การทำข้อมูลไฟล์ kmz หรือ kml ไว้ใช้ใน google...

9
1/9 โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานที3 กรมชลประทาน การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML ไว้ใช้ใน Google Earth การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML สามารถทําได้ด้วย 2 วิธี วิธีที1 ทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML โดยตรงจาก Google Earth วิธีที2 ทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML จากข้อมูล GIS (*.shp) วิธีที1 การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML จาก Google Earth ใน Google Earth สามารถทําข้อมูลจุด (Point) , ข้อมูลเส้น (Line) และข้อมูลรูปปิด (Polygon) แล้วบันทึกเป็นไฟล์ *. KML ได้เลย แต่ก็มีข้อจํากัดในการทํา ไฟล์ *. KML เช่น กรณีทําข้อมูลเส้นหลายๆ เส้น ในไฟล์เดียวกัน หรือข้อมูลเส้นมีความยาวมากๆ ซึ่งทําให้การลากข้อมูลเส้นจะลําบาก จึงได้แก้ไข ปัญหาดังกล่าวโดยใช้ โปรแกรม Autocad MAP , Arcview 3.x และ ArcGIS 9.x มาใช้ในการทําข้อมูล (วิธีที2 ) วิธีที2 การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML จากข้อมูล GIS มี 3 ขั้นตอนหลักๆ ดังนี1. ต้องทําข้อมูลให้เป็นไฟล์ *.shp (ข้อมูล GIS เช่น จุด หรือ เส้น) สามารถทําได้ 2 วิธี ดังนี1.1 ทําจากข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น ,รูปปิด ที่ได้จากโปรแกรม Autocad MAP 1.2 ทําจากข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น ,รูปปิด โดยตรงจากโปรแกรม Arcview 3.x หรือ Arc GIS 9.x 2. นําข้อมูลที่เป็นไฟล์ *.shp (ข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น ,รูปปิด) แปลงเป็น *.KMZ โดย ArcGIS 9.x 3. นําข้อมูลที ่เป็น *.KMZ จากข้อ 2. ไปเปิดใน Google Earth แล้วบันทึก (save as) เป็น *.KML รายละเอียดวิธีที2 1. ต้องทําข้อมูลให้เป็นไฟล์ *.shp (ข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น หรือ รูปปิด) สามารถทําได้ 2 วิธี ดังนีขอยังไม่อธิบายถึงการทําข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น หรือรูปปิด เนื่องจากรายละเอียดค่อนข้างมาก และผู้ที่จะทําข้อมูลดังกล่าวจะต้อง ใช้โปรแกรม Arcview 3.x , Arc GIS 9.x หรือ Autocad MAP ได้

Upload: aey-nutcha

Post on 11-Jan-2016

95 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

การทำข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML ไว้ใช้ใน Google Earth_by KM_RID3

TRANSCRIPT

1/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML ไว้ใช้ใน Google Earth การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML สามารถทําได้ด้วย 2 วิธี วิธีที่ 1 ทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML โดยตรงจาก Google Earth วิธีที่ 2 ทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML จากข้อมูล GIS (*.shp) วิธีที่ 1 การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML จาก Google Earth ใน Google Earth สามารถทําข้อมูลจุด (Point) , ข้อมูลเส้น (Line) และข้อมูลรูปปิด (Polygon) แล้วบันทึกเป็นไฟล์ *. KML ได้เลย แต่ก็มีขอ้จํากัดในการทํา ไฟล์ *. KML เช่น กรณีทําข้อมูลเส้นหลายๆ เสน้ ในไฟล์เดียวกัน หรือข้อมูลเส้นมคีวามยาวมากๆ ซึ่งทําให้การลากข้อมูลเส้นจะลาํบาก จึงได้แก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยใช้ โปรแกรม Autocad MAP , Arcview 3.x และ ArcGIS 9.x มาใช้ในการทําข้อมูล (วิธีที่ 2 ) วิธีที่ 2 การทําข้อมูลไฟล์ KMZ หรือ KML จากข้อมูล GIS มี 3 ขั้นตอนหลักๆ ดังนี้ 1. ต้องทําข้อมูลให้เป็นไฟล ์*.shp (ข้อมูล GIS เช่น จุด หรือ เส้น) สามารถทําได้ 2 วิธี ดังน้ี 1.1 ทําจากข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น ,รูปปิด ที่ได้จากโปรแกรม Autocad MAP 1.2 ทําจากข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น ,รูปปิด โดยตรงจากโปรแกรม Arcview 3.x หรือ Arc GIS 9.x 2. นําข้อมูลที่เป็นไฟล์ *.shp (ข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น ,รูปปิด) แปลงเป็น *.KMZ โดย ArcGIS 9.x 3. นําข้อมูลที่เป็น *.KMZ จากข้อ 2. ไปเปิดใน Google Earth แล้วบันทึก (save as) เปน็ *.KML รายละเอียดวิธีที่ 2 1. ต้องทําข้อมูลให้เป็นไฟล ์*.shp (ข้อมูล GIS เชน่ จุด ,เสน้ หรือ รปูปิด) สามารถทําได้ 2 วิธี ดังนี ้ ขอยังไม่อธิบายถึงการทําข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น หรือรปูปิด เน่ืองจากรายละเอียดค่อนขา้งมาก และผู้ทีจ่ะทําขอ้มูลดังกล่าวจะต้อง ใช้โปรแกรม Arcview 3.x , Arc GIS 9.x หรือ Autocad MAP ได้

2/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

2. นําข้อมูลที่เป็นไฟล์ *.shp (ข้อมูล GIS เช่น จุด,เส้น หรือ รูปปิด) แปลงเป็น *.KMZ โดย ArcGIS 9.x

2.1 เปิดโปรแกรม ArcMap (ArcGIS 9.x ) ขึ้นมา แล้วนําข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น หรอื รูปปิด เข้าโปรแกรม (ตัวอย่าง pl_klong_1.shp)

3/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

2.2 กําหนดระบบพิกัดให้กับ ข้อมูล GIS เช่น จุด ,เส้น หรอื รูปปิด โดยเปิด ArcToolbox / Data Management Tools / Projections and Transformations / Define Projection

คลิ๊ก เพื่อ เลือกระบบพิกัด

คลิ๊ก เพื่อ เลือกระบบพิกัด

4/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

5/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

ให้เลือกระบบพิกัดเป็น WGS 1984 UTM Zone 47N.prj (สําหรับภาคตะวันออก เฉียงเหนือ จะเป็น Zone 48) เมื่อกําหนดระบบพิกัดให้กับ ขอ้มูล GIS เช่น จุด หรือ เส้น แล้วจะมีไฟล์เพ่ิมขึ้น มาอีก 1 ไฟล์ คือ pl_klong_1.prj (หากกําหนดระบบพิกัดผิด สามารถแก้ไขโดย ให้ลบไฟล์ pl_klong_1.prj แล้วเริ่มกระบวนการกําหนดพิกัดใหม่อีกรอบ การกําหนดระบบพิกัดถือเป็นจุดสําคัญมากในการทําไฟล ์*.KMZ และ *.KML ) 2.3 แปลงข้อมลู GIS เช่น จุด ,เส้น หรือ รูปปิด ให้เปน็ KMZ เปิด ArcToolbox / 3D Analysis Tool / Conversion / To KML

กําหนดสเกลเริ่มต้น เพ่ือใช้สําหรับการแสดงผล ใน Google Earth เท่าน้ัน การกําหนดสเกลดังกล่าวจะไม่มีผลกับขนาดของแผนที่จริงๆ หรือสเกลของแผนท่ีจริง

- ใส่ค่า 1 หมายถึง กําหนดสเกลเริ่มต้น เพ่ือใช้สําหรับการแสดงผล ใน Google Earth เท่ากับ 1:1

- ใส่ค่า 4,000 หมายถึง กําหนดสเกลเริ่มต้น เพ่ือใช้สําหรับการแสดงผล ใน Google Earth เท่ากับ 1:4,000

6/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

ผลลัพธ์ที่ได้ คอืไฟล์ *.KMZ ไฟล์ *.KML จะได้ก็ต่อเมื่อเอาไฟล์ *.KMZ เปิดใน Google Earth แล้วบันทึกเป็น *.KML เท่านัน้ (ไฟล์ *.KMZ คือ zip ไฟล์ ของ *.KML) 3. นําข้อมูลที่เป็น *.KMZ จากข้อ 2. ไปเปิดใน Google Earth แล้วบันทึก (save as) เป็น *.KML

7/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

3.1 การเติมจุดหัวท้าย เพ่ือบอกรายละเอียด เลื่อนเมาสไ์ปที่ pl_klong_1 ตามรูป คลิ๊กขวา

ไว้สําหรับเติมรายละเอียดงาน/โครงการ

ไว้สําหรับเติมหัวข้องาน/โครงการ สามารถเลื่อนจุดได้

8/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน

3.2 เมื่อเติมรายละเอียดทั้งหมดแล้ว ให้ บันทึกเป็น *.KML

ใช้เมาส์เลื่อนจดุ

9/9

โดย : นายธีรพงษ์ บุญศัพย์ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร 20 มีนาคม 2555 สํานักชลประทานท่ี 3 กรมชลประทาน