06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค

71
บทที1 บทนํา ความเปนมาของปญหา สังคมปจจุบันเปนสังคมแหงการเรียนรูยุคโลกไรพรมแดน การจัดการเรียนรูยุคใหม จึงตองเนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และยังตองจัดการศึกษาเพื่อสงเสริม การเรียนรูตลอดชีวิต อีกทั้งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนา ผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคที่สําคัญ คือ รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย และมีจิตสาธารณะ ทั้งนี้ เพื่อใหทุก คนสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก หลักสูตร การศึกษาเปนตัวกําหนดเปาหมายเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีมาตรฐานการเรียนรูสําหรับพัฒนา เด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความ เปนสากล สื่อการเรียนรูก็มีบทบาทสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากันในการนําพาผูเรียนไปสูเปาหมายการจัด การศึกษาตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยความหลากหลายทั้งรูปแบบและประเภทของสื่อการเรียนรูที่มีอยู ในปจจุบัน จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนและผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาพึงตระหนักไวเสมอ วา “ไมมีสื่อการรูใดที่จะสามารถใชไดดีที่สุดในทุกสถานการณ” ดังนั้น การพิจารณาเลือกใชสื่อจึงเปน อีกบทบาทหนึ่งของครูผูสอนที่ไมอาจละเลย ตองพิจารณาเลือกสื่อที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด และมี ประโยชนมากที่สุดสําหรับผูเรียนในแตละเรื่องหรือแตละระดับชั้น (ฟาฏินา วงศเลขา, 2553) สังคมสมัยใหมที่มีเทคโนโลยีไอซีทีเปนพลังขับดัน ทําใหเราหลีกหนีจากเทคโนโลยีเหลานี้ไป ไมได แตการปรับตัวและทําใหสภาพสังคมดีขึ้นเปนเรื่องที่ตองคิด และชวยกันดําเนินการ การศึกษาใน โรงเรียนจึงสมควรที่จะตองบูรณาการไอซีทีเขาสูกระบวนการเรียนรูอยางอื่น โดยเฉพาะในทุกวิชาที่มี การเรียนการสอน เชนวิชาสังคมศึกษา การเรียนรูสภาพสังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม สมัยใหม การเรียนรูโลกภายนอกในเรื่องโลกาภิวัฒน แมแตการเรียนภาษาอังกฤษก็ใชเทคโนโลยีเปนสื่อ ไดมากมาย การปรับตัวทางดานการศึกษาในยุคนี้ตองกระทําตามอยางรวดเร็ว ครูอาจารยที่อยูตาม โรงเรียนตางๆ ตองเขาใจกระแสแรงผลักดัน ทางเทคโนโลยี และจะตองเขาใจการเปลี่ยนแปลงสภาพ ทางสังคม ความเปนอยู และตองชวยกันแกปญหา ประคับประคองสังคมใหไปในทางที่ถูกที่ควร (ยืน ภูวรรณ, 2553) เทคโนโลยีสมัยใหมมีบทบาทสําคัญในการชวยการจัดการศึกษาใหบรรลุอุดมการณ ทางการศึกษา นโยบายการจัดการศึกษาของรัฐ จะตองจัดการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับทุกคน หรือที่เรียกวา การศึกษาเพื่อปวงชนทุกคน ( Education for all อันเปนการลดความเหลื่อมล้ําโอกาส

Upload: krubeeka

Post on 12-Nov-2014

6.798 views

Category:

Education


7 download

DESCRIPTION

เอกสารประกอบการเรียน ระดับปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร 18 ธันวาคม 2555 Ph.D.EdTech&Comm

TRANSCRIPT

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาของปญหา

สังคมปจจุบันเปนสังคมแหงการเรียนรูยุคโลกไรพรมแดน การจัดการเรียนรูยุคใหม

จึงตองเนนใหผู เรียนเกิดการเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และยังตองจัดการศึกษาเพื่อสงเสริม

การเรียนรูตลอดชีวิต อีกทั้งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนา

ผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคที่สําคัญ คือ รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย

ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย และมีจิตสาธารณะ ทั้งนี้ เพื่อใหทุก

คนสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก หลักสูตร

การศึกษาเปนตัวกําหนดเปาหมายเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีมาตรฐานการเรียนรูสําหรับพัฒนา

เด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความ

เปนสากล สื่อการเรียนรูก็มบีทบาทสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากันในการนําพาผูเรียนไปสูเปาหมายการจัด

การศึกษาตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยความหลากหลายทั้งรูปแบบและประเภทของสื่อการเรียนรูที่มีอยู

ในปจจุบัน จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนและผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาพึงตระหนักไวเสมอ

วา “ไมมีสื่อการรูใดที่จะสามารถใชไดดีที่สุดในทุกสถานการณ” ดังนั้น การพิจารณาเลือกใชสื่อจึงเปน

อีกบทบาทหนึ่งของครูผูสอนที่ไมอาจละเลย ตองพิจารณาเลือกสื่อที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด และมี

ประโยชนมากที่สุดสําหรับผูเรียนในแตละเรื่องหรือแตละระดับชั้น (ฟาฏินา วงศเลขา, 2553)

สังคมสมัยใหมที่มเีทคโนโลยีไอซีทเีปนพลังขับดัน ทําใหเราหลีกหนีจากเทคโนโลยีเหลานี้ไป

ไมได แตการปรับตัวและทําใหสภาพสังคมดีขึ้นเปนเรื่องที่ตองคิด และชวยกันดําเนินการ การศึกษาใน

โรงเรียนจึงสมควรที่จะตองบูรณาการไอซีทีเขาสูกระบวนการเรียนรูอยางอื่น โดยเฉพาะในทุกวิชาที่มี

การเรียนการสอน เชนวิชาสังคมศึกษา การเรียนรูสภาพสังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม

สมัยใหม การเรียนรูโลกภายนอกในเรือ่งโลกาภิวัฒน แมแตการเรียนภาษาอังกฤษก็ใชเทคโนโลยีเปนสื่อ

ไดมากมาย การปรับตัวทางดานการศึกษาในยุคนี้ตองกระทําตามอยางรวดเร็ว ครูอาจารยที่อยูตาม

โรงเรียนตางๆ ตองเขาใจกระแสแรงผลักดัน ทางเทคโนโลยี และจะตองเขาใจการเปลี่ยนแปลงสภาพ

ทางสังคม ความเปนอยู และตองชวยกันแกปญหา ประคับประคองสังคมใหไปในทางที่ถูกที่ควร (ยืน

ภูวรรณ, 2553)

เทคโนโลยีสมัยใหมมีบทบาทสําคัญในการชวยการจัดการศึกษาใหบรรลุอุดมการณ

ทางการศึกษา นโยบายการจัดการศึกษาของรัฐ จะตองจัดการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับทุกคน

หรือที่เรียกวา การศึกษาเพื่อปวงชนทุกคน ( Education for all อันเปนการลดความเหลื่อมล้ําโอกาส

2

ทางการศึกษาสรางความเทาเทียมทางดานการศึกษา ) (หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา, 2551)

เทคโนโลยีที่ใชในปจจุบันไมวาเปน เทคโนโลยีทางดานสารสนเทศ เทคโนโลยีทางดานสื่อสารมวลชน

เทคโนโลยีทางดานโทรคมนาคม ซึ่งเปนประโยชนในดานการจัดการศึกษาทั้งสิ้น เชนการศึกษาทางไกล

ผานดาวเทียม นักเรียนชนบท ธุรกันดารสามารถเรียนรูไดเทาเทียมกับนักเรียนที่อยูในเมือง ระบบ

อินเตอรนักเรียนก็สามารถเรียนรูไดทั่วโลก หรืออาจเรียกไดวามีหองสมุดโลกอยูที่โรงเรียน หรืออยูที่

บาน โดยที่ไมตองเสียเวลา เสียงบประมาณในการทีจ่ัดซือ้หาหนังสือใหมากมายเหมือนสมัยกอน ผูเรียน

สามารถเรียนรูดวยตนเองไดอยางอิสระ นอกจากนี้ ยังมีสื่อที่เปนวิทยุ โทรทัศน ซีดีรอม สื่อ

อิเลคทรอนิกส ที่ทําใหประชาชนทุกคนไดเรียนรูไดตลอดชีวิต (สุเมธ รักตะกนิษฐ, 2552)

เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคลองกับสภาพความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ

สังคมและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ จึงจําเปนตองปรับปรุงหลักสูตรเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน

ใหมีคุณภาพานความรูและทักษะที่จําเปนสําหรับใชเปนเครื่องมือในการดํารงชีวิตสังคม ที่เปลี่ยนแปลง

และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต (หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา, 2551)

ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอํานาจใหทองถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น

หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ในแตละระดับ อาทิ ระดับชาติ ระดับทองถิ่น และระดับสถานศึกษา จะมี

บทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใชและพัฒนาหลักสูตรให

เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหผลผลิตของการบริหารจัดการหลักสูตรคือผูเรียนมีคุณภาพตาม

มาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค (หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา,

2551)

สําหรับการเรียนรูยุคใหมในศตวรรษที่ 21 ทั้งผูสอนและผู เรียนสามารถเรียนรู

ไปดวยกัน การเรียนการสอนไมไดเกิดขึ้น เฉพาะในหองเรียนแตเพียงอยางเดียว การเรียนรูเกิดขึ้นได

ตลอดเวลา ผานทางสื่อ และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัย ซึ่งสามารถเชื่อมโยงแหลงเรียนรูที่มีอยูทั่ว

โลกผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร ทําใหผูเรียนเขาถึงแหลงเรียนรูไดอยางไรขีดจํากัดเรื่องระยะทาง

เวลา และสถานที่ดวยตัวของผูเรียนเอง และไมจําเปนตองคอยรับจากครูแตเพียงฝายเดียว ดังนั้นการ

เรียนการสอนยุคใหมทั้งบทบาทหนาที่ และกิจกรรมการเรียนการสอนของผูเรียนและผูสอนจะ

เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จากหองเรียนสูโลกกวาง การเรียนยุคใหมจะมีรูปแบบกิจกรรมเชิงแลกเปลี่ยน

เรียนรู และการสรางองคความรูดวยตัวของผูเรียน ตลอดจนใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูมากยิ่งขึ้น

(ไพฑูรย ศรีฟา, 2555)

เครือขายสังคมออนไลน (Online Social Network) ไดกลายเปนปรากฎการณของการ

เชื่อมตอการสื่อสารระหวางบุคคลในโลกของอินเตอรเน็ต โดยมุงเนนไปที่การสรางชุมชนออนไลนซึ่งทา

ใหผูคนสามารถที่จะแลกเปลี่ยน แบงปนขอมูล ตามประโยชนกิจกรรมหรือความสนใจเฉพาะเรื่องซึ่งกัน

และกัน

3

เฟสบุค (Facebook) เครือขายสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยมมากในปจจุบันนั้นถือกําเนิด

เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2004 โดยมารค ซัคเคอรเบิรก (Mark Zuckerburg) ไดเปดตัวเว็บไซต เฟสบุค

(Facebook) ซึ่งเปนเว็บประเภทเครือขายสังคมออนไลน (social network) ซึ่งในตอนแรกเปดใหเขา

ใชเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮารเวิรดเทานั้น และเว็บนี้ก็ไดรับความนิยมขึ้นมาอยางรวดเร็ว

เพราะแคเพียงเปดตัวไดสองสัปดาห นักศึกษาที่เรียนอยูที่มหาวิทยาลัยฮารเวิรด ก็สนใจสมัครเปน

สมาชิกเพื่อเขาใชงานเปนจานวนมาก จากนั้นมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในเขตบอสตัน ก็เริ่มมีความตองการ

และอยากขอเขาใชงานเฟซบุค (Facebook) ดวย มารคจึงไดชักชวนเพื่อนชื่อดัสติน มอสโควิทซ

(Dustin Moskowitz) และคริส ฮิวจส (Christ Hughes) เพื่อชวยกันสราง เฟสบุค (Facebook) และ

เพียงระยะเวลา 4 เดือนหลังจากนั้น เฟสบุค (Facebook) จึงไดเพิ่มรายชื่อและสมาชิกของ

มหาวิทยาลัยอีก 30 กวาแหง จากนั้นขยายไปสูระดับมัธยมปลายทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา กระทั่งเปด

ใหบริการกับบุคคลทั่วไปในป 2006 และในปจจุบันป 2010 เฟซบุคมีผูใชงานไมตากวา 400 ลานคนตอ

เดือน และกลายเปนเว็บไซต Social Networking ที่ใหญที่สุดในโลกที่มีผูใชเปนประจําเดือนละไมต่ํา

กวา 150 ลานคน (พรรษพล มังกรพิศม, 2553 อางถึงใน วิมลพรรณ อาภาเวท และคณะ. 2554 : 14)

การสื่อสารในสังคมออนไลนจึงแพรหลายมากในสังคมปจจุบัน อาจเนื่องมาจากเว็บไซตเหลานี้

เปนพื้นที่ทางสังคมที่ไมมีระยะทาง ไมมีเวลา แตมีขอบเขตกวางไมมีที่สิ้นสุดและอนุญาต ใหสมาชิกใน

สังคมสามารถเปดเผยอัตลักษณของตนเองเพียงบางสวน หรือสรางอัตลักษณใหมขึ้นมาที่ไมเหมือนกับ

โลกแหงความเปนจรงิ ซึ่งเหมาะสมกับสังคมของคนรุนใหมที่เปนสังคมที่เรงรีบเปนปจเจกบุคคลมากขึ้น

ที่ไมตองการใหผูอื่นรูจักตัวตนทั้งหมดของตนเอง (วิมลพรรณ อาภาเวท และคณะ. 2554 : 15) ขอดี

ของเฟสบุค คือ เปนการสรางเครือขายและจุดประกายดานการศึกษาไดอยางกวางขวาง หากใชไดอยาง

ถูกวิธี ทําใหไมตกขาว คือทราบความคืบหนา เหตุการณของบุคคล และผูที่ใกลชิด ผูใชสามารถสราง

เครือขายทางสังคม แฟนคลับหรือผูที่มีเปาหมายเหมือนกัน และทํางานใหสําเร็จลุลวงไปได สามารถ

สรางมิตรแท หรือเพื่อนที่รูใจที่แทจริงได และเปนซอฟแวรที่เอื้อตอผูที่มีปญหาในการปรับตัวทางสังคม

ขาดเพื่อน อยูโดดเดี่ยว หรือผูที่ไมสามารถออกจากบานได ใหมีเครือขายทางสังคม และเติมเต็มชีวิต

ทางสังคมไดอยางดี ไมเหงาและปรับตัวไดงายข้ึน สวนขอเสีย คือ เปนการขยายเครือขายทางสังคมใน

โลกอินเตอรเนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือขายที่ไมรูจักดีพอ จะทําใหเกิดการลักลอบขโมยขอมูล หรือ

การแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงตางๆ ไดเพื่อนทุกคนในเครือขายสามารถเขียนขอความตางๆ ลง

Wall ของ FaceBook ไดแตหากเปนขอความที่เปนความลับ การใสรายกัน หรือแฝงไวดวยการยั่วยุ

ตางๆ จะทําใหผูอานที่ไมมีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแยง และปญหาตามมาในภายหลังได เปน

ชองทางในการสรางสังคมแหงการนินทา หรือการยุงเรื่องสวนตัวของผูอื่นโดยใชเหตุ การเปดเผยขอมูล

สวนตัวทั้งหมดใหกับบุคคลภายนอกที่ไมรูจักดีพอ เชนการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนํามา

เรื่องปญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไมถึงได เด็กๆที่ใชเวลาในการเลน Facebook

4

มากเกินไป จะทําใหเสียการเรียน ในการสรางความผูกพันและการปรับตัวทางสังคมเปนการพบปะกัน

ในโลกของความจริง มากกวาในโลกอินเตอรเนต ดังนั้นผูอยูในโลกของไซเบอรมากเกินไปอาจทําใหมี

ปญหาทางจิต หรือขาดการปรับตัวทางสังคมที่ดี โดยเฉพาะผูที่ชอบเลน FaceBook ตั้งแตยังเด็ก

FaceBook อาจเปนแรงขับใหมีการพบปะทางสังคมในโลกแหงความเปนจริงที่นอยลงได เนื่องจาก

ทราบความเคลื่อนไหวของผูที่อยูในเครือขายอยางตลอดเวลา และนโยบายของบางโรงเรียน

บางมหาวิทยาลัย บางครอบครัวหรือในบางประเทศมีปญหามากมายที่เกิดจาก FaceBook ทําให

FaceBook ไมไดรับการอนุญาตใหมีในหลายพื้นที่ (สุพาพร เทพยสุวรรณ. 2555 : ออนไลน)

จากเหตุผลที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook)

ของผูใชที่มีชวงอายุและเพศตางกันเพื่อใหสามารถนําขอมูลไปปรับปรุงวางแผนสงเสริมสรางภูมิคุมกัน

และความเขมแข็งใหกับเยาวชนของประเทศ ใหเปนผูที่สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัย มั่นคง

รวมถึงสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองใหกลายเปนบุคคลากรที่มี

คุณภาพตอไปในอนาคต

จุดมุงหมายของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีชวงอายุตางกัน

2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีเพศตางกัน

ความสําคัญของการวิจัย

1) ทราบถึงพฤติกรรมของผูใชเฟสบุคที่มีชวงอายุและเพศแตกตางกัน

ขอบเขตของการวิจัย

1. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง

1.1 ประชากรที่ ใชในการศึกษาครั้ งนี้ ไดแก ผู ใช เฟสบุค (Facebook)

ที่มีสถานนะเปนเพื่อนของผูวิจัย ที่ใชงานในชวงระหวางวันที่ 1-30 กันยายน พ.ศ.2555 จํานวน 254

คน

1.2 กลุมตัวอยาง ไดแก ผู ใช เฟสบุค (Facebook) ที่มีสถานะเปนเพื่อน

ของผูวิจัย จํานวน 155 คน โดยการสุมอยางงาย

2. ขอบเขตดานเนื้อหา

มุงศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของเพื่อนผูวิจัย โดยแบงเปนดาน

ตางๆ ดังนี้

2.1 ตัวแปรตน ไดแก ไดแก เพศ และอายุของผูใชเฟสบุค (Facebook)

5

2.2 ตัวแปรตาม ไดแก พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงาน

เฟสบุค ในเรื่องของการแสดงเฉพาะเพียงหนึ่งพฤติกรรม การแสดงมากกวาหนึ่งพฤติกรรม และการ

แสดงที่เฟสบุคบังคับเพียงหนึ่งพฤติกรรม

3. ขอบเขตดานระยะเวลา

ศึกษาพฤติกรรมการใช เฟสบุค (Facebook) ของ เพื่ อนผู วิจั ย ที่ ใช งาน

ในระหวางวันที่ 1 กันยายน ถึง 30 กันยายน พ.ศ.2555

นิยามศัพทเฉพาะ

ผูใช หมายถึง ผูใชงานเฟสบุค (Facebook) ที่มีสถานะเปนเพื่อนของผูวิจัย และใชงานเฟส

บุคในชวงระหวางวันที่ 1-30 กันยายน

พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) หมายถึง การที่ผู ใชแสดงออกในดานตาง ๆ

ผานเว็บไซตเฟสบุค เชน การแสดงขอความ การแสดงรูปภาพ การแสดงวิดีโอ การแสดงคําถาม การ

แสดงไฟล

การแสดง หมายถึง การโพสต (post) หรือ การแชร (share) ขอมูลตาง ๆ เชน ขอความ

รูปภาพ วิดีโอ คําถาม ไฟล เปนตน โดยไมรวมถึงการแท็ก (tag) เนื่องจากผูอื่นสามารถกระทําแทนผูใช

ได

สมมุติฐานของการวิจัย

1. พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับเพศ

H0 : � = 0

2. พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับชวงอายุ

H0 : � = 0

6

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาสภาพ ปญหา ความตองการ และขอเสนอแนะการใชเครือขายสังคมออนไลน

(Social Network) ในการเรียนของนิสิต นักศึกษา กรณีศึกษา นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ผูวิจัยได

ศึกษา เรียบเรียงจากเอกสาร ตําราและงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยนําเสนอตามลําดับดังนี้

ตอนที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครือขายสังคมออนไลน

ตอนที่ 2 ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน

ตอนที่ 3 ทฤษฎีพัฒนาการดานพัฒนาการทางจิตสังคม

ตอนที่ 4 การใชอินเทอรเน็ตเพื่อสนองความตองการ

ตอนที่ 5 การแบงเพศ

ตอนที่ 6 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ตอนที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครือขายสังคมออนไลน

เครือขายสังคมออนไลน (อิทธิพล ปรีติประสงค, 2552) เปนปรากฎการณของการเชื่อมตอ

ระหวางบุคคลในโลกอินเทอรเน็ต และ ยังหมายรวมถึง การเชื่อมตอระหวางเครือขายกับเครือขาย

สังคมออนไลน เขาดวยกัน

Social Network (จุไรรัตน ทองคําชื่นวิวัฒน, 2552) ยังไมมีคําไทยเปนทางการ มี

การใชคําวา “เครือขายสังคม” บาง “เครือขายมิตรภาพบาง” “กลุมสังคมออนไลน” Social Network

นี้ถือวาเปนเทคโนโลยีอีกอันนึง ที่สามารถชวยใหเราไดมามีปฏิสัมพันธกัน ซึ่งวัตถุประสงคที่แทจริงของ

คําวา Social Network นี้จริงๆ แลวก็คือ Participation หรือ การมีสวนรวมดวยกันไดทุก ๆ คน (ซึ่ง

หวังวาผูที่ติดตอกันเหลานั้นจะมีแตความปรารถนาดี สิ่งที่ดีๆ มอบใหแกกันและกัน) ถาพูดถึง Social

Network แลว คนที่อยูในโลกออนไลนคงจะรูจักกันเปนอยางดี และก็คงมีอีกหลายคนที่ไดเขาไปทอง

อยูในโลกของ Social Network มาแลว ถึงแมวา Social Network จะไมใชสิ่งใหมในโลกออนไลน แต

ก็ยังเปนที่นิยมอยางมากในกลุมคนที่ใชอินเตอรเน็ต ทําใหเครือขายขยายวงกวางออกไปเรื่อยๆ และจะ

ยังคงแรงตอไปอีกในอนาคต จากผลการสํารวจจากประเทศสหรัฐอเมริกายืนยันการใชบริการ Social

Network ที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องทุกป และมาแรงเปนอันดับตนๆ ของโลกออนไลน สวนเว็บไซตที่มี

จํานวนผูเขาชมสูงสุดทั่วโลก ก็เห็นจะเปน My space, Facebook และ Orkut สําหรับเว็บไซต ที่มี

เปอรเซ็นตเติบโตเพิ่มขึ้นเปนเทาตัวก็เห็นจะเปน Facebook แตสําหรับประเทศไทยที่ฮอตฮิตมากๆ ก็

คงจะหนีไมพน Hi5

7

เครือขายสังคมออนไลน (Social Network) (อติเทพ บุตราช, 2553) หมายถึง กลุมคนที่

รวมกันเปนสังคมมีการทํากิจกรรมรวมกันบนอินเทอรเน็ต ในรูปแบบของเว็บไซตมีการแผขยายออกไป

เรื่อย ๆ เปนรูปแบบของการสื่อสารขอมูลผานอินเทอรเน็ต ทําใหเครือขายคอมพิวเตอรหรือ

อินเทอร เน็ตเปนสังคมขึ้นมา การสรางชุมชนใหมบนอินเทอร เน็ตเปนเครื่องมือสําคัญในการ

ติดตอสื่อสาร สามารถทํากิจกรรมตางๆ ทั้งเพื่อการศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิง

จากความหมายของเครือขายสังคมออนไลนขางตน สรุปไดวา เครือขายสังคม

ออนไลน คือ การที่กลุมคนไดมีการทํากิจกรรมรวมกันบนระบบอินเทอรเน็ต ซึ่งเครือขายสังคมออนไลน

นั้น สามารถใชไดอยางหลากหลายวัตถุประสงค อาทิ ใชเพื่อการติดตอสื่อสาร ใชในการเรียนการสอน

ใชในกิจกรรมธุรกิจ อยางการประชาสัมพันธสินคาหรือบริการ

ตอนที่ 2 ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน

ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน (เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ, 2551) มีจํานวน

มากมาย จึงเปนการยากที่จะจําแนก ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน ได อยางเจาะจงชัดเจน

หากจะลองจัดเขาหมวดหมูตามที่เราพบเห็นทั่วไป อาจแบงได 6 ประเภท ดังนี้

1. ประเภทแหลงขอมูลหรือความรู (data/knowledge) ที่เห็นไดชัดเจนเชน wikipedia,

google earth, answers, digg, bittorrent ฯลฯ เปนตน

2. ประเภทเกมสออนไลน (online games) ที่นิยมมาก เชน SecondLife, Audition,

Ragnarok, Pangya ฯลฯ เปนตน

3. ประเภทสรางเครือขายทางสังคม (community) เพื่อเปนการหาเพื่อนใหม สรางและ

แลกเปลี่ยนประสบการณรวมกัน เชน Hi5, Facebook, MySpace, MyFriend ฯลฯ เปนตน

4. ประเภทฝากภาพ (photo management) สามารถฝากภาพออนไลนไดโดยไมเปลือง

ฮารดดิสสวนตัว อีกทั้งยังสามารถแบงปนภาพหรือซื้อขายภาพกันไดอยางงายดาย เชน Flickr,

Photoshop Express, Photobucket ฯลฯ เปนตน

5. ประเภทสื่อ (media) ไมวาจะเปนฝาก โพสทหรือแบงปนภาพ คลิปวีดโอ ภาพยนตรเพลง

ฯลฯ เชน YouTube, imeem, Bebo, Yahoo Video, Ustream.tv ฯลฯ เปนตน

6. ประเภทซื้อ-ขาย (business/commerce) เปนการทําธุรกิจทางออนไลนที่ไดรับความ

นิยมมาก เชน Amazon, eBay, Tarad, Pramool ฯลฯ แตเว็บไซตประเภทนี้ยังไมถือวาเปน Social

Network ที่แทจริง เนื่องจากมิไดเปดโอกาสใหผูใชบริการแชรขอมูลกันไดหลากหลาย นอกจากการ

สั่งซื้อและคอมเมนท สินคาเปนสวนใหญ

การแบงหมวดหมูของเครือขายสังคมออนไลน (อิสริยะ ไพรีพายฤทธิ์ อางอิงจาก (อิทธิพล

ปรีติประสงค, 2552) ไดจําแนกหมวดหมู หรือ ประเภทของเครือขายสังคมออนไลนไวใน บทบาท

8

ของ Social Network ในอินเทอรเน็ตยุค 2.0 โดยพิจารณาจากเปาหมายของการเขาเปนสมาชิกใน

เครือขายสังคมออนไลน ไดเปน ๕ กลุมใหญๆ กลาวคือ

(1) Identity Network คือ การแสดงตัวตนและภาพลักษณของตน เชน www.hi5.com,

www.facebook.com

(2) Interested Network เ ป น ก า ร ร ว ม ตั ว กั น โ ด ย อ า ศั ย “ค ว า ม ส น ใ จ ”

ตรงกัน เชน Digg.com, del.icio.us

(3)Collaboration Network เปนกลุ ม เครือขายที่ ร วมกัน “ทํางาน” ยกตัวอยาง

เชน www.wikipedia.org

(4) Gaming/Virtual Reality หรือ โลกเสมือน ในบางครั้งเราเจอคําวา second life ซึ่งเปน

ลักษณะของเครือขายสังคมออนไลนที่มีลกัษณะเปนการสวมบทบาทของผูเลนในชีวิตจริงกับตัวละครใน

เกม และ

(5) Professional Network ใชงานในอาชีพ

ตอนที่ 3 ทฤษฎีพัฒนาการดานพัฒนาการทางจิตสังคม (ความแตกตางทางดานชวงวัย)

จิตวิทยาพัฒนาการเด็กและวัยรุน

พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขั้น ตามทฤษฎีของแอริคสัน (The Eight Stages of

Psychosocial Development in Erikson)

สิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพ (Physical) ทางสังคม (Social) ทางวัฒนธรรม (Cultural) และ

ทางความคิด (Ideational) เขามามีอิทธิพลกับพัฒนาการของชีวิตมนุษยตั้งแตแรกเกิดจนชรา ซึ่งสงผล

ตอความคิดริเริ่ม ความสามารถในการปรับตัว บุคลิกภาพและพฤติกรรมตางๆ แอริค ฮอมเบอรเกอร

แอริคสัน (Erik Homburger Erikson) เปนนักจิตวิทยาคลินิก เกิดที่ประเทศเยอรมันพบวาพัฒนาการ

ทางจิตวิทยาของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลงเหมือนกับโครงสรางทางกายภาพรางกาย มุมมองของแอริค

สันจึงเนนพัฒนาการทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และสังคมรวมกัน นั่นคือ การเจริญเติบโตทางรางกาย

และสิ่งแวดลอมจะมีความสัมพันธกับพัฒนาการทางจิตใจ และบุคลิกภาพ ทําใหบุคคลสามารถปรับตัว

อยูรวมกับผูอื่นในสังคมได ทฤษฎีของแอริคสันนี้มีพื้นฐานจากทฤษฎีจิตวิเคราะหของฟรอยด จุดเดน

ของแอริคสันคือมุมมองพัฒนาการมนุษยตลอดชวงอายุขัย ซึ่งแอริคสันมองพัฒนาการของบุคคลคนหนึ่ง

ในลักษณะองครวม (Wholeness/Holistic) ตั้งแตแรกเกิดจนกระทั่งสิ้นอายุขัย ซึ่งโมเดลนี้แบง

พัฒนาการของบุคคลไว 8 ข้ัน

พัฒนาการทางจิตสังคม (Psychosocial Development Model) 8 ขั้นที่จะกลาวตอไปนี้

แบงชวงชีวิตของมนุษย จากแรกเกิดถึงประมาณอายุ 80 ปเปน 8 ชวง ตามการเปลี่ยนแปลงทาง

รางกาย และสมอง จากวัยเด็กจนถึงวัยรุนจะมีการเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและชาลง

9

ในชวงวัยผูใหญตอนตน มีความคงที่ในวัยผูใหญ และหลังจากนั้นในวัยผูใหญตอนกลางจนถึงวัยชรา

พัฒนาการในดานตางๆ เริ่มเสื่อมถอยลง แตคงไวซึ่งประสบการณชีวิตที่ผานมา การเปลี่ยนแปลงตาม

ขั้นตางๆ นี้เปนเสมือนบันไดที่แตละบุคคลจะกาวขึ้นไป การประสบกับปญหาอุปสรรคเปนเรื่องปกติ

และอาจเกิดข้ึนไดในทุกชวงพัฒนาการ ซึ่งจะเปนเหมือนการเรียนรู การรูจักแกไขปญหา และเผชิญกับ

วิกฤตในชวงตางๆ การประสบกับความลมเหลวในขั้นหนึ่งๆ จะมีผลกระทําตอพัฒนาการของบุคคลคน

นั้นในขั้นตอๆ ไปดวย เชน การไมประสบผลสําเร็จในพัฒนาการขั้นตนๆ จะสงผลตอพฤติกรรมที่

เบี่ยงเบนจากกลุมปกติ ตัวอยางพฤติกรรม เชน การเรียน และการเขาสังคมของบุคคลในชวงวัยเด็ก

ตอนตนประสบปญหา สงผลใหเกิดปญหาพฤติกรรมตางๆ ในชวงวัยรุน และเกิดปญหาอุปสรรคการใช

ชีวิตในชวงวัยผูใหญตามมาเชนกัน

รูปแบบพัฒนาการทางจิตสังคมของแอริคสันมี 8 ขั้น โดยขั้น 1 ถึงขั้น 4 เปนชวงของการสั่ง

สมประสบการณ และการเรียนรูในการแกปญหา ในขั้น 5 เปนเรื่องการปรับตัวเพื่อแสวงหาอัตลักษณ

และขั้น 6 ถึงขั้น 8 เปนการนําเอาอัตลักษณไปใช โดยมีรายละเอียดตามขั้นตางๆ ดังตอไปนี้

ขั้นที่ 1 ความรูสึกไวเน้ือเชื่อใจ กับ ความไมไววางใจ (Trust vs. Mistrust)

พัฒนาการขั้นแรกจะเกิดข้ึนในชวงตั้งแตแรกเกิดจนถึงขวบปแรก ในชวงนี้ทารกจะมีความสุข

ความพึงพอใจบริเวณปาก และกิจกรรมเกี่ยวกับการกลืนกิน ซึ่งเกิดข้ึนในชวงปแรกของชีวิต ทารกที่อยู

ในครรภมารดาจะไดรับการตอบสนองที่เพียบพรอม อยูในอุณหภูมิที่เหมาะสม รับอาหารผานทางสาย

รก อยูในภาวะสงบเงียบ ทําใหทารกมีความพึงพอใจรูสึกมั่นคงปลอดภัย ตอมาเมื่อทารกคลอดจาก

ครรภมารดาจะตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม เชน การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ การกลืน

กินทางปาก การขับถายทางทวารหนัก การไดยินเสียง และอื่นๆ

ในขั้นนี้หากมารดาใหความรักและการดูแลแกทารกอยางสม่ําเสมอ ตอบสนองตอความ

ตองการขั้นพื้นฐานทางกายและทางจิตใจอยางตอเนื่อง (เชน เมื่อทารกหิวก็ไดกิน ไดรับการสัมผัสลูบ

คลําดวยความรัก ทนุถนอม ไดนอนหลับอยางสงบพอเพียง เมื่อขับถายก็ไดรับการดูแลความสะอาด) จะ

ทําใหทารกพัฒนาความรูสึกไวเนื้อเชื่อใจขั้นพื้นฐาน (Basic Trust) ตอบุคคลและสิ่งแวดลอม

ความสําเร็จของพัฒนาการในขั้นแรกสังเกตุไดจากการที่ทารกไมมีความวิตกกังวลมากจนเกินไป หรือไม

มีอารมณรุนแรง เชน การแสดง พฤติกรรมรองไหโยเยโดยไมสมเหตุสมผล หรือแสดงความโมโห

หงุดหงิด เพื่อเรียกรองความสนใจ เมื่อมารดาหรือผูดูแลคลาดสายตาไปการที่ทารกสามารถอยูตาม

ลําพังในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อเวลา ที่มารดาหรือผูดูแลผละจากทารกไป เพื่อทําธุระอื่นๆ ลักษณะ

ดังกลาวแสดงวา ทารกเริ่มมีความรูสึกมั่นคงและไววางใจ มีความมั่นใจวามารดาหรือผูดูแลจะกลับมา

ดูแลเชนเดิม ถือเปนจุดพื้นฐานเริ่มตนของการพัฒนาอัตลักษณ (Ego Identity) ของบุคคลซึ่งจะเกิดขึ้น

ชัดเจนในชวงวัยรุน

10

ทารกนอยที่ไดรับการสงเสริมพัฒนาการที่ดี จะสรางความไวเนื้อเชื่อใจตอบุคคลรอบขางและ

สภาพแวดลอม มีความเชื่อมั่นและความหวังในการเริ่มตนพัฒนาการแหงชีวิตในอนาคต เมื่อชีวิตพวก

เขาจะตองเผชิญกับปญหา หรือความกดดัน เขาก็จะมีความเขมแข็งในการฝาฟนปญหา ซึ่งเปนผลจาก

การไดรับประสบการณทางบวกในชวงตนของชีวิตนั่นเอง

สําหรับทารกที่มีความรูสึกไมไววางใจเกิดขึ้นถือเปนความลมเหลวของพัฒนาการขั้นแรกนี้ใน

ตัวบุคคลคนนั้น ความไมไววางใจอาจมาจากมารดาหรือผูดูแลมีปฏิกิริยาตอบสนองไมเหมาะสมตอความ

ตองการของทารก การหางเหิน หรือปฏิเสธบุตร รวมทั้งมารดาที่มีลักษณะพึ่งพาไมได หรือมารดาที่

เลี้ยงดูทารกดวยความหงุดหงิด โกรธ ทารกจะแสดงพฤติกรรมเรียกรองมากเกินควร อยางไมมีเหตุผล

หรืออาจแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมในลักษณะอื่นๆ และพัฒนาความรูสึกไมไววางใจตอบุคคลและ

สิ่งแวดลอม ไมเขาใจสิ่งแวดลอม ไมไววางใจผูอื่นในพัฒนาการขั้นตอๆไป

พัฒนาการทางดานรางกาย

- มีการเจริญเติบโตทางรางกายอยางรวดเร็ว

- มีการเคลื่อนไหวระยะแรก เปนไปโดยปฏิกิริยาสะทอน (Reflexive - ปฏิกิริยาตอบสนองสิ่ง

เราแบบอัตโนมัติ เชน การกระพริบตา การกระตุก น้ําลายไหล เปนตน) แลวคอย ๆ หายไป ตอมาจะ

พัฒนาเปนการเคลื่อนไหวของรางกาย รวมทั้งการเคลื่อนไหวที่มีจุดมุงหมายมากขึ้น ทารกจะสามารถ

ควบคุมการเคลื่อนไหวสวนตางๆของรางกายไดมากขึ้น จากการที่ทารกสามารถชันคอ ควํ่าตัว ลุกขึ้นนั่ง

คลานเขา ยึดเกาะดึงตัวเพื่อยืนขึ้นเอง การเกาะเดินจนในที่สุดสามารถลุกขึ้นยืนไดเอง

พัฒนาการทางดานภาษา

- ทารกแรกเกิด แสดงความตองการใหผูเลี้ยงดูเขาใจ ดวยการรองไห

- 2 เดือน ฟงเสียงคุย หันหาเสียง เปลงเสียงออแอ

- 4 เดือน เปลงเสียงไดยาวขึ้น สงเสียงออแอโตตอบ เมื่อรูสึกพอใจจะสงเสียงเอิ๊กอากใน

ลําคอ

- 6 เดือน หันหาเสียงเรียก สงเสียงหลายเสียง

- 9 เดือน ฟงรูภาษา เขาใจสีหนา ทาทาง เลียนเสียงพยัญชนะแตไมมีความหมาย

- 12 เดือน เรียกพอแม/ พูดคําโดดที่มีความหมาย 1 คํา ทําทาตามคําบอกที่มีทาทาง

ประกอบได

พัฒนาการทางดานความคิด

สําหรับพัฒนาการทางดานความคิดนั้นจะขอกลาวถึงแนวคิดของเพียเจท (Piaget) ซึ่งได

ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางความคิดของมนุษย โดยพัฒนาการทางความคิดในระยะทารกนั้นเปน

ระยะของ Sensori-motor Operation (แรกเกิด – 2 ป) และแบงลําดับขั้นพัฒนาการเปน 6 ระยะ

11

เมื่อเปรียบเทียบพัฒนาการในชวงแรกตามทฤษฎีของแอริคสัน ซึ่งอยูในชวงอายุขวบปแรก จะเทียบกับ

แนวคิดของเพียเจทได 4 ระยะคือ

ระยะ 0 – 2 เดือน (Reflexive) พฤติกรรมตางๆ เปนปฏิกิริยาสะทอน (ปฏิกิริยาตอบสนอง

สิ่งเราแบบอัตโนมัติ เชน การกระพริบตา การกระตุก น้ําลายไหล เปนตน)

ระยะ 1 – 4 เดือน (Primary circular reaction) ประสบการณที่เกิดขึ้นจะเปนสิ่งกระตุน

การเคลื่อนไหวของเด็ก เด็กจะทําซ้ํา ๆ แตยังไมมีจุดมุงหมาย สนใจการเคลื่อนไหว ไมใชสนใจผลของ

การเคลื่อนไหว

ระยะ 4 – 9 เดือน (Secondary circular reaction) เริ่มมีความตั้งใจทําพฤติกรรมการ

เคลื่อนไหว และสนใจผลของพฤติกรรมนั้น ๆ

ระยะ 9 – 12 เดือน (Coordination of secondary reaction) เริ่มแกปญหาอยางงายๆได

ใชพฤติกรรมในอดีตที่ผานมาชวยแกปญหา สามารถแยกสิ่งที่ตองการออกจากสิ่งที่ไมตองการ สามารถ

เลียนแบบการเคลื่อนไหว

ในข้ันนี้ทารกจะมีการเจริญเติบโตทางรางกายอยางรวดเร็ว ในขณะที่พัฒนาการทางความคิด

เปนแบบงายๆ ไมซับซอน และมักเปนปฎิกิริยาสะทอน

ขั้นที่ 2 ความเปนตัวของตัวเอง กับ ความละอายและสงสัย (Autonomy vs. Shame and

Doubt)

ในพัฒนาการขั้นที่ 2 เกิดขึ้นระหวางขวบปที่ 2 – 3 ของชีวิต พัฒนาการในขั้นนี้เด็กจะมี

พัฒนาการทางรางกาย โดยเฉพาะกลามเนื้อมากขึ้น และเริ่มที่จะเรียนรูการควบคุมสวนตางๆของ

รางกาย เคลื่อนไหวรางกายอยางเปนอิสระมากขึ้น สามารถที่จะเรียนรูอยางรวดเร็ว และเริ่มสํารวจ

สิ่งแวดลอมรอบขาง เด็กในวัยนี้จะเริ่มฝกหัดการขับถาย การควบคุมกลามเนื้อหูรูด

ความรูสึกเปนตัวของตัวเอง (Sense of Autonomy) และการควบคุมตนเอง (Self Control)

จะเกิดขึ้นไดถาผูปกครองใหการอบรมเลี้ยงดูอยางเหมาะสม มีความมั่นคงอดทน ใหโอกาสเด็กไดทําสิ่ง

ตางๆตามความปรารถนาของตนเองโดยอยูในการดูแลของผูปกครอง (เชน การเคลื่อนไหว การเดิน การ

ปนปายการหยิบจับสิ่งของอยางเปนอิสระ โดยที่ผูปกครองไมแสดงทาทีตื่นตระหนก หรือกังวลมาก

เกินไป) จะทําใหเด็กรูสึกภาคภูมิใจในความสําเร็จของตนเอง มีความรูสึกที่ดีตอผูอื่น ผลดีอีกประการคือ

เด็กจะพัฒนาความรูสึกมุงมั่น (Will) ซึ่งหมายถึง ความมุงมั่นตั้งใจแนวแนในการเลือก และในการยับยั้ง

ตนเอง เด็กจะกลาที่จะแสดงความคิดเห็นและกลาที่จะตัดสินมากขึ้น รวมทั้งมีความมุงมั่นและตั้งใจใน

การทํากิจกรรมตางๆ ในทางตรงขามหากผูปกครองปลอยปละละเลย ดุวา หรือเขมงวดกับเด็กมาก

เกินไป เด็กจะรูสึกละอาย สงสัยในความสามารถของตนเอง ไมมั่นใจในการแสดงความคิดเห็น ไมมั่นใจ

วาจะควบคุมชีวิตตนเองได ผลกระทบหนึ่งที่อาจเกดิข้ึนคือทําใหเด็กมีบุคลิกภาพไมเหมาะสม ขาดความ

เชื่อมั่น วิตกกังวล หวาดระแวงสงสัย หรือมีพฤติกรรมย้ําทํา นอกจากนี้ บุคคลที่ไดรับการพัฒนา

12

ความรูสึกเปนตัวของตัวเอง และการควบคุมชีวิตตนเองอยางเหมาะสม เมื่อโตข้ึนเขาจะเปนผูใหญที่จะ

สนับสนุน และเชื่อมั่นสถาบันทางกฎหมายของสังคม มีความเคารพและอยูภายใตกฎหมายของสังคม

พัฒนาการทางดานรางกายและภาษา

- เด็กเปนอิสระทางกาย (Physical Independence) มากขึ้น สามารถเดินวิ่งไดเอง สํารวจ

สิ่งแวดลอมได

- เด็กเริ่มพูดเปนคํา ๆ ไดมากขึ้น เขาใจคําสั่งและภาษาทาทางมากขึ้น เมื่ออายุ 2 ป พูด 2 –

3 คําตอกันไดอยางมีความหมาย

พัฒนาการทางดานความคิด

พัฒนาการทางความคิด ระยะSensori-motor ของ Piaget ระยะ 12 – 18 เดือน (Tertiary

Circular Reaction) เริ่มมีพฤติกรรมลองผิดลองถูก (Trail & Error) สนใจผลที่เกิดขึ้น เปนตัวของ

ตัวเอง เริ่มมีความเขาใจวัตถุภายนอก รับรูการคงอยูของวัตถุแมเมื่อวัตถุนั้นถูกปดบัง หรือซอนเลนลับ

ตาไป หรือถูกเคลื่อนยายไปที่อื่น (Object Permanence) ระยะ 18 – 24 เดือน เริ่มมีความคิด

จินตนาการ มีความสามารถแกปญหาดวยวิธีใหมๆ แตยังเปนลักษณะลองผิดลองถูกอยู (Invention of

new means through mental combination)

ขั้นที่ 3 ความคิดริเริ่มกับความรูสึกผิด (Initiative vs. Guilt)

พัฒนาการในขั้นนี้อยูในชวงอายุ 3 – 5 ป เด็กวัยนี้รางกายมีความสามารถและชวยตัวเองได

มากขึ้นกวาเดิม แตก็ยังอยูในวงจํากัด การพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรคสําหรับเด็กในชวงวัยนี้ทําได

โดยใหเด็กไดรวมทํากิจกรรมตาง ๆ ที่ทาทายความสามารถของเขา รวมทั้งสิ่งแวดลอมก็มีสวนผลักดัน

และเสริมสรางความคิดสรางสรรคใหกับเด็กได

ระยะนี้เปนระยะที่เด็กเริ่มเรียนรูบทบาททางเพศ มาตรฐานทางศีลธรรมและการควบคุม

อารมณ ครอบครัวจะเปนแหลงชี้แนะถึงสิ่งตางๆ ในสังคมใหแกเด็ก เด็กเริ่มสรางบุคลิกภาพและ

ความรูสึกผิดชอบชั่วดีจากการไดมีกิจกรรมและประสบการณรวมกับสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัว การอบรมสั่ง

สอนโดยพอแม หรือผูใหญในครอบครัวจะชวยใหเด็กไดซึมซาบเขาไป เปนการรูสํานึกผิดชอบชั่วดีใน

ความคิด และแสดงออกในพฤติกรรมของเด็ก การเรียนรูนี้เด็กจะไดรับจากตัวแบบ (Role Model) ใน

ครอบครัว โดยมีตัวแบบเปนตัวอยาง และใหขอมูลแกเด็ก เพื่อเรียนรูวาสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด ดังนั้น

ความรูสึกผิดชอบชั่วดีจึ งสามารถสรางขึ้นโดยการเรียนรูจากบุคคลในครอบครัว และรวมถึง

แนวความคิดคานิยมของสังคม ในระยะนี้ครอบครัวมีบทบาทอยางยิ่งในการปลูกฝงความรูสึกผิดชอบชั่ว

ดีใหแกเด็ก การสรางความสัมพันธในระยะนี้จะเริ่มดวยความสัมพันธระหวางแม-เด็ก ตอมาพอเขามามี

สวนเกี่ยวของดวย และเมื่อสังคมของเด็กกวางขวางขึ้นเด็กจะเริ่มสรางความสัมพันธกับบุคคลอื่น เด็ก

เริ่มเปนตัวของตัวเอง เด็กที่มีประสบการณมากจะสามารถชวยเหลือตัวเองไดมาก เด็กที่ไมสามารถ

13

พัฒนาผานข้ันความคิดริเริ่มไปไดจะเกิดความรูสึกผิด และไมกลาที่จะเปนผูริเริ่ม เนื่องจากเกิดความ

กลัววาจะทําผิดพลาดอีก

พัฒนาการของเด็กเปนความรับผิดชอบรวมกันทั้งเด็ก พอแม และชุมชน การไดทํากิจกรรม

ตางๆ รวมกัน หรือการมีปฏิสัมพันธ (Interaction) ในสังคมจะเปนการชวยถายทอดความรูสึกนึกคิด

เจตคติ คานิยมของสังคมใหแกเด็กไดทีละนอย โดยมีผูใหญชวยกันประคับประคองใหเด็กพัฒนาไปสู

ความสมบูรณได เด็กวัยนี้ควรไดรับโอกาสทํากิจกรรมตาง ๆ ตามความสามารถอยางอิสระ เชน การเลน

การคิด การประดิษฐ การจินตนาการตางๆ และควรไดรับการสนับสนุนใหเขารวมกิจกรรมทางศาสนา

อยางตอเนื่อง เพื่อใหซึมซับความรูสึกผดิชอบชั่วดี และหลักศีลธรรมจรรยา หากเด็กวัยนี้ไดรับการจํากัด

ในการทํากิจกรรมหรือถูกตําหนิ เมื่อคิดและทดลองทําสิ่งตางๆ จะทําใหเด็กขาดความเชื่อมั่นในตนเอง

มีความคิดคัดคานหรือความรูสึกผิดเกิดขึ้นเนื่องจากเขาไมสามารถทําสิ่งตางๆ ไดสําเร็จดั่งใจและถูก

ลิดรอนหรือขัดขวางความสามารถของตนเอง ทําใหความรูสึกผิดเกิดสะสมในตัวเด็กและมีผลใหเด็กขาด

ความคิดสรางสรรค

พัฒนาการทางดานรางกายและภาษา

เด็กวัยนี้สามารถเดิน ว่ิง กระโดดโลดเตนได เด็กจะมีทัศนคติไปในทางที่ดี ถาไดทํากิจกรรม

ตางๆ อยางมีอิสระ ไดใชความคิดและพลังงานของเขา และการไดสัมผัสกับสิ่งแวดลอม เด็กตองการ

เคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ในระยะแรกๆ ของขั้นนี้เด็กจะมีความกระตือรือรนและเริ่มมีความกาวราว

เกิดข้ึน เพื่อจะเอาชนะ ลักษณะพฤติกรรมของเด็กวัยนี้จะแตกตางกันไปตามเพศ และในที่สุดจะพัฒนา

เปนบุคลิกภาพที่แสดงถึงความเปนชายและหญิงอยางเห็นไดชัด รูปแบบพฤติกรรมของเด็กชาย เด็กชาย

จะชอบกระโดดโลดเตน ตองการมีความรูใหมๆ และชอบยุงเรื่องของคนอื่น ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับความ

อยากรูอยากเห็นในสิ่งตางๆ โดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยแสดงออกมาในรูปแบบตางๆ เชน การไม

สามารถอยูนิ่งๆ อาการกระวนกระวาย การจูโจมถึงตัวบุคคล ในขณะที่เด็กหญิง รูปแบบที่แสดงออกมา

จะเริ่มตนคลายกับหญิงสาวทั่วไป เชน มีเสนห นารัก มีทีทาขวยเขิน เยายวน จนถึงขั้นที่แสดงออกถึง

ความสงบเสงี่ยมซึ่งเปนลักษณะของสาวๆ ทั้งหมดนี้เปนการเริ่มตนที่แสดงออกถึงเพศแม เด็กหญิงเริ่มมี

บทบาทของความเปนแมตอไปในรูปของทวงทีการพูดคุย การแสดงออกตาง ๆ ในสังคมจะสะทอนให

เห็นถึงพฤติกรรมตางๆ รวมถึงอุปนิสัยสวนลึกที่จะยอมรับใครเขามารวมเกี่ยวของดวย พฤติกรรมตางๆ

เหลานี้ถือวาเปนธรรมชาติของเด็ก สภาพแวดลอมของครอบครัวมีบทบาทสําคัญตอการแสดงออกของ

เด็กเปนอยางมาก เมื่อเด็กผานชวงนี้ไป ความสนใจเรื่องเพศจะเปลี่ยนจากความสนใจในบุคคลอื่นเปน

การคนหาสิ่งใหมๆ ใหกับตัวเอง

เด็กมีความสามารถทางภาษาและสามารถใชไดดีขึ้นกวาเดิม ชอบพูดและตั้งคําถามถึงสิ่ง

ตางๆ รอบตัว และมีจินตนาการทางความคิดตางๆ ในขณะกําลังทํากิจกรรมนั้นๆ เด็กในชวงนี้กําลัง

เรียนรูในสิ่งแปลกใหม ผูใหญควรปลอยใหเด็กไดพูดถาม และทํากิจกรรมตางๆ อยางอิสระภายใน

14

ขอบเขตความสามารถ และจินตนาการของเขา การมีสวนรวมในกิจกรรมตลอดถึงการใชภาษาจะชวย

ใหเด็กเกิดความคิดในการวางแผนและการริเริ่มทํากิจกรรมตางๆ ซึ่งจะเปนการสงเสริมใหเขาตองการที่

จะศึกษาคนควาตอไป เด็กก็จะมีความคิดริเริ่ม แตในทางตรงกันขามถาผูใหญคอยเขมงวด ไมเปดโอกาส

ใหเด็กไดซักถาม หรือตําหนิดุวาพฤติกรรมที่เขาแสดงออกอยูตลอดเวลา เขาก็จะรูสึกผิด และไมกลา

แสดงออกเมื่อคิดจะทําสิ่งใด

ขั้นที่ 4 ความขยันหมั่นเพียรกับความรูสึกต่ําตอย (Industry vs. Inferiority)

ขั้นน้ีอยูในชวงอายุ 6 – 12 ป ชวงวัยเด็กตอนปลายเปนระยะที่เด็กมีความเจริญเติบโตและมี

ความอยากรูอยากเห็นในสิ่งแวดลอมตาง ๆ มากขึ้นยิ่งกวาในวัยเด็กตอนตนและวัยเด็กตอนกลาง การ

เสาะแสวงหาสิ่งตางๆ ทําใหเด็กมีประสบการณกับสิ่งใหม ๆ รอบตัวเขามากขึ้น เมื่อเขาคิดวาสิ่งใดที่เขา

ตองการเขาจะตองแสวงหาใหไดตามความปรารถนา เนื่องจากในวัยที่ผานมาเขาไมสามารถทํากิจกรรม

หลายอยางได เพราะมีผูใหญคอยบังคับและควบคุม เด็กในวัยนี้ตองการแสดงความคิดเห็นและ

แกปญหาตางๆ เพื่อแสดงความเปนผูใหญ จุดสําคัญของพัฒนาการระยะนี้คือการไดแสดงออกวาเขามี

ความคิด และมีความสามารถเหมือนผูใหญคนอื่นๆเชนกัน ในชวงอายุนี้บุคคลรอบขางควรชวยชี้แนะ

แนวทางในการดําเนินชีวิตเพราะเปนระยะที่พวกเขาเริ่มไตรตรองถึงอนาคต การที่ไดพิสูจนวามี

ความสามารถกระทําสิ่งตางๆ ในขอบเขตของเขาไดอยางเหมาะสมทําใหเด็กในวัยนี้มีความเชื่อมั่นวาเขา

จะประสบความสําเร็จในอนาคต

พัฒนาการทางรางกาย

การเจริญเติบโตดานรางกายของเด็กวัยนี้มีลักษณะคอยเปนคอยไปอยางชา ๆ สม่ําเสมอ มี

การเปลี่ยนแปลงของกลามเนื้อและระบบประสาทซึ่งทํางานประสานกันไดดีขึ้น การเจริญเติบโตอยาง

รวดเร็วของอวัยวะภายในเกือบทุกระบบ การเปลี่ยนแปลงดานน้ําหนัก การเจริญเติบโตของกระดูกและ

ฟน และการขยายออกของรางกายซึ่งเปลี่ยนไปในดานสวนสูงมากกวาสวนกวาง โดยความสูงจะเพิ่มขึ้น

2 – 3 นิ้วตอป สัดสวนรางกายใกลเคียงผูใหญมากขึ้น เด็กผูหญิงจะมีการเจริญเติบโตทั้งดานรางกาย

และวุฒิภาวะเร็วกวาเด็กผูชายประมาณ 1 – 2 ป จากลักษณะการเจริญเติบโตทางดานรางกายดังกลาว

ทําใหเด็กวัยนี้เริ่มใหความสนใจกับรูปรางหนาตา มีความอยากรูอยากเห็นในเรื่องราวทางกายของเพศ

ตรงขาม อยางไรก็ตามการเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นทุกดานของเด็กวัยนี้ข้ึนอยูกับปจจัยหลายประการ เชน

ลักษณะทางพันธุกรรม การเลี้ยงดูเอาใจใสจากครอบครัว และตัวเด็กเอง เชน รูปแบบการรับประทาน

อาหาร การออกกําลังกายที่เหมาะสม การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณแข็งแรง

พัฒนาการทางอารมณ

พัฒนาการทางอารมณของเด็กวัยนี้คือ การมีความคิดละเอียดออนมากขึ้น สามารถเขาใจ

อารมณของตนเองและผูอื่นไดดีข้ึน ควบคุมอารมณของตนได เรียนรูที่จะแสดงอารมณไดเหมาะสมใน

รูปแบบที่สังคมยอมรับได เด็กวัยนี้สามารถควบคุมและระงับความโกรธไดดีขึ้น ไมมีลักษณะของการ

15

โกรธงายและหายเร็ว พัฒนาการการแสดงออกจะเปลี่ยนไป จากเดิมที่แสดงออกดวยการรองไหดิ้นกับ

พื้นเสียงดัง ทิ้งตัวลงนอนเมื่ออยากไดรับการตอบสนองในสิ่งที่ตองการ จะเปลี่ยนเปนการคิดแกแคนใน

ใจแตไมทําจริงดังที่คิด หรือการหลีกเลี่ยงจากสถานการณที่ไมพึงพอใจในทันที ไมมีพฤติกรรมแบบตอสู

โดยใชกําลัง ดานความรักเด็กวัยนี้แสดงออกดวยการมีน้ําใจชวยเหลือผูอื่น ราเริงแจมใส อารมณดี จะ

ระมัดระวังไมทําใหผูอื่นเสียใจหรือกระทบกระเทือนใจ โดยเฉพาะขณะอยูในกลุมเพื่อน หรือในสังคม

เขาตองการความรัก ความอบอุนมั่นคงในครอบครัวและหมูคณะ นอกจากนี้เด็กจะเลิกกลัวสิ่งที่ไมมี

ตัวตน พิสูจนไมได อารมณกลัวของเด็กวัยนี้เกิดจากประสบการณ และการเรียนรูที่ไดรับมา สิ่งที่เด็กวัย

นี้กลัวมากที่สุดคือ กลัวการไมเปนที่ยอมรับของกลุม กลัวไมมีเพื่อน ไมชอบการแขงขัน ไมตองการเดน

หรือดอยกวากลุม ชอบการยกยองแตไมชอบการเปรียบ- เทียบ นอกจากนี้เด็กยังกลัวอันตรายตาง ๆ ที่

จะเกิดขึ้นกับตนและบุคคลที่รัก การตอบสนองความกลัวจะเปนลักษณะการตอสู การถอยหนี และการ

ทําตัวใหเขากับสิ่งนั้นๆ ความกลัวของเด็กจะเริ่มลดลงเรื่อยๆ พรอมกับการเปลี่ยนแปลงดานรางกาย

เด็กจะเปลี่ยนจากความกลัวเปนความกังวลเรื่องรูปรางของตนเองแทน คือ กังวลจากความตองการให

ตนมีรูปรางที่แข็งแรงในเด็กชาย หรือมีรูปรางหนาตาสวยงามในเด็กหญิง

อยางไรก็ตาม เด็กวัยนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงความรูสึกที่เกิดขึ้นเร็ว บางครั้งทําตัวเปนผูใหญ

บางครั้งทําตัวเปนเด็ก ความขัดแยงทางอารมณจึงเกิดข้ึนไดเสมอ พัฒนาการทางอารมณของเด็กวัยนี้จึง

ขึ้นอยูกับลักษณะการเลี้ยงดูของพอแม ซึ่งมีผลสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาความรูสึกมั่นคงของเด็ก

ตอไป

พัฒนาการทางดานความคิดและสังคม

เด็กจะสนใจในสิ่งตางๆ แลวพยายามดัดแปลงใหมาสูแบบฉบับของเขา ความสามารถในการ

เลียนแบบจะปรากฏออกมาในรูปของ การเรียนรูภายในขอบเขตความสามารถของตัวเอง ซึ่งมีพื้นฐาน

มาจากสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรมและสังคม เด็กจะมองเห็นวาพอแมเปนตัวแทนของสังคม เปน

แบบอยางแกเขา แตเขายังตองการตัวแบบอื่นๆ เพื่อการเปรียบเทียบดวย เชน เพื่อนของพอแม และพอ

แมของเพื่อน เปนบุคคลสําคัญที่ใหมสําหรับเขา นอกจากนี้เพื่อนบาน เพื่อนในโรงเรียน เปนสิ่งสําคัญ

ทางสังคมที่เขาจะพิจารณา และคนแปลกหนากลายเปนสิ่งที่นาสนใจสําหรับเขา เด็กหญิงและเด็กชาย

จะแสวงหาผูใหญและบุคคลอื่นๆ เพื่อการวิเคราะห เขาคิดวาพอแมยังไมสมบูรณพอที่เขาจะเลียนแบบ

ไดครบทุกดาน ในโลกของเด็กมีการสมมติตําแหนงตางๆ ที่สําคัญเหมือนผูใหญ เด็กมีความนับถือตนเอง

เปนเกณฑเพื่อวัดความสําเร็จหรือความลมเหลวของตน เด็กจะแสวงหาตัวแบบจากครอบครัวที่มี

ลักษณะพิเศษออกไป ทางดานการปรับตัวของเด็กในสังคม เด็กจะมีการยอมรับตัวเองมากขึ้น

นอกจากนี้โรงเรียน กลุมเพื่อนรุนเดียวกันและกลุมบุคคลทางศาสนา จะมีสวนชวยสนับสนุนการปรับตัว

ของเด็กไดเปนอยางดี ในชวงวัยนี้เด็กเริ่มเปลี่ยนความผูกพันจากครอบครัวไปสูสถาบันอื่นในสังคม

16

พัฒนาการระยะนี้จะมีผลตอระยะวัยรุน โดยทั่วไปเด็กวัยรุนมักตองการไดรับการยอมรับจาก

ผูอื่น ชอบทํากิจกรรมตางๆ สูงกวาความสามารถตามการรับรูของตนเอง เปนการทดลอง และเรียนรู

ศักยภาพ ของตนเอง ในขณะเดียวกันความกลัวความผิดพลาดหรือความลมเหลวที่เกิดขึ้น ก็เปน

แรงผลักดันใหเขาพยายามทํากิจกรรมนั้นๆ ใหสําเร็จ เด็กวัยรุนจะพยายามเอาชนะ เพื่อความสําเร็จซึ่ง

เปนแนวทางไปสูความเชื่อมั่นในตัวเองเมื่อเขาเติบโตเปนผูใหญ กลาวไดวาเด็กวัยรุนมีพลังอยาง

เพียบพรอมที่จะปรับตัวเพื่อความสําเร็จในการทํางาน มีความขยันขันแข็ง พยายามคิดทํา คิดผลิตสิ่ง

ตางๆ ใหเหมือนผูใหญดวยการทุมเททั้งกําลังกายและกําลังใจ การไดรับคําชมเชย เปนแรงกระตุนให

เกิดกําลังใจ และมีความมานะพยายามมากขึ้น แตในทางตรงกันขามเด็กไมไดรับความสนใจ หรือผูใหญ

แสดงออกวาสิ่งที่เขาทําเปนเรื่องนารําคาญ เขาก็จะรูสึกต่ําตอย

การสงเสริมพัฒนาการดานรางกาย

แนะนําในเรื่องการออกกําลังกาย การเลนกีฬา การใชเวลาวางใหเกิดประโยชน เพื่อใหมี

สุขภาพรางกายที่แข็งแรง

แนะนําเรื่องการรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอการเจริญเติบโตของเด็กวัยนี้ เด็กควร

ไดรับสารอาหารครบทุกหมูในปริมาณที่เพียงพอ สิ่งที่ควรคํานึงถึงคือเด็กวัยน้ีมักสนใจการเลนกับเพื่อน

มากกวาเรื่องการรับประทานอาหาร

การสงเสริมพัฒนาการดานจิตใจ

แนะนําเรื่องการรูจักตนเอง การมองตนเองตามความเปนจริง ดวยการบริหารจิตใจ การทํา

สมาธิ การเสียสละเพื่อผูอื่นอยางเหมาะสม

ฝกการผอนคลายความเครียดในลักษณะตางๆ เชน การผอนคลายกลามเนื้อทุกสวนของ

รางกาย จินตภาพบําบัด หรือการทํางานอดิเรกที่ชอบ เชน ฟงเพลง เลนดนตรี อานหนังสือที่ชอบ วาด

ภาพ เปนตน

การสงเสริมพัฒนาการดานสังคม

แนะนําเรื่องการปรับตัวใหเขากับเพื่อนไดอยางเหมาะสม ใหรูจักการยืดหยุน รูจักการแพ

ชนะ และใหอภัย เขาใจความแตกตางระหวางบุคคลตามสภาพความเปนจริง เพื่อลดความคาดหวังจาก

ผูอื่นในทุกๆ ดาน

ฝกพฤติกรรมการแสดงออกอยางเหมาะสมในสถานการณตาง ๆ ทั้งพฤติกรรมทางดาน

รางกาย และคําพูด การจัดใหมีการแสดงบทบาทสมมติสถานการณตางๆ เพื่อใหเกิดทักษะนําไปสูการ

ปฏิบัติตอไป

ขั้นที่ 5 ความเปนอัตลักษณกับความสับสนในบทบาท (Identity vs. Role Confusion)

ขั้นนี้อยูในชวงอายุ 13 – 20 ป การแสวงหาอัตลักษณของบุคคล และการเสริมสรางความ

รับผิดชอบถือวาเปนเอกลักษณสําคัญของวัยนี้ ซึ่งความรับผิดชอบดังกลาวมีรากฐานมาจากการอบรม

17

ของพอแม และความรูสึกไววางใจและความมั่นใจในตนเอง องคประกอบสําคัญของการสรางความรูสึก

เปน อัตลักษณ และผานพนความรูสึกสับสนในตนเอง ไดแก ความเขาใจในอัตลักษณและการแสวงหา

สถานภาพทางสังคม ความเขาใจในอัตลักษณชวยใหเด็กวัยรุนเกิดความเขาใจในปญหาตางๆ และชวย

ในการตัดสินใจ วางแผนเรื่องเกี่ยวกับอนาคต เชน การเลือกอาชีพ การเลือกคูครอง เปนตน ในวัยนี้เด็ก

วัยรุนจะเกิดความคิดสงสัยในตัวเอง เชน การคิดถามตนเองวา “ฉันคือใคร?” หรือ “ฉันจะทําอาชีพ

อะไรดี?” เนื่องจากระยะวัยรุนเปนระยะ ที่มีความรูสึกสับสน ขาดความมั่นใจ เพราะมีการเปลี่ยนแปลง

ทั้งทางดานรางกาย และจิตใจเพื่อเตรียมเขาสูวัยผูใหญ ปญหาของเด็กวัยนี้มักเปนไปในทํานองที่วา ฉัน

ไมรูวาฉันควรจะทําอะไร ฉันไมรูวาฉันจะดําเนินชีวิตไปในทิศทางใด และฉันไมรูวาฉันเปนใคร อิทธิพล

จากกลุมเพื่อนวัยเดียวกัน และความรูสึกไดรับการยอมรับจากสังคมแวดลอม ซึ่งรวมถึงกลุมยอยทาง

วัฒนธรรม และศาสนามีผลตอการปรับตัวของวัยรุนอยางยิ่ง เด็กวัยรุนจะคอย ๆ พัฒนาความเปนตัว

ของตัวเองขึ้น เขาจะแสวงหาตนตามอุดมคติ (Ego – ideal) และคนหาอัตลักษณเพื่อปรับตัวใหเขากับ

บทบาทใหมในสังคม เราพบวาเด็กวัยรุนตอนปลายจํานวนมากยังไมสามารถคนพบอัตลักษณของตน

เด็กวัยรุนที่ประสบอุปสรรคในพัฒนาการขั้นนี้จะขาดทักษะที่เหมาะสมในการแกไขสถานการณ คือเมื่อ

เผชิญปญหามักจะหลบเลี่ยงมากกวาที่จะแกไข ในขณะที่สถานการณ หรือปญหาหนึ่งยังไมไดรับการ

แกไข เมื่อปญหาอื่นๆประดังเขามา ก็เกิดการสั่งสม และซับซอนของปญหา กลาวคือเด็กวัยรุนยังไมมี

ทักษะที่ดีในการแกปญหา อยางไรก็ตามวัยรุนแตละคนยอมตองการเวลาในการเรียนรู และปรับตัวเพื่อ

การพัฒนาไปสูความเปนผูใหญและไดรับการยอมรับจากบุคคลรอบขางในสังคม

พัฒนาการทางรางกาย

พัฒนาการทางดานรางกายประกอบดวยการเจริญเติบโต และเปลี่ยนแปลงของรางกายอยาง

มาก รวมถึงพัฒนาการอัตลักษณทางเพศที่ชัดเจน ในวัยนี้ รางกายของเขามีการผลิตฮอรโมนเพศ (Sex

hormone) และฮอรโมนของการเจริญเติบโต (Growth hormone) อยางมากและรวดเร็ว สงผลให

รางกายมีการเปลีย่นแปลงอยางรวดเรว็ แขนขาจะยาวข้ึนกอนจะเห็นการเปลี่ยนแปลงอื่นประมาณ 2 ป

ในเพศหญิงจะมีไขมันมากกวาเพศชาย วัยรุนชายจะมีพัฒนาการของกลามเนื้อมากกวา ทําใหเพศชายดู

แข็งแรงกวา ระหวางวัยรุนเพศชายและวัยรุนเพศหญิงจะมีการเปลี่ยนแปลงทางเพศที่ตางกันอยาง

ชัดเจน อาทิเชน วัยรุนชายจะเปนหนุมขึ้น เสียงแตก หนวดเคราขึ้น และเริ่มมีฝนเปยก สวนวัยรุนหญิง

จะเปนสาวขึ้นคือ เตานมมีขนาดโตขึ้น ไขมันที่เพิ่มขึ้นจะทําใหรูปรางมีทรวดทรง สะโพกผายออก และ

เริ่มมีประจําเดือน นอกจากนี้ระดับสติปญญา ความคิดจะพัฒนาสูงขึ้น คือมีความคิดเปนแบบรูปธรรม

มากขึ้นกวาวัยกอนหนานี้ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห และสังเคราะหสิ่งตางๆไดมากขึ้น

ตามลําดับ จนเมื่อพนวัยรุนแลวจะมีความสามารถทางสติปญญาไดเหมือนผูใหญ แตในชวงวัยรุนนี้ เด็ก

วัยรุนอาจขาดความยั้งคิด มีความหุนหันพลันแลน ซึ่งการวิจัยพบวาพฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลงใน

18

วัยรุนสวนใหญเปนผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงภายในรางกาย คือการผลิตฮอรโมนของตอมไรทอตางๆ

ที่เกิดขึ้นทั้งในสมอง และรางกายของวัยรุน

พัฒนาการทางอารมณ

ในชวงวัยนี้อารมณจะปนปวน เปลี่ยนแปลงงาย หงุดหงิดงาย เครียดงาย โกรธงาย อาจเกิด

อารมณซึมเศราโดยไมมีสาเหตุไดงาย อารมณที่ไมดีเหลานี้อาจทาํใหเกดิพฤติกรรมเกเร กาวราว มีผลตอ

การเรียนและการดําเนินชีวิต ในวัยรุนตอนตน การควบคุมอารมณยังไมคอยดีนัก บางครั้งยังทําอะไร

ตามอารมณตัวเองอยูบาง แตจะคอยๆ ดีขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น อารมณเพศวัยนี้จะมีมาก ทําใหมีความ

สนใจเรื่องทางเพศ หรือมีพฤติกรรมทางเพศ เชน การสําเร็จความใครดวยตนเอง ซึ่งถือวาเปนเรื่องปกติ

ในวัยนี้ แตพฤติกรรมบางอยางอาจเปนปญหา เชน เบี่ยงเบนทางเพศ กามวิปริต หรือการมีเพศสัมพันธ

ในวัยรุน

พัฒนาการทางจริยธรรม

วัยนี้จะมีความคิดเชิงอุดมคติสูง (Idealism) เพราะเขาสามารถแยกแยะความผิดชอบชั่วดีได

มีมโนธรรม ตองการใหมีความถูกตอง ความชอบธรรมในสังคม ชอบชวยเหลือผูอื่น ตองการ

เปนคนดี เปนที่ชื่นชอบของคนอื่น และจะรูสึกอึดอัดคับของใจกับความไมถูกตองในสังคม หรือในบาน

แมแตพอแมของตนเองเขาก็เริ่มรูสึกวาไมไดดีสมบูรณแบบเหมือนเมื่อกอนอีกตอไปแลว บางครั้งเขาจะ

แสดงออก ดวยการวิพากษวิจารณพอแม หรือครู อาจารยตรงๆ การตอตาน ประทวงจึงเกิดไดบอยใน

วัยนี้ เมื่อเขาเห็นการกระทําที่ไมถูกตอง หรือมีการเอาเปรียบ เบียดเบียน ความไมเสมอภาคกัน เมื่อพน

วัยรุนตอนตนไป การควบคุมตนเองจะดีขึ้น จนเปนระบบจริยธรรมที่สมบูรณเหมือนผูใหญ

พัฒนาการทางสังคม

วัยนี้จะเริ่มหางจากทางบาน ไมคอยสนิทสนมคลุกคลีกับพอแมพี่นองเหมือนเดิม แตจะสนใจ

เพื่อนมากกวา จะใชเวลากับเพื่อนนานๆ มีกิจกรรมนอกบานมาก ไมอยากไปไหนกับทางบาน เริ่มมี

ความสนใจเพศตรงขาม สนใจสังคมสิ่งแวดลอม ปรับตัวเองใหเขากับกฎเกณฑกติกาของกลุม ของสังคม

ไดดีข้ึน มีทักษะทางสังคมมากขึ้น รูจักการสื่อสารเจรจา การแกปญหา การประนีประนอม การยืดหยุน

โอนออน และการทํางานรวมกับผูอื่น พัฒนาการทางสังคมที่ดีจะเปนพื้นฐานมนุษยสัมพันธที่ดี ความ

ภาคภูมิใจในตนเอง และบุคลิกภาพที่ดี

ถาบุคคลไมสามารถปรับตัว หรือพบอุปสรรคในพัฒนาการขั้นนี้ เขาจะเกิดความรูสึกรุนแรง

ซึ่งมีผลตอบุคลิกภาพ และการแสดงออกของเขา การไดพูดหรือไดแสดงความคิดเห็นตอหนาคนหมูมาก

นับวาเปนประโยชนเปนการแสวงหาอัตลักษณของตัวเองอยางหนึ่ง นอกจากนั้นวัยรุนจะเลือกผูใหญที่

ไมใชพอแม มาเปนแบบอยางที่มีความหมาย และเปนที่ไววางใจของเขา วัยรุนจะมองคุณคาของ

วัฒนธรรม ศาสนา และอุดมคติวา เปนสิ่งที่ดีงาม และเปนสิ่งที่สนับสนุนสงเสริมพัฒนาการและการ

แสวงหาอัตลักษณของเขา ถาเขาประสบความสําเร็จในการแสวงหาตนเอง เขาจะสามารถแสดงบทบาท

19

ของตนเองไดอยางเหมาะสม แตในทางตรงกันขาม ถาเขาไมสามารถฟนฝาอุปสรรค ปญหาตางๆ และ

ไมมั่นใจในอัตลักษณของตน เขาจะเกิดความสับสนและแสดงบทบาทที่ไมเหมาะสม

ประเด็นปญหาที่พบไดบอยในวัยรุน ไดแก ความสัมพันธกับพอแม หรือบุคคลในครอบครัว

การใชสารเสพติด ปญหาเกี่ยวกับประเด็นทางเพศ ปญหาบุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ขัดตอกฎเกณฑ

ตางๆ

ปญหาความสัมพันธกับพอแม

วัยนี้จะแสดงพฤติกรรมที่แสดงความเปนตัวตนของเขาคอนขางมาก การพูดจาไมคอย

เรียบรอยซึ่งอาจเลียนแบบมาจากกลุมเพื่อน อารมณแปรปรวน ไมมีความสม่ําเสมอตอความรับผิดชอบ

ตาง ๆ เอาแตใจตัวเอง ทําใหพอแม ผูปกครอง หรือครูอาจารยหงุดหงิดไมพอใจไดมากๆ ถาบุคคลรอบ

ขางไมเขาใจ การแสดงออกเหลานี้ และใชวิธีการจัดการที่ไมถูกตอง เชน ใชการดุดาวากลาว บนตําหนิ

หรือลงโทษรุนแรง จะเกิดปฏิกิริยาตอตาน ซึ่งไมชวยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเหลานั้น วิธีการจัดการกับ

ปญหาพฤติกรรมเหลานี้ ทําไดโดยเริ่มตนจากการทําความเขาใจความตองการของเขา มีการตอบสนอง

โดยประนีประนอมยืดหยุน แตยังคงขอบเขตที่เหมาะสม ควรใชการจูงใจ ใหวัยรุนไดออกความคิด และ

รวมมือโดยสมัครใจมากกวาการบังคับ หรือการใชความรุนแรง

ปญหาการใชสารเสพติด

ตามธรรมชาติของวัยรุนจะมีความอยากรูอยากเห็นอยากลองมาก การที่อยูใกลชิดกับกลุม

เพื่อนที่ใชสารเสพติด ยอมมีความเสี่ยงสูงที่จะถูกชักจูงใหใชสารเสพติดตางๆ วัยรุนสวนใหญไมกลา

ปฏิเสธเพื่อนเพราะกลัวเพื่อนไมคบ หรือถูกเพื่อนทาทาย หรือบางคนใชเพราะอยากใหเหมือนเพื่อนๆ

เพื่อใหไดรับ การยอมรับ เมื่อลองแลวเกิดความพอใจ และติดสารเสพติดเหลานั้นไป

ปญหาทางเพศ

พฤติกรรมรักรวมเพศ (Homosexualism) เปนพฤติกรรมที่จะทําใหเกิดปญหาตามมาไดมาก

คนที่เปนรักรวมเพศมักจะเจอปญหาในการดําเนินชีวิตไดมากกวาคนทั่วไป ในบางสังคมมีการตอตาน

พฤติกรรมรักรวมเพศ มีการรังเกียจ ลอเลียน ไมยอมรับ บางประเทศมีกฎหมายลงโทษผูที่มีเพศสัมพันธ

กับเพศเดียวกัน

รักรวมเพศ คือพฤติกรรมที่พึงพอใจทางเพศกับเพศเดียวกัน อาจมีการแสดงออกภายนอกให

เห็นชัดเจนหรือไมก็ได พฤติกรรมรักรวมเพศอาจมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย ขึ้นอยูกับแตละกรณี เชน

เด็กผูชายถูกเลี้ยงดูมาทามกลางญาติพี่นองที่มีแตผูหญิง อาจทําใหอยากมีความเปนผูหญิงเหมือนกัน

และก็เกิดชอบเพศชายดวยกัน เพราะมีความคิดวาตนเองเปนเพศหญิง เปนตน

การรักษาผูที่เปนรักรวมเพศ มักไมไดผล เนื่องจากผูที่เปนรักรวมเพศมักจะพอใจในลักษณะ

แบบนี้อยูแลว การชวยเหลือทําไดโดยการใหคําปรึกษาผูที่เปนพอแม และผูปวย เพื่อใหปรับตัวได ไม

รังเกียจลูกที่เปนแบบนี้ และการพูดคุยเพื่อใหผูปวยไดเขาใจและแสดงออกอยางเหมาะสม ไมมากเกินไป

20

จนเกิดการรังเกียจ และตอตานจากคนใกลชิด หรือเพื่อนบานในชุมชน การปองกันภาวะรักรวมเพศ ทํา

ไดโดยการสงเสริมความสัมพันธระหวางพอแมเพศเดียวกับเด็ก เพื่อใหมีการถายทอดแบบอยางทางเพศ

จากพอหรือแมเพศเดียวกับเด็ก

การสําเร็จความใครดวยตนเอง (Masturbation) ในวัยรุนถึงวาเปนพฤติกรรมปกติ ไมมี

อันตราย ไมมีผลเสียตอรางกายหรือจิตใจ แตวาควรแนะนําใหเด็กไดเห็นถึงความเหมาะสมของเวลา

และสถานที่ ไมควรหมกมุนมากจนเปนปญหาตอการใชเวลา ทําใหขาดการทํากิจกรรมอื่นๆ ที่เปน

ประโยชนมากกวา

การมีเพศสัมพันธในวัยรุน (Sexual Relationship) มักเกิดจากวัยรุนที่ขาดการยับยั้งชั่งใจ

หรือมีปญหาทางอารมณ และใชเพศสัมพันธเปนการทดแทน เพศสัมพันธในวัยรุนมักไมไดยั้งคิดให

รอบคอบ ขาดการไตรตรอง ทําตามอารมณเพศ หรืออยูภายใตฤทธ์ิของสารเสพติด ทําใหเกิดปญหาการ

ติดโรคติดตอทางเพศสัมพันธ การตั้งครรภเมื่อยังไมพรอม การทําแทง การเลี้ยงลูกที่ไมถูกตอง ปญหา

ครอบครัว และกลายเปนปญหาสังคมในที่สุด

ปญหาบุคลิกภาพ

ชวงวัยรุนจะมีพัฒนาการทางบุคลิกภาพอยางชัดเจน ทั้งนิสัยใจคอ ความคิด การกระทํา มี

รูปแบบที่สม่ําเสมอ จนสามารถคาดการณไดวาในเหตุการณแบบนี้ เขาจะแสดงออกอยางไร ทั้งนี้ขึ้นอยู

กับ ประสบการณ และการเรียนรูที่ผานมา จะทําใหวัยรุนมีบุคลิกภาพดีดวย แตในทางตรงขาม การ

ประสบ อุปสรรคตางๆ เชน การขาดผูปกครองคอยดูแล สั่งสอน หรือการเรียนรูแบบผิดๆ จะทําให

วัยรุนมีปญหาบุคลิกภาพได ทําใหเขาปรับตัวเขากับคนอื่นยาก และเอาตัวเองเปนศูนยกลาง ในกรณีที่

เปนปญหามากๆ อาจนําไปสูอาการผิดปกติทางบุคลิกภาพ (Personality Disorders)

อาการพฤติกรรมเกเร (Conduct Disorder)

เปนโรคที่มีปญหาพฤติกรรมกลุมที่ทําใหผูอื่นเดือดรอน โดยตนเองพอใจ ไดแก การละเมิด

สิทธิผูอื่น การขโมย ฉอโกง ตีชิงว่ิงราว ทํารายผูอื่น ทําลายขาวของ เกเร หรือละเมิดกฎเกณฑของหมู

คณะหรือสังคม การหนีเรียน ไมกลับบาน หนีเที่ยว โกหก หลอกลวง ลวงเกินทางเพศ การใชสารเสพ

ติด อาการดังกลาวนี้มักจะเกิดข้ึนตอเนื่องมานานพอสมควร สัมพันธกับปญหาในครอบครัว การเลี้ยงดู

ปญหาอารมณ การรักษาควรรีบทําใหเร็วที่สุด เพราะการปลอยไวนาน จะยิ่งเรื้อรังรักษายาก และ

กลายเปนบุคลิกภาพแบบอันธพาล ตและตอตานสังคม (Antisocial Personality Disorder) เมื่อ

เติบโตเปนผูใหญ

การปองกันปญหาวัยรุน

1. การเลี้ยงดูอยางถูกตอง ใหความรักความอบอุน

2. การฝกใหรูจักระเบียบวินัย การควบคุมตัวเอง

3. การฝกทักษะชีวิต ใหแกไขปญหาไดถูกตอง มีทักษะในการปฏิเสธสิ่งที่ไมถูกตอง

21

4. การสอนใหเด็กรูจักคบเพื่อน ทักษะสังคมดี

5. การฝกใหวัยรุนไดเรียนรู และเสริมสรางอัตลักษณ

ขั้นที่ 6 ความใกลชิดสนิทสนมกับความรูสึกโดดเดี่ยวอางวาง (Intimacy vs. Isolation)

บุคคลในข้ันนี้อยูชวงอายุประมาณ 21 – 35 ป เปนวัยผูใหญตอนตน ที่สามารถหาอัตลักษณ

ของตนเองไดจากชวงกอนแลว บุคคลในชวงอายุน้ีจะรูจักตนเอง รูวาตนเองมีความเชื่ออยางไร ตองการ

อะไรในชีวิต เกิดความรูสึกตองการมีเพือ่นสนิทที่จะรับและแลกเปลี่ยนสิ่งตางๆ ที่ตนมีอยู แบงปนความ

เชื่อถือ ความสุข และความตองการของตนแกผูอื่น นั่นคือ คูสมรส หรือเพื่อนสนิท จึงมีการพัฒนา

ความรูสึกผูกพันกับผูอื่น แตถาบุคคลไมสามารถสรางความรูสึกผูกพันใกลชิดกับผูอื่นได มีความตองการ

แขงขันหรือทะเลาะเบาะแวงกับผูอื่น ก็จะนําไปสูความรูสึกโดดเดี่ยวอางวาง

บุคคลในชวงนี้มีความเปนอิสระในสังคมมากกวาวัยกอนๆ ในชวงตน มีความรับผิดชอบตอ

ตนเอง ครอบครัวและสังคม ความสมบูรณของจิตใจในชวงนี้คือ การไดรับการยอมรับ มีความกาวหนา

มีอาชีพที่เหมาะสม มีการสมาคมกับเพศตรงขามเพื่อการเลือกคูครองตอไป การปรับตัวของผูใหญในวัย

นี้คือ การเลือกคูครอง และการมีหนาที่การงานที่เหมาะสม รวมทั้งการเขากันไดดีกับเพื่อนรวมงาน การ

ไมสามารถปรับตัวไดจะทําใหบุคคลแยกตัวออกไปจากสังคมและครอบครัว ซึ่งจะสงผลกระทบตอ

ความสามารถในการเปนผูใหญที่สมบูรณ แมบางคนที่แตงงานแลว แตไมสามารถแบงปนชีวิต และ

กิจกรรมกับคูสมรสได จะรูสึกโดดเดี่ยว และสงผลตอการปรับตัวของบุตร เมื่อบุตรเติบโตและ ออกไป

เผชิญชีวิตในสังคมภายนอก ดังนั้น งานและความรัก จึงเปนสิ่งที่ทําใหบุคคลในชวงวัยนี้ประสบ

ความสําเร็จในชีวิต

องคประกอบที่ชวยใหประสบความสําเร็จ ในชวงวัยผู ใหญตอนตนนี้ประกอบดวย

ประสิทธิภาพทางรางกาย วัยนี้เปนชวงที่รางกายมีความกระฉับกระเฉงสูงสุด และมีพลังเต็มที่ และ

จากนั้นก็จะคอยๆ ลดลง ผูที่ทํางานหนักจึงตองคํานึงถึงสุขภาพดวยเชนกัน

ประสิทธิภาพของสมอง คนที่มีสติปญญาดีจะมีความสามารถในการเรียนรู การทํางานและ

การปรับตัวใหเขากับสถานการณใหมๆ มีความคิดสรางสรรค มีเหตุผล มีความมั่นใจในตนเอง และรูจัก

ปรับตัวใหเขากับสถานการณที่ตนทํางานอยูได

สุขภาพจิต ผูที่อยูในวัยนี้ ควรฝกฝนจิตใจใหเขมแข็งเพื่อเผชิญกับปญหาตางๆ ไดอยางมี

ประสิทธิภาพ ยอมรับความจริง ผูที่มีสุขภาพจิตดีจะเปนผูที่มีความราเริง เบิกบาน มีผูชอบคบหาดวย

และมักจะมีความกาวหนาในหนาที่การงานเสมอ

การปรับตัวในงานอาชีพ อาจกลาวไดวา ผูที่ประสบความสําเร็จในชีวิตนั้น สวนหนึ่งคือ การ

ประสบความสําเร็จในอาชีพการงานของตน ดังนั้นผูที่ประสบความสําเร็จในงานก็ยอมนําความสุขมาสู

ตนเอง และครอบครัว

22

การปรับตัวในชีวิตครอบครัว หากบุคคลสามารถปรับตัวเขากับคูสมรสไดดี ยอมมีความเปน

อันหนึ่งอันเดียวกัน และรวมกันฝาฟนอุปสรรคปญหา และเปนกําลังใจซึ่งกันและกัน หากไมสามารถ

ปรับตัวเขากันไดก็จะนําไปสูปญหาการทะเลาะเบาะแวง และการหยารางในที่สุด

บทบาทเหลานี้ถือเปนบทบาทใหมที่ตองอาศัยความอดทน ความเขาอกเขาใจซึ่งกันและกัน

และการมีวุฒิภาวะทางจิตใจ ซึ่งผูที่ประสบความสําเร็จในชีวิตครอบครัว สวนใหญก็จะมีความสําเร็จใน

ชีวิตการงานดวยเชนกัน

ขั้นที่ 7 การสืบทอดกับการคํานึงถึงแตตนเอง (Generativity vs. Self absorption/

Stagnation)

ขั้นนี้อยูในชวงอายุ 36 – 59 ป เริ่มเขาสูวัยกลางคน เปนระยะที่บุคคลมีครอบครัว มีบุตร

และเลี้ยงดูบุตรดวยความเอาใจใส ในระยะนี้บุคคลตองการมีบุตรไวสืบสกุล การจะมีบุตรซึ่งถือวาเปน

สมาชิกใหมในครอบครัวนั้นตองมาจากรากฐานของความรักและความไววางใจซึ่งกันและกัน บุคคลที่ไม

สามารถพัฒนามาถึงขั้นนี้ยอมเกิดความรูสึกทอถอยและเหนื่อยหนายในชีวิต คิดถึงแตตนเอง เริ่มมี

ความเจ็บปวยเรื้อรัง และปฏิเสธความรับผิดชอบตอสังคม เชน ไมเตรียมสภาพแวดลอมที่ดีใหแกชนรุน

หลัง ทํางานอยางขาดความรับผิดชอบ ปลอยปละละเลย เปนตน

นอกจากนี้ในชวงวัยนี้ยังเปนวัยที่สนใจและตองการสรางประโยชนใหแกสังคม โดยความรูสึก

ตอสังคมนั้นจะเขามารวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกับชีวิตสวนตัว รูจักแกปญหาที่เกิดขึ้นกับตนเอง ปญหา

ครอบครัว และเลี้ยงดูบุตรดวยความเอาใจใส ระยะนี้เปนระยะที่บุคคลตั้งใจทํางานเพื่อใหสิ่งตางๆดีขึ้น

รวมทั้งพัฒนาการทางจริยธรรมก็มีการพัฒนาอยางตอเนื่องดวยเชนกัน

ในวัยนี้จะมีความเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ ที่เกิดขึ้น ไดแก ความเปลี่ยนแปลงทางดาน

รางกาย ไดแก รูปราง หนาตา ทาทาง และประสาทสัมผัส ตลอดจนการทํางานของตอมตางๆ ใน

รางกายเสื่อมลง จึงเปนเหตุใหมีการเปลี่ยนแปลงทางดานสภาพอารมณดวย เชน หงุดหงิด กังวล เปน

ตน

ความเปลี่ยนแปลงในหนาที่การงาน ในระยะนี้อาจมีการโยกยายงานไปยังตําแหนงหรือหนาที่

ใหม ซึ่งอาจกอใหเกิดความกังวลใจได

ความเปลี่ยนแปลงดานอารมณ บุคคลในวัยนี้มักมีความกังวลในสุขภาพรางกาย และมีความ

เปนหวงในหนาที่การงาน จึงมีผลกระทบตออารมณ ทําใหมีการแปรเปลี่ยนไปจากเดิม เชน โกรธงาย

เปนตน

ความเปลี่ยนแปลงในดานความสนใจ ในวัยนี้จะมีความสนใจในเรื่องตางๆ ที่ลึกซึ้งเปนพิเศษ

มีการทํางานอดิเรกตางๆ เพื่อหาความสุขใหแกตนเอง

23

โดยสวนใหญความสุขของคนวัยกลางคนคือ การมีความสุขสงบในชีวิตครอบครัว มีคูครอง

และบุตรที่ดี ประสบความสําเร็จในอาชีพ โดยมีงานที่มีเกียรติ มีผูใหความเคารพนับถือ และมีหนาที่การ

งานไมมัวหมอง นอกจากนี้ยังมีการใชเวลาวางและรางกายใหเปนประโยชนแกตนเองและครอบครัวดวย

ขั้นที่ 8 ความมั่นคงสมบูรณในชีวิตกับความสิ้นหวัง (Integrity vs. Despair)

ขั้นน้ีอยูในชวงอายุ 60 – 80 ป นั่นคือ เขาสูวัยชรา พัฒนาการขั้นสุดทายนี้มีพื้นฐานจากการ

ปรับตัวในชวงตนของชีวิต บุคคลในชวงวัยนี้มักแสวงหาความมั่นคงภายในจิตใจ ซึ่งเกิดเมื่อบุคคล

สามารถผานพัฒนาการในขั้นตางๆ มาไดอยางดี เปนวัยของการยอมรับความเปนจริง ใชคุณคาจาก

ประสบการณ ที่สั่งสมมา ใหเปนประโยชนตอชนรุนหลัง และเปนชวงของการระลึกถึงความทรงจําใน

อดีต ถาในอดีตที่ผานมาบุคคลมีความสุข ประสบความสําเร็จในพัฒนาการ และสิ่งตางๆ รอบตัว ก็จะมี

ทัศนคติที่ดีตอตนเองและผูอื่น มีความมั่นคงทางจิตใจ แตในทางตรงขามถาบุคคลมีความทรงจําที่

ผิดหวังอยูตลอด และพบปญหาอุปสรรคในพัฒนาการของชวงที่ผานมา จะมีความรูสึกทอแท หมดหวัง

เหนื่อยหนายกับชีวิต วิตกกังวลกับอดีตที่ไมดีงามของตนเอง ขาดกําลังใจในการตอสู และไมสามารถ

พัฒนาชีวิตในวัยชราไดอยางมีความสุข

ผูที่สามารถปรับตัวไดในชวงเกษียณอายุการทํางานจะเห็นวา ตนไดทําประโยชนแกสังคม

อยางเต็มที่แลว เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง มีความพอใจในชีวิต รูจักหาความสุข ความสงบในจิตใจ

ยอมรับกับสภาพความเปนจริง และความเปนอยูของตนเองในปจจุบัน และไมรูสึกเสียใจ หรือเสียดาย

เวลาที่ผานมากับ ประสบการณในอดีตของตนเอง

วัยชราเปนวัยที่มีพัฒนาการทางดานตางๆ ถดถอยลง สมรรถภาพของผูชราในวัยเดียวกันก็

อาจมีความแตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการดูแลรักษาสุขภาพ แตโดยหลักๆ จะพบความเสื่อมถอยของ

พัฒนาการในดานตางๆ ดังนี้

พัฒนาการทางดานรางกาย สภาพรางกายมีการเสื่อมถอย มีความเจ็บไขไดปวยบอยๆ และใช

เวลานานกวาคนหนุมสาวในการฟนจากความเจ็บปวย กลามเนื้อหยอนสมรรถภาพ การทรงตัวไมดี

พัฒนาการทางดานสติปญญา หลงลืมงาย ความจําเลอะเลือน แตเหตุผลยังดี ทักษะในการคิด

ริเริ่มอาจจะไมคลองแคลวเหมือนกอน และความรอบคอบลดลง แตพบวา พัฒนาการทางดานสมองยัง

ดีกวาทางดานรางกาย

พัฒนาการทางดานอารมณ มีอารมณไมคงที่ ชอบบน แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม สังคม

และประสบการณที่ผานมาดวย ความพอใจของวัยชรานี้สวนใหญเกิดจากมิตรภาพและประสบการณที่

ตนเองไดชวยเหลือผูอื่น

พัฒนาการทางดานสังคม วัยชราสวนมากจะใหความสนใจทางศาสนา หรือเปนผูให ความ

สนับสนุนดูแลลูกหลานในครอบครัว

24

ตอนที่ 4 การใชอินเทอรเน็ตเพื่อสนองความตองการ

John Suler (อางอิงใน อรอุมา ศรีสุทธิพันธ, 2545 : 20) นั้นไดทําการศึกษาถึงการบริโภค

อินเทอรเน็ตวา สื่ออินเทอรเน็ตเดิมเติมเต็มความตองการในลําดับความตองการของมนุษยของ

Maslow ไดอยางไร โดยไดพบวาสื่ออินเทอรเน็ตนั้นสามารถตอบสนองความตองการของมนุษยไดและ

ชวยเติมเต็มชดเชยความตองการที่ขาดหายไปของบุคคลในลําดับขั้นความตองการ ดังนี้

1. Sexual Needs ความตอการในดานเพศ

ฟรอยด กลาววา เรื่องเพศ (Sex) นี้ เปนการตองการพื้นฐานของมนุษยและเปนความตองการ

ลําดับขั้นแรกของ Maslow ซึ่งในปจจุบันเรื่องของเพศนั้นเปนหัวขอที่นิยมมากในสื่ออินเทอรเน็ต เมื่อ

บุคคลถูกครอบงําจากกิจกรรมทางเพศในออนไลน หรือ Cybersex นี้ จะทําใหเขาไดรับความพึงพอใจ

ซึ่งกิจกรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศในอินเทอรเน็ตนี้เปนสิ่งเสพติดได เพราะมันงายในการเขาถึง ลักษณะของ

สื่อที่ผูใชไมตองระบุชื่อนั้นก็เปนหนทางที่ปลอดภัย มีทางเลือกสรางอัตลักษณใหมและเปลี่ยนเพศใหม

ซึ่งทําใหอินเทอรเน็ตนี้ สามารถเติมเต็มพลังความตองการได และการใชบุคคลสามารถเขาไปหาคูได

ตามตองการของตน Cybersex นั้นเปนการชดเชยการแสดงออกในเรือ่งเพศทางกายภาพ เมื่อบุคคลนั้น

ยังไมไดรับความพึงพอใจในเรื่องเพศจากชีวิตจริง เขาก็จะมอบสิ่งทดแทนในอินเทอรเน็ต

2. Need for an Altered State of Consciousness ความตองการเขาสูจินตนาการ ความ

เพอฝน

บุคคลนั้นมีแนวโนมตองการที่จะเปลี่ยนแปลงความมีสติรูสํานึกของตน เพื่อที่จะไดรับ

ประสบการณความเปนจรงิจากแงมุมที่แตกตางกนั ซึ่งความตองการนี้อาจถูกแสดงผานหลายพฤติกรรม

เชน ทางดานสรางสรรคศิลปะ ทางดานเพศ การเสพติดยาและสื่อมวลชน เนื่องจากสิ่งเหลานี้จะชวยให

บุคคลหลุดจากโลกแหงความจริงเขาสูโลกแหงจินตนาการ ความเพอฝนอินเทอรเน็ตนั้นเปดโอกาสให

บุคคลแสดงออกซึ่งความไรสติ มันใหทางเลือกเพื่อเปลี่ยนแปลงความมีสติ โดยอนุญาตใหบุคคลแสดง

จินตนาการเพื่อปฏิสัมพันธกับคนอื่น และสํารวจโลก และเนื่องจากเวลา สถานที่ และอัตลักษณของคน

นั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได ทําให Cyberspace นั้นกลายมาเปนโลกแหงความฝน เชน โลกแหง

จินตนาการ ใน MUD และ Multimedia Environment

บุคคลจะถูกดึงดูดใหเขาไปในสภาพแวดลอมเสมือนจริง (Virtual Environment) เพราะมัน

เหมือนความฝน เขาจะไดรับความตองการที่นาพึงพอใจ โดยจะถูกดึงสูความไรสติ ที่ซึ่งเขาสามารถ

แสดงออกไดถึงจินตานการ ซึ่งก็อาจเปนเรือ่งทีเ่กี่ยวกับกับเพศ (Sexuality) ความรุนแรง (Aggression)

และการจินตนาการในบทบาทสมมติ (Role Playing) ในอินเทอรเน็ต

3. Need for an Achievement and Mastery Altered ความตองการที่จะประสบ

ความสําเร็จ

25

บุคคลนั้นมีความตองการพื้นฐานในการเรียนรู ไดรับประสบการณความสําเร็จ เปนผูควบคุม

สถานการณ มีอํานาจ และความนับถือ ในตนเองก็เปนหนึ่งในความตองการนี้ บุคคลจะเขาไปเรียนรู

กับการใชโปรแกรมตาง ๆ การคนหาขอมูลขาวสารเพื่อนํามาชวยแกปญหาและตัดสินใจอินเทอรเน็ตทํา

ใหบุคคลไดเรียนรูสังคม วัฒนธรรมตาง ๆ ใหการยอมรับกับความสําเร็จของบุคคล แตชุมชนใน

อินเทอรเน็ตนั้นก็เปลี่ยนแปลงเร็วมาก ดังนั้น ในการที่จะควบคุมสิ่งตาง ๆ ไดบุคคลจึงใชเวลาบอยมาก

ๆ กับมัน

4. Need to Belong ความตองการมีสวนรวม เปนสวนหนึ่งของสังคมบุคคลจะตองการ

ติดตอระหวางบุคคล การไดรับการยอมรับทางสังคม การมีสวนรวมความรูสึกในการเปนสวนหนึ่งของ

กลุม อินเทอรเน็ตนั้นชวยใหบุคคลเขามาเปนสวนหนึ่งในชุมชนที่เขาพึงพอใจได เมื่อบุคคลรูสึกกดดัน

จากสังคมจริง รูสึกแปลกแยกเขากันไมไดกับสังคมที่ดําเนินอยูเขาจะหันมาหาสังคมในอินเทอรเน็ตที่จะ

ชวยชดเชยความรูสึกนั้น เปดโอกาสใหบุคคลเขามาอยูในสังคมรวมกัน เมื่อมีผูใชเพิ่มมากขึ้น ชุมชนก็จะ

เปลี่ยนเร็วมากกวาในชีวิตจริง ซึ่งถาบุคคลตองการติดตอกับชุมชน เขาจะตองหมั่นเขาไปใชอินเทอรเน็ต

ยิ่งใชเวลามากเทาไหรในโลกออนไลน คนอื่นก็จะรูจักเรามากขึ้นเทานั้น ถาเราตองการไมใชถูกลืมหรือ

สูญเสียสังคมนี้ไป เราก็จะตองหมั่นเขาไปใชอินเทอรเน็ตเพื่อตัวเรายังคงอยูในสังคมออนไลนได

5. Need for Relationship ความตองการมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น เปนความตองการ

ติดตอระหวางบุคคล อินเทอรเน็ตนั้นเปนสังคมที่มีพลังและใหโอกาสในการมีสวนรวมแกบุคคล ซึ่งเปน

สิ่งที่มีอิทธิพลที่สุดของอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตนั้นชวยสนองความตองการใหแกบุคคลที่ไมไดรับ

ความสัมพันธทางสังคมเพียงพอ สําหรับคนขี้อายหรือคนที่หวาดกลัวที่จะติดตอบุคคลอื่นในชีวิตจริงนั้น

อินเทอรเน็ตจะชวยชดเชยใหคนเขาไปในความสัมพันธในออนไลนไดและดวยความที่ไมมีใครรูวาเราคือ

ใครในสื่ออินเทอรเน็ตนั้นจะชวยใหบุคคลสามารถแสดงออกมากขึ้น รูสึกมั่นคงและมั่นใจมากขึ้น

นอกจากนี้ อินเทอรเน็ตยังชวยใหบุคคลสามารถพบปะกับเพื่อนใหมหรือแสวงหาความสัมพันธแบบคูรัก

ได ซึ่งอินเทอรเน็ตก็จะสรางความพึงพอใจในความสัมพันธกับบุคลอื่นได มากกวาในชีวิตจริง ทําให

บุคคลนั้นละทิ้งชีวิตจริงเพื่อเขามาติดตอมาหาเพื่อนในอินเทอรเน็ต

Grohol (อางถึงใน อรอุมา ศรีสุทธิพันธ. 2545 : 22) นั้นเห็นวา ความตองการมีปฏิสัมพันธ

กับบุคลอื่น หรือความตองการทางสังคมนี้เปนความตองการที่สําคัญ ที่กอใหเกิดพฤติกรรมการเสพติด

ผูเสียติดนั้นจะแสวงหาความตองการนี้ โดยผานการใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การ Chat-Room หรือ

การเลนเกมสออนไลน

6. Need for Self-Actualization and the Transcendence of Self เปนความตองการ

เขาถึงความตองการภายใน ทัศนคติและบุคลิกภาพ ซึ่งกอนหนานี้ถูกปดบังเอาไว อินเทอรเน็ตนั้นชวย

ใหบุคคลไดแสวงหาตัวตนในอุดมคติของเขา เขาถึงสิ่งที่เขาอยากจะทํา สิ่งที่เขาอยากจะทํา สิ่งที่เขาจะ

เปนไดอยางแทจริง อินเทอรเน็ตนั้นสามารถเขาถึงและสนองความตองการพื้นฐานของมนุษยไดใหทุก

26

ดานและมันก็ทําใหบุคคลสามารถเสพติดมันไดงาย เนื่องจากความตองการที่หลากหลาย ของแตละ

บุคคลสามารถชดเชยไดจากสื่ออินเทอรเน็ต ผูบริโภคอินเทอรเน็ตนั้น ยึดติดการบริโภคอินเทอรเน็ต

เนื่องจากอินเทอรเน็ตนั้นสามารถตอบสนองและเติมเต็มความตองการที่ขาดหายของพวกเขาได และ

ชวยใหพวกเขาสามารถหลบหนีจากปญหาในชีวิตจริง Cooper (1998) (อางถึงใน อรอุมา ศรีสุทธิพันธ.

2545 : 28)

ตอนที่ 5 การแบงเพศ

กระบวนการสรางความเปนเพศชายและความเปนเพศหญิง (feminity and

masculity)

คุณลักษณะของแตละเพศที่ปรากฏไมใชสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แตไดถูกสราง

ขึ้นโดยผานกระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่ซับซอน และซึมซับเขาไปเปนสวนหนึ่งของความเปนตัวตน

ของคนในสังคม ความเปนเพศเปนตัวกําหนดความเปนตัวตน ทักษะ และความสัมพันธที่มีตอผูอื่นของ

คนในแตละเพศ ในสังคมปจจุบันการขัดเกลาทางเพศที่มีความสําคัญไมนอยกวาครอบครัว โรงเรียน

หรือกลุมเพื่อน คือ สื่อตางๆ ไมวาจะเปนนวนิยาย โฆษณา ภาพยนตร ลวนสรางและเสริมความเปน

หญิงความเปนชายตามประเพณีนิยม ไมวาจะเปนเรื่องคุณคาของสาวบริสุทธิ์ ความเปนแมบานแมเรือน

ผูหญิงกับความสวย ความสาว ในขณะที่ผูชายถูกสะทอนควบคูกับการทํางาน การเปนผูนํา ความเปนผู

กลา ในสังคมที่เปนเชนนี้ จึงไมนาแปลกที่คนในสังคมไมวาเพศหญิงหรือเพศชายยังมีคุณลักษณะที่ดู

แตกตางกัน และยังมีความเชื่อวาสิ่งเหลานี้เปนปรากฏการณตามธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไมได (วารุณี

ภูริสินสิทธิ์. [มปป].)

พัฒนาการของบทบาททางเพศของเด็กหญิงในสมัยใหมยิ่งซับซอนมากขึ้น ในดานหนึ่ง

เด็กหญิงจะไปโรงเรียนเพื่อเตรียมตัวอยูในสังคมและวิทยาการที่ซับซอน แตสิ่งที่ยังอยูในจิตไรสํานึก

ของเด็กหญิงที่ไดรับการสอนจากแมคือ ความเปนผูหญิง การรักสวย รักงาม ความเปนแมบานแม

เรือน ผูหญิงที่ดีคือเพศที่ออนแอ ที่สามารถใชน้ําตาลบลางความผิดหรือความรูสึกผิด นอกจากนั้น

ความเปนเมียและเปนแมยังพันธนาการผูหญิงใหแสดงบทบาทเหลานั้นซ้ําแลวซ้ําอีก ในขณะที่การ

ดําเนินชีวิตของเด็กชายก็ไมตางกันคือการไปโรงเรียน เพื่อออกสูสังคม แตเด็กชายจะสามารถสราง

บทบาทของตัวเอง หรือสามารถกลายเปนชายหนุมที่มีพื้นทีข่องตัวเอง โดยที่ไมไดผูกโยงหรือยึดติดกับ

บทบาทของความเปนพอ หรือสามี เหมือนที่ผูหญิงถูกตรึงดวยวัฒนธรรม (ปรานี วงษเทศ. (2544)

:72-73)

กระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socializations) ที่สรางความเปนเพศชายและเพศหญิง

สะทอนออกมาในทุกพื้นที่ของชีวิตประจําวันและพื้นที่สาธารณะ ในพื้นที่ของชีวิตประจําวัน เชน

การทําอาหาร ในครัวเรือนนั้นการทําอาหารเปนหนาที่และบทบาทของผูหญิง ในขณะที่การทําอาหาร

ในโรงแรมหรือรานอาหาร (เชฟ) เปนหนาที่ของผูชาย ผูชายมีบทบาทในพื้นที่สาธารณะที่สรางรายได

27

เสมอ (กาญจนา แกวเทพ & สมสุข หินพิมาน, 2551 : 592) ในพื้นที่สาธารณะที่เปนเรื่องของ

การเมือง ผูหญิงถูกกีดกันออกจากพื้นที่เหลานั้นดวยหนาที่ของความเปนแม และภรรยาที่ดี หาก

ภรรยาที่ไมดูแลสามี และลูก ถือเปนภรรยาที่บกพรองตอหนาที่ ดังนั้นผูหญิงเหลานี้ตองตอสูอยาง

มากกับแรงกดดันจากสังคมรอบขางที่คาดหวังกับบทบาทที่เธอตองแสดงตามสถานภาพที่เธอเปนอยู

ซึ่งเปนเรื่องที่รบกวนและทําลายศักยภาพที่เธอมีเทาเทียมกับผูชาย ดังนั้นจารีตและประเพณีจึงมีความ

ขลังที่สามารถสรางใหผูหญิงยุคแลวยุคเลาอยูภายใตกรอบอันเดียวกันน้ี

ผูหญิงสวนหนึ่งพยายามจะกาวขามพื้นที่ของการถูกกักขังดวยจารีตและประเพณีเดิม แต

พวกเธอเหลานั้นจะถูกบทลงโทษดวยวิถีประชา เชน ผูหญิงอาจจะไมแตงงานเพราะยังไมเจอคนที่

ถูกใจ หรือการตองการประสบความสําเร็จในชีวิตการงาน แตเธอจะถูกกลาวหาวาเพราะเธอตอง

บกพรองอะไรสักอยางทําใหเธอหาสามีไมได หรือหากไมไดแตงงานกอนอายุ 30 ผูหญิงเหลานี้จะถูก

หาวา “ข้ึนคาน” หรือหากผูหญิงบางคนที่เกงมาก เขามาเลนการเมืองเธอก็จะถูกกลาวหาวา “เกง

เกินงาม” ซึ่งนาแปลกดวยซ้ําที่วิถีประชาเหลานี้ไมใชเพียงผูชายเทานั้น ผูหญิงเกือบทั้งหมดก็ทํา

เชนเดียวกันกับผูหญิงดวยกัน ดวยเพราะเธอถูกหลอมจนฝกลึก ดวยแนวคิดและจารีตของสังคมที่

พื้นที่สาธารณะเปนพื้นที่ของผูชาย และความเปนเพศชายคือความเปนหญิง ยิ่งโดยเฉพาะในสังคมที่

ชายเปนใหญ (Patriarchy) ผูหญิงจะถูกกีดกันจากพื้นที่นี้มากยิ่งขึ้น

สาเหตุที่ผูหญิงเหลานั้นไมสามารถกาวขามพื้นที่เหลานั้นออกมาได ไมใชเพราะ ความเปน

หญิงและความเปนชายที่เปนผลลัพธทางวัฒนธรรมเทานั้น ในความเปนจริงนักวิชาการกลุมหนึ่งบอก

วามันไมใชอีกตอไป นั่นเพราะผูหญิงเหลานั้นถูกตรึงดวย “อํานาจ” บทความใน ผูหญิง

ประสบการณ และการเมืองวาดวยเพศภาวะ (ปนแกว เหลืองอรามศรี, 2549) ชี้ใหเห็นวาแมวา

ขบวนการตอสูเพื่อความเสมอภาคระหวางเพศชายขอบจะเกิดข้ึนแตมโนทัศนความเปนเพศที่มีขอบเขต

แนนอนตายตัวไดหยั่งรากลึกลงไปในวิธีคิด ซึ่งไมอาจชวยทําความเขาใจความเปนเพศที่เลื่อนไหล

ซับซอนได ขณะเดียวกันเพศภาวะที่ถูกกดดันใหอยูชายขอบก็ไดมีการตอบโตตอพลังอํานาจที่กดลงมา

ในรูปแบบที่แตกตางกันไป และแมวาในสถานการณที่ผูหญิงมีทางเลือก หรือเสรีภาพแตเสรีภาพนั้นมี

เงื่อนไข มีความซับซอน และแฝงอยูในความในความสัมพันธอันไมเทาเทียมในสงัคม เชน การเลือกที่

จะเปนโสเภณีเพื่อความกตัญูของผูหญิงลาว เปนตน นอกจากนั้นยังไดนําเสนอความสัมพันธระหวาง

กระบวนการสรางอตัลักษณของเพศที่รับรูและปฏิบัติตามวาทกรรมความสวยของสังคม ผูหญิงมีสิทธิที่

จะเลือกรับและปฏิเสธ หรือสรางวาทกรรมความงามมาตรฐาน สตรีนิยมมักเชื่อวาบุคคลและ

ประสบการณของบุคคลโดยตัวของมันเองเปนนัยยะทางการเมือง โดยลืมไปวา บอยครั้งที่การเมือง

นั้นๆ ถูกสรางอยูบนบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่นอกเหนือตัวประสบการณนั้นๆ เอง เพศภาวะ

และการเมืองของเพศภาวะจึงไมใชสิ่งที่จะสามารถจํากัดนิยมและจํากัดความไดอยางคงที่และถาวรใน

บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง

28

ดังนั้นจะเห็นไดวาเพศสภาพ (Gender) ของชาย-หญิงเปนเรื่องที่ถูกสรางขึ้นมา ทั้งจาก

“วัฒนธรรม” และ “อํานาจ” ในการที่จะรักษาสภาพความแตกตางนั้น ซึ่งนั้นหมายถึงวา เพศสภาพ

ดังที่เปนอยูก็มิไดเปนสิ่งที่สถิตย ไมเปลี่ยน แปลง และ "เปนธรรมชาติ" ดังนั้นชาย-หญิง ก็อาจจะมีเพศ

สภาพที่เปลี่ยนแปลงไปได ความเปนเพศชายและความเปนเพศหญิงจะเปนวาทกรรมที่ถูกรื้อถอนและ

สรางขึ้นใหม (Deconstructed and reconstructed) ไดตลอดเวลา นอกจากนั้นวาทกรรมนี้ยัง

เลื่อนไหลตามพื้นที่ (Space) และเวลา (Time) ที่ตางไปออก ขึ้นอยูกับวาผูหญิงในศตวรรษที่ 21 จะ

เขาใจถึงความแตกตางอันเกิดมาจากการสรางทางสังคม (Socializations) และสรางความหมายใหม

ของตัวเธอภายใตสถานการณแหงความเปนจริงไดเพียงใด ซึ่งนั้นมันรวมไปถึงความพรอมทางความคิด

ความรู และการเปดพื้นที่ของการเปลีย่นแปลงระบบโครงสรางสังคม ซึ่งหากไมเปนความฝนจนเกินไป

คงมีโอกาสไดเห็นผูหญิงในพื้นที่สาธารณะที่ความสามารถไมถูกจํากัดแคเพศสภาพ

ตอนที่ 6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

สภาพความตองการและปญหาการใชอินเทอรเน็ตในการเรียนการสอน ในสถาบันอุดมศึกษา

สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย โดย พจนารถ ทองคําเจริญ วิทยานิพนธ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2539

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพ ความตองการ และปญหาการใชอินเทอรเน็ตใน

การเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย กลุมตัวอยางคือสมาชิกระบบเครือขาย

อินเทอรเน็ตในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ในเขตกรุงเทพมหานคร 7 แหง

จํานวน 794 คน แบงออกเปน 3 กลุม ไดแก ผูบริหารระดับหัวหนาภาควิชา 155 คน อาจารยผูสอน

306 คน และนิสิตนักศึกษา 333 คน วิเคราะหขอมูลโดย การหาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1.ประเภทบริการในระบบเครือขายอินเทอรเน็ตที่อาจารยและ

นิสิตนักศึกษาใชประโยชนทางการศึกษาบอยที่สุด คือการสืบคนขอมูลแบบเวิลดไวดเว็บ ไปรษณีย

อิเล็กทรอนิกส การถายโอนแฟมขอมูล และการขอเขาใชเครื่องระยะไกล ตามลําดับ 2.นโยบายในการ

นําอินเทอรเน็ตมาใชในการเรยีนการสอนในระดับภาควิชา สวนใหญมีนโยบายที่จะผลักดันใหคณะ หรือ

สถาบันมีการขยายหรือปรับปรุงทางดานอุปกรณพื้นฐานใหพรอม โดยเฉพาะคูสายและความเร็วในการ

สื่อสารและมีการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนในหลักสูตรวิชาตางๆ ใหคนหาทางอินเทอรเน็ต

ดวย 3.ผูบริหารระดับหัวหนาภาควิชา มีความเห็นดวยอยางมาก กับแนวคิดในการนําอินเทอรเน็ตมาใช

ในการเรียนการสอนที่วาควรมีการวางแผนระยะยาวในการนําอินเทอรเน็ตมาใช ควรมีการปรับปรุง

บุคลากร ใหมีความรู มีประสิทธิภาพในการใชอินเทอรเน็ต ควรใหผูเรียนมีความรูพื้นฐานในการใช

อินเทอรเน็ตโดยสอดแทรกในการเรียน เรื่องของระบบคอมพิวเตอร หรือระบบสารสนเทศและควรจัด

อุปกรณใหเพียงพอในการใหบริการเพื่อกระตุนใหมีการใชอยางเต็มที่เปนการเพิ่มทักษะและความ

29

ชํานาญในการใชมากยิ่งขึ้น 4.อาจารยและนิสิตนักศึกษาสวนใหญมีความตองการใชบริการอินเทอรเน็ต

ในการเรียนการสอนมากที่สดุในเรือ่งการเพิม่ความเรว็ในการสื่อสารกับศูนยบริการ การเพิ่มงบประมาณ

ในการจัดสภาพศูนยบริการ ติดต้ังเครื่องบริการใหเพียงพอกับความตองการ การเพิ่มความเร็วในการ

ถายโอนแฟมขอมูล และการขยายชองกวางสัญญาณใหสามารถทํางานไดคลองตัวขึ้น 5.ปญหาการ

บริหารจัดการเกี่ยวกับการใชอินเทอรเน็ตในระดับภาควิชา สวนใหญคือเรื่องงบประมาณสนับสนุนมีไม

เพียงพอ 6.ปญหาการใชบริการอินเทอรเน็ตในการเรียนการสอนของอาจารยที่พบมากคือ การ

สนับสนุนจากสถาบันยังมีไมมากพอทั้งในสวนของการจัดสถานที่ วัสดุอุปกรณและบุคลากรที่จะให

คําแนะนําและไมมีการจัดฝกอบรมการใชหรือมีอยางไมทั่วถึงทําใหผูใชสวนใหญขาดทักษะหรือแนวทาง

ปฏิบัติที่เหมาะสม 7.ปญหาการใชบริการอินเทอรเน็ตในการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาที่พบมาก

คือ ผูเรียนบางคนยังไมมีเครื่องคอมพวิเตอรสวนตัวทําใหใชงานไดไมเต็มทีแ่ละการสนับสนุนจากสถาบัน

ยังมีไมมากพอทั้งในสวนของการจัดสถานที่ วัสดุอุปกรณและบุคลากรที่จะใหคําแนะ

สภาพและปญหาการใชอินเตอรเน็ตเพื่อการศึกษาของอาจารยและนิสิตมหาวิทยาลัย

มหาสารคาม โดยนางสาววิรัญชนา จําปกลาง พ.ศ. 2544

1. อาจารยและนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เห็นวา ดานฮารดแวรเครื่องคอมพิวเตอรและ

ระบบสื่อสารชํารุดบางครั้ง ดานซอฟตแวรใชบริการไปรษณียอิเล็กทรอนิกสมากที่สุด ดานบุคลากรผู

ใหบริการศูนยจัดเจาหนาที่คอยแนะนําชวยเหลือ และองคประกอบสนับสนุนอื่นๆ อาจารยและนิสิต

ศึกษาดวยตนเองจากหนาจอ ใชบริการโดยเฉลี่ย 1-2 ครั้งตอสัปดาห ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง ชวงเวลา

12.01-15.00 น. เปนเปนชวงเวลาวาง

2. อาจารยและนิสิตระดับปริญญาตรี นิสิตระดับปริญญาโท และจําแนกตามกลุมวิชาและ

สถานที่เรียน มีปญหาการใชอินเตอรเน็ตเพื่อการศึกษาโดยรวมและรายดาน อยูในระดับปานกลาง

ยกเวน อาจารยมีปญหาดานฮารดแวร ดานซอฟตแวร และดานบุคลากรผูใหบริการอยูในระดับนอย

และนิสิตปริญญาตรีมีปญหาดานบุคลากรผูใหบริการ และดานองคประกอบอื่นสนับสนุนอื่นๆ อยูใน

ระดับมาก

3. นิสิตระดับปริญญาตรีและระดับปริญญาโท มีปญหาการใชอินเตอรเน็ตเพื่อการศึกษา

โดยรวมและรายดานมากกวาอาจารยมหาวิทยาลัย และนิสิตระดับปริญญาตรีมีปญหาการใช

อินเตอรเน็ตดานองคประกอบอื่นๆ มากกวานิสิตระดับปริญญาโท อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

.05

4. อาจารยและนิสิตกลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มีปญหาการใชอินเตอรเน็ตเพื่อ

การศึกษาโดยรวมและรายดาน 3 ดานคือ ดานฮารดแวร ดานซอฟตแวร และดานบุคลากรผูใหบริการ

มากกวาอาจารยและนิสิตกลุมวิชาวิทยาศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

30

5. นิสิตที่ศึกษาที่ศูนยมหาสารคามมีปญหาการใชอินเตอรเน็ตเพื่อการศึกษาโดยรวมและดาน

องคประกอบสนับสนุนอื่นๆ มากกวานิสติที่ศึกษาที่วิทยาเขตนครพนม อยางมีนัยสาํคัญทางสถิติที่ระดับ

.05 สวนนิสิตที่ศึกษาที่ศูนยพัฒนาการศึกษาอุดรธานี และนิสิตที่ศึกษาที่วิทยาเขตนครพนม มีปญหา

การใชอินเตอรเน็ตเพื่อการศึกษาไมตางกัน

ศึกษาสภาพ ปญหา และความตองการเกี่ยวกับการใชอินเทอรเน็ตของอาจารย มหาวิทยาลัย

นครพนม โดยนางสาวรสสุคนธ สุวรรณกูฏ วิทยานิพนธ พ.ศ. 2549 ผลการวิจัย พบวา

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาสภาพ ปญหา และความตองการเกี่ยวกับการใช

อินเทอรเน็ตของอาจารย มหาวิทยาลัยนครพนม กลุมตัวอยางเปนอาจารย จํานวน 175 คน ที่ไดจาก

การสุมแบบอยางงาย เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถาม แบงชนิดเปนเลือกตอบจากรายการและมาตรา

สวนประมาณคา สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือสถิติเชิงพรรณนา รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน

มาตรฐานและสถิติการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียวผลการศึกษาพบวาอาจารยมหาวิทยาลัย

มีปญหาการใชอินเตอรเน็ตมากที่สุดใน เรื่อง การดาวนโหลดขอมูลตาง ๆ ไดชา เครื่องคอมพิวเตอร

เจาหนาที่ดูแลระบบอินเทอรเน็ตมีจํานวนไมเพียงพอ มีความตองการในการใชอินเตอรเน็ตมากที่สุดใน

เรื่อง การจัดอบรมเจาหนาที่ใหมีความรูเรื่องระบบเครือขายการปรับปรุงอุปกรณในการเชื่อมตอ

อินเทอรเน็ตและตองการระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ผลการเปรียบเทียบความแตกตางของปญหา

การใชอินเตอรเน็ต และความตองการในการใชอินเทอรเน็ตของอาจารย มหาวิทยาลัยนครพนมในแตละ

สถานศึกษา พบวา สถานศึกษาที่แตกตางกันมีปญหาในการใชอินเตอรเน็ตแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยวิทยาลัยเทคนิคนครพนม มีปญหาในการใชอินเตอรเน็ต มากกวาวิทยาลัย

การอาชีพธาตุพนม และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม มีปญหาในการใชอินเตอรเน็ตมากกวา

วิทยาลัยการอาชีพธาตุพนมสวนความตองการในการใชอินเตอรเน็ต พบวา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

นครพนม มีความตองการในการใชอินเตอรเน็ตมากที่สุด รองลงมาคือวิทยาลัยเทคนิคนครพนม และ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

การแสวงหาขาวการประชาสัมพันธและความพึงพอใจการสือ่สารผานเครือขายสงัคมออนไลน

ของนิสิตนักศึกษา (Public relations message sought and communication satisfaction

through online social network of university student) โดยพัชนีย เชยจรรยา

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเนื้อหา รูปแบบ ลักษณะของขาวสารประชาสัมพันธที่

ใชในเครือขายสังคมออนไลน และเพื่อศึกษาการแสวงหาขาวสารประชาสัมพันธ ทัศนคติ การใช

ประโยชนและความพึงพอใจจากเครือขายสังคมออนไลนของนิสิต นักศึกษา รวมทั้งเพื่อศึกษา

ความสัมพันธระหวางการแสวงหาขาวสารประชาสัมพันธกับทัศนคติ ที่มีตอการใชเครือขายสังคม

ออนไลนและการใชประโยชนจากเครือขายสังคมออนไลนของนิสิต นักศึกษา ประโยชนที่คาดวาจะ

ไดรับจากการวิจัยครั้งนี้ คือเพื่อใหทราบถึงการแสวงหาขาวสารประชาสัมพันธของกลุมเปาหมาย

31

ทัศนคติ ประโยชน และความพึงพอใจของการสือ่สารผานเครือขายสังคมออนไลนของผูใชบริการ ซึ่งจะ

เปนประโยชนในการทําการสื่อสารประชาสัมพันธใหเปนไปอยางสอดคลอง ตอบสนองความรูสึกและ

ความตองการของกลุมเปาหมายหรือประชาชน รวมทั้งเพื่อนําผลการวิจัยที่ไดไปใชเปนแนวทางใหแก

ภาครัฐและชน รวมทั้งบริษัทผลิตสินคาและบริการเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงกลยุทธการ

ประชาสัมพันธ ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไปในอนาคต

งานวิจัยนี้ มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีตาง ๆ อาทิ ทฤษฎีการประชาสัมพันธ แนวคิดขาวสาร

ประชาสัมพันธ แนวคิดเรื่องการแสวงหาขาวสาร ทฤษฎีเกี่ยวกับการประชาสัมพันธจากสื่อ และความ

พึงพอใจจากสื่อ ทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนคติ ทฤษฎีการจูงใจ แนวคิดการสื่อสารผานตัวกลางคอมพิวเตอร

และทฤษฎีสื่อปฏิสัมพันธ แนวคิดการสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน

งานวิจัย มุงศึกษากลุมนิสิต นักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร เนื่องจากเปน

กลุมที่มีผูใชบริการสูงสุดเปนอันดับหนึ่งของประเทศไทย และศึกษาสังคมออนไลนดที่ไดรับความนิยม

สูงสุด คือ เว็บ hi5 และ facebook รวมทั้งศึกษาเฉพาะเนื้อหา รูปแบบและลักษณะของขาวสารที่ใชใน

เครือขายสังคมออนไลน คือ เว็บ hi5 และ facebook ใชรูปแบบการวิจัยเปนเชิงคุณภาพ (Qualitative

Research) ไดแก การวิเคราะหเนื้อหา ลักษณะรูปแบบและรูปแบบของขาวประชาสัมพันธที่ใชใน

เว็บไซตเครือขายสังคมออนไลนที่เกี่ยวของเพื่อนํามาเปนขอมูลเพื่อใชในการศึกษาวิจัย และการวิจัยเชิง

สํารวจ (Survey Research) แบบวัดครั้งเดียว โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมือใน

การเก็บรวบรวมขอมูล และทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดยเลือกศึกษษดานเนื้อหา ลักษณะ และรูปแบบ

ของขาวประชาสัมพันธที่อยูในเว็บไซดเครือขายสังคมออนไลน คือ Hi5 และ facebook ในชวงเดือน

ธันวาคม 2551 ถึงเดือน กุมภาพันธ 2552 การสรางกรอบแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบที่ใชในการสื่อสาร

ผานทางเว็บไซตสังคมออนไลน คือ ประเภทและชนิดของขาว รูปแบบการนําเสนอขาวแบบมัลติมีเดีย

และสรางกรอบแนวคิดเกี่ยวกับลักษณะภาษาที่ใชในขาวประชาสัมพันธผานเว็บไซต

สมมติฐานในการวิจัย คือ

- การแสวงหาขาวสารประชานสัมพันธมีความสัมพันธกับทัศนคติที่มีตอเครือขายสังคม

ออนไลนของนิสิต นักศึกษา

- การแสวงหาขาวสารประชาสัมพันธมีความสัมพันธกับการใชประโยชน ที่มีตอการใช

เครือขายสังคมออนไลนของนิสิต นักศึกษา

- การแสวงหาขาวสารประชาสัมพันธมีความสัมพันธกับความพึงพอใจจากเครือขายสังคม

ออนไลนของนิสิต นักศึกษา

- ทัศนคติมีความสัมพันธการใชประโยชน จากเครือขายสังคมออนไลนของนิสิต นักศึกษา

- การใชประโยชนมีความสัมพันธกับความพึงพอใจ จากเครือขายสังคมออนไลนของนิสิต

นักศึกษา

32

ผลการวิจัย พบวา รูปแบบและลักษณะของขาวประชาสัมพันธที่พบในเครือขายสังคม

ออนไลน มีดังนี้ คือ 1. ขาวประชาสัมพันธบุคคล 2. ขาวประชาสัมพันธทางการตลาด 3. ขาว

ประชาสัมพันธองคกร 4. ขาวประชาสัมพันธกิจกรรม 5. ขาวประชาสัมพันธเพื่อสังคมการกุศล 6.

ภาพกิจกรรม และยังพบวา นิสิต นักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครสวนใหญ มีการแสวงหาขาวสาร

ประชาสัมพันธผานเครือขายสงัคมออนไลนในระดับปานกลาง และสวนใหญทําการสื่อสารผานเครือขาย

สังคมออนไลนที่บาน ทุกวัน เปนเวลามากกวา 2 ชั่วโมง และใชอินเทอรเน็ตเปนชองทางในการแสวงหา

ขาวสารมากที่สุด

ผลการทดสอบสมมติฐานปรากฏ ดังนี้

- การแสวงหาขาวสารประชาสัมพันธของนิสิต นักศึกษา มีความสัมพันธกับทัศนคติที่มีตอ

สังคมออนไลน

- การแสวงหาขาวประชาสัมพันธของนิสิต นักศึกษา มีความสัมพันธกับการใชประโยชนจาก

เครือขายสังคมออนไลน

- การแสวงหาขาวประชาสัมพันธของนิสิต นักศึกษา มีความสัมพันธกับความพึงพอใจจาก

การสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน

- ทัศนคติมีความสัมพันธกับการใชประโยชนจากเครือขายสังคมออนไลน

- การใชประโยชนจากเครือขายสังคมออนไลน มีความสัมพันธกับความพึงพอใจจากการ

สื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน

ผูวิจัยไดเสนอแนะวา ควรศึกษากับประชาชนทั่วไปที่อยูในวัยทํางานซึ่งเปนผูมีกําลังซื้อและมี

อํานาจในการตัดสินใจไดดวยตนเอง จะทําใหไดผลการวิจัยที่ครอบคลุมกลุมเปาหมายทุกกลุม และควร

ศึกษาเจาะลึกถึงการประชาสัมพันธในเว็บไซตสังคมออนไลนของบุคคล หนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน

วามีกระบวนการคัดเลือกขาวประชาสัมพันธเพื่อที่จะลงเว็บไซตสังคมออนไลนอยางไร มีกลยุทธการ

ประชาสัมพันธอยางไรใหมีความนาสนใจ และเปนที่ดึงดูดใจแกกลุมเปาหมาย เพื่อใหผลที่คุมคาที่สุดใน

การเผยแพรขอมูลขาวสาร และทําใหการประชาสัมพันธนั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และการ

วิจัยครั้งตอไปควรมีการวัดผลพฤติกรรมของกลุมตัวอยางจากการสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน ก็

จะทําใหไดผลการวิจัยที่ไดครอบคลุมมากขึ้น

33

บทที่ 3

วิธีดําเนนิงานวิจัย

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร คือ ผูใชเฟสบุคที่มีสถานะในเฟสบุคเปนเพื่อนของผูวิจัย ที่ใชงานในชวง

ระหวางวันที่ 1 กันยายน ถึง 30 กันยายน พ.ศ.2555

กลุมตัวอยาง คือ ผูใชเฟสบุคที่มีสถานนะในเฟสบุคเปนเพื่อนของผูวิจัย ที่ใชงาน

ในชวงระหวางวันที่ 1 กันยายน ถึง 30 กันยายน พ.ศ.2555 จํานวน 155 คน โดยการสุมอยางงาย

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบบันทึกขอมูลความถี่

การเก็บรวบรวมขอมูล

การศึกษาครั้งนี้ใชการเก็บรวบรวมขอมูลโดยผูวิจัยบันทึกความถี่ของการแสดงพฤติกรรมแต

ละประเภทตอการแสดงหนึ่งครั้ง ผานเฟสบุคของกลุมตัวอยาง

แบบบันทึกขอมลูมจีํานวน 2 สวน ประกอบดวย

1) สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป ประกอบดวย ชวงอายุ และเพศ ของกลุมตัวอยาง

2) สวนที่ 2 ขอมูลพฤติกรรมการใชเฟสบุค จํานวน 2 ดาน ดานละ 5 ประเด็น

ประกอบดวย

1) ดานการแสดงเฉพาะเพียงหนึ่งพฤติกรรม

1.1) การแสดงเฉพาะขอความเทานั้น

1.2) การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น

1.3) การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น

1.4) การแสดงเฉพาะไฟลเทานั้น

1.5) การแสดงเฉพาะตําแหนงสถานที่เทานั้น

2) ดานการแสดงมากกวาหนึ่งพฤติกรรม

2.1) การแสดงขอความและรูปภาพ

2.2) การแสดงขอความและวิดีโอ

2.3) การแสดงขอความและตําแหนงสถานที่

34

2.4) การแสดงขอความ ตําแหนงสถานที่ และรูปภาพ

2.5) การแสดงขอความและลิงคขาว

การวิเคราะหขอมูล

ในการศึกษานี้ไดกําหนดวิธีการวิเคราะหขอมลูตามวัตถุประสงค โดยใชการวิเคราะห

ขอมูลเชิงพรรณนา คือ คาความถี่ และคารอยละ ดังนี ้

1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีชวงอายุตางกัน

1.1) นําขอมูลที่ไดจากการบันทึกสถิติเปนคาความถี่ของพฤติกรรมการใชเฟสบุคของ

ผูใชแยกตามชวงอายุมาหาผลรวมในแตละดาน และหาคารอยละในแตละดาน

1.2) นําคารอยละของผูใชแตละชวงอายุนําเสนอในรูปของตารางเปรียบเทียบรอยละ

และแผนภูมเิปรียบเทียบรอยละ

2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีเพศตางกัน

2.1) นําขอมูลที่ไดจากการบันทึกสถิติเปนคาความถี่ของพฤติกรรมการใชเฟสบุคของ

ผูใชแยกตามเพศมาหาผลรวมในแตละดาน และหาคารอยละในแตละดาน

2.2) นําคารอยละของผูใชทั้งเพศชายและเพศหญิงนําเสนอในรูปของตาราง

เปรียบเทียบความถี่ และตารางเปรียบเทียบรอยละ และแผนภูมิเปรียบเทียบความถี่ และแผนภูมิ

เปรียบเทียบรอยละ

2.3) นําขอมูลจากตารางเปรียบเทียบความถี่และตารางเปรยีบเทียบรอยละมา

นําเสนอในรูปของแผนภูมิเปรียบเทียบความถี่และแผนภูมิเปรียบเทียบรอยละ

35

บทที่ 4

ผลการวิจัย

ผลการศึกษาเรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุคของผูใชที่มีชวงอายุและเพศตางกัน”

ซึ่งเปนการวิจัยเชิงสาํรวจ (Survey Research) ซึ่งใชแบบบันทึกขอมูลที่ผูวิจัยสรางขึ้น เปนเครื่องมือใน

การเก็บขอมูล จากการสุมตัวอยาง 155 คน จะนําเสนอเรียงลําดับตอไปนี้

สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชเฟสบุค

สวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

สวนที่ 1

ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

ผูศึกษาไดวิเคราะหขอมูลลักษณะทางดานประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง ในการศึกษา

ครั้งนี้ ไดแก เพศ และ อายุ ผลการวิเคราะหขอมูลตามตารางที่ 4.1-4.2

ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน รอยละ

ชาย 73 47.10

หญิง 82 52.90

รวม 155 100.00

จากตารางที่ 4.1 พบวา กลุมตัวอยางจํานวน 155 คน เปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย คือ มีเพศ

หญิงคิดเปนรอยละ 52.90 และเปนเพศชาย 47.10

36

ตารางที่ 4.2 แสดงจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ

อาย ุ จํานวน รอยละ

ต่ํากวา 13 ปลงไป 0 0.00

ระหวาง 13-20 ป 29 18.71

ระหวาง 21-35 ป 107 69.03

ระหวาง 36-59 ป 18 11.61

59 ปขึ้นไป 1 0.65

รวม 155 100.00

จากตารางที่ 4.2 พบวา กลุมตัวอยางจํานวน 155 คน สวนใหญมีอายุระหวาง 21-35 ป คิด

เปนรอยละ 69.03 รองลงมา คือ กลุมอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 18.71 ซึ่งใกลเคียงกับกลุม

อายุระหวาง 35-59 ป คิดเปนรอยละ 11.61 รองลงมาคือ กลุมอายุ 59 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 0.65

และนอยที่สุด คือ กลุมอายุต่ํากวา 13 ปลงไป คิดเปนรอยละ 0.0

สวนที่ 2

ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชเฟสบุค

จากการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชเฟสบุคของกลุมตัวอยางในครั้งนี้ ประกอบดวย

ผลการศึกษาความถี่ในการใชบริการเฟสบุครูปแบบใดบอยครั้งที่สุด ภายในเวลา 1 เดือน โดยขอมูลใน

สวนนี้ จะแสดงเปนจํานวนรอยละ ตามตารางที่ 4.3-4.5 ซึ่งผลปรากฏ ดังนี้

ตารางที่ 4.3 แสดงจํานวนความถี่ในการเขาใชบริการเฟสบุค จําแนกตามประเภทการใชงาน

รายการ ชาย หญิง รวม

ดาน 1.1 การแสดงเฉพาะขอความเทานั้น 185 313 498

ดาน 1.2 การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น 96 96 192

ดาน 1.3 การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น 5 12 17

ดาน 1.4 การแสดงเฉพาะแอพพลเิคชันเทานั้น 25 96 121

ดาน 1.5 การแสดงตําแหนงสถานที่เทานั้น 102 164 266

37

รายการ ชาย หญิง รวม

ดาน 2.1 การแสดงขอความและรูปภาพ 177 229 406

ดาน 2.2 การแสดงขอความและวิดีโอ 98 58 156

ดาน 2.3 การแสดงขอความและตําแหนงสถานที ่ 29 35 64

ดาน 2.4 การแสดงขอความ ตําแหนง และรปูภาพ 17 14 31

ดาน 2.5 การแสดงขอความและลิงคขาว 47 17 64

จากตาราง 4.3 พบวา กลุมตัวอยางเขาใชบริการเฟสบุคประเภทแสดงขอความเพียงอยางเดียว

มากที่สุด โดยมีความถี่ เทากับ 498 ครั้ง รองลงมา คือ การแสดงขอความและรูปภาพรวมกัน มีความถี่

เทากับ 406 ครั้ง อันดับที่สามไดแก การแสดงตําแหนงสถานที่เพียงอยางเดียว มีความถี่เทากับ 266

ครั้ง อันดับที่สี่ ไดแก การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น มีความถี่เทากับ 192 ครั้ง อันดับที่หา ไดแก การ

แสดงขอความและวิดีโอ มีความถี่เทากับ 156 อันดับที่หก ไดแก การแสดงเฉพาะแอพพลิเคชันเทานั้น

ความถี่เทากับ 121 ครั้ง อันดับที่เจ็ด ไดแก การแสดงขอความและวิดีโอ และการแสดงขอความและ

ลิงคขาว มีความถี่เทากัน คือ 64 ครั้ง อันดับที่แปด ไดแก การแสดงขอความ ตําแหนง และรูปภาพ

ความถี่เทากับ 31 และเขาใชบริการนอยที่สุดไดแก การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น ความถี่เทากับ 17

ครั้ง

ตารางที 4.4 แสดงผลการทดสอบรอยละของกลุมตัวอยาง ในการเขาใชบริการเฟสบุค จําแนกตามเพศ

รายการ เพศชาย หญิง

ดาน 1.1 การแสดงเฉพาะขอความเทานั้น 23.69 30.27

ดาน 1.2 การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น 12.29 9.28

ดาน 1.3 การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น 0.64 1.16

ดาน 1.4 การแสดงเฉพาะแอพพลเิคชั่นเทานั้น 3.20 9.28

ดาน 1.5 การแสดงตําแหนงสถานที่เทานั้น 13.06 15.86

ดาน 2.1 การแสดงขอความและรูปภาพ 22.66 22.15

ดาน 2.2 การแสดงขอความและวิดีโอ 12.55 5.61

ดาน 2.3 การแสดงขอความและตําแหนงสถานที ่ 3.71 3.38

ดาน 2.4 การแสดงขอความ ตําแหนง และรปูภาพ 2.18 1.35

ดาน 2.5 การแสดงขอความและลิงคขาว 6.02 1.64

38

จากตาราง 4.4 พบวา กลุมตัวอยางเขาใชบริการเฟสบุค มีรายละเอียดดังนี้

ดาน 1.1 การแสดงขอความเทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศหญิง(คิดเปนรอยละ 30.27)

มากกวา เพศชาย (คิดเปนรอยละ 23.69)

ดาน 1.2 การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอยละ

12.29) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 9.28)

ดาน 1.3 การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศหญิง (คิดเปนรอยละ 1.16)

มากกวา เพศชาย (คิดเปนรอยละ 0.64)

ดาน 1.4 การแสดงเฉพาะแอพพลิเคชั่นเทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศหญิง (คิดเปนรอย

ละ 9.28) มากกวา เพศชาย (คิดเปนรอยละ 3.20)

ดาน 1.5 การแสดงตําแหนงสถานที่เทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศหญิง (คิดเปนรอยละ

15.86) มากกวา เพศชาย (คิดเปนรอยละ 13.06)

ดาน 2.1 การแสดงขอความและรูปภาพ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอยละ

22.66) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 22.15)

ดาน 2.2 การแสดงขอความและวิดีโอ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอยละ 12.55)

มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 5.61)

ดาน 2.3 การแสดงขอความและตําแหนงสถานที่ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอย

ละ 3.71) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 3.38)

ดาน 2.4 การแสดงขอความ ตําแหนง และรูปภาพ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปน

รอยละ 2.18) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 1.35)

และ ดาน 2.5 การแสดงขอความและลิงคขาว มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอยละ

6.02) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 1.64)

สมมติฐานการวิจัยที่ 2 ผูใชเฟสบุค (Facebook) ที่มีเพศตงกันจะมีพฤติกรรมการใชแตกตางกัน

ตารางที่ 4.5 ผลการทดสอบรอยละของกลุมตัวอยาง ในการเขาใชบริการเฟสบุค จําแนกตามชวงอายุ

รายการ ต่ํากวา 13

ปลงไป

ระหวาง

13-20

ระหวาง

21-35

ระหวาง

36-59

60

ปขึ้นไป

ดาน 1.1 การแสดงเฉพาะขอความเทานั้น 0 34.01 24.07 4.8 0

ดาน 1.2 การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น 0 12.65 8.06 27.4 0

ดาน 1.3 การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น 0 1.36 0.59 1.6 0

ดาน 1.4 การแสดงเฉพาะแอพพลเิคชั่นเทานั้น 0 10.20 4.22 4.8 0

39

ดาน 1.5 การแสดงตําแหนงสถานที่เทานั้น 0 2.99 21.91 33.9 0

ดาน 2.1 การแสดงขอความและรูปภาพ 0 17.96 25.34 25.8 0

ดาน 2.2 การแสดงขอความและวิดีโอ 0 14.83 4.62 0.0 0

ดาน 2.3 การแสดงขอความและตําแหนงสถานที ่ 0 2.59 4.42 0.0 0

ดาน 2.4 การแสดงขอความ ตําแหนง และรปูภาพ 0 1.22 2.16 0.0 0

ดาน 2.5 การแสดงขอความและลิงคขาว 0 2.18 4.62 1.6 0

จากตาราง 4.5 พบวา การเขาใชบริการเฟสบุค จําแนกตามชวงอายุ มีรายละเอียดดังนี้

ดาน 1.1 การแสดงขอความเทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 13-20 ป มีการใชงานมาก

ที่สุด คิดเปนรอยละ 34.01 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 24.07 อันดับที่

สาม คือ ชวงอายุระหวาง 36-59 ป คิดเปนรอยละ 4.8

ดาน 1.2 การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 36-59 ป มีการใชงาน

มากที่สุด คิดเปนรอยละ 27.4 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 12.65 อันดับที่

สาม คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 8.06

ดาน 1.3 การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 36-59 ป มีการใชงาน

มากที่สุด คิดเปนรอยละ 1.6 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 1.36 อันดับที่

สาม คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 0.59

ดาน 1.4 การแสดงเฉพาะแอพพลิเคชั่นเทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 13-20 ป มีการ

ใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 10.20 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 4.22

อันดับที่สาม คือ ชวงอายุระหวาง 36-59 ป คิดเปนรอยละ 4.8

ดาน 1.5 การแสดงตําแหนงสถานที่เทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 36-59 ป มีการใช

งานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 33.9 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 21.91

อันดับที่สาม คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 2.99

ดาน 2.1 การแสดงขอความและรูปภาพ กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 36-59 ป มีการใชงาน

มากที่สุด คิดเปนรอยละ 25.8 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 25.34 อันดับที่

สาม คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 17.96

ดาน 2.2 การแสดงขอความและวิดีโอ กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 13-20 ป มีการใชงานมาก

ที่สุด คิดเปนรอยละ 14.83 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 4.62

ดาน 2.3 การแสดงขอความและตําแหนงสถานที่ กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 21-35 ป มี

การใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 4.42 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 2.59

40

ดาน 2.4 การแสดงขอความ ตําแหนง และรูปภาพ กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 21-35 ป มี

การใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 2.16 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 1.22

ดาน 2.5 การแสดงขอความและลิงคขาว กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 21-35 ป มีการใชงานมากที่สุด

คิดเปนรอยละ 4.62 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 2.18 อันดับที่สาม คือ

ชวงอายุระหวาง 36-59 ป คิดเปนรอยละ 1.6

สวนที่ 3

การทดสอบสมมติฐาน

สมมติฐานการวิจัยที่ 1

H0 : � = 0

H0 : พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับเพศ

ตารางที่ 4.6 sex * act Crosstabulation

act

1 2 3 4 5

sex 1 Count 185 96 5 25 102

Expected Count 214.3 82.6 7.3 52.1 114.5

% within sex 23.7% 12.3% .6% 3.2% 13.1%

% within act 37.1% 50.0% 29.4% 20.7% 38.3%

% of Total 10.2% 5.3% .3% 1.4% 5.6%

2 Count 313 96 12 96 164

Expected Count 283.7 109.4 9.7 68.9 151.5

% within sex 30.3% 9.3% 1.2% 9.3% 15.9%

% within act 62.9% 50.0% 70.6% 79.3% 61.7%

% of Total 17.2% 5.3% .7% 5.3% 9.0%

41

act

1 2 3 4 5

T

ot

al

Count 498 192 17 121 266

Expected Count 498.0 192.0 17.0 121.0 266.0

% within sex 27.4% 10.6% .9% 6.7% 14.7%

% within act 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

% of Total 27.4% 10.6% .9% 6.7% 14.7%

ตารางที่ 4.7 sex * act Crosstabulation

act

6 7 8 9 10 Total

sex 1 Count 177 98 29 17 47 781

Expected

Count

174.7 67.1 27.5 13.3 27.5 781.0

% within sex 22.7% 12.5% 3.7% 2.2% 6.0% 100.0%

% within act 43.6% 62.8% 45.3% 54.8% 73.4% 43.0%

% of Total 9.8% 5.4% 1.6% .9% 2.6% 43.0%

2 Count 229 58 35 14 17 1034

Expected

Count

231.3 88.9 36.5 17.7 36.5 1034.0

% within sex 22.1% 5.6% 3.4% 1.4% 1.6% 100.0%

% within act 56.4% 37.2% 54.7% 45.2% 26.6% 57.0%

% of Total 12.6% 3.2% 1.9% .8% .9% 57.0%

42

act

6 7 8 9 10 Total

T

ot

al

Count 406 156 64 31 64 1815

Expected

Count

406.0 156.0 64.0 31.0 64.0 1815.0

% within sex 22.4% 8.6% 3.5% 1.7% 3.5% 100.0%

% within act 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

% of Total 22.4% 8.6% 3.5% 1.7% 3.5% 100.0%

ตารางที่ 4.8 Chi-Square Tests

Value df Asymp. Sig. (2-sided)

Pearson Chi-Square 90.212a 9 .000

Likelihood Ratio 92.437 9 .000

Linear-by-Linear Association 27.139 1 .000

N of Valid Cases 1815

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The minimum expected

count is 7.32.

จากตารางที่ 4.6 4.7 และ 4.8 พบวา คา Chi-square Test คือ คา Pearson-Chi-square

เทากับ 90.212 และคา Asymp. Sig (2-Sigded) เทากับ .000 ซึ่งมีคานอยกวา ระดับนัยสําคัญ ∝ =

.05 จึงปฏิเสธ H0 น่ันคือ พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ข้ึนอยูกับเพศ

43

สมมติฐานการวิจัยที่ 2

H0 : � = 0

H0 : พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับชวงอายุ

ตารางที่ 4.9 age * act Crosstabulation

act

1 2 3 4 5

age 2 Count 250 93 10 75 22

Expected Count 201.7 77.8 6.9 49.0 107.7

% within age 34.0% 12.7% 1.4% 10.2% 3.0%

% within act 50.2% 48.4% 58.8% 62.0% 8.3%

% of Total 13.8% 5.1% .6% 4.1% 1.2%

3 Count 245 82 6 43 223

Expected Count 279.3 107.7 9.5 67.9 149.2

% within age 24.1% 8.1% .6% 4.2% 21.9%

% within act 49.2% 42.7% 35.3% 35.5% 83.8%

% of Total 13.5% 4.5% .3% 2.4% 12.3%

4 Count 3 17 1 3 21

Expected Count 17.0 6.6 .6 4.1 9.1

% within age 4.8% 27.4% 1.6% 4.8% 33.9%

% within act .6% 8.9% 5.9% 2.5% 7.9%

% of Total .2% .9% .1% .2% 1.2%

44

act

1 2 3 4 5

Total Count 498 192 17 121 266

Expected Count 498.0 192.0 17.0 121.0 266.0

% within age 27.4% 10.6% .9% 6.7% 14.7%

% within act 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

% of Total 27.4% 10.6% .9% 6.7% 14.7%

ตารางที่ 4.10 age * act Crosstabulation

act

6 7 8 9 10 Total

age 2 Count 132 109 19 9 16 735

Expected Count 164.4 63.2 25.9 12.6 25.9 735.0

% within age 18.0% 14.8% 2.6% 1.2% 2.2% 100.0%

% within act 32.5% 69.9% 29.7% 29.0% 25.0% 40.5%

% of Total 7.3% 6.0% 1.0% .5% .9% 40.5%

3 Count 258 47 45 22 47 1018

Expected Count 227.7 87.5 35.9 17.4 35.9 1018.0

% within age 25.3% 4.6% 4.4% 2.2% 4.6% 100.0%

% within act 63.5% 30.1% 70.3% 71.0% 73.4% 56.1%

% of Total 14.2% 2.6% 2.5% 1.2% 2.6% 56.1%

45

act

6 7 8 9 10 Total

4 Count 16 0 0 0 1 62

Expected Count 13.9 5.3 2.2 1.1 2.2 62.0

% within age 25.8% .0% .0% .0% 1.6% 100.0%

% within act 3.9% .0% .0% .0% 1.6% 3.4%

% of Total .9% .0% .0% .0% .1% 3.4%

T

o

t

a

l

Count 406 156 64 31 64 1815

Expected Count 406.0 156.0 64.0 31.0 64.0 1815.0

% within age 22.4% 8.6% 3.5% 1.7% 3.5% 100.0%

% within act 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

% of Total 22.4% 8.6% 3.5% 1.7% 3.5% 100.0%

ตารางที่ 4.11 Chi-Square Tests

Value df Asymp. Sig. (2-sided)

Pearson Chi-Square 285.228a 18 .000

Likelihood Ratio 316.751 18 .000

Linear-by-Linear Association 23.184 1 .000

N of Valid Cases 1815

a. 5 cells (16.7%) have expected count less than 5. The minimum expected

count is .58.

จากตารางที่ 4.9 4.10 และ 4.11 พบวา คา Chi-square Test คือ คา Pearson-Chi-square

เทากับ 285.228 และคา Asymp. Sig (2-Sigded) เทากับ .000 ซึ่งมีคานอยกวา ระดับนัยสําคัญ ∝

= .05 จึงปฏิเสธ H0 น่ันคือ พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ข้ึนอยูกับชวงอายุ

46

บทที่ 5

บทสรปุ

การวิจัยเรื่อง “ศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชที่มีชวงอายุและเพศ

ตางกัน” มีจุดมุงหมาย คือ

1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีชวงอายุตางกัน

2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีเพศตางกัน

การศึกษาในครั้งนี้ ใชวิธีการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ซึ่งใชแบบบันทึกความถี่

(Frequency) เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล จากการสุมกลุมตัวอยาง 155 คน โดยการสุม

ตัวอยางอยางงาย (Sample Random Sampling) ใชวิธีการสุมโดยการจับสลาก จากกลุมเพื่อนของ

ผูวิจัย จํานวน 254 คน โดยเก็บขอมูลตั้งแต วันที่ 1 เดือนกันยายน พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 30 เดือน

กันยายน พ.ศ. 2555

ในสวนการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยใชโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel และ SPSS for

window โดยการวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยใชสถิติแจกแจงคาความถี่

และคารอยละ เพื่ออธิบายลักษณะทางประชากรศาสตร และพฤติกรรมของกลุมผูใชบริการ และใชสถิติ

เชิงอนุมาน (Inferential Statistics) และไคสแควร (Chi – Square Test) เพื่ออธิบายความสัมพันธ

ระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ผลการวิเคราะห สรุปไดดังนี้

สรุปผลการวิจัย

สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

จากการศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 155 คน พบวา เปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย คือ

มีเพศหญิงคิดเปนรอยละ 52.90 และเปนเพศชาย 47.10 โดยสวนใหญมีอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปน

รอยละ 69.03 รองลงมา คือ กลุมอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 18.71 ซึ่งใกลเคียงกับกลุมอายุ

ระหวาง 35-59 ป คิดเปนรอยละ 11.61 รองลงมาคือ กลุมอายุ 59 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 0.65 และ

นอยที่สุด คือ กลุมอายุต่ํากวา 13 ปลงไป คิดเปนรอยละ 0.0

สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชเฟสบุค

จากการศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 155 คน พบวา กลุมตัวอยางเขาใชบริการเฟสบุ

คประเภทแสดงขอความเพียงอยางเดียวมากที่สุด โดยมีความถี่ เทากับ 498 ครั้ง รองลงมา คือ การ

47

แสดงขอความและรูปภาพรวมกัน มีความถี่เทากับ 406 ครั้ง และเขาใชบริการนอยที่สุดไดแก การแสดง

เฉพาะวิดีโอเทานั้น ความถี่เทากับ 17 ครั้ง

พฤติกรรมของ กลุมตัวอยางการใชงานเฟสบุคแตละดานจําแนกตามเพศ ดาน 1.1

การแสดงขอความเทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศหญิง(คิดเปนรอยละ 30.27) มากกวา เพศชาย

(คิดเปนรอยละ 23.69) ดาน 1.2 การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิด

เปนรอยละ 12.29) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 9.28) ดาน 1.3 การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น มี

สัดสวนการใชงานของเพศหญิง (คิดเปนรอยละ 1.16) มากกวา เพศชาย (คิดเปนรอยละ 0.64) ดาน

1.4 การแสดงเฉพาะแอพพลิเคชั่นเทานั้น มีสัดสวนการใชงานของเพศหญิง (คิดเปนรอยละ 9.28)

มากกวา เพศชาย (คิดเปนรอยละ 3.20) ดาน 1.5 การแสดงตําแหนงสถานที่เทานั้น มีสัดสวนการใช

งานของเพศหญิง (คิดเปนรอยละ 15.86) มากกวา เพศชาย (คิดเปนรอยละ 13.06) ดาน 2.1 การ

แสดงขอความและรูปภาพ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอยละ 22.66) มากกวา เพศหญิง

(คิดเปนรอยละ 22.15) ดาน 2.2 การแสดงขอความและวิดีโอ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปน

รอยละ 12.55) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 5.61) ดาน 2.3 การแสดงขอความและตําแหนง

สถานที่ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอยละ 3.71) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ

3.38) ดาน 2.4 การแสดงขอความ ตําแหนง และรูปภาพ มีสัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอย

ละ 2.18) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 1.35) และ ดาน 2.5 การแสดงขอความและลิงคขาว มี

สัดสวนการใชงานของเพศชาย (คิดเปนรอยละ 6.02) มากกวา เพศหญิง (คิดเปนรอยละ 1.64)

พฤติกรรมของกลุมตัวอยางในการใชงานเฟสบุคแตละดานจําแนกตามชวงอายุ ดาน

1.1 การแสดงขอความเทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 13-20 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปน

รอยละ 34.01 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 24.07 อันดับที่สาม คือ ชวง

อายุระหวาง 36-59 ป คิดเปนรอยละ 4.8 ดาน 1.2 การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น กลุมตัวอยางชวง

อายุระหวาง 36-59 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 27.4 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-

20 ป คิดเปนรอยละ 12.65 อันดับที่สาม คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 8.06 ดาน 1.3

การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 36-59 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอย

ละ 1.6 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 1.36 อันดับที่สาม คือ ชวงอายุ

ระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 0.59 ดาน 1.4 การแสดงเฉพาะแอพพลิเคชั่นเทานั้น กลุมตัวอยาง

ชวงอายุระหวาง 13-20 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 10.20 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง

21-35 ป คิดเปนรอยละ 4.22 อันดับที่สาม คือ ชวงอายุระหวาง 36-59 ป คิดเปนรอยละ 4.8 ดาน 1.5

การแสดงตําแหนงสถานที่เทานั้น กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 36-59 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปน

รอยละ 33.9 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 21.91 อันดับที่สาม คือ ชวงอายุ

ระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 2.99 ดาน 2.1 การแสดงขอความและรูปภาพ กลุมตัวอยางชวงอายุ

48

ระหวาง 36-59 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 25.8 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป

คิดเปนรอยละ 25.34 อันดับที่สาม คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 17.96 ดาน 2.2 การ

แสดงขอความและวิดีโอ กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 13-20 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ

14.83 รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 21-35 ป คิดเปนรอยละ 4.62 ดาน 2.3 การแสดงขอความและ

ตําแหนงสถานที่ กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 21-35 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 4.42

รองลงมา คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 2.59 ดาน 2.4 การแสดงขอความ ตําแหนง

และรูปภาพ กลุมตัวอยางชวงอายุระหวาง 21-35 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 2.16 รองลงมา

คือ ชวงอายุระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 1.22 ดาน 2.5 การแสดงขอความและลิงคขาว กลุม

ตัวอยางชวงอายุระหวาง 21-35 ป มีการใชงานมากที่สุด คิดเปนรอยละ 4.62 รองลงมา คือ ชวงอายุ

ระหวาง 13-20 ป คิดเปนรอยละ 2.18 อันดับที่สาม คือ ชวงอายุระหวาง 36-59 ป คิดเปนรอยละ 1.6

สวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

ตารางที่ 5.1 ผลการทดสอบสมมุติฐาน

สมมุติฐานการวิจัยและสมมุติฐานทางสถิต ิ ผลการทดสอบ

สมมุติฐานการวิจัยที่ 1 พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook)

ไมขึ้นอยูกับเพศ

ปฏิเสธสมมุติฐานการวิจัย

สมมุติฐานการวิจัยที่ 2 พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook)

ไมขึ้นอยูกับชวงอายุ

ปฏิเสธสมมุติฐานการวิจัย

อภิปรายผล

1. ดานประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

จากการศึกษาและสรุปผล พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย

และมีชวงอายุระหวาง 21 – 35 ป มากที่สุด

2. ดานพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook)

จากผลสรุปการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง ดังกลาว สอดคลองกับ

กระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socializations) (กาญจนา แกวเทพ & สมสุข หินพิมาน, 2551 :

592) ที่กลาววา ผูชายมีบทบาทในพ้ืนท่ีสาธารณะที่สรางรายไดเสมอ ที่เปนเรื่องของการเมือง ผูหญิงถูกกีด

กันออกจากพื้นที่เหลานั้นดวยหนาที่ของความเปนแม และภรรยาที่ดี หากภรรยาที่ไมดูแลสามี และลูก ถือ

เปนภรรยาที่บกพรองตอหนาที่ ดังนั้น ผูหญิงจึงตองการพื้นที่สาธารณะในการแสดงออกใหเปนที่ยอมรับของ

สังคม โดยผานชองทางเครือขายสังคมออนไลน เชน เฟสบุค เปนตน

49

และ กลุมตัวอยางสวนใหญจะอยูในชวงอายุระหวาง 21 – 35 ป สอดคลองกับ พัฒนาการทาง

จิตสังคม 8 ขั้น ตามทฤษฎีของแอริคสัน (The Eight Stages of Psychosocial Development in

Erikson) เนื่องจาก ชวงอายุนี้เปนวัยผูใหญตอนตน บุคคลในชวงอายุน้ีจะรูจักตนเอง รูวาตนเองมีความ

เชื่ออยางไร ตองการอะไรในชีวิต เกิดความรูสึกตองการมีเพื่อนสนิทที่จะรับและแลกเปลี่ยนสิ่งตางๆ ที่

ตนมีอยู แบงปนความเชื่อถือ ความสุข และความตองการของตนแกผูอื่น

3. การทดสอบสมมุติฐาน

สมมุติฐานการวิจัยที่ 1 พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับเพศ

จากการศึกษาพบวา พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ข้ึนอยูกับเพศ เนื่องจาก สื่ออินเทอรเน็ตนั้น

สามารถตอบสนองความตองการของมนุษยไดและชวยเติมเต็มชดเชยความตองการที่ขาดหายไปของ

บุคคลในลําดับขั้นความตองการ (John Suler อางอิงใน อรอุมา ศรีสุทธิพันธ, 2545 : 20) โดยแบง

ตามขั้น Sexual Needs ความตองการในดานเพศ (อางถึงใน ฟรอยด) กลาววา เรื่องเพศ (Sex) นี้ เปน

การตองการพื้นฐานของมนุษยและเปนความตองการลําดับขั้นแรกของ Maslow ซึ่งในปจจุบันเรื่องของ

เพศนั้นเปนหัวขอที่นิยมมากในสื่ออินเทอรเน็ต เมื่อบุคคลถูกครอบงําจากกิจกรรมทางเพศในออนไลน

หรือ Cybersex นี้ จะทําใหเขาไดรับความพึงพอใจ ซึ่งกิจกรรมเกี่ยวกับเรือ่งเพศในอินเทอรเน็ตนี้เปนสิง่

เสพติดได เพราะมันงายในการเขาถึง ลักษณะของสื่อที่ผูใชไมตองระบุชื่อนั้นก็เปนหนทางที่ปลอดภัย มี

ทางเลือกสรางอัตลักษณใหมและเปลี่ยนเพศใหม ซึ่งทําใหอินเทอรเน็ตนี้ สามารถเติมเต็มพลังความ

ตองการได และการใชบุคคลสามารถเขาไปหาคูไดตามตองการของตน Cybersex นั้นเปนการชดเชย

การแสดงออกในเรื่องเพศทางกายภาพ เมื่อบุคคลนั้นยังไมไดรับความพึงพอใจในเรื่องเพศจากชีวิตจริง

เขาก็จะมอบสิ่งทดแทนในอินเทอรเน็ต พัฒนาการของบทบาททางเพศของเด็กหญิงในสมัยใหมยิ่ง

ซับซอนมากขึ้น ในดานหนึ่งเด็กหญิงจะไปโรงเรียนเพื่อเตรียมตัวอยูในสังคมและวิทยาการที่ซับซอน

แตสิ่งที่ยังอยูในจิตไรสํานึกของเด็กหญิงที่ไดรับการสอนจากแมคือ ความเปนผูหญิง การรักสวย รัก

งาม ความเปนแมบานแมเรือน ผูหญิงที่ดีคือเพศที่ออนแอ ที่สามารถใชน้ําตาลบลางความผิดหรือ

ความรูสึกผิด นอกจากนั้นความเปนเมียและเปนแมยังพันธนาการผูหญิงใหแสดงบทบาทเหลานั้นซ้ํา

แลวซ้ําอีก ในขณะที่การดําเนินชีวิตของเด็กชายก็ไมตางกันคือการไปโรงเรียน เพื่อออกสูสังคม แต

เด็กชายจะสามารถสรางบทบาทของตัวเอง หรือสามารถกลายเปนชายหนุมที่มีพื้นที่ของตัวเอง โดยที่

ไมไดผูกโยงหรือยึดติดกับบทบาทของความเปนพอ หรือสามี เหมือนที่ผูหญิงถูกตรึงดวยวัฒนธรรม

(ปรานี วงษเทศ. (2544) :72-73) และกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socializations) (กาญจนา

แกวเทพ & สมสุข หินพิมาน, 2551 : 592) กลาววา การสรางความเปนเพศชายและเพศหญิงสะทอน

ออกมาในทุกพื้นที่ของชีวิตประจําวันและพื้นที่สาธารณะ ในพื้นที่ของชีวิตประจําวัน เชน การ

ทําอาหาร ในครัวเรือนนั้นการทําอาหารเปนหนาที่และบทบาทของผูหญิง ในขณะที่การทําอาหารใน

50

โรงแรมหรือรานอาหาร (เชฟ) เปนหนาที่ของผูชาย ผูชายมีบทบาทในพื้นที่สาธารณะที่สรางรายได

เสมอ

สมมุติฐานการวิจัยที่ 2 พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับชวงอายุ จาก

การศึกษาพบวา พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ขึ้นอยูกับชวงอายุ บุคคลในขั้นนี้อยูชวงอายุ

ประมาณ 21 – 35 ป เปนวัยผูใหญตอนตน ตามพัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขั้น ตามทฤษฎีของแอริคสัน

(The Eight Stages of Psychosocial Development in Erikson) กลาววา ที่สามารถหาอัตลักษณ

ของตนเองไดจากชวงกอนแลว บุคคลในชวงอายุน้ีจะรูจักตนเอง รูวาตนเองมีความเชื่ออยางไร ตองการ

อะไรในชีวิต เกิดความรูสึกตองการมีเพือ่นสนิทที่จะรับและแลกเปลี่ยนสิ่งตางๆ ที่ตนมีอยู แบงปนความ

เชื่อถือ ความสุข และความตองการของตนแกผูอื่น นั่นคือ คูสมรส หรือเพื่อนสนิท จึงมีการพัฒนา

ความรูสึกผูกพันกับผูอื่น แตถาบุคคลไมสามารถสรางความรูสึกผูกพันใกลชิดกับผูอื่นได มีความตองการ

แขงขันหรือทะเลาะเบาะแวงกับผูอื่น ก็จะนําไปสูความรูสึกโดดเดี่ยวอางวาง

บุคคลในชวงนี้มีความเปนอิสระในสังคมมากกวาวัยกอนๆ ในชวงตน มีความรับผิดชอบตอ

ตนเอง ครอบครัวและสังคม ความสมบูรณของจิตใจในชวงนี้คือ การไดรับการยอมรับ มีความกาวหนา

มีอาชีพที่เหมาะสม มีการสมาคมกับเพศตรงขามเพื่อการเลือกคูครองตอไป การปรับตัวของผูใหญในวัย

นี้คือ การเลือกคูครอง และการมีหนาที่การงานที่เหมาะสม รวมทั้งการเขากันไดดีกับเพื่อนรวมงาน การ

ไมสามารถปรับตัวไดจะทําใหบุคคลแยกตัวออกไปจากสังคมและครอบครัว ซึ่งจะสงผลกระทบตอ

ความสามารถในการเปนผูใหญที่สมบูรณ แมบางคนที่แตงงานแลว แตไมสามารถแบงปนชีวิต และ

กิจกรรมกับคูสมรสได จะรูสึกโดดเดี่ยว และสงผลตอการปรับตัวของบุตร เมื่อบุตรเติบโตและ ออกไป

เผชิญชีวิตในสังคมภายนอก ดังนั้น งานและความรัก จึงเปนสิ่งที่ทําใหบุคคลในชวงวัยนี้ประสบ

ความสําเร็จในชีวิต

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะทางการวิจัย

จากการศึกษาการวิจัย เรื่อง “พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชที่มีชวงอายุและ

เพศตางกัน” พบวา

1. ในการศึกษาคนควาครั้งตอไปเห็นควรใหมีการสัมภาษณและตอบแบบสอบถามจากกลุม

ตัวอยาง ซึ่งจะทําใหไดขอมูลในเชิงลึกมากขึ้น

2. ใหขยายกลุมประชากรและกลุมตัวอยางของผูใชเฟสบุค เพื่อใหได ขอมูลที่หลากหลาย

มากขึ้น

3. ควรศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุคทางดานการเรียนการสอนเพื่อเปนประโยชนในดาน

การศึกษาตอไป

51

ภาคผนวก

52

ภาคผนวก ก แบบบันทึกความถี ่

ที ่ ชื่อ เพศ ชวง

อาย ุ

แบบ

1.1

แบบ

1.2

แบบ

1.3

แบบ

1.4

แบบ

1.5

แบบ

2.1

แบบ

2.2

แบบ

2.3

แบบ

2.4

แบบ

2.5

1

2

3

4

5

6

7

53

ภาคผนวก ข รูปแบบพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook)

1) ดานการแสดงเฉพาะเพียงหนึ่งพฤติกรรม

1.1) การแสดงเฉพาะขอความเทานั้น

1.2) การแสดงเฉพาะรูปภาพเทานั้น

54

1.3) การแสดงเฉพาะวิดีโอเทานั้น

55

1.4) การแสดงเฉพาะไฟลเทานั้น

1.5) การแสดงเฉพาะตําแหนงสถานที่เทานั้น

56

2) ดานการแสดงมากกวาหนึ่งพฤติกรรม

2.1) การแสดงขอความและรูปภาพ

2.2) การแสดงขอความและวิดีโอ

57

2.3) การแสดงขอความและตําแหนงสถานที่

2.4) การแสดงขอความ ตําแหนงสถานที่ และรูปภาพ

58

2.5) การแสดงขอความและลิงคขาว

59

บรรณานกุรม

60

บรรณานกุรม

กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, 2551.

ทิศนา แขมณี. 2545. ศาสตรการสอน : องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ.

สาํนกัพิมพแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั. กรุงเทพมหานคร. ปรมะ สตะเวทิน. 2552. Facebook ทุกมุม. กรงุเทพฯ : จปูตัส.

พนา ทองมีอาคม. 2536. พฤติกรรมการสื่อสารในตลาด. ใน พฤติกรรมศาสตรการสือ่สาร

(หนวยที่ 9-15, น.629-634). นนทบุรี : มหิวทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช.

ไพฑูรย ศรีฟา. 2555. เอกสารประกอบการบรรยายแท็บเลต็ (Tablet) กับการจัดการศึกษา

ในยุคศตวรรษที่ 21. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ฟาฏินา วงศเลขา. 2553. สื่อการเรียนรู : ปจจัยสาํคัญนําผูเรียนกาวถึงเปาหมาย.

(ออนไลน). สืบคนจาก http://social.obec.go.th/node/98 (13 กันยายน 2555).

วิมลพรรณ อาภาเวท และคณะ. 2554. พฤติกรรมการสื่อสารในเฟซบุค (Facebook) ของ

นักศึกษามหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาช

มงคลพระนคร.

ยืน ภูวรรณ. 2553. เอกสารประกอบการบรรยาย Social Media กับการศึกษายุคไอซีที.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สุพาพร เทพยสุวรรณ. 2555. ขอดีและขอเสยีของfacebookกับลูกในชวงวัยรุน.(ออนไลน).

สืบคนจาก

http://www.manager.co.th/Family/ViewNews.aspx?NewsID=9530000133569

(13 กันยายน 2555).

สุเมธ รักตะกนิษฐ. 2552. เทคโนโลยีสมัยใหมกับการศึกษาในปจจุบัน. (ออนไลน). สืบคน

จาก http://www.gotoknow.org/blogs/posts/242611 (13 กันยายน 2555).

สุรางค โควตระกลู. 2544. จิตวิทยาการศึกษา, พิมพครั้งที ่8. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร. หนา 240-242.

61

ประวตัผิูวิจัย

62

ประวตัผิูวิจัย

ชื่อ – ชื่อสกุล วณิชชา แมนยํา

วัน เดือน ป เกิด 16 กรกฎาคม 2523

ที่อยูปจจุบัน เลขที่ 96 หมู 4 ต.พระหลวง อ.สูงเมน จ.แพร 54130

ที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนพริิยาลัยจังหวัดแพร

เลขที่ 151 ถ.ยันตรกิจโกศล ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร 54000

ตําแหนงหนาที่ปจจุบัน ครู คศ.2 วิทยฐานะ ชํานาญการ

ประสบการณการทํางาน

พ.ศ. 2552 โรงเรียนสรอยเสรีวิทยา ต.สรอย อ.วังชิ้น จ.แพร 54160

พ.ศ. 2548 วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร อ.เมือง จ.แพร 54000

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2555 กําลังศึกษา กศด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ.ศ. 2550 วท.ม. (เทคโนโลยอีินเทอรเน็ตและสารสนเทศ) มหาวิทยาลยันเรศวร

พ.ศ. 2547 วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดติถ

63

ประวตัผิูวิจัย

ชื่อ – ชื่อสกุล วิลาวัลย สมยาโรน

วัน เดือน ป เกิด 21 มีนาคม 2524

ที่อยูปจจุบัน 99/20 หมู 1 ตําบลบานคลอง อําเภอเมอืง จังหลัดพิษณุโลก

ที่ทํางานปจจุบัน คณะเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา ตําบล

แมกา อําเภอเมอืง จังหวัดพะเยา

ตําแหนงหนาที่ปจจุบัน ครู

ประสบการณการทํางาน

พ.ศ. 2554 คณะเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา

พ.ศ. 2552 กองกลาง สํานกังานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ.ศ. 2546 ศูนยบริการเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2555 กําลังศึกษา กศด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) มหาวิทยาลัย

นเรศวร

พ.ศ. 2551 กศม. (เทคโนโลยีและสือ่สารการศกึษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ.ศ. 2546 ศศบ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยนเรศวร

64

ประวตัผิูวิจัย

ชื่อ – ชื่อสกุล นายศรัณยู หมื่นเดช

วัน เดือน ป เกิด 3 พฤษภาคม 2525

ที่อยูปจจุบัน โรงเรียนเอื้อองักูรวิทยา 102 หมู 7 ต.สักหลง อ.หลมสัก

จ.เพชรบรูณ 67110

ที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนเอื้อองักูรวิทยา

โรงเรียนเอื้อองักูรวิทยา 102 หมู 7 ต.สักหลง อ.หลมสัก

จ.เพชรบรูณ 67110

ตําแหนงหนาที่ปจจุบัน ผูอํานวยการโรงเรียนเอกชน

ประสบการณการทํางาน

พ.ศ. 2548 โรงเรียนเอื้อองักูรวิทยา 102 หมู 7 ต.สักหลง อ.หลมสัก

จ.เพชรบรูณ 67110

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2555 กําลังศึกษา กศด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ.ศ. 2550 ปริญญาโท (ศษ.ม.) บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง

พ.ศ. 2548 ปริญญาตรี (วศ.บ.) ปโตรเคมีฯ มหาวิทยาลัยศลิปากร

65

ประวตัผิูวิจัย

ชื่อ – ชื่อสกุล นางสาวชไมพร ศรีสุราช

วัน เดือน ป เกิด 16 กรกฎาคม 2523

ที่อยูปจจุบัน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตําบลทาโพธิ์

อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

ที่ทํางานปจจุบัน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตําบลทาโพธิ์

อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

ตําแหนงหนาที่ปจจุบัน นักวิชาการศึกษา

ประสบการณการทํางาน

พ.ศ. 2550 วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตําบลทาโพธิ์

อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2555 กําลังศึกษา กศ.ด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ.ศ. 2553 ปริญญาโท (กศ.ม.) สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

พ.ศ. 2550 ปริญญาตรี (บธ.บ.) สาขาการจัดการทองเที่ยว

(หลกัสูตรนานาชาติ) เกียรตินิยม อันดับ 2

66

ศึกษาพฤตกิรรมการใชเฟสบคุ (Facebook) ของผูใชที่มีชวงอายุและเพศตางกัน

นางสาววณิชชา แมนยํา

นางสาววิลาวัลย สมยาโรน

นายศรัญู หมื่นเดช

นางสาวชไมพร ศรีสุราช

งานวิจัยเสนอมหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อเปนสวนหน่ึงของการศึกษา

หลักสูตรปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

พฤศจิกายน 2555

ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยนเรศวร

67

ชื่อเรือ่ง ศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชที่มีชวงอายุและ

เพศตางกัน

ผูศึกษาคนควา นางสาววณิชชา แมนยํา, นางสาววิลาวัลย สมยาโรน,

นายศรัญู หมื่นเดช, นางสาวชไมพร ศรสีุราช

ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย ดร. สําราญ มีแจง

ประเภทสารนิพนธ การศึกษาคนควาดวยตนเอง กศ.ด.

สาขาวิชาเทคโนโลยีและสือ่สารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2555

คําสําคัญ เพศ อาย ุ เฟสบุค

บทคัดยอ

การศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชที่มีชวงอายุและเพศตางกัน วัตถประสงค เพื่อ 1) เพื่อศึกษา

พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีชวงอายุตางกัน 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช

เฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีเพศตางกัน เพื่อใหสามารถนําขอมูลไปปรับปรุงวางแผนสงเสริมสรางภูมิคุมกัน และ

ความเขมแข็งใหกับเยาวชนของประเทศ ใหเปนผูที่สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัย มั่นคง รวมถึงสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยี

และการสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเองใหกลายเปนบุคคลากรที่มีคุณภาพตอไปในอนาคต การศึกษาในครั้งนี้ ใชวิธีการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ซึ่งใชแบบบันทึกความถี่

(Frequency) เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล จากการสุมกลุมตัวอยาง โดยการสุมตัวอยาง

อยางงาย (Sample Random Sampling) ใชวิธีการสุมโดยการจับสลาก จากกลุมเพื่อนของผูวิจัย ใช

การวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยใชสถิติแจกแจงคาความถี่ และคารอย

ละ เพื่ออธิบายลักษณะทางประชากรศาสตร และพฤติกรรมของกลุมผูใชบริการ และใชสถิติเชิงอนุมาน

(Inferential Statistics) และไคสแควร (Chi – Square Test)

ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย และมีชวงอายุ

ระหวาง 21 – 35 ป จากการศึกษาพบวา พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ขึ้นอยูกับเพศ

เนื่องจาก สื่ออินเทอรเน็ตนั้นสามารถตอบสนองความตองการของมนุษยไดและชวยเติมเต็มชดเชยความ

ตองการที่ขาดหายไปของบุคคลในลําดับขั้นความตองการ และ พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook)

ขึ้นอยูกับชวงอายุ บุคคลในข้ันนี้อยูชวงอายุประมาณ 21 – 35 ป เปนวัยผูใหญตอนตน ตามพัฒนาการ

ทางจิตสังคม 8 ขั้น

68

สารบัญ

บทท่ี หนา

1 บทนํา…………………………………………………………….……................................…..…… 1

ความเปนมาของปญหา..................……………………….........…………….......……… 1

จุดมุงหมายของการวิจัย.................……………………….........…………….......……… 4

ความสําคัญของการวิจัย.................……………………….........……………....…...…… 4

ขอบเขตของการวิจัย......................……………………….........…………….......……… 4

นิยามศัพทเฉพาะ…………………...........................…….........……………....…...…… 5

สมมติฐานการวิจัย.........................……………………….........…………...…....……… 5

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ........................................................................... 6

ความหมายและความสําคัญของเครือขายสังคมออนไลน.......…....…………...… 6

ประเภทของเครือขายสงัคมออนไลน...………………….........……………...………… 7

ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตสังคม........……………………….........………………………… 8

การใชอินเทอรเน็ตเพื่อสนองความตองการ…………….........……………...………… 24

การแบงเพศ....................................……………………….........……………...………… 26

ทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ.......……………………….........……………....……...… 28

3 วิธีดําเนินการวิจัย................................................................................................... 33

ประชากรและกลุมตัวอยาง..............……………………….........………….……..……… 33

เครื่องมือที่ใชในการวจิัย.................……………………….........…………….......……… 33

การเกบ็รวบรวมขอมูล……………...................………….........……………....…...…… 33

การวิเคราะหขอมลู.......................……………………….........……………....……...… 34

69

สารบัญ (ตอ)

บทท่ี หนา

4 ผลการวิจัย…………………......…………………………………………......………………………….. 35

สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกบัลกัษณะประชากรศาสตรและกลุมตวัอยาง....…………… 35

สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกบัพฤติกรรมการใชเพสบุค..............……………....…………… 36

สวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน……………………….........……………....………………. 40

5 บทสรุป.................................................................................................................... 47

สรปุผลการวิจัย……………………....…………….....................…….….................……. 47

อภิปรายผลการวิจัย……………………………....………………...….………………………. 48

ขอเสนอแนะ……………………………………....…………………....………………………… 50

บรรณานุกรม......................................................................................................................... 51

ภาคผนวก ................................................................................................................... 53

ประวัติผูวิจัย………………………………………………………….……………………………….…................ 61

70

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

1 แสดงจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ......…......…...………… 35

2 แสดงจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอาย.ุ.…….........………….... 36

3 แสดงจํานวนความถี่ในการเขาใชบริการเฟสบุค

จําแนกตามประเภทการใชงาน………………....…..………...................................…...

37

4 แสดงแสดงผลการทดสอบรอยละของกลุมตัวอยาง

ในการเขาใชบรกิารเฟสบุค จําแนกตามเพศ………...………………....….........……....

37

5 แสดงผลการทดสอบรอยละของกลุมตัวอยาง ในการเขาใชบริการเฟสบุค

จําแนกตามชวงอายุ…………………………………….................................………..........

39

6 แสดงการทดสอบสมมุติฐานการวิจัยที่ 1 sex*act Crosstablation 1-5 40

7 แสดงการทดสอบสมมุติฐานการวิจัยที่ 1 sex*act Crosstablation 6-10 41

8 แสดงการทดสอบสมมุติฐานการวิจัยที่ 1 Chi-Square Tests 42

9 แสดงการทดสอบสมมุติฐานการวิจัยที่ 2 age*act Crosstablation 1-5 43

10 แสดงการทดสอบสมมุติฐานการวิจัยที่ 2 age*act Crosstablation 6-10 44

11 แสดงการทดสอบสมมุติฐานการวิจัยที่ 2 Chi-Square Tests 44

12 แสดงผลการทดสอบสมมุติฐาน 48

71