรียบรอยแลวแลวตอไปเราจะมาเรียนรูเรื่องมุมภาพ และมุมกลอง กันนะคะ

กราฟฟก ภาพทิวทัศนแบบ ELS ภาพLS

เสียงผูบรรยายหญิง

ลักษณะภาพ (Shot Size) เปนการกําหนดขนาดของภาพท่ี

จะใหสื่อสารเนื้อหาหรือเหตุการณตอผูชม ลักษณะภาพตาง ๆ มีดังนี้

Extreme Long Shot (XLS หรือ ELS) คือภาพท่ีวัตถุอยูหางไกล

จากกลองมากนําไปใชกับการถายภาพใหเห็นบริเวณหรือพ้ืนท่ี

โดยรวม เชน ภาพวิวทิวทัศน ภาพชายทะเลกลุมคนจํานวนมาก จึง

บอกรายละเอียดของภาพไดนอย

Page 143: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

132

ภาพMS ภาพCU ภาพECU ภาพ Bust Shot ภาพ Knee Shot ภาพ Two Shot ภาพ Three Shot ภาพOS ตัวอยางภาพที่ไมดี 2-3 ภาพ

Long Shot (LS) เปนการถายภาพระยะไกล หากเปนภาพ

บุคคลก็จะเห็นเต็มตัวใหรายละเอียดของภาพมากขึ้น

Medium Shot (MS) ภาพระยะปานกลาง หรือภาพบุคคล

ครึ่งตัว ซ่ึงนิยมใชในการถายทํารายการโทรทัศนท่ัวไป จะเห็นไดจาก

ภาพการรายงานขาวทางโทรทัศนท่ัวไป

Close-Up (CU) หรือ Close shot เปนภาพระยะใกล เชน

ภาพเห็นหัวไหลหรือราวนมข้ึนไป Extreme Close-Up (ECU หรือ

XCU) เปนภาพท่ีตองการเนนเฉพาะสวน เชน ใบหนา ดวงตา

บางครั้งจะตัดสวนท่ีเปนผมไปบาง เพ่ือใหเห็นตั้งแตปลายคางไป

จนถึงหนาผากเรียกวา ภาพแบบ Cross Shot ภาพจึงบอก

รายละเอียดไดมากแมกระท่ังการแสดงออกทางอารมณ

นอกจากนี้การถายภาพบุคคลยังแบงไดอีก 5 ลักษณะ ไดแก

1. Bust Shot คือภาพเหนือราวนมขึ้นไป

2. Knee Shot เปนการจัดภาพถายเหนือหรือใตหัวเขา

3. Two Shot เปนภาพของบุคคล 2 คน หรือวัตถุ 2 ชิ้นอยูในเฟรม

เดียวกัน

4. Three Shot หรือ Group Shot เปนภาพคนหรือวัตถุตั้งแต 3 ชิ้น

อยูในเฟรมเดียวกัน

5. Over-Shoulder (OS) คือการจับภาพเหนือหัวไหล กลองหรือผูดู

จะเห็นภาพของอีกคนหน่ึงซ่ึงเปนคูสนทนาในลักษณะมองขามหัวไหล

สิ่งท่ีควรระวังในการถายภาพบุคคลก็คือตองไมจับภาพแลว

ทําใหดูคอขาด มือขาดหรือเทาขาด ลักษณะของภาพคอขาดก็คือจับ

ภาพไมไหเห็นหัวไหล จะเห็นเฉพาะลําคอและสวนศีรษะ ภาพมือขาด

จะจับภาพใหเห็นศีรษะ ลําตัว แขน สวนขอมือหายไป ซึ่งไมควร

กระทําอยางยิ่ง

นอกเหนือจากลักษณะภาพแลว มุมกลองยังชวยใหการรับรูของผูชม

Page 144: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

133

ตอเหตุการณในรายการมีความหมายมากยิ่งข้ึนดวย

ภาพมุมปกติ (Normal Angle Shot) เปนมุมกลองปกติท่ีใชมาก

ท่ีสุด ภาพอยูในระดับสายตา โดยยึดเอาสิ่งท่ีถายเปนหลัก ไมใชระดับ

สายตาของผูถาย

ภาพมุมตํ่า (Low Angle Shot) เปนมุมกลองท่ีอยูต่ํากวาระดับ

สายตาและถายเงยข้ึนมายังสิ่งท่ีจับภาพ เปนภาพท่ีใหความรูสึกถึง

พลัง อํานาจ ความยิ่งใหญ

ภาพมุมสูง (High Angle Shot) กลองจะตั้งอยูสูงกวาระดับสายตา

และถายลงมา ใหภาพท่ีแสดงถึงความตอยตํ่า ขาดพลัง ความวาเหว

รวมทั้งการจับภาพกวาง ๆ จากมุมสูงดวย

ภาพมุมเอียง (Canted Angle Shot) ทําไดโดยตั้งกลองใหเอียง ให

ความรูสึกถึงความเคลื่อนไหว ความต่ืนเตน ความไมม่ันคง รวมท้ัง

ภาพแปลกตาดวย ภาพแบบน้ีสะดวกที่จะใชกับกลองอีเอ็นจีมากกวา

กลองสตูดิโอ

ภาพอ็อฟเจ็คทีฟ (Objective Shot) เปนภาพท่ัว ๆ ไป เหมือนภาพ

มุมปกติเหมือนผูชมเปนบุรุษท่ีสามท่ีมองเห็นเหตุการณนั้นอยู

ภาพซับเจ็คทีฟ (Subjective Shot) เปนภาพท่ีกลองโทรทัศนจะไป

อยูในตําแหนงของตัวละครและถายภาพแทนสายตาของเขา มักใชคู

กับภาพอ็อฟเจ็คทีฟ ดังเชน ภาพชายคนหนึ่งกําลังนั่งอานหนังสือ

ภาพตอไปเปนภาพถายแทนสายตาของเขาไปบนหนังสือหนานั้นเพ่ือ

สื่อสารใหผูชมทราบวาสิ่งท่ีเขากําลังอานนั้นคืออะไร

MS พิธีกร Vox 4 มุมภาพและมุมกลองท่ีดีนอกจากจะทําใหภาพสวยดูแปลกตาแลว ยังเปนตัวสื่อความหมายท่ีดี นอกจากมุมแลวการเคลื่อนไหวกลองก็เปนอีกวิธีท่ีสื่อความหมายไดดี ตอนนี้เรามาเรียนรูเรื่องการเคลื่อนไหวกลองกันตอเลยคะ

กราฟฟกหัวขอการเคลื่อนไหวกลอง

เสียงผูบรรยายหญิง การเคลื่อนไหวกลอง ทําใหไดภาพท่ีมีชีวิตชีวา นาสนใจมาก

ข้ึน ลักษณะภาพที่ไดจากการเคล่ือนไหวกลองแบบพ้ืนฐาน 1. Pan คือ การต้ังกลองอยูกับท่ี แลวสายสวนหนาของกลองไปตาม

Page 145: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

134

Ls. ภาพคนกําลังแพนกลอง Ms. ภาพวีดิโอตอนแพนกลอง Ls. ภาพคนกําลั Tilt กลอง Ms. ภาพวีดิโอตอน Tilt กลอง ภาพตามลําดับเนื้อหา

แนวราบเปนเสนตรงไปทางซายหรือขวา คือ Pan left และ Pan right ภาพที่ไดจากการ Pan จะเหมือนกับใหผูชมกวาดสายตามองไปทางซาย ทางขวา หรือมองไปรอบ ๆ ตัวในแนวราบ ทําใหเห็นภาพในแนวกวางไดมากกวาการถายแบบธรรมดา นิยมใชภาพ Pan เม่ือตองการติดตามการเคลื่อนท่ีของวัตถุท่ีถาย เพ่ือเปลี่ยนจุดสนใจในภาพ เพ่ือแสดงสวนตาง ๆ ของสิ่งท่ีถายตามลําดับ การPan น้ีจะเร็วหรือชาก็ไดตามอารมณของเรื่อง 2. Tilt คือ การต้ังกลองอยูกับท่ี แลวเงยหรือกมสวนหนาของกลองข้ึนหรือลงเปน เสนตรงในแนวด่ิง เพ่ือเปลี่ยนมุมมอง หรือมุมกลอง ใหเงยสูงข้ึนหรือกมต่ําลง มี 2 ลักษณะ คือ Tilt up เปนการเงยสวนหนาของกลองข้ึน เพ่ือใชแสดงความสูงหรือติดตาม วัตถุท่ีเคลื่อนท่ีข้ึนท่ีสูง เพ่ือแสดงรายละเอียดของสิ่งท่ีถายจากสวนลางข้ึนไปสูสวนบนหรือสวนยอดเพ่ือเปลี่ยนจุดสนใจจากดานลางข้ึนไปสูดานบน หรือจากท่ีต่ํากวาข้ึนไปสูท่ีสูงกวา Tilt down เปนการกมสวนหนาของกลองลง เพ่ือใชแสดงความสูงจากสวนบน ลงมาสวนลางหรือแสดงความลึก ติดตามวัตถุท่ีเคลื่อนท่ีต่ําลงมาหรือลึกตํ่าลงไป เปนการแสดงรายละเอียดจากสวนบนลงไปยังสวนลาง เพ่ือเปลี่ยนจุดสนใจจากดานบนลงมายังดานลาง หรือจากท่ีสูงกวาลงมายังท่ีต่ํากวา 3. Zoom เปนการต้ังกลองอยูกับท่ี แลวเปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนสซูม เพ่ือใหภาพสิ่งท่ีถายใกลเขามาหรือมีขนาดใหญข้ึน หรือเพ่ือใหภาพท่ีถายไกลออกไป หรือมีขนาด เล็กลง เปนการเปลี่ยนขนาดภาพหรือระยะใกล-ไกลของสิ่งท่ีถายไปจากภาพเดิมกอนซูม การซูมมี 2 ลักษณะ คือ -Zoom In เปนการทําใหสิ่งท่ีถายใกลเขามาจากเดิม สิ่งท่ีถายมีขนาดใหญข้ึน และฉากหลังมีขนาดเล็กลง เปนการเพ่ิมขนาดและความสําคัญของสิ่งท่ีถายมากยิ่งข้ึน ในขณะที่ สภาพแวดลอมมีความสําคัญลดนอยลงตามลําดับและเปลี่ยนขนาดภาพใหสิ่งท่ีถายใกลเขามามากกวาภาพเดิม -Zoom Out เปนการทําใหสิ่งท่ีถายไกลออกไปจากเดิม สิ่งท่ีถายมีขนาดเล็กลง

Page 146: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

135

และฉากหลังมีขนาดใหญข้ึน ทําใหวัตถุท่ีถายลดความสําคัญลงและสภาพแวดลอมมีความสําคัญ มากข้ึนตามลําดับ เปนการเปลี่ยนขนาดภาพใหสิ่งท่ีถายไกลข้ึนกวาภาพเดิม 4. Dolly คือการเคลื่อนท่ีกลองไปทางดานหนาเพ่ือเขาหาสิ่งท่ีถาย หรือถอยหลัง ออกหางจากสิ่งท่ีถายในแนวเสนตรง หรือเพ่ือติดตามการเคลื่อนท่ีของสิ่งท่ีถาย การ Dolly มี 2 ลักษณะ คือ

- Dolly In เปนการเคลื่อนท่ีกลองเขาหาสิ่งท่ีถาย เพ่ือใหสิ่งท่ีถายมีขนาดใหญข้ึน

หรือใกลเขามาจากเดิม เหมือนพาผูชมเขาไปดูสิ่งท่ีถายใกลๆ โดยตัดสิ่งท่ีอยูดานหนาหรือ ใกลเคียงกับสิ่งท่ีถายออกไป เพ่ือเนนรายละเอียดของสิ่งท่ีถายใหมากข้ึน ในขณะท่ีฉากหลัง ไมเปลี่ยนแปลง

- Dolly Out เปนการเคลื่อนท่ีกลองถอยหลังออกหางจากสิ่งท่ีถาย เพ่ือใหสิ่งท่ีถาย

มีขนาดเล็กลง หรือไกลออกไปจากเดิม เหมือนพาผูชมถอยหลังหางสิ่งท่ีถายออกมา ทําใหเห็น สิ่งท่ีอยูดานหนาหรือใกลเคียงกับสิ่งท่ีถายมากข้ึน ลดรายละเอียดของสิ่งท่ีถายลงในขณะที่ฉากหลัง ไมเปลี่ยนแปลง

5. Truck คือการเคลื่อนท่ีกลองออกไปดานขาง ทางดานซายหรือดานขวา เพ่ือให เห็นมุมตาง ๆ ของเหตุการณ สถานท่ี และสิ่งท่ีถาย ทําใหภาพดูเปนสามมิติยิ่งข้ึน ใชติดตามการ เคลื่อนท่ีของสิ่งท่ีถายตามดานขางไดดี 6. เครน คือการเคลื่อนกลองเลื่อนข้ึนลงโดยใชอุปกรณเครน โดย

การเคลื่อนข้ึนเรียก เครนอัพ การเคลื่อนลงเรียก เครนดาวน การใช

เครนนี้เพ่ือใหไดมุมภาพที่เคลื่นท่ีจากสูงลงต่ํา หรือตํ่าข้ึนสูงอยาง

ตอเนื่อง หรือเพ่ือใหไดมุมภาท่ีแปลกตาดูยิ่งใหญ

MS พิธีกร Vox 4 การใชกลองโทรทัศนใหชํานาญและสรางสรรคมุมภาพใหไดหลากหลายนอกจากนักศึกษาจะศึกษาจากวีดิทัศนนี้แลว นักศึกษาตองหม่ันฝกฝนและปฏิบัติจนเกิดความชํานาญ แลวการเปนชางภาพมืออาชีพก็อยูไมไกลเกินฝนคะ

Page 147: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

136

ภาพท่ี 1 แสดงตัวอยางบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนหนวยท่ี 1 เรื่องสวนประกอบและ

การทํางานของกลองโทรทัศน

Page 148: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

137

ภาพท่ี 2 แสดงตัวอยางบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนหนวยท่ี 2 เรื่องมุมภาพและขนาด

ภาพ

Page 149: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

138

ภาพท่ี 3 แสดงตัวอยางบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนหนวยท่ี 3 เรื่องการเคลื่อนกลอง

Page 150: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

139

ภาพท่ี 4 แสดงภาพการนําบทเรียนวีดิทัศนเรื่องการใชกลองโทรทัศนไปทดลอง

Page 151: Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø é ýîïî ... · Ö øó çî ïì ø ÷îü é ì aÖú a Ü ìøì ÜÖ ø ß ýî Öý Öþ ø

140

- นายณัฐวุฒิ ปล่ําปลิว

2799 ถ.ประชาสงคเคราะห เขตดินแดง แขวงดินแดง กรุงเทพฯ 10400

Email : [email protected]

พ.ศ.2537 จบการศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนสันติราษฎรวิทยาลัย

กรุงเทพฯ พ.ศ.2540 จบการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โรงเรียนไทยวิจิตร

ศิลปะ อาชีวะ สาขาสถาปตยกรรม พ.ศ.2545 จบการศึกษา ครุศาสตรบัณฑิต สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา

ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา พ.ศ.2552 ศึกษาตอ ระดับศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะศึกษาศาสตร ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

พ.ศ.2546 - 2549 Creative Director หจก. ดีซีทูดีไซนสเตชั่น พ.ศ.2549 – 2557 ชางภาพ และ Creative Director บจก.ทีวีท็อปน็ตโปรดักชั่น