2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (legal culture)...

62
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาเรื่องวัฒนธรรมองคกร ขององคการบริหารสวนตําบล จังหวัดอุดรธานี ในการสงเสริมวัฒนธรรมทองถิ่น ผูวิจัยได ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของนําเสนอตามลําดับ ดังนี1. วัฒนธรรม 2. วัฒนธรรมองคกร 3. องคการบริหารสวนตําบล 4. การวิจัยเชิงคุณภาพ 5. บริบทขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดอุดรธานี 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 6.1 งานวิจัยในประเทศ 6.2 งานวิจัยตางประเทศ วัฒนธรรม 1. ความหมายของวัฒนธรรม พระยาอนุมานราชธน (2515 : 103–104) ไดใหความหมายของวัฒนธรรมไวดังนีวัฒนธรรม คือ สิ่งที่มนุษยเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงหรือผลิตสรางขึ้นเพื่อความเจริญใน วิถีแหงชีวิตของสวนรวม ที่ถายทอดกันได เอาอยางกันได วัฒนธรรม คือสิ่งอันเปนผลผลิตของสวนรวมที่มนุษยไดเรียนรูมาจากคนแตกอน สืบ ตอเปนประเพณีกันมา วัฒนธรรม คือ ความคิดเห็น ความรูสึก ความประพฤติและกิริยาอาการหรือ การ กระทําใด ของมนุษยในสวนรวมลงรูปพิมพเดียวกัน และสําแดงออกมาใหปรากฏเปนภาษา ศิลปะ ความเชื่อ ระเบียบ ประเพณี เปนตน ไทเลอร และฮัท (Horton and Hunt. 1976) กลาววา วัฒนธรรม คือทุกสิ่งทุกอยาง ซึ ่ง ไดมาจากการเรียนรูของสังคมและสมาชิกไดมีสวนรวมในการใชสิ่งนั้น สมาชิกจากสังคมจะได Mahasarakham University

Upload: ledan

Post on 01-Sep-2018

226 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ในการศึกษาเรือ่งวัฒนธรรมองคกร ขององคการบริหารสวนตําบล จังหวัดอุดรธานี ในการสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ิน ผูวิจัยได ศึกษาเอกสารและงานวจิัยที่เกี่ยวของนําเสนอตามลําดับ ดังนี ้ 1. วัฒนธรรม 2. วัฒนธรรมองคกร 3. องคการบริหารสวนตําบล 4. การวิจยัเชิงคุณภาพ 5. บริบทขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดอดุรธาน ี

6. งานวิจยัที่เกีย่วของ 6.1 งานวิจยัในประเทศ 6.2 งานวิจยัตางประเทศ

วัฒนธรรม 1. ความหมายของวัฒนธรรม พระยาอนุมานราชธน (2515 : 103–104) ไดใหความหมายของวัฒนธรรมไวดังนี ้ วัฒนธรรม คือ ส่ิงที่มนุษยเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงหรือผลิตสรางขึ้นเพื่อความเจริญใน วิถีแหงชวีิตของสวนรวม ทีถ่ายทอดกันได เอาอยางกนัได วัฒนธรรม คือส่ิงอันเปนผลผลิตของสวนรวมที่มนุษยไดเรียนรูมาจากคนแตกอน สืบตอเปนประเพณีกันมา วัฒนธรรม คือ ความคิดเหน็ ความรูสึก ความประพฤติและกิริยาอาการหรือ การกระทําใด ๆ ของมนุษยในสวนรวมลงรปูพิมพเดยีวกนั และสําแดงออกมาใหปรากฏเปนภาษา ศิลปะความเชื่อ ระเบียบ ประเพณ ีเปนตน ไทเลอร และฮัท (Horton and Hunt. 1976) กลาววา “วัฒนธรรม คือทุกสิ่งทุกอยาง ซ่ึงไดมาจากการเรียนรูของสังคมและสมาชิกไดมีสวนรวมในการใชส่ิงนัน้ ๆ สมาชิกจากสังคมจะได

Mahasarakham University

Page 2: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

13

รับวัฒนธรรมเปนมรดกทางสังคมและเขาอาจปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวฒันธรรมนั้น ๆ เพื่อเปนมรดกแกชนรุนตอไป” เซอรเอดเวิรด (นิตยา บุญสงิห. 2546 : 65 ; อางอิงมาจาก Sir Edward. 1998 : 88) นักมานษุยวิทยาชาวอังกฤษ ในหนังสือ Primitive Culture (1871) ไทเลอรไดใหคําจํากัดความของ”วัฒนธรรม” ไววา วัฒนธรรม คือ “ผลรวมของระบบความรู ความเชื่อ ศิลปะ จริยธรรม กฎหมาย ประเพณี ตลอดจนความสามารถและอุปนิสัยตาง ๆ ซ่ึงเปนผลมาจากการเปนสมาชิกของสังคม” โครเบอร (นิยพรรณ (ผลวัฒนะ) วรรณศิริ. ม.ป.ป. : 33 ; อางอิงมาจาก Kroeber. 1999 : 265) และไคลด คลักคอน (Clyde Kluckhohn) ไดสํารวจงานเขียนทางดานมานุษยวิทยา และพบวานกัมานษุยวิทยาไดใหความหมายของวัฒนธรรมตางกันออกไปกวา 100 ความหมาย โดยสวนใหญแลวคําจํากัดความของวฒันธรรมมักจะเนนถึงระบบความเชื่อ (belief system) และคานิยมทางสังคม (social values) วัฒนธรรมมิใชพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได แตเปนระบบความเชือ่และคานิยมทางสังคมซึ่งอยูเบื้องหลังพฤติกรรมของมนุษย วัฒนธรรมคือ กฏระเบียบหรือมาตรฐานของพฤติกรรมที่คนในสังคมยอมรบัวัฒนธรรมคือวิถีชีวิต (way of life ) ของคนในสังคม เบเนดิกด (นติยา บุญสิงห. 2546 : 65 ; อางอิงมาจาก Benedict. 1998 : 78) ไดเขียนหนังสือ เร่ือง Patterns of Culture สรุปสาระไดวา วัฒนธรรมเกิดจากความพยายามของมนุษยในการแกปญหาตาง ๆ ที่มนษุยประสบในชีวิตประจําวัน มนุษยตางเผาพันธุจะเลือกสรรวิธีการแกปญหาเหลานี้แตกตางกัน ยังผลใหลักษณะของพฤติกรรมของมนุษยเผาพันธุตาง ๆ เหลานี้ไมเหมือนกนัลักษณะของพฤติกรรมจะไดรับการเลือกสรรและพัฒนาตอไปเรื่อย ๆ จนกลายมาเปนแบบแผน (Pattern) ซ่ึงมนุษยสวนใหญในสังคมยอมรับวาดีงามและถือปฏิบัติสืบตอกันมา ทัวทอน (Turton. 1984 : 25) ในปจจุบนัวัฒนธรรมชาติเร่ิมจะหาเอกลักษณไมไดอีกแลวแพราะไมใชส่ิงที่มีมาตามธรรมชาติและสะทอนวัฒนธรรมที่เปนจริงจึงไมมีผูรูสึกเปนเจาของ ที่จะหวงแหนเอาไวอีกทั้งยังถูกอิทธิพลของกระแสวัฒนธรรมภายนอกอกีดวย ราชบัณฑิตยสถาน (2545 : 25) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2545 ไดใหความหมายวา วัฒนธรรม หมายถึงพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมูผลิตสรางขึ้นดวยการเรียนรูจากกนัและกันและรวมใชอยูในหมูของตน พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแหงชาติ พุทธศักราช 2542 (2542 : 23– 25) ไดให ความหมายวา “วัฒนธรรม” หมายถึงลักษณะทีแ่สดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบ เรียบรอย ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต) (2532 : 45) ไดใหความหมายของ “วัฒนธรรม” คือ วิถีชีวิต ความเปนอยูทั้งหมดของสังคม ตั้งตนแตภายในจิตใจของคน มีคานิยม คุณคาทางจิตใจ คณุธรรม ลักษณะนิสัย แนวความคิด และสติปญญาออกมา จนถึงทาทีและวิธีปฏิบัติของมนุษยตอรางกายและ

Mahasarakham University

Page 3: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

14

จิตใจของคน ลักษณะความสัมพันธระหวางมนุษย ตลอดจนความรู ความเขาใจ ทาทีการมอง และการปฏิบัติของมนุษยตอธรรมชาติแวดลอม ถาพูดใหเขาใจงาย วัฒนธรรมเปนทั้งการสั่งสมประสบการณ ความรู ความสามารถ ภูมิธรรม ทั้งหมดที่ไดชวยมนษุยในสังคมนัน้ ๆ อยูรอด และเจริญสืบตอกันมาได และเปนอยูอยางที่เปนในบัดนี้ โดยสรุป วัฒนธรรม คือ ประสบการณ ความรู ความสามารถที่สังคมนั้นมีอยูหรือเนื้อตัวทั้งหมดของสังคมนั่นเอง สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ (2545 : 25) ไดใหความหมายวา วัฒนธรรมเปนวิธีการดําเนนิชีวิตของสังคม เปนแบบแผนการประพฤติและการแสดงออกซึ่งความรูสึกนึกคิดในสถานการณตาง ๆ ที่สมาชิกในสงัคมเดียวกันสามารถเขาใจและซาบซึ้งรวมกัน วัฒนธรรมเปนวิถีชีวติของมนุษยทีเ่กิดจากระบบความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย มนุษยกบัสังคม และมนุษยกับธรรมชาติ วัฒนธรรมมีทั้งสาระและรูปแบบที่เปนระบบความคิด วิธีการ โครงสรางทางสังคม สถาบัน ตลอดจนแบบแผนและทุกสิ่งทุกอยางที่มนุษยสรางขึ้น จากความหมายขางตนพอสรุปไดวา คําวา วัฒนธรรม หมายความถึง สภาพอันเปน ความเจริญงอกงามวัฒนธรรมเปนเรื่องเกีย่วกับพฤติกรรม วาจา ทาทาง กิจกรรม และผลิตผลของ กิจกรรมที่มนษุยในสังคมผลิตหรือปรับปรุงขึ้นจากธรรมชาติ และเรียนรูซ่ึงกันและกัน โดยผาน การคัดเลือก ปรับปรุงและยดึถือสืบทอดกันมาจนถึงปจจุบัน วัฒนธรรมเปนทั้งลักษณะนิสัยของคนหรือกลุมคน ลัทธิ ความเชื่อ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี อาหารการกิน เครื่องใชไมสอย ศิลปะตาง ๆ ตลอดทั้งการประพฤติปฏิบัติในสังคม 2. ประเภทของวัฒนธรรม วฒันธรรมถือเปนมรดกตกทอดทางสังคม แบงออกเปน 2 ประเภท คอื 2.1 รูปธรรมหรือวัตถุธรรม ไดแก วัตถุส่ิงของตาง ๆ ที่มนุษยสรางขึ้น เชน บานเรือน วัดวาอาราม หรือทัศนศิลปคือ ศิลปะที่เรามองเห็นไดดวยตาที่มนุษยสรางขึ้นมา 2.2 นามธรรม ไมสามารถมองเห็นได เชน คติความเชื่อ ความดี ความมีน้ําใจ เปนตน 3. เนื้อหา ลักษณะ และองคประกอบของวัฒนธรรม เนื้อหาของวัฒนธรรมแบงออกเปน 4 อยาง คือ 1. คติธรรม (Moral Culture) คือ วัฒนธรรมทางศีลธรรมและของจิตใจ หรือคติความเชื่ออันเปนหลักดําเนนิชีวิตปจจุบันนี้ สวนใหญไดมาจากศาสนาและหลักควรทราบและควรปฏิบัติตอกันของสังคม เชน ความเชื่อ เชื่อเร่ือง ทําดีไดดี เร่ืองบาปบุญคุณโทษ เร่ืองผี เร่ืองเทพ เร่ืองฮีต คอง ประเพณี มีความสาํนึกในเรื่องชาติ เกียรตวิินยั กลาหาญ ซ่ือสัตยสุจริต หริิ โอตตัปปะ กตัญู กตเวท ี เขมแข็ง ขยนัหมั่นเพียร อดทน รูจักรับผิดชอบ และรูจักหนาที่ สุภาพออนโยนและมารยาทอันดีงาม ใจกวาง รูจกัรับฟงความคดิเห็นของคนอื่น เมตตากรณุา เอื้อเฟอเผ่ือแผ และเสียสละ สามัคคี รูจักแพ ชนะ ใหอภัย ฯลฯ

Mahasarakham University

Page 4: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

15

2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบยีบประเพณีที่ยอมรับนับถือวามีความสําคญัเทากับกฎหมายของบานเมืองทุกกรณี มีหลักควรทราบและควรปฏบิัติ กฎหมายประเพณี เชน ฮีต คอง คะลํา ใหรูจักสิทธิและหนาที่ของพลเมืองตามกฎหมาย เคารพตอกฎหมายของบานเมืองในทกุกรณี ใชสิทธิของตนตามกฎหมายโดยความสุจริตและไมละเมิดสิทธิ ของผูอ่ืน พยายามศึกษาใหรูกฎหมายตาง ๆ ที่ใชในปจจุบัน เคารพตอประเพณีทีด่งีาม 3. วัตถุธรรม (Material Culture) คือ วัฒนธรรมดานวัตถุ ส่ิงของ ศิลปกรรมตาง ๆ ที่มนุษยสรางขึ้น เชน โบราณวัตถุ โบราณสถาน และศิลปวัตถุหรือแหลงศิลปกรรมตาง ๆ เปนตน เครื่องใชไมสอยหรือเครื่องอุปโภคบริโภค รูจักจัดสรางที่อยูอาศัยถูกสขุลักษณะและงดงามนาอยูดี รูจักรักษาความสะอาดรางกาย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค 4. สหธรรม (Social Culture) คือ วัฒนธรรมทางสังคมไดแก คณุธรรมตาง ๆ ที่จะทําใหคนอยูรวมกันไดดวยความผาสุก รูจักสิทธิหนาที่ที่พึงปฏิบัติตอกัน ถอยที่ถอยอาศัยกัน และหมายถึงระเบียบมารยาทที่จะติดตอเกีย่วกับสังคมทั่วไป เชน รูจักมารยาทในการเปนแขกไปหาผูอ่ืน รูจักมารยาทในการเปนเจาของบานตอนรับแขก รูจักมารยาทในโตะอาหาร รูจักใชบัตรเชือ่ (นามบัตร) รูจักมารยาทไปงานมงคลและงานศพ รูจกัมารยาทในการสงตอบจดหมาย รูจักมารยาทในการเดินทางโดยพาหนะตาง ๆ รูจักมารยาทในการดูมหรสพ การกีฬาและการแสดงตาง ๆ รูจักแสดงความเคารพตอสถานที่ และส่ิงที่แทนซึ่งควรเคารพทั้งของชาติตนชาติอ่ืน ไมแสดงอาการดูหมิ่น เหยียบย่ําขนบธรรมเนียมประเพณแีละสิ่งเคารพของคนอื่น พยายามทําตนใหเขากับสังคมไดทุกชั้น รูจักกาลเทศะ เอาใจเขามาใสใจเรา 4. ลักษณะของวัฒนธรรม ทุกสังคมทุกมีวัฒนธรรม และวัฒนธรรมของแตละสังคมตองมีลักษณะที่แสดงออกใหปรากฏ จนทําใหบางทานใชเขตของวัฒนธรรมเปนเครื่องแบงอาณาเขตของประเทศชาติได ลักษณะเดนของวัฒนธรรมจะประกอบไปดวย 1. วัฒนธรรมคือส่ิงที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อใชเปนสิ่งชวยในการดําเนนิชวีิต ทุกสิ่ง ทุกอยางที่มนษุยสรางขึ้นลวนเปนวฒันธรรม 2. วัฒนธรรมเปนผลรวมของหลายสิ่งหลายอยาง (Integrative) เชน ความรู ความเชื่อ วิถีในการดําเนินชีวิต ส่ิงของเครื่องใชตาง ๆ 3. วัฒนธรรมมีลักษณะเปนแนวทางพฤติกรรมที่มีการเรียนรูกันได (Learned ways of behavior) มิใชเกิดขึ้นเองโดยปราศจากการเรียนรูมากอน และลักษณะขอนี้เองทําใหมนุษยแตกตางไปจากสัตว กลาวคือ พฤติกรรมสวนใหญของสัตวปราศจากการเรียนรูมากอน สวนมนษุยมีสมอง

Mahasarakham University

Page 5: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

16

อันทรงคุณภาพ จึงสมารถรูจักคิด ถายทอด และเรยีนรู ขบวนการดังกลาวเกดิขึ้น จากการที่บุคคลมีการติดตอกับบุคคลอื่นในฐานะที่เปนสมาชิกของสังคม ดังนั้นการเรยีนรูจึงเปนลักษณะที่สําคัญยิ่งของวัฒนธรรม 4. วัฒนธรรมมีลักษณะเปนมรดกแหงสังคม วัฒนธรรมเปนผลของการถายทอดและการเรียนรู และเครื่องมือที่ใชในขบวนการดังกลาว ก็คอื การสื่อสารโดยใชสัญลักษณ (Symbolic Communication) ไดแก การที่มนุษยมภีาษาใชที่แนนอน ซ่ึงมีสวนชวยในการถายทอดวัฒนธรรมจากคนรุนกอน ๆ ดําเนินสืบตอเนื่องกันมามิขาดสาย ดังนัน้ วฒันธรรม จึงมีลักษณะเปน “มรดกแหงสังคม” (Social Heritage) 5. วัฒนธรรมมีลักษณะเปน (Super Organic) หมายถึง ส่ิงที่เปนปรากฏอยางเดยีวกันในทางกายภาพ หรือชีวภาพนั้นอาจเปนปรากฏการณที่แตกตางกนัไปในแงของวฒันธรรม กลาวคือของสิ่งหนึ่งอาจนําเอามาใชในความหมายที่ตางกันออกไปในแตละสังคม ท้ัง ๆ ที่ก็คือส่ิงเดียวกัน นั่นเอง ตวัอยางเชน ล้ิน เปนอวัยวะสวนหนึ่งของทุกคน ชาวทิเบตนาํมาใชในการแสดงออกซึ่งความเคารพนับถือดวยการแลบลิ้น สวนคนไทยกลับถือเปนอาการแสดงที่ไมสุภาพ เปนตน 6. วัฒนธรรมเปนวิถีชีวิต (Way of Lite) หรือแผนดําเนนิชวีิต (design for living) ของมนุษย วัฒนธรรมเปนแบบอยางการดาํรงชีวิตของกลุมซ่ึงสมาชิกเรียนรูถายทอดกันไปดวย การสั่งสอน ทั้งทางตรงและทางออม 7. วัฒนธรรมเปนผลจากการชวยกันสรางสรรคของมนุษย และไดมีการปรับปรุง ดัดแปลงสิ่งใดที่ไมดีหรือลาสมัยก็เลิกใชไป ส่ิงใดที่ดีกย็ังคงเอาไวใชตอไป เชน การเพาะปลูก เดิมใชแรงสัตวตอมาเหน็วาเปนวิธีที่ลาชาและลาสมัย จึงประดิษฐหรือซ้ือเครื่องมือเครื่องจักรมาใชในงานเพาะปลูก ทําใหไดผลผลิตมากขึ้น วัฒนธรรมยอมมีการเปลี่ยนแปลง (Change) และมีการ ปรับตัว (Adaptive) 8. วัฒนธรรมมิใชเปนของบคุคลใดบุคคลหนึ่ง แตเปนของสวนรวมสิ่งที่จะถือเปนวัฒนธรรมไดจะตองเปนสิ่งที่สังคมยอมรับถือปฏิบัติ มิใชเฉพาะคนใดคนหนึ่งยอมรับถือปฏิบัติ เทานั้น 5. องคประกอบของวัฒนธรรม องคประกอบของวัฒนธรรม วัฒนธรรมเปนผลจากความคิด ความรู ความเขาใจของมนุษยทีก่อใหเกิดพฤติกรรมทางสังคม วัฒนธรรมจึงมีองคประกอบตาง ๆ ดังนี้ 1. องควัตถุ มีรูปรางสามารถจับตองไดเรยีกวา วัฒนธรรมทางวัตถุ ไดแก เครื่องมือ เครื่องใช ในการเกษตร อุตสาหกรรมและทางวัฒนธรรม เชน คณโท จาน ถวย และมดี ตลอดจนผลิตผลทางดานศิลปกรรม เชน ภาพเขยีน รูปปน เปนตน สวนองควัตถุที่ไมมีรูปราง แตเปนเครื่องหมายแสดงสัญลักษณไดแก ภาษา และตวัเลข เปนตน

Mahasarakham University

Page 6: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

17

2. องคกร (Organization) หมายถึง กลุมที่จัดระเบยีบหรือมีโครงสรางอยางเปนทางการไดแก สถาบัน สมาคม หรือสโมสร ซ่ึงไดจัดตัง้ขึ้นอยางมีระเบียบและระบบ คือ มีกฎเกณฑ หรือระเบียบขอบังคับ มีวิธีดําเนินงานอยางมีระบบ และมีวัตถุประสงคอยางแนนอน องคกรที่เล็ก ที่สุด คือ ครอบครัว และองคกรที่ใหญที่สุด คือ องคกรสหประชาชาต ิ 3. องคพิธีกร (Usages) ไดแก ขนบธรรมเนียมประเพณี ซ่ึงแสดงออกในรูปของพิธีกรรมตาง ๆ เชน ประเพณีโกนผมไฟ พิธีการสมรส พิธีกี่ตั้งศพ พิธีการนั่งโตะรับประทานอาหาร และการแตงกาย เปนตน 4. องคมติ (Concepts) ไดแก ความเชื่อ ความคิด ความเขาใจ และอุดมการณตาง ๆ เชน ความเชื่อในพระเจาองคเดียว ความคิดในเรื่องระบบเศรษฐกิจ ความเขาใจในเรื่องของมนุษย และอุดมการณ (คือแผนการตามความคิดของตน) 6. การแพรกระจายทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมของสังคมหนึ่ง ยอมแตกตางจากวัฒนธรรมของสังคมอื่นและวัฒนธรรมเปนส่ิงที่ไมสามารถเก็บกักไวเหมือนส่ิงของใด ๆ ตราบใดที่มนุษยยังมีการเคลื่อนยายจากถิ่นหนึ่งไปยังแหลงอ่ืน ๆ เชน มีการทองเที่ยว มกีารคาขาย การเผยแพรศาสนา การไปศึกษาหาความรู ฯลฯ เขาเหลานั้นจะนําเอาวัฒนธรรมจากสังคมของเขาติดตัวไปดวย และรับเอาวัฒนธรรมจากสังคมที่เขาไปติดตอกลับมา ซ่ึงถือไดวาเปนการแพรกระจายวฒันธรรม (Culture Diffusion) นอกจากนั้น ความเจริญกาวหนาในการสื่อสารคมนาคมขนสงก็ยังชวยให การแพรวัฒนธรรมไปอยางกวางขวาง สะดวกและรวดเร็ว เราจะพบวาวัฒนธรรมของตางประเทศมากมายไดหล่ังไหลเขาสูสังคมไทย เชน เครื่องมือเครื่องใชตาง ๆ ตลอดจนวิธีการดาํเนินชวีิต และแมแตระบบการศึกษาจรรยามารยาท ซ่ึงทําใหวฒันธรรมของไทยแปรเปลี่ยนไปเปนอันมาก การแพรกระจายทางวัฒนธรรมนัน้ มีความสําคัญตอความเจริญกาวหนาของสังคม เพราะทําใหสังคมที่ไดรับวัฒนธรรมใหมนั้นไมตองลงทุนและเสียเวลากับการที่จะตองเริ่มพัฒนาจากจุดเริ่มตนและยิ่งถารูจักเลือกรับเอา หรือปรับปรุงวัฒนธรรมให เหมาะสมกับสังคมของตน ก็ยอมจะไดรับประโยชนมากขึ้น อาจกลาวไดวามีนอยสังคมเหลือเกินที่มีแตวัฒนธรรมเดิมของตน สวนใหญมกัจะหยิบยืมวัฒนธรรมจากสังคมอื่น ดังเชน สังคมอเมริกัน Ralph Lintonไดกลาววาคนอเมริกันมีวัฒนธรรมเดิมของตนเองประมาณ 10 เปอรเซ็นตเทานั้น การรับวัฒนธรรมอื่นมาเปนของตนนั้น อาจทําใหวัฒนธรรมเดิมสลายตัวไป ทาํใหสูญเสียความเปนชาติ แตถาไมรับก็มผีลรายเชนกัน เพราะเจริญตามสังคมอื่นไมทัน ดังนั้นจึงควรรูจักเลือกและปรับปรุง แกไขใหประสานกัน ใหเกดิเปนวฒันธรรมใหมขึ้นโดยไมละทิ้งวัฒนธรรมเดิมของตนเสียหมด 7. การผสมผสานทางวัฒนธรรม การผสมผสานทางวัฒนธรรม หมายถึง วธีิการที่จะไดเอาวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาปฏิบัติ เชน เมื่ออยูในสังคมใดเราก็ตองรับเอาวัฒนธรรมของสังคมนั้นมาปฏิบัติ ถาหากวฒันธรรมที่

Mahasarakham University

Page 7: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

18

เรารับเอามากลายเปนสิ่งหนึง่ที่เราปฏิบัติสืบตอกันมา การผสมผสานก็จะเกดิขึ้น เชน คนไทยไปอยูตางประเทศนาน ๆ ก็ติดนิสัยดื่มน้ําชากาแฟ เมื่อกลับมาอยูประเทศไทยแลวก็ยังคงปฏิบัติเชนนั้นอกี ก็เทากับบุคคลเหลานั้นนําเอาวัฒนธรรมดังกลาวมาปฏิบัติจนกลายเปนสวนหนึ่งของพฤติกรรมที่กระทําตามปกติ หรือตรงกับสุภาษติที่วา “เขาเมืองตาหลิ่ว ตองหล่ิวตาตาม” หรือ “เขาฝูงหงสก็กลายเปนหงส เขาฝูงกาก็กลายเปนกา” กระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรม จะมีมากขึ้นเมื่อสังคมหนึ่งถูกรุกราน และอีกฝายหนึ่งชนะ พวกท่ีชนะจะพยายามบังคับพวกที่แพใหปฏิบตัิตามแบบอยางดํารงชีวตของตนเอง เชน อังกฤษ ฝร่ังเศส เมื่อยดึครองดินแดนทางตะวันออกและแอฟริกาใต ใหชาวพืน้เมอืงเรียนภาษาของตน อินเดีย พมา มาเลเซีย จึงพดูภาษาอังกฤษ จึงสรุปไดวา บุคคลอยูในวฒันธรรมใดกม็ักจะปฏิบัติตามวัฒนธรรมนั้น และจะมีพฤตกิรรมคลาย ๆ กับคนอื่นในสังคมนั้น เปนเพราะผลของการเรียนรูที่ไดรับเอาการอบรมสั่งสอนมา ไมวาจะโดยแบบรูตัวหรือไมก็ตาม แสดงวาวัฒนธรรมมีอิทธิพลเหนือ ความคิดและพฤติกรรมของมนุษยในสังคมนั้น ๆ เชน ถารับเอาเด็กฝร่ังมาเลี้ยงดูอบรมแบบไทย เด็กคนนีก้็จะมลัีกษณะเหมือนชาวไทย แมผิวพรรณ หนาตา จะไมเหมือนคนไทยก็ตาม กระบวนการผสมผสาน ไมใชเร่ืองงายดายเสมอไป บางคนอาจจะถายทอดและรับงายกวาบุคคลอื่น หรือบางคนอาจจะตอตาน เชน ชาวไอรสิในสหรัฐมิไดถูกกลืนหายไปในสังคมอเมริกันเหมือนชาติอ่ืน ๆ การผสม-ผสานทางวัฒนธรรมมักจะเกิดขึน้ เมือสมาชิกของวัฒนธรรมติดตอเกีย่วของกับอีกสมาชิกของอีกวัฒนธรรมหนึ่งเปนเวลานาน เฮอรฺเบิรต (Herbert. 1986 : 20-25) ไดเขียนหนังสือเรื่อง The Principles of Sociology ไดกลาวไววา วิวฒันาการทางสังคมในลกัษณะเดยีวกนักับส่ิงมีชีวิตทัง้หลาย ซ่ึงเจริญเติบโตหรือพัฒนาจากความเรียบงายไปสูความสลับซับซอน ขั้นแรกของววิฒันาการทางสังคมเกิดขึ้นเมือ่ คนมารวมตัวกันในสังคม คน ๆ เดียวไมอาจดาํรงชีวิตอยูไดจึงมารวมตัวกนัเพื่อปกปองตนเองจากภยันตรายตาง ๆ เมื่อจํานวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้น จํานวนอาหารที่หามาไดตามธรรมชาติก็เพิ่มตามไปดวย เกิดการแบงแยกหนาที่ เกดิสังคมที่มีโครงสรางสลบัซับซอนมากขึ้น สเปนเซอรเชื่อวาสังคมที่ออนแอไมเปนปกแผนจะถูกทําลายลงโดยสงคราม สังคมที่สมบูรณแข็งแรงกวาเทานั้นจะอยูรอด มีความเจริญกาวหนาและสลับซับซอนมากขึ้นเรื่อย ๆ 8. ความหมายและประเภทของประเพณ ี สุพัตรา สุภาพ (2522 : 25) ไดอธิบายเกีย่วกับประเพณีวา ประเพณ ี หมายถึง แบบความเชื่อ ความคิด การกระทํา คานยิม ทัศนคติ ศีลธรรม จารีต ระเบียบแบบแผน และวิธีการกระทําส่ิงตาง ๆ ตลอดจนถึงการประกอบพิธีกรรมในโอกาสตาง ๆ ที่กระทํากนัมาตัง้แตอดีต ลักษณะสําคัญของประเพณีเปนสิ่งทีป่ฏิบัติเชื่อถือกันมานานจนกลายเปนความคิดหรือการกระทําที่ไดสืบตอกันมาและมีอิทธิพลถึงปจจุบัน

Mahasarakham University

Page 8: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

19

พระยาอนุมานราชธน (2523 : 48) ไดกลาวถึงประเพณวีา ประเพณี คือ ความประพฤติของชนหมูหนึ่งในทีแ่หงหนึ่ง ถือเปนแบบแผนกันมาอยางเดยีวกันถาใครในหมูประพฤติออกนอกแบบก็ผิดจารีต แรดคลิฟฟ –บราวน (สุพัตรา. 2522 : 26 ; อางอิงมาจาก แรดคลิฟฟ. 1999 : 54) ไดเขียนหนังสือ เร่ือง The Andaman Islanders สรุปสาระไดวา โครงสรางของสังคม หรือความสัมพันธของคนในสังคม โดยดูจากหนาที่ของพฤติกรรมตาง ๆ วามีสวนชวยในการสรางความเปนปกแผน และรักษาความสมดุลของสังคมได และยังไดอธิบายถึง พิธีกรรม ความเชื่อ และเทพนิยายตาง ๆ ของชาวอันดามันวาเปนสวนหนึ่งของระบบศาสนา ซ่ึงมีหนาที่เสริมสรางความรูสึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกนัของคนในสังคม พิธีกรรมชวงเสริมสราง อารามณรวม (Collective Emotions) และ ชวยควบคุมความประพฤตขิองสมาชิกสังคมใหอยูในกรอบของจารีตประเพณี กลาวอีกนัยหนึ่งคือ พิธีกรรมมีหนาที่หลักในการชวยบํารุงรักษาความสามัคคีกลมเกลียวระหวางสมาชิกสงัคม สวนการตอบสนองความตองการทางดานจิตใจนัน้ เปนหนาที่รองลงมาของพิธีกรรม จากความหมายขางตนพอสรุปไดวา ประเพณี หมายถึง ความประพฤติของคนในสงัคม เชน คานิยม ความเชื่อ ศีลธรรม จารีต ที่ถือเปนแบบแผนอยางเดยีวกันและปฏิบัตสืิบทอดกันมาจากอดกีตจนถึงปจจุบัน 9. ประเภทของประเพณ ี ประเพณีอาจแบงออกเปน 4 ประเภท โดยอาศัยเกณฑทีว่า เปนเรื่องของใคร เกี่ยวกับอะไร ดังนี ้ 1. ประเพณเีกีย่วกับครอบครัว ไดแก ประเพณีเกีย่วกับการบวช การแตงงาน การตาย การทําบุญวันเกดิ การทําบุญบาน ฯลฯ 2. ประเพณีสวนรวม ไดแก ประเพณทีี่ทุกคนในชาติจะกระทํารวมกัน เชน การทําบุญปใหม ทําบุญในวนัสําคัญทางพระพุทธศาสนา ประเพณีสงกรานต ประเพณเีขาพรรษา ประเพณีลอยกระทง ประเพณีทอดกฐินทอดผาปา ฯลฯ 3. ประเพณีทองถ่ิน ไดแก ประเพณีการแตงกายของชาวภาคเหนือ ภาคอีสาน การทํารมของชาวเหนือ การทอผาไหมของคนภาคอีสาน การแสดงหนังตะลุงของภาคใต การรําวงของภาคกลาง ประเพณีรดน้ําดําหัว ของภาคเหนือและภาคอีสาน ประเพณีจุดบองไฟของภาคอีสาน ฯลฯ 4. รัฐพิธี และราชพิธี รัฐพิธี หมายถงึ ประเพณีทีจ่ดัโดยรัฐบาล เพื่อขวัญและกาํลังใจของ ประชาชนเปนประเพณีซ่ึงเกดิขึ้นสมัยหลังการปฏิรูปการปกครอง และเริ่มมีตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 เปนตนมา เชน การฉลองรัฐธรรมนูญ รัฐพิธีพืชมงคล รัฐพิธีแรกนาขวัญ

Mahasarakham University

Page 9: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

20

ราชพิธี หมายถึง พิธีที่ปฏิบัติโดยรัฐบาล เชน กิจกรรมที่เกี่ยวกับองค พระมหากษัตริย เชน พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระราชพิธี รัชมังคลาภิเษก 10. ประเพณฮีีตสิบสองเดือน ฮีต มาจากคําวา จารีต หมายถึงแบบอยาง เยี่ยงอยาง ประเพณี ฮีต 12 หมายถึงประเพณี หรือจารีตประเพณี 12 ประการของทองถ่ิน ในหมูชาวอีสานเมื่อมีโอกาสประกอบกิจตามประเพณีทองถ่ินรวมกนัในแตละเดือน เปนการแสดงออกถึงเอกลักษณของสังคม หรือของแตละทองถ่ินนัน้ ๆ อาจคลายคลึงกัน หรือเหมือนกัน หรือแตกตางกันตามสภาพภมูิศาสตร และส่ิงแวดลอมของแตละ ทองถ่ิน หรือสังคม นั้น ๆ ขนบธรรมเนียมประเพณีชาวอีสานเปนปจจยัสําคัญที่จะสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งทีเ่กิดจากความเชื่อและสภาพทางจิตใจ และสภาพความรูสึกนึกคิด ของชาวอีสาน อันเปนประเพณีที่มีมาตั้งแตโบราณกาลที่ไดประกอบพิธีและกิจกรรมตาง ๆ รวมกัน 12 ประการ คือ ฮีตที่ 1 บุญเขากรรม คือภิกษุตองสังฆาทิเสส ตองอยูกรรมจึงจะพนไดนิยมทํากนัในเดือนอาย เดือน 1 ขึ้น 15 ค่ํา เดือนอาย โยมจะไปเขากรรมดวยก็ได เพือ่หวังเอาบุญ เอากุศล หรือไม ก็หาดอกไมธูปเทียน ไปถวายพระก็จะไดผลานิสงส เชนกัน ฮีตที่ 2 บุญคูณลาน หรือบญุกุมขาวใหญ นิยมทํากนัในเดือนยี่ หรือเดือนสอง บุญคูณลาน หรือบุญเดือนยี่ เปนประเพณีดั้งเดิมของชาวอีสาน หลังจากทีท่ํานาแลวเสรจ็ ชาวอีสานจะมีประเพณีทําบญุรวมกันอีกประเพณหีนึ่ง คอื บุญคูณลาน หรือบุญกุมขาวใหญ เพื่อเปนสิริมงคลแกขาวในลานของตน ฮีตที่ 3 บุญขาวจี่ หรือบุญมาฆบูชา นิยมทํากันในเดือน 3 ขึ้น 15 ค่ํา “พอถึงเดือนสามคอย เจาหวัคอยปนขาวจี่ ปนขาวจี่บมนี้ําออย จัวนอยเช็ดน้ําตา” คําคมคํานี้ คนเฒาคนแกในสมยัโบราณ จะพดูเปนผหยา ลอเลียน หยอกลอสามเณร มูลเหตุแหงการทําบุญขาวจี่ บุญขาวจี่ เปนเวลาที่ชาวบานหมดภาระจากการทํางาน จึงรวมกันทําขาวจี่ถวายพระสงฆ ฮีตที่ 4 บุญมหาชาติ หรือบญุพระเวส นยิมทํากันในเดือน 4 บุญเดือน 4 หรือบุญพระ-เวส กําหนดระหวางเดอืนส่ีขางแรม ถึงเดือนหา จะถือเอาวันใดเปน วันทําบุญกไ็ด มีคําคมของคนเฒาคนแก พากันพูดลอเลียนกันเลน ๆ วา “ เดือนส่ีคอยเจาหัวคอยบญุพระเวส” หมายความวา เมื่อถึงเดือนส่ีขางแรม พระภกิษุตางตั้งตาคอยบุญพระเวส สาเหตุที่ตั้งตาคอยบญุพระเวส คือในเดือนสี่ เปนวาระของพระภิกษุสงฆ จะไดเทศนามหาชาติคาถาพันโปรดสาธุชน หลังจากที่ไดฝกเทศนมาเปนเวลานานพระภิกษุสงฆบางรูปฝกเทศนมหาชาติเปนเวลานานไดอยางไพเราะ มีช่ือเสียงโดงดัง ไดรับนิมนตไปเทศนตามหมูบานตาง ๆ ทั้งใกลและไกล

Mahasarakham University

Page 10: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

21

ฮีตที่ 5 บุญตรุษสงกรานต เปนบุญสรงน้ํา กอพระทราย บานเราเรียกวาตบปนทราย หรือ ตบปะทาย กอเจดียทราย ปลอยสัตว ปลอยนก ปลอยปลา นิยมทําในเดือน 5 คําวาสงกรานต หมายความวา การยายที่ หรือ เคล่ือนออก คือ ดวงอาทิยยายออกจากราศีมีนไปสูราศีเมษดังที่ไดกลาวไวแลวขางตน ซ่ึงวาเปนวนัปใหมของไทยเราสมัยโบราณ และถือวาเปนวันสําคัญทางศาสนาพุทธอีกดวย จะมกีารทําบุญทําทาน และทําบุญอุทิศสวนกุศลใหกับบรรดาญาติและบรรพบรุุษผูลวงลับไปแลว โดยจะเอาวนัที่ 13-14-15 เมษายน วันที่ 13 ของทุกป เปนวันมหาสงกรานต วันที่ 14 ของทุกป เปนวันเนา วนัที่ 15 ของทุกป เปนวันเถลิงศก ฮีตที่ 6 บุญบั้งไฟ หรือบุญบองไฟ การทําบุญบั้งไฟ เกิดจากความเชื่อของชาวอีสาน เทพเจาสามารถที่จะดลบันดาลใหขาวปลาอาหาร พืชผลในทองนาของตนอุดมสมบูรณได เทพเจาองคนั้น คือ พระยาแถน พระยาแถนเปนเทพดา ผูมีหนาที่ควบคุมฝนฟา ใหตกถูกตองตามฤดูกาล ถาไดมีการเซนสรวงบูชาใหพระยาแถนทานพอใจแลว ทานก็จะบันดาลใหฝนตก ใหการทํานาใน ปนั้นไดผลบริบูรณดี แลวขาวปลาอาหารก็อุดมสมบูรณดวย ฮีตที่ 7 บุญซําฮะ หรือบุญเบกิบาน เปนบญุที่ชาวอีสานมีความเชื่อวาเปนการขับไล ส่ิงเสนียดไปจากหมูบาน โดยจะเริ่มจากการเลี้ยงปูตา (เล้ียงบาน) และมกีารตั้งบุญคุณบาน 3 คืน โดย มีความเชื่อวา การเลี้ยงปูตาเปนการทําบุญอุทิศสวนกุศลสงไปใหบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว เพราะเมื่อปูตามีชีวิตอยูนั้น ไดสรางคุณงามความดีใหกับลูกหลานและสังคมไวอยางมากมายหลายประการ เชน การเลี้ยวดูอบรมสั่งสอนใหเปนคนดี สะสมสาธารณสมบัติไวใหลูกหลาน เพื่อเปนการแสดงถึงความกตัญู กตเวที จึงมีการเลี้ยงปูตาสืบตอเปนประเพณ ี ฮีตที่ 8 บุญเขาพรรษา แหเทียนพรรษา บุญวันอาสาฬหบูชา นิยมทํากันในเดือน 8 วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 เปนวันอาสาฬหบูชา วันแรม 1 ค่ํา เดือน 8 เปนวันเขาพรรษา ฮีตที่ 9 บุญขาวประดับดิน นิยมทํากนัในเดือน 9 หรือพูดงาย ๆ ก็คือ เดือน 9 ดับ คือเดือน 9 แรม 14 ค่ํา นั่นเอง บุญขาวประดบัดิน คือ การหอขาวและของคาวหวานพรอมทั้งหมากพลู บุหร่ี หอดวยใบตองกลวยแลวนําไปไวในพืน้ดิน อาหารจะทําเปนสี่สวน คือ สวนที่ 1 นําไปถวายพระ สวนที่ 2 นําไปอุทิศทานแกญาติที่ลวงลับไปแลว สวนที่ 3 ไวเล้ียงกนัในครอบครัว สวนที่ 4 นําไปแจกญาติพี่นอง ฮีตที่ 10 บุญขาวสาก นิยมทํากันในเดือน 10 ขึ้น 15 ค่ํา หรือ พูดตามภาษาอีสานบานเราวาเดือน 10 เพ็ง (เพ็ง คือ วันเพ็ญ) เปนบุญขาวสาก ชาวบานจะจดัเตรียมอาหารคาว หวาน แบบสลากภัตร โดยชาวบานจะเขียนชื่อตนเองลงในสลากแลวนําไปใสลงในบาตรพระ พระจับสลากไดช่ือใคร เจาของชื่อจะทําสําหรับไปถวายพระ ดังนั้นคําวา สากจึงเปนคํากรอนมาจากคําวา สลากกอนจะถึงวันทําบุญขาวสาก ชาวบานจะพากันคัว่ขาวเปลือก บานเราเรียกวาคัว่ขาวตอกแตก เตรียมทําขาวสาก หรือขาวกระยาสาด

Mahasarakham University

Page 11: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

22

ฮีตที่ 11 บุญออกพรรษา บญุไตประทีป บุญปลอยเรือไฟ บุญสวงเฮือ ตรงกับ วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 11 ชาวพุทธ ไมเฉพาะแตชาวอีสาน จะมีประเพณคีลายกันทั่วประเทศ ฮีตที่ 12 บุญมหากฐิน บุญผาปา บุญอัฐฐะ บุญดอกฝาย บุญกฐิน เริ่มวันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ไปสิ้นสุดวันขึน้ 15 ค่ํา เดือน 12 บุญกฐิน เปนประเพณีทีน่ิยมทําคลายกันทั่วทั้งประเทศ ที่พุทธศาสนิกชนมีศรัทธาทําบุญตามประเพณี บุญอัฐฐะ เปนบุญที่วัดในหมูบานนั้น ๆ ไมมีกฐินเขาไปทอดจึงไดพรอมใจกันทําบญุขึ้นหลังจากบุญกฐินแลวชาวบานจะรวบรวมปจจยัไทยทาน จะเรยีกวาบุญดอกเงิน บุญดอกแบงคกว็าไดโดยจะมีเครือ่งอัฐฐะ บริขารไปถวายพระดวยบางหมูบานก็จะมีมหรสพสมโภชดวย ตามแตจะตกลงกัน บุญดอกฝายสวนใหญจะทําที่จังหวดัเลยเปนประเพณี บุญผาปา นิยมทํานอกฤดูพระจําพรรษาหรือภายในพรรษาแลวแตความเหมาะสมของศรัทธาอยูที่ความจําเปนในการปฏิสังขรณของทางวัด 11. หลักปฏิบัติในชีวติประจาํวัน 11.1 หมั่นหามใจตนเองจากความชัว่แมเพียงเล็กนอย กอนที่มันจะลกุลามตอไป เชน การนอนตื่นสาย ทิ้งขยะไมเปนที่เปนทาง หรือปลอยใหที่อยูอาศัยรกรุงรังไมหมั่นทําความสะอาด

11.2 อยาตามนึกถึงความชัว่ ความผิดพลาดในอดีต ทั้งของตนเองและของผูอ่ืน ผานไปแลวก็ใหมันแลวกันไป ถือเปนบทเรียนที่จะไมยอมทําซํ้า แลวตัง้ใจทําความดใีหมใหเต็มที ่ 11.3 ตั้งใจใหทาน รักษาศีล เจริญสมาธิภาวนาอยางสม่าํเสมอ 11.4 หลีกเลี่ยงการอาน การฟง การพูด เร่ืองเกี่ยวกับคนพาล จะไดไมสะสมความคิดเกี่ยวกับพาลไวในใจ พยายามสะสมแตความคิดที่ดีงามโดยการอาน การฟง การพูด แตส่ิงที่ดีงาม เชน อานหนังสือธรรมะ ฟงเทศน สนทนาธรรม พูดถึงคนที่ทําคุณความดี ฯลฯ 11.5 ถาจําเปนตองอยูใกลคนพาลอยางไมมีทางหลีกเลี่ยงได เชน ทํางานในที่เดียวกนั เปนญาติพี่นองกัน ในกรณเีชนนี้เราตองระลึกอยูเสมอวา เรากําลังอยูใกลส่ิงที่เปนอนัตราย เหมือนอยูใกลคนเปนโรคติดตอ ตองระวังตวั คือ ระวังความเปนพาลของเขาจะมาติดตัวเราเขา ตองมั่น ใหทาน รักษาศีล ทําสมาธิ เพื่อใหใจผองใสอยูเสมอ เราตองระลึกเสมอวา หนาที่อันยิ่งใหญและสําคัญที่สุดในชีวิตไมมีอะไรยิ่งไปกวาการปราบพาลภายในตัวเราเอง อานิสงสการไมคบคนพาล 1. ทําใหไมถูกชักจูงไปในทางที่ผิด 2. ทําใหสามารถรักษาความดีเดิมไวได 3. ทําใหสามารถสรางความดีใหมเพิ่มขึ้นไดอีก 4. ทําใหไมถูกคนพาลทําราย

Mahasarakham University

Page 12: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

23

5. ทําใหไมถูกตําหนไิมถูกใสความ 6. ทําใหไมถูกมองในแงราย ไดรับความไววางใจจากบคุคลทั่วไป 7. ทําใหมีความเจริญกาวหนา สามารถตั้งตัวไดเร็ว 8. ทําใหมีความสุขทั้งตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติ 9. เปนการตัดกําลังไมใหเชือ้พาลระบาดไป เพราะขาดคนสนับสนุน 12. วินยัชาวพทุธ กฎ 1 เวนชั่ว 14 ประการ 12.1 เวนกรรมกิเลส (บาปกรรมที่ทําใหชีวติมัวหมอง) 4 คือ ไมทํารายรางกายทํารายชวีิต (เวนปาณาติบาต) ไมลักทรัพยละเมิดกรรมสิทธิ์ (เวนอทินนาทาน) ไมประพฤติผิดทางเพศ (เวนกาเมสุมิจฉาจาร) ไมพูดเท็จโกหกหลอกลวง (เวนมุสาวาท) 12.2 เวนอคติ (ความลําเอียง/ประพฤติคลาดธรรม 4 คือ ไมลําเอียงเพราะชอบ (เวนฉันทาคติ) ไมลําเอียงเพราะชัง (เวนโทสาคติ) ไมลําเอียงเพราะขลาด (เวนภยาคต)ิ ไมลําเอียงเพราะเขลา (เวนโมหาคติ) 12.3 เวนอบายมุข (ชองทางเสื่อมทรัพยอับชีวิต) 6 คือ ไมเสพติดสุรายาเมา ไมเอาแตเทีย่วไมรูเวลา ไมจองหาแตรายการบันเทิง ไมเหลิงไปหาการพนัน ไมพัวพนัมั่วสุมมิตรชั่ว ไมมัวจมอยูในความเกยีจคราน วัฒนธรรมองคกร กรกนก ทพิรส (2543 : 1-7) ไดเขยีนหนังสือช่ือ องคการและการจดัการ กลาวถึง องคกร สรุปสาระได วัฒนธรรมองคกร หมายถึง ความเชื่อถือระหวางกันที่มคีุณคาในการนําไปสูการพฒันาและเปนแนวทางในการกําหนดพฤตกิรรมของสมาชิกในองคกร การสรางวัฒนธรรมที่ดีและเขมแข็ง

Mahasarakham University

Page 13: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

24

ใหเกดิขึ้นในองคกร วัฒนธรรมองคกรจะแสดงถึงความเปนเอกลักษณในดานตาง ๆ อาทิ ความซ่ือสัตย ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน การทํางานเปนทีม การสรางสรรคใหม เปนตน วัฒนธรรมองคกรจึงเปนสวนสําคัญในความสําเร็จและความเปนเลิศสําหรับการดาํเนินงานขององคกรในปจจบุัน คําวาองคกร ตรงกับภาษาอังกฤษวา Organization องคกร คือ กลุมคนซึ่งอยูภายใต กฎเกณฑวาดวยการแบงงานกันทํา การกําหนดเนื้อหาของภาระหนาที ่ การจัดระเบยีบภายในกลุม การกําหนดอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ รวมทั้งกําหนดวิธีการประสานงานและความรวมมือ เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายทีว่างไว จากความหมายขางตนพอสรุปไดวา วัฒนธรรมองคกร หมายถึง การกระทําหรือวธีิการทํางานของคนในองคกรนั้น ๆ เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคกรที่วางไว 1. องคประกอบขององคกรมีดังตอไปนี ้ 1.1 มีกลุมคน (People) 1.2 มีการแบงงานกันทํา (Division of work) 1.3 มีการกําหนดอํานาจหนาที่และความรบัผิดชอบ 1.4 มีการประสานงานตลอดจนความรวมมอืระหวางกัน 1.5 มีการจัดระเบียบภายในองคกร 1.6 มีวัตถุประสงคหรือเปาหมายรวมกัน 2. คุณสมบัติขององคกร องคกรที่ดี ควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1. เปนองคกรที่มีตนทุนต่ํา 2. เปนองคกรที่ทําใหงานทีก่ําลังดําเนินอยูนั้นมีประสิทธิภาพของงานสูงขึ้น 3. เปนองคกรที่มีการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ เปาหมาย และวัตถุประสงคอยางชัดเจน 4. เปนองคกรที่จัดสภาพแวดลอมภายในที่เอื้ออํานวยความสะดวกใหกับบุคลากรในการทํางานใหเต็มศกัยภาพเพื่อใหบรรลุผลสําเร็จ 5. เปนองคกรที่กําหนดแนวทางในการพัฒนาบุคลากรและพัฒนาองคกรที่เปนรูปธรรม 3. การจัดตั้งองคกรทางราชการ โครงสรางสวนราชการในปจจุบันมีที่มาพรอม ๆ กับการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเปนระบอบประชาธิปไตย กลาวคือ ในป พ.ศ. 2476 ไดมีการกฎหมาย วาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน โดยแบงการบรหิารราชการออกเปนสวนกลาง

Mahasarakham University

Page 14: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

25

สวนภูมภิาคและสวนทองถ่ิน ซ่ึงเปนพื้นฐานของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2495 และใชเปนแมบทในการบริหารราชการ กฎหมาย วาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน ที่ใชอยูปจจุบนั คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2546 ตามพระราชบัญญัตินี้มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการจัดตั้งสวนราชการ ดังนี ้ 1. ราชการสวนกลาง ประกอบดวย 1.1 สํานักนายกรัฐมนตรี 1.2 กระทรวงหรือ ทบวง ซ่ึงมีฐานะเทยีบเทากระทรวง 1.3 ทบวง ซ่ึงสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี หรือ กระทรวง 1.4 กรมหรือสวนราชการทีเ่รียกชื่ออยางอืน่ และมีฐานะเปนกรมซึ่งสังกัดหรือไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือ ทบวง การจัดตั้งหรอืยุบเลิกสวนราชการตาม ขอ 1.1 - 1.4 ใหตราเปนพระราชบัญญัติ 2. ราชการสวนภูมภิาค ประกอบดวย 2.1 จังหวดั 2.2 อําเภอ ใหรวมทองทีห่ลาย ๆ อําเภอ ตั้งขึ้นเปนจงัหวัด มฐีานะเปนนิติบุคคล การตั้งยุบและเปลี่ยนแปลงเขตจงัหวัด ใหตราเปนพระราชบญัญัติ ในจังหวัดหนึ่งใหมีหนวยงานราชการการบริหารรองลงมาจากจังหวัด เรียกวา อําเภอ การตั้ง ยุบ เลิกและเปลี่ยนเขตอําเภอ ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา อําเภอ อาจแบงเปน กิ่งอําเภอ แตไมเสมอไป จะแบงเปนกิ่งอําเภอ เฉพาะเมื่อมีความจําเปน ในการปกครอง ตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองทองที่ พ.ศ. 2457 แตละอําเภอ (และกิ่งอําเภอ) แบงออกเปนตําบลแตละตําบล แบงออกเปน หมูบาน ซ่ึงเปนหนวยการปกครองที่เล็กที่สุด 3. ราชการสวนทองถ่ิน ประกอบดวย 3.1 องคกรบริหารสวนจังหวัด 3.2 เทศบาล แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 3.2.1 เทศบาลนคร 3.2.2 เทศบาลเมือง 3.2.3 เทศบาลตําบล 3.3 สุขาภิบาล ราชการสวนทองถ่ินอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนด เชน 3.3.1 กรุงเทพมหานคร 3.3.2 เมืองพัทยา

Mahasarakham University

Page 15: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

26

3.4 องคกรบริหารสวนตําบล 3.5 สภาตําบล การจัดระเบยีบการปกครององคกรบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคกรบริหารสวนตําบล สภาตําบล และราชการสวนทองถ่ินอื่นตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น 4. การพัฒนาองคกร กรกนก ทพิรส (2543 : 1-7) ไดเขยีนหนังสือช่ือ องคกรและการจดัการ กลาวถึง การพัฒนาองคกร สรุปสาระได การพัฒนาองคกร หมายถึง ความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งองคกร เชน การเปลี่ยนแปลงโครงสราง วัฒนธรรม ระบบคาตอบแทน การผลิต การบริหาร ทั้งนี่ เพื่อทําใหองคกรมี ผลงานสูงสุดทั้งในดานประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีความเจริญกาวหนายิ่งขึ้นไป วัตถุประสงคของการพัฒนาองคกร การพัฒนาองคกรเปนสิ่งที่จาํเปนสําหรับองคกรในปจจุบนั ผลของการพัฒนาองคกรนําไปสูการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ไมวาจะเปนการติดตอส่ือสาร การมีปฏิบัติสัมพันธระหวางสมาชิก การรวมมือ การตดัสินใจ การปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน ดังนั้น การพัฒนาองคกรจึงมีวัตถุประสงค ดังนี ้ 1. เพื่อสนับสนุนใหมีการแกปญหามากกวาการหลีกเลี่ยง และ สรางบรรยากาศการแกไขปญหาขององคกรแบบเปดเผย ทั้งองคกร 2. เพื่อสรางเสริมศักยภาพของผูบริหารใหมีความรูและความสามารถสูงขึ้น 3. เพื่อสรางความไววางใจและสงเสริมความรวมมือ ระหวางสมาชิกตลอดจนการจดัระบบการติดตอส่ือสารที่ดี 4. เพื่อเพิ่มพนูความรับผิดชอบในการวางแผนและการปฎิบัติอันจะนําไปสูการพฒันา ตนเอง 5. เพื่อเปดโอกาสใหสมาชกิกําหนดทิศทางการทํางานและการควบคุมตนเอง ในการปฏิบัติงาน 6. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหสูงขึ้น โดยสงเสริมใหมีการคิดคนหาเทคนิคกลยุทธตาง ๆ มาปรับปรุงองคกรอยางตอเนื่อง 7. เพื่อมุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการทํางานที่ลาสมัย และเปนตัวอยางความเจริญขององคกรใหเปนแรงผลักดัน หรือตัวเสริมสรางวิธีการแกปญหาที่ด ี

Mahasarakham University

Page 16: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

27

8. เพื่อสงเสริมใหเกดิการเปลี่ยนแปลงทั้งดานกระบวนการผลิตและดานผลผลิต 9. เพื่อประสานจุดมุงหมายสวนบุคคล และจุดมุงหมายขององคกร เขาดวยกันสงเสรมิใหทุกคนมีความมุงมั่นที่จะเปลี่ยนแปลง เพื่อความสําเร็จขององคกร 10. สงเสริมระดับขวัญและความพึงพอใจของผูปฎิบัติงาน 5. ทฤษฎีองคกร พะยอม วงศสารศรี (2538 : 20-23) ไดเขียนหนังสือช่ือ องคกรและการจัดการ กลาวถึงทฤษฎีองคกร สรุปสาระไดวา ทฤษฎีเปนเพยีงนามธรรมที่อธิบาย และวิเคราะหถึงความจริง และปรากฏการณตาง ๆ ของธรรมชาติที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัว อยางมีระบบและมีแบบแผนเชิงวิทยาศาสตรวา ถาทํา และหรือ เปนอยางนั้น ผลจะออกมาแบบนี้ ซ่ึงในลักษณะเชนนี้ ทฤษฎีก็เปรียบเสมือนการคาดคะเนถึงผลที่จะเกดิขึ้นภายใตสถานการณตาง ๆ ที่แตกตาง ทฤษฎีองคกรที่จะนํามาใชในการวจิัยครั้งนี้ มี 4 ทฤษฎี ดังนี ้ 1. ทฤษฎีสมัยดั้งเดิม มีลักษณะมุงเนนเฉพาะความเปนทางการ ความเปนรูปแบบแผน หรือรูปนัยขององคกรเทานัน้ ทั้งนี้เพื่อจะไดผลผลิตสูง และรวดเร็ว มองมนุษยเสมอืนเครื่องจักร กลาวอีกนยัหนึ่ง ทฤษฎีองคกรดั้งเดิม ไมใหความสําคัญมนุษย ไมวาจะเปนสภาพแวดลอมของสถานที่ทํางานความรูสึกของมนุษยในเชิงจิตวิทยา สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ทุกอยางจะเปนไปตามกฎเกณฑ ตามกรอบ และโครงสรางที่กําหนดไวอยางแนนอน ปราศจากความยืดหยุน 2. ทฤษฎีองคกรสมัยใหม จะพัฒนามาจากทฤษฎีสมัยดั้งเดิม และจะใหความสําคัญในดานความรูสึกของบุคคล ยอมรับถึงอิทธิพลทางสังคมที่มีผลกระทบตอการปฏิบัติงาน อาทิเชน กลุมคนงาน และการมีสวนรวมในการตัดสินใจ ซ่ึงมีความเชื่อวาขบวนการมนุษยนีจ้ะใหประโยชนในการผอนคลายความตายตวัในโครงสรางขององคกรสมัยดั้งเดิมลง 3. ทฤษฎีองคกรสมัยปจจุบนั มีความเชื่อวาองคกรอยูทามกลาง ส่ิงแวดลอมทีห่ลากหลาย ฉะนั้นควรจะเนนการวิเคราะหและสังเคราะหส่ิง ตาง ๆ เขาดวยกันกับ การศึกษาองคกรที่ดี ที่สุด ควรจะเปนวิธีการศึกษาวิเคราะหองคกรในเชิงระบบ ซ่ึงประกอบดวย ตัวแปรตาง ๆ มากมายทั้งภายในและภายนอกองคกร ลวนแตมีผลกระทบตอโครงสราง และการจดัองคกรทั้งส้ิน ดั้งนั้นองคกรในแนวนี้ตองมีการปรับตัวตลอดเวลา เพราะตวัแปรตาง ๆ มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ 4. ทฤษฎีองคกรตามสถานการณและกรณี เปนทฤษฎีที่พฒันามาจากความอิสระ โดยมีธรรมชาติเปนตัวแปรและเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดรปูแบบ กฎเกณฑ และระเบยีบแบบแผน มีลักษณะเปนเหตุเปนผลและสอดคลองกับสภาพความเปนจริง สภาพแวดลอม เปาหมาย

Mahasarakham University

Page 17: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

28

ขององคกรโดยสวนรวมและเปาหมายของสมาชิกทุกคนในองคกร โดยมีขอสมมติฐานวา องคกรที่เหมาะสม ที่สุด คือ องคกรที่มีโครงสรางและรูปแบบที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมของสังคม นั้น ๆ ซ่ึงรวมถึงสภาพภมูิศาสตร วัฒนธรรม คานิยม ความเชื่อ การสนับสนุน และความตองการของสมาชิกในองคกรนั้นดวย องคการบริหารสวนตําบล 1. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุธศักราช 2540 หมวด 4 หนาที่ของชนชาวไทย มาตรา 69 บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รับราชการ ทหาร รับการศึกษาอบรม พทิักษ ปกปอง และสืบสานศิลปะวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญาทองถ่ิน และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ หมวด 9 การปกครองสวนทองถ่ิน มาตรา 284 องคกรปกครองสวนทองถ่ินทัง้หลายยอมมีความเปนอิสระในการ กําหนดนโยบาย การปกครอง การบริหาร การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอํานาจหนาที่ของตนเองโดยเฉพาะ มาตรา 289 องคกรปกครองสวนทองถ่ินยอมมีหนาที่บํารุงรักษาศิลปะ จารีต ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน หรือวัฒนธรรมอันดีของทองถ่ิน องคกรปกครองสวนทองถ่ินยอมมีสิทธิที่จะจัดการอบรมและฝกอาชีพตามความ เหมาะสมและความตองการภายในทองถ่ินนั้น และเขาไปมีสวนรวมในการจัดการศึกษาอบรมของรัฐ แตตองไมขัดตอมาตรา 43 และมาตรา 81 ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัต ิ การจัดการศกึษาอบรมภายในทองถ่ินตามวรรคสอง องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตองคํานึงถึงการบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน และวัฒนธรรมอันดีของทองถ่ิน ดวย 2. พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน ทองถ่ิน พุทธศักราช 2542 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่มี กฎหมายจัดตั้ง

Mahasarakham University

Page 18: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

29

คณะกรรมการการ หมายความวา คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกร ปกครองสวนทองถ่ิน กรรมการ หมายความวา กรรมการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รัฐมนตรี หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมวด 2 การกําหนดอํานาจและหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ มาตรา 16 ใหเทศบาลเมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตําบล มีอํานาจและหนาที ่ในการจดัระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถ่ินของตนเองดังนี ้ 1. การจัดทําแผนพฒันาทองถ่ินของตนเอง 2. การจัดใหมกีารบํารุงรักษาทางบก ทางน้ํา และทางระบายน้ํา 3. การจัดใหมแีละควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ ทาขาม และที่จอดรถ 4. การสาธารณูปโภคและการกอสรางอื่น ๆ 5. การสาธารณูปการ 6. การสงเสริม การฝก และการประกอบอาชีพ 7. การพาณิชย และการสงเสริมการลงทุน 8. การสงเสริมการทองเที่ยว 9. การจัดการศึกษา 10. การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคณุภาพชวีิตเด็ก สตรี คนชรา และ ผูดอยโอกาส การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน และวัฒนธรรมอันดีของ ทองถ่ิน 11. การปรับปรุงแหลงชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยูอาศัย 12. การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานที่พักผอนหยอนใจ 13. การสงเสริมกีฬา 14. การสงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน 15. สงเสริมการมีสวนรวมของราษฎรในการพัฒนาทองถ่ิน 16. การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรยีบรอยของบานเมือง 17. การกําจัดขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล และน้าํเสีย 18. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล 19. การจัดใหมีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน 20. การควบคมุการเลี้ยงสัตว 21. การจัดใหมีและควบคุมการฆาสัตว

Mahasarakham University

Page 19: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

30

22. การรักษาความปลอดภยั ความเปนระเบียบเรียบรอย และการอนามัย โรงมหรสพ และ สาธารณสถานอื่น ๆ 23. การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากปาไม ที่ดิน ทรัพยากร ธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม 24. การผังเมือง 25. การขนสงและการวิศวกรรมจราจร 26. การดูแลรักษาที่สาธารณะ 27. การควบคมุอาคาร 28. การปองกนัและบรรเทาสาธารณภัย 29. การรักษาความสงบเรียบรอย การสงเสริมและสนับสนุนการปองกันและรกัษาความปลอดภยัในชวีิตและทรัพยสิน 30. กิจการอื่นใดที่เปนประโยชนของประชาชนในทองถ่ินตามที่คณะกรรมการ ประกาศกําหนด

หมวด 3 การจัดสรรสัดสวนภาษแีละอากร มาตรา 23 เทศบาล เมืองพัทยา และองคกรบริหารสวนตําบล อาจมีรายไดจาก

ภาษีอากร คาธรรมเนียม และเงินรายไดดังตอไปนี ้ 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดนิตามกฎหมายวาดวยภาษีโรงเรือนและที่ดนิ 2. ภาษีบํารุงทองที่ตามกฎหมายวาดวยภาษีบํารุงทองที่ 3. ภาษีปายตามกฎหมายวาดวยภาษีปาย 4. ภาษีมูลคาเพิ่มตามประมวลรัษฎากรที่ไดรับจัดสรรในอัตราซึ่งเมื่อรวมกับการ จัดสรรตามมาตรา 24 (3) และมาตรา 25 (6) แลวไมเกินรอยละสามสิบของภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเกบ็ไดหักสวนที่ตองจายคืนแลว โดยเปนหนาทีข่องกรมสรรพากรที่จะจัดเก็บ 5. ภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร โดยออกขอบญัญัติจัดเก็บเพิ่มขึ้นในอัตราซึ่งเมื่อรวมกับอัตราตามมาตรา 24 (4) แลวไมเกินรอยละสามสิบของอัตราภาษทีี่จัดเก็บตามประมวลรัษฎากร โดยเปนหนาที่ของกรมสรรพากรที่จะจัดเก็บ 6. ภาษีสรรพสามิตตามกฎหมายวาดวยภาษีสรรพสามิต ภาษีสุราตามกฎหมาย วาดวยสุรา และคาแสตมปยาสูบตามกฎหมายวาดวยยาสูบ ซ่ึงเก็บจากการคาในเขตเทศบาล เมืองพัทยาและองคกรบริหารสวนตําบล โดยออกขอบัญญัติจัดเก็บเพิ่มขึน้ในอัตราไมเกินรอยละสามสิบของอัตราภาษกีรมสรรพสามิตจัดเก็บ และใหถือเปนภาษีและคาแสตมปตามกฎหมายวาดวยการนั้นโดยเปนหนาที่ของกรมสรรพสามิตที่จะจดัเก็บ

Mahasarakham University

Page 20: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

31

7. ภาษแีละคาธรรมเนียมรถยนต รวมทั้งเงนิเพิ่มตามกฎหมายวาดวยรถยนต ภาษีรถตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก และคาธรรมเนียมลอเล่ือนตามกฎหมายวาดวยลอเล่ือน 8. ภาษีการพนันตามกฎหมายวาดวยการพนัน 9. ภาษีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ 10. อากรการฆาสัตวและผลประโยชนอ่ืนอันเกดิจากการฆาสัตวตามกฏหมาย วาดวยการควบคมุการฆาสัตวและจําหนายเนือ้สัตว 11. อากรรังนกอีแอนตามกฎหมายวาดวยอากรรังนกอีแอน 12. คาภาคหลวงแรตามกฎหมายวาดวยแรหลังจากหกัสงเปนรายไดของรัฐในอัตรารอยละสี่สิบแลว ดังตอไปนี ้

12.1 องคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลที่มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ตาม ประทานบัตร ใหไดรับการจดัสรรในอัตรารอยละยี่สิบของเงินคาภาคหลวงแร ที่จดัเก็บไดภายในเขต

12.2 องคการบริหารสวนตําบลและเทศบาลอื่นที่อยูภายในจังหวัดที่มีพืน้ที่ ครอบคลุมพื้นที่ประทานบัตรใหไดรับการจัดสรรในอัตรารอยละสิบของเงินคาภาคหลวงแรที่จัดเกบ็ไดภายในเขต

12.3 องคการบริหารสวนตําบลและเทศบาลในจังหวัดอืน่ใหไดรับการจัดสรร ในอัตรารอยละสิบของเงินภาคหลวงแรที่จดัเก็บไดภายในเขต 13. คาภาคหลวงปโตรเลียมตามกฎหมายวาดวยปโตรเลยีมหลังจากหกัสงเปนรายไดของรัฐในอัตรารอยละสี่สิบแลว ดังตอไปนี ้ 13.1 องคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลที่มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ตาม สัมปทานใหไดรับการจัดสรรในอัตรารอยละยี่สิบของเงินคาภาคหลวงปโตรเลียมที่จัดเก็บไดภายในเขต

13.2 องคการบริหารสวนตําบลหรือเทศบาลอื่นที่อยูภายในจังหวัดที่มีพืน้ที่ ครอบคลุมพื้นที่ตามสัมปทาน ใหไดรับการจัดสรรในอัตรารอยละสิบของเงินคาภาคหลวงปโตรเลียมที่จัดเก็บไดภายในเขต

13.3 องคการบริหารสวนตําบลและเทศบาลในจังหวัดอืน่ใหไดรับการจัดสรร ในอัตรารอยละสิบของเงินคาภาคหลวงปโตรเลียมที่จัดเกบ็ไดภายในเขต 14. คาธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกีย่วกับอสังหาริมทรัพยที่มีทุนทรัพยภายในเขต ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายที่ดนิและกฎหมายวาดวยอาคารชุด 15. คาธรรมเนียมสนามบินตามกฎหมายวาดวยการเดนิอากาศ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามอัตราและวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด

Mahasarakham University

Page 21: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

32

16. คาธรรมเนียมดังตอไปนี้ โดยออกขอบัญญัติจัดเก็บเพิ่มขึ้นในอัตราไมเกิน รอยละสิบของคาธรรมเนียมที่มีการจัดเก็บตามกฏหมายวาดวยการนั้น

16.1 คาธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุราตามกฎหมายวาดวยสุรา 16.2 คาธรรมเนียมใบอนุญาตเลนการพนันตามกฎหมายวาดวยการพนนั

17. คาธรรมเนียม คาใบอนญุาต และคาปรับในกิจการทีก่ฎหมายมอบหมายหนาที่ใหเทศบาล เมอืงพัทยา และองคการบริหารสวนตําบลเปนเจาหนาที่ดําเนินการภายในเขตทองถ่ิน นั้น ๆ และใหตกเปนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถ่ินดังกลาว ในกรณีกฎหมายกําหนดให เทศบาลเปนผูจัดเก็บคาธรรมเนียม คาใบอนุญาต และคาปรับ ใหนํารายไดมาแบงใหแกองคการบริหารสวนตําบลที่อยูภายในเขตจังหวดั ตามที่คณะกรรมการกําหนด 18. คาใชน้ําบาดาลตามกฎหมายวาดวยน้ําบาดาล ทั้งนี้ ใหเปนไปตามสัดสวนที่ คณะกรรมการกําหนด 19. คาธรรมเนียมใด ๆ ที่เรียกเก็บจากผูใชหรือไดรับประโยชนจากบริการสาธารณะที่จัดใหมีขึ้น 20. รายไดอ่ืนตามที่กฎหมายบัญญัติใหเปนของเทศบาล เมืองพัทยา และองคการ บริหารสวนตําบล หมวค 4 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

มาตรา 30 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหดําเนนิการ ดังนี ้ 1. ใหดําเนินการถายโอนภารกิจการใหบริการสาธารณะที่รัฐดําเนินการอยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับแกองคกรปกครองสวนทองถ่ินภายในกําหนดเวลาดังนี ้

1.1 ภารกิจที่เปนการดําเนนิการซ้ําซอนระหวางรัฐและองคกรปกครอง สวนทองถ่ิน หรือภารกิจที่รัฐจัดใหบริการในเขตขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหดําเนนิการใหเสร็จสิ้นภายในสี่ป

1.2 ภารกิจที่รัฐจัดใหบริการในเขตขององคกรปกครองสวนทองถ่ินและ กระทบถึงองคกรปกครองสวนทองถ่ินอื่น ใหดําเนนิการใหเสร็จสิ้นภายในสี่ป

1.3 ภารกิจที่เปนการดําเนนิการตามนโยบายของรัฐบาล ใหดําเนินการให เสร็จสิ้นภายในสี่ป 2. กําหนดขอบเขตความรับผิดชอบในการใหบริการสาธารณะของรัฐและขององคกรปกครองสวนทองถ่ินดวยกันเองตามอํานาจและหนาที่ที่กําหนดไวในพระราช-บัญญัตินี้ให ชัดเจน โดยในระยะแรกอาจกําหนดภารกจิขององคกรปกครองสวน-ทองถ่ินใหแตกตางกันไป

Mahasarakham University

Page 22: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

33

โดยใหเปนไปตามความพรอมขององคกรปกครองสวนทองถ่ินแตละแหง ซ่ึงตองพิจารณาจากรายไดและบุคลากรขององคกรปกครองสวนทองถ่ินนั้น จํานวนประชากร คาใชจายในการดดําเนนิงาน ตลอดจนคุณภาพในการใหบริการที่ประชาชนจะไดรับ ทัง้นี้ ตองไมเกนิระยะเวลาสิบป 3. กําหนดแนวทางและหลักเกณฑใหรัฐทาํหนาที่ประสานความรวมมอืและ ชวยเหลือการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ินใหมีประสิทธิภาพ 4. กําหนดการจัดสรรภาษีและอากร เงินอดุหนุน และรายไดอ่ืนใหแกองคกร ปกครองสวนทองถ่ินเพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินการตามอํานาจและหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินแตละประเภทอยางเหมาะสม โดยในชวงระยะเวลาไมเกนิ พุทธศักราช 2544 ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีรายไดเพิ่มขึ้นคิดเปนสัดสวนตอรายไดของรัฐบาลไมนอยกวารอยละยี่สิบ และในชวงระยะเวลาไมเกิน พุทธศักราช 2549 ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีรายไดเพิ่มขึ้นคิดเปน สัดสวนตอรายไดของรัฐบาลในอัตราไมนอยกวารอยละสามสิบหา ทั้งนี้ โดยการเพิม่สัดสวนตามระยะเวลาที่เหมาะสมแกการพัฒนา ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินสามารถดําเนินกิจการบริการสาธารณะไดดวยตนเองและโดยการจดัสรรสัดสวนที่เปนธรรมแกองคกร-ปกครองสวนทองถ่ิน โดยคํานึงถึงรายไดขององคกรปกครองสวนทองถ่ินนั้นดวย 5. การจัดตั้งงบประมาณรายจาประจําปในสวนที่เกีย่วกับการบริการสาธารณะ ในเขตองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหรัฐจดัสรรเงินอุดหนนุใหเปนไปตามความจําเปนและความตองการขององคกรปกครองสวนทองถ่ินนั้น

มาตรา 34 ใหคณะกรรมการพิจารณาทบทวนการกําหนดอํานาจและหนาที่ และ การจัดสรรรายไดขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ภายหลังที่ไดดําเนินการตามแผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ินไปแลว โดยตองพิจารณาทบทวนใหมทุกระยะเวลาไมเกนิหาปนับแต วันที่มีการกําหนดอํานาจและหนาที่ หรือวันที่มีการจดัสรรรายได ทั้งนี้ จะตองพจิารณาถึง ความเหมาะสมของการกําหนดอํานาจและหนาที่และการจัดสรรรายไดเพื่อกระจายอํานาจเพิ่มขึ้นใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 3. บทบาทหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พุทธศักราช 2537 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2542 องคการบริหารสวนตําบล ตามพระราชบญัญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พุทธศักราช 2537 แกไขเพิม่เติมถึง (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2542 หมวด 2 องคการบริหารสวนตําบล มาตรา 40 กลาวไววา สภาตําบลที่มีรายไดโดยไมรวมเงนิอดุหนุนในปงบประมาณที่ลวงมาติดตอกันสามปเฉล่ีย

Mahasarakham University

Page 23: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

34

ไมต่ํากวาปละหนึ่งแสนหาหมื่นบาท หรือตามเกณฑรายไดเฉล่ียในวรรคสองอาจจัดตัง้เปนองคการบริหารสวนตําบลได โดยทําเปนประกาศของกระทรวงมหาดไทย และใหประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ในประกาศนั้นใหระบุช่ือและเขตขององคการบริหารสวนตําบลไวดวย การเปลี่ยนแปลงเกณฑรายไดเฉล่ียของสภาตําบลตามวรรคหนึ่ง ใหทําเปนประกาศของกระทรวงมหาดไทย และใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 41 สภาตําบลที่ไดจัดตั้งเปนองคการบริหารสวนตําบลตาม มาตรา 40 ใหพนจากสภาพแหงสภาตําบลนับตั้งแตวันที่ไดประกาศจัดตั้งขึ้นเปนองคการบริหารสวนตําบลเปนตนไป บรรดางบประมาณ ทรัพยสิน สิทธิ สิทธิเรียกรอง หนี้ และเจาหนาทีข่องสภาตําบลตามวรรคหนึ่ง ใหโอนไปเปนขององคการบริหารสวนตําบล มาตรา 44 องคการบริหารสวนตําบล ประกอบดวย สภาองคการบริหารสวนตําบลและนายกองคการบริหารสวนตําบล ดังนี้ สภาองคการบริหารสวนตําบล สภาองคการบริหารสวนตําบล ทําหนาที่เปรียบเสมือนฝายนิติบัญญัติ มสีมาชิกที่มาจากการเลอืกตั้งจากราษฎรหมูบานละ 2 คน มีวาระการดํารงตําแหนง 4 ป สภาองคการบริหารสวน-ตําบลจะเลือกสมาชิกดวยกัน เปนประธานสภา จํานวน 1 คน รองประธานสภา จํานวน 1 คน เลือกปลัดองคการบริหารสวนตําบลหรือสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 1 คน เปนเลขานุการสภาองคการบริหารสวนตําบล ทั้งนี้จะตองเปนผูที่มีความรูในระเบียบ กฎหมาย สภาองคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี ้

1. ใหความเหน็ชอบแผนพฒันาองคการบริหารสวนตําบล เพื่อเปนแนวทางใน การบริหารกิจการขององคการบริหารสวนตําบล

2. พิจารณาและใหความเหน็ชอบรางขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลรางขอ บัญญัติงบประมาณรายจายประจําป และรางขอบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม

3. ควบคุมการปฏิบัติงานของนายกองคการบริหารสวนตําบลใหเปนไปตาม กฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล ขอบัญญัติ ระเบียบ และขอบังคับของทางราชการ นายกองคการบริหารสวนตําบล ทําหนาที่เปรียบเสมือนฝายบริหารขององคการบริหารสวนตําบล ซ่ึงนายกองคการบริหารสวนตําบล จะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถ่ินหรือผูบริหารทองถ่ิน พุทธศักราช 2545 มีวาระ การดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป แตจะดํารงตําแหนงเกนิสองวาระไมได เมื่อไดดํารงตําแหนงสองวาระ ติดตอกันแลวจะดํารงตําแหนงไดอีกเมื่อพนสี่ปนับแตวนัพนจากตําแหนง

Mahasarakham University

Page 24: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

35

นายกองคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1. กําหนดนโยบายโดยไมขดัตอกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการขององคการบริหารสวนตําบลใหเปนไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล ขอบัญญัติ ระเบียบ และขอบงัคับของทางราชการ 2. ส่ัง อนุญาต และอนุมัติเกีย่วกับราชการขององคการบริหารสวนตําบล 3. แตงตั้งและถอดถอนรองนายกองคการบริหารสวนตําบลและเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล 4. วางระเบยีบเพื่อใหงานขององคการบริหารสวนตําบลเปนไปดวยความ เรียบรอย 5. รักษาการเปนไปตามขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบล 6. ปฏิบัติหนาที่อ่ืนตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติและกฎหมายอื่น

Mahasarakham University

Page 25: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

36

ภาพประกอบ 2 โครงสรางองคการบริหารสวนตําบล ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ

บริหารสวนตําบล แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2546

สภาทองถ่ินและผูบริหารทองถ่ิน

สภาองคการบริหารสวนตําบล ประกอบดวยสมาชิกที่ไดรับการเลือกตั้งหมูบานละ 2 คน

ในวาระคราวละ 4 ป

ผูบริหารทองถ่ิน ประกอบดวย นายกองคการบริหารสวนตําบลกรรมการบริหาร 1 คน และ

คณะกรรมการบริหาร 2 คน โดยสภาองคการบริหารสวนตําบล เปนผูเลือกแลวเสนอใหนายอําเภอแตงตัง้และใหปลัดองคการบริหารสวนตําบลเปนฝาย

เลขานุการคณะกรรมการบรหิาร

องคการบริหารสวนตําบล

ปลัดองคการบริหารสวนตําบล

สํานักปลัด สวนการคลัง สวนโยธา สวนการศึกษา ศาสนาและวฒันธรรม

Mahasarakham University

Page 26: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

37

อํานาจหนาทีข่ององคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาทีใ่นการพัฒนาตาํบลทั้งในดานเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ภายใตบังคับแหงกฎหมายองคการบริหารสวนตําบล มีหนาทีต่องทําในเขตองคการบริหารสวนตําบล ดงัตอไปนี ้ 1. มาตรา 67 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบล มีหนาที่ตองทําในเขตองคการบริหารสวนตําบล ดงัตอไป 1.1 จัดใหมีและบํารุงรักษาทางน้ําและทางบก 1.2 รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ํา ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทัง้กําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

1.3 ปองกันโรคและระงับโรคติดตอ 1.4 ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1.5 สงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1.6 สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูพิการ 1.7 คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 1.8 บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภมูิปญญาทองถ่ิน และวัฒนธรรมอันดี

ของทองถ่ิน 1.9 ปฏิบัติหนาที่อ่ืนตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรใหตามความจําเปนและสมควร

2. มาตรา 68 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบลอาจจัดทํากิจการในเขตองคการบริหารสวนตําบล ดงัตอไปนี ้

2.1 ใหมีน้ําเพือ่การอุปโภค บริโภค และการเกษตร 2.2 ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน

2.3 ใหมีและบํารุงรักษาทางระบายน้ํา 2.4 ใหมีและบํารุงสถานที่ประชุม กีฬา การพักผอนหยอนใจและสวนสาธารณะ

2.5 ใหมีและสงเสริมกลุมเกษตรกรและกิจการสหกรณ 2.6 สงเสริมใหมีอุตสาหกรรมในครอบครัว 2.7 บํารุงและสงเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร

2.8 การคุมครองดูแลและรักษาทรัพยสินอนัเปนสารธารณะสมบัติของแผนดิน

Mahasarakham University

Page 27: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

38

2.9 หาผลประโยชนจากทรพัยสินขององคการบริหารสวนตําบล 2.10 ใหมีตลาด ทาเทียบเรือ และทาขาม 2.11 กิจการเกีย่วกับพาณิชย 2.12 การทองเที่ยว

2.14 การผังเมือง รายไดและรายจายขององคการบริหารสวนตําบล มาตรา 82 องคการบริหารสวนตําบลอาจมรีายไดดังตอไปนี้ 1. รายไดจากทรัพยสินขององคการบริหารสวนตําบล

2. รายไดจากสาธารณูปโภคขององคการบริหารสวนตําบล 3. รายไดจากกิจการเกี่ยวกบัการพาณิชยขององคการบริหารสวนตําบล 4. คาธรรมเนียม คาใบอนญุาต และคาปรับตามที่จะมกีฎหมายกําหนดไว

5. เงินและทรพัยสินอื่นที่มีผูอุทิศให 6. รายไดอ่ืนตามที่รัฐบาลหรือหนวยงานของรัฐจัดสรรให

7. เงินอุดหนนุจากรัฐบาล 8. รายไดอ่ืนตามที่จะมีกฎหมายกําหนดใหเปนขององคการบริหารสวน

ตําบล มาตรา 85 องคการบริหารสวนตําบลอาจมรีายจาย ดังตอไปนี ้

1. เงินเดือน 2. คาจาง 3. เงินคาตอบแทนอื่น ๆ

4. คาใชสอย 5. คาวัสด ุ 6. คาครุภัณฑ 7. คาที่ดิน ส่ิงกอสราง และทรัพยสินอื่น ๆ 8. คาสาธารณูปโภค 9. เงินอุดหนนุหนวยงานอืน่

10. รายจายอ่ืนตามขอผูกพนั หรือตามทีก่ฎหมายหรือระเบียบของกระทรวงมหาดไทยกําหนดไว 4. วิธีการสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ิน กุหลาบ มัลลิกามาส (2528 : 6 ; อางอิงมาจาก มหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2528 : 49) ไดใหแนวคิดในการสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ินสรุปสาระไดวา “ แนวทางปฏิบัติที่อาจ

Mahasarakham University

Page 28: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

39

กระทําได ไดแกการเก็บรักษาขอมูลของคติชน การอนุรักษ การเผยแพร โดยกระทาํใหสอดคลองเหมาะกับพัฒนาการของคนในวยัตาง ๆ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ประจักษ สายแสง (2531 : 74-75 ) ไดใหแนวคดิเกีย่วกบัการสงเสริมวัฒนธรรม ทองถ่ิน สรุปสาระไดวา การสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ินควรเริ่มตนดวยการรวบรวม และการจดัทําโดยการศึกษา คนควา วิจยั ซ่ึงใหอยูในแนวปฏิบัติของชาวบาน สวนผูสนับสนุนพึงใหการเสริมกําลัง เทานั้น ทั้งนีจ้ะตองมีการรวมมือกับกลุมนกัวิชาการ กลุมผูใหประโยชนจากวัฒนธรรมทองถ่ิน และกลุมผูสนับสนุนวัฒนธรรมทองถ่ิน สายสุรี จุติกุล (2530 : 131) ไดใหทรรศนะวา การสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานควรจะเก็บสะสมพรอมทั้งทําการจําแนกประเภท และวิเคราะหเชิงวิจัยใหทราบวามีอะไรบาง ทัง้ในดาน ภาษา วรรณคตดี ประเพณี อาหาร ความเปนอยู กฬีา การละเลน ทัศนศิลป ตลอดจนการเผยแพรโดยผานส่ือมวลชนตาง ๆ ซ่ึงใหประชาชนมีสวนรวมและควรไดรับการสนับสนุนจากองคกร สถาบัน และหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ เชื้อ สาริมาน (2530 : 5) มี แนวคดิวา วิธีการสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ินนั้น ควรใชสถาบันการศึกษาในทุกระดับเปนหลักสาํคัญเพื่อใหเปนมาตรฐานเดยีวกันไมตางคนตางทําตามใจชอบ ซ่ึงจะทําใหพื้นฐานผิดเพี้ยนไป เสรี หวังในธรรม (2530 : 10) มีแนวคิดวา การสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ินนั้น อยูทีว่าทําอยางไร เราจึงจะเขาไปถึงทองถ่ินซึ่งในแตละทองถ่ินจะรูกนัวา ใครเปนผูที่มีความสามารถ โดยผูที่จะทําหนาที่นัน้จะใชหนวยงานใดกไ็ดที่สามารถเขาถีงประชาชนไดกวางขวางและทัว่ถึง อดุลย รัตตานนท (2530 : 10) มีแนวคิดวา การสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ินนั้น เราจําเปนที่จะตองมีองคกรภาคเอกชน มูลนิธิชมรม สมาคม หรือวัดในทองถ่ินนั้นเปนองคกรหลักในการที่จะชวยอนุรักษ ถายทอด สงเสริม และพัฒนาวัฒนธรรมทองถ่ินตาง ๆ ถาภาคเอกชนไมมีใครทีจ่ะสืบทอด วัฒนธรรมทองถ่ินนั้นก็จะสูญหายไป สวนทางราชการก็ตองใหการสนับสนุน เชิดชใูหกาํลังใจ และเขาไปรวม วัฒนธรรมทองถ่ินจะดํารงอยูไดก็เพราะประชาชนรักและสืบทอด จากแนวคดิของผูทรงคณุวุฒ ิและผูที่เกีย่วของกับการสงเสริมและเผยแพรวัฒนธรรมทองถ่ิน ซ่ึงมีหลายกลุมบุคคล ตางก็มีความเหน็ตองานดานวัฒนธรรมทองถ่ินวา วัฒนธรรมทองถ่ินมีความสําคัญตอประเทศชาติ ในการจรรโลงศิลปวัฒนธรรม การสะทอนใหเห็นภาพชีวติคนไทยจากสังคมในเฉพาะถิ่นที่รวมตัวเขาเปนเอกลักษณที่แสดงใหเห็นความดี ความงาม แมวาวัฒนธรรมทองถ่ิน บางอยางจะสญูหาย หรือเส่ือมสลายลง แตวัฒนธรรมทองถ่ินที่ยังคงอยูกย็ังทรงคุณคาตอการดํารงชีวิต การสะทอนใหเห็นถึงภูมิหลังเปนสิง่ดีที่ควรคาแกการสงเสริมใหคนในสังคมนั้นสํานึกและตระหนกัในความสําคัญของวัฒนธรรมทองถ่ินของตน การเผยแพรใหคนในชาติไดรับรู และการเผยแพรใหชาวตางชาติไดเห็นถึงความงาม ความเจริญทางวฒันธรรมพื้นบานของไทย สวนรูปแบบของ

Mahasarakham University

Page 29: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

40

การสงเสริม เผยแพรวฒันธรรมทองถ่ินนั้นเพื่อพิจารณาจากเอกสารและแนวคิดของผูทรงคุณวุฒ ิ ดังกลาวแลว สรุปสาระไดวา ควรสงเสริมวัฒนธรรมทองถ่ิน 5 ดาน ดังนี ้ 1. การสงเสริมใหเห็นคุณคาและมีความรูเบื้องตนเกีย่วกบัวัฒนธรรมทองถ่ิน 2. การเก็บรวบรวมและแสดงขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมทองถ่ิน 3. การเผยแพรขอมูลวัฒนธรรมทองถ่ิน 4. การศึกษาและเผยแพรการศึกษาเกีย่วกบัวัฒนธรรมทองถ่ิน 5. การปรับปรุงและพัฒนาวัฒนธรรมทองถ่ิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (2529 : 19-24) สรุปสาระไดวา การดําเนินงานวัฒนธรรมเพื่อใหวัฒนธรรมเจริญกาวหนาอยางมีสมดลุยนั้น 1. ควรสงเสริมใหมีการวางแผนวัฒนธรรม ทั้งเปนแผนระยะยาว แผนระยะสั้น แผนระดับชาติและแผนระดับทองถ่ินเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ 2. ควรสงเสริมและสนับสนนุใหมกีารประสานแผน และระดมสรรพกําลัง ดานทรัพยากรเพื่อการพัฒนาวัฒนธรรมระหวางหนวยงานของรัฐ เอกชน และระหวางประเทศ 3. ในการวางแผนพัฒนาวัฒนธรรมทุกระดับ ใหถือวาศาสนธรรมเปนบอเกิด สําคัญของการประพฤติปฏิบัติ และการดําเนินชีวิตของประชาชนเปนเรื่องสําคัญยิ่งในฐานะทีเ่ปนพื้นฐานและเปนแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรม ดานอื่น ๆ 4. ในการวางแผนพัฒนาวัฒนธรรมไมจํากดัอยูแตเฉพาะการทะนุบํารุงรักษา มรดกทางวัฒนธรรมเพียงอยางเดยีว การพัฒนาคนใหมคีวามรูความเขาใจ ความตระหนักในคาของวัฒนธรรม มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค และมีคุณภาพชวีิตที่เหมาะสมแกยุคสมัยก็เปนสิ่งจําเปนยิ่ง เร่ืองที่ควรพัฒนาในวัฒนธรรมไทย ในการพัฒนาวัฒนธรรมตั้งแตบัดนี้เปนตนไป มีความตองการเนนหนกัเปนพิเศษที่จะใหสมาชิกในสังคมไทยมคีวามรู ความเขาใจ และมกีารประพฤติปฏิบัติที่ถูกตองดงีามในเรื่องวัฒนธรรมประจําชาติ โดยสวนรวมและวฒันธรรมทองถ่ินในเรื่องตอไปนี ้ 1. การเลี้ยงอบรมเด็กในครอบครัว ความสัมพันธระหวางบุคคลของสมาชิกในครอบครัว สมาชิกในสังคม และชนตางชาต ิ 2. การทํางาน การประกอบอาชีพ และการใชเวลาวางใหเปนประโยชน 3. ความสะอาด สุขภาพอนามัย ส่ิงแวดลอม อาหาร โภชนาการ และยารักษาโรค 4. ภาษาไทย การสื่อความ และวรรณกรรม 5. การบันเทิง การกีฬา การพักผอนหยอนใจ และสุขภาพจิต

Mahasarakham University

Page 30: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

41

6. การอนุรักษและพัฒนามรดกทางวัฒนธรรม ทั้งดานวัตถุและดานจติใจ เชน ศิลปกรรมดานประติมากรรม สถาปตยกรรม จิตรกรรม วรรณกรรม ดริุยางคศิลป นาฏศิลป โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหลงประวัติศาสตร ความสุภาพออนนอม ความมีน้ําใจ 7. การรักษาภาพลักษณ ช่ือเสียง และเกียรติภูมิของวัฒนธรรมไทยในชมุชนโลก 8. การสรางสรรคและการแสวงหาความรู ความเจริญงอกงามทางวิชาการ และการถายทอดวฒันธรรมที่สอดคลองกับสังคมไทย 9. ศาสนาประจําชาติ ศาสนาที่ตั้งมั่นในประเทศไทย ปรัชญา ระเบียบวินัย ขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยม และความเปนไทย 10. สถาบันกษัตริย การเมอืง การปกครอง อุดมการณ และความมัน่คงของชาติ วิธีการรักษา สงเสริม และการพัฒนาวัฒนธรรม ใชวิธีตอไปนี ้ 1. การสรางสรรคทางวัฒนธรรม คือการจัดกิจกรรมหรือดําเนินการใหมีการริเร่ิม สรางสรรคบุกเบิก การประดิษฐคิดคน การวิจยัและการพัฒนาทางวัฒนธรรม 2. การสงเสริมและสนับสนนุ คือ การจัดกจิกรรมหรือดําเนินการใดที่ชวยให นักบริหาร นกัวิชาการ หรือผูประกอบการทั้งหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน สามารถดําเนินงานวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เชน การจัดงบประมาณสนับสนุน การจัดกิจกรรม วัฒนธรรมดานตาง ๆ การยกยองเชิดชูเกยีรติ และการอุปถัมภศิลปน นักประดษิฐคิดคน และบคุคลที่มีผลงานดีเดนทางวัฒนธรรม 3. การเผยแพรและการประชาสัมพันธ คือ การจัดกจิกรรม หรือดําเนนิการเพื่อ นําวัฒนธรรมไปสูประชาชนทางสื่อมวลชนทุกรูปแบบ เชน การจัดพิมพ-เอกสารเผยแพร การจดั รายการโทรทัศนและวิทยุ การใชส่ือมวลชนประเภทตาง ๆ เพื่อความรูทางวัฒนธรรม 4. การจัดบริการทางวัฒนธรรม คือ การจัดกิจกรรมหรือดําเนินการเพื่อให ประชาชนไดมีโอกาสสัมผัสกับวัฒนธรรม ใหมีความรูความเขาใจ ความซาบซึ้ง และการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมถูกตอง เชน การจัดการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม การบริการหองสมุด การจัดการแสดงนิทรรศการ การสาธิตการจัดงานมหกรรมวัฒนธรรมตามเทศกาลและขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนกิจกรรมอื่นใดที่สามารถใหประชาชนไดรับบริการตาง ๆ เหลานั้น 5. การอนุรักษ ทํานุบํารุง และฟนฟูวัฒนธรรม คือ การจัดกิจกรรมหรือดําเนิน การเพื่อการพทิักษรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่ไดส่ังสมสืบทอดมาจากอดีต แมบางอยางอาจไมใชประโยชนในปจจุบันแลวกต็าม เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหลงโบราณคดีและประวตัิศาสตร

Mahasarakham University

Page 31: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

42

ใหคงอยูเพื่อประโยชน การศึกษาคนควาหารองรอยของความเจริญทางวัฒนธรรมในอดีต รวมไปถึงการจัดตั้งศูนยวัฒนธรรม พพิิธภัณฑ และสถานที่ใด ๆ อันเปนมรดกทางวัฒนธรรม 6. การเสริมสรางความเปนประชาธิปไตยทางวัฒนธรรม คือ การจัดกิจกรรม หรือดําเนินการใหประชาชนสวนใหญหรือทั้งหมดไดมีโอกาสมีสวนรวมในการแสดงความคิดเหน็ การตัดสนใจ การจัดกจิกรรม และการดําเนินการทางวฒันธรรม ตลอดทั้งมีสวนรวมในการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมในการเลอืกสรรวัฒนธรรม และการสงเสริมสนับสนุนกิจกรรมดานวัฒนธรรม 7. การเสริมสรางความเขาใจในวัฒนธรรมที่แตกตางกนั คือ การจัดกจิกรรมหรือ ดําเนินการใด ๆ ทางวัฒนธรรมใหประชาชนมีความรูและมีการยอมรบัวัฒนธรรมทองถ่ินหรือ วัฒนธรรมของกลุมชนในภมูิภาคตาง ๆ ซ่ึงกันและกัน ทัง้นี้เพื่อเปนการขจัดหรือลดภาวะความขัดแยงระหวางกลุมวฒันธรรม เหลานั้น ในการเสริมสรางความเขาใจนี้ นอกจากการใหทกุกลุมชนมีความรูความเขาใจ และซาบซึ้งในวฒันธรรมของกันและกันแลว ยอมรวมไปถึงการเปดโอกาสใหบุคคลหรือประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการประพฤตปิฏิบัติตามแนวทางวัฒนธรรมที่กลุมของตนไดเลือกสรรแลว หากการประพฤติปฏิบัตินั้นไมเปนพิษเปนภัยหรือกระทบกระเทือนความมั่นคงของสังคมไทยโดยสวนรวม 8. การจัดการศึกษาเพื่อวัฒนธรรม คือ การจัดกิจกรรมและดําเนินการเพื่อพัฒนา ใหประชาชนมีความรูสามารถอานออกเขียนได ส่ือความไดอยางมี ประสิทธิภาพ เชน การลดอัตราการไมรูหนังสือ การบริการการศึกษาอยางทั่วถึง การจดัเนื้อหาทางวฒันธรรมในหลักสูตรการเรียนการสอนโดยตรงและโดยออม การเตรียมและพัฒนาบุคลากรโดยจดัการศึกษาเพื่อฝกอบรม นักบริหาร นกัวิชาการ ศิลปน และนกัเรียน นักศกึษาโดยวิธีการในระบบและนอกระบบโรงเรียน รวมทั้งการจัดกิจกรรมทางศลิปะทุกแขนง สําหรับเด็กและเยาวชน 9. การปรับปรุงวัฒนธรรมในชีวิตประจําวนั คือ การจัดกิจกรรมหรือดําเนินการ ในการปรับปรงุชุมชน ที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอม เคร่ืองอํานวยความสะดวกและสาธารณูปโภค รวมทั้งการบริการอนามัย การเพิ่มพูนสิ่งดงีามและสิ่งบันเทิงใจในชีวิตประจําวนัใหแกประชาชน การจัดระบบงานและ ส่ิงแวดลอมในสํานักงาน ในรงงาน ในเรือกสวนไรนา ตลอดจนสถานที่สาธารณะตาง ๆ ใหเรียบรอยสะอาดสวยงาม และมีความเพียงพอทั้งในดานปริมาณละคุณภาพ 10. การเสริมสรางเอกลักษณของชาติ คือ การจัดกจิกรรมหรือดําเนนิการให ประชาชนมีสงยึดเหนี่ยวทางจิตใจ มีความรูความเขาใจในลักษณะที่ดเีดนของหมูคณะและสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย และชักนําใหประพฤติปฏิบัติอยางถูกตองสอดคลองกับลักษณะเดน อันเปนเอกลักษณของหมูและประเทศชาต ิ

Mahasarakham University

Page 32: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

43

11. การธํารงไวซ่ึงคุณภาพและมาตรฐานทางวัฒนธรรม คือ การจัดกิจกรรม หรือดําเนินการใหประชาชนรักษาไวซ่ึงคุณภาพและมาตรฐานของความดีงามทางวฒันธรรมดวยการประกวดการแขงขันและกจิกรรมอื่น ๆ รวมทั้งการปองกันไมใหความดีงามเหลานัน้ถูกบอนทําลาย 12. การเสริมสรางความสัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางชาติ คือ การจัดกิจกรรม หรือดําเนินการแลกเปลี่ยนวฒันธรรมกับนานประเทศ การศึกษาภาษาและวรรณกรรมของตางชาติ การศึกษาภาษาไทยและวรรณกรรมของชนเผาไทยในประเทศตาง ๆ การแลกเปลี่ยนกิจกรรมและบุคลากรทางวัฒนธรรม การสงเสริมการทองเที่ยว และการติดตอส่ือสารระหวางประเทศ โดยไมกระทบกระเทอืนตอความมัน่คงของชาติ การสนับสนุนใหมีการศกึษา วัฒนธรรมของชาติอ่ืนเพื่อใหตระหนกัถึงความคลายคลึงและความแตกตางกับของไทย โดยหวังผลสําคัญในการสรางสรรคส่ิงใหมที่มีคุณคาในสังคมไทยและเสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางชาต ิ แมทธิวส (Mathews. 1996 : 214-222) ไดศึกษาการเสริมสรางความเขมแข็ง และระดับความเขมแข็งของการรวมพลังในชมุชน เพื่อใหเห็นชองทางและโอกาสในการพัฒนาดังนี ้1) โครงสรางพื้นฐานทีด่ ีไดแก โอกาสและแหลงพบปะแลกเปลี่ยนเพือ่การเรียนรูรวมกัน ตลอดจนการรวมกลุมกันของคนในชุมชน 2) กระบวนการเรียนรูและการตัดสินใจรวมกนัระหวางคนใน ชุมชน 3) ระดับความคิดเกี่ยวกับการพึ่งตนเองและการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง 5) ความสัมพันธระหวางคนในชุมชนกับสถาบันตาง ๆ ในชุมชน 6) ความรูสึกนึกคิดในการเขาไปมีสวนรวมในชมุชน ความสามัคคีและความรวมมือระหวางฝายตาง ๆ ในชุมชน 5. การสงเสริมเผยแพรวัฒนธรรม สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. 2532 : 83-87) สรุปสาระไดวา ดานการสงเสริมวัฒนธรรมไทยไดจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อเปนการรักษาและสงเสริม วัฒนธรรมไทย เชน 1. การพิทักษรักษามรดกวฒันธรรมไทย ดําเนินการโดยคณะอนุกรรมการพิทักษ วัฒนธรรมไทย ซ่ึงแตงตั้งโดยคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ งานทีไ่ดดําเนนิการไปแลวตั้งแตป พ.ศ. 2526 เชน 2. การจัดตั้งอาสาพิทักษวัฒนธรรมไทย โดยดําเนินการพิจารณาเสนอแนะงานพิทักษวัฒนธรรมไทย จัดทําหลักสูตรการฝกอบรมใหการสนับสนุนศูนยวฒันธรรมในการฝกอบรมอาสาสมัครพิทักษวัฒนธรรมไทยในจังหวดัตาง ๆ ทั่วประเทศ ตั้งแตป พ.ศ. 2526 จนถึงป พ.ศ.2531 รวม 22 จังหวดั มีผูเขาอบรมทุกกลุมอาชีพ มีการเสนอแนะใหมกีารจัดสปัดาหพิทกัษวฒันธรรมไทยและการจดัประชุมสัมมนาผูนําอาสาสมัครพิทักษวัฒนธรรม

Mahasarakham University

Page 33: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

44

3. ปองกันและปราบปรามสิ่งที่จะทําลายวฒันธรรมไทย ไดมีการพิจารณาเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมายควบคุมภาพยนตร การแพรภาพทางโทรทัศน หนงัสือ ส่ิงพิมพ และ ส่ือตาง ๆ ที่มีลักษณะลามกอนาจาร รายงานการจับกุมแหลงอบายมุขตาง ๆ เชน บอนการพนัน สถานดิสโกเทค ฯลฯ พิจารณาเสนอแนะเพื่อดําเนินการในกรณีที่มีการกระทําอันเปนการหลบหลูพระพุทธศาสนาของหนังสือตางประเทศหลายครั้ง เชน ในนติยสารนิวลุคและในหนังสือแมกกาซีนเพนทเฮาท ฯลฯ การจัดพิมพ สติกเกอรเพื่อรณรงคการงดสูบบุหร่ี 4. การจัดการประกวดและแขงขันเกี่ยวกับวัฒนธรรม ในป พ.ศ. 2528 ไดจัดมีการประกวดเรียงความเรื่อง “วนิัยสรางคน คนสรางชาติ” และมีการประกวดปฏิทินดเีดนเพื่อสงเสริมวัฒนธรรมไทย 5. การรักษาเกยีรติภูมิของชาติไทย เพื่อเปนการอนุรักษและเผยแพรวัฒนธรรมของชาติไทย ไดจดักิจกรรมตาง ๆ เชน ในป พ.ศ.2529-2530 ไดรวมกับ กรมศาสนาจัดงานประเพณีลอยกระทงในบริเวณพุทธมณฑล มีการแสดงดนตรีและนาฏศิลปไทยของศูนยวฒันธรรม การจัดนิทรรศการประเพณีลอยกระทง รวมกับกระทรวงศึกษาธิการจัดงานศิลปหัตถกรรมและจัดแสดงดนตรี นาฏศิลปไทย ณ เวทเีกาสวนอัมพร จัดประกวดการแกะสลักผักและผลไมสําหรับนักเรียนทกุระดบัและประชาชน จัดกิจกรรมสงเสริมวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา รวมกับหนวยงานราชการ ในการจัดพิธีสดุดีเทิดพระเกียรตใินวนัเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินินาถ 6. การสงเสริมวัฒนธรรมสําหรับจังหวัดชายแดนภาคใต จัดสรางธงชาติและ พระบรมฉายาลักษณพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและมอบใหแกประชาชนเพื่อเปนการสงเสริมความรักชาติและสถาบันพระมหากษตัริย การจัดแขงขันกีฬาเพื่อสรางความสามัคคี การจัดงานวัฒนธรรมสัมพันธ โดยเนนกิจกรรม 4 อยาง คือ การจัดนิทรรศการ การสาธิตทางวัฒนธรรมพื้นบาน การแสดงกลางแจงและการแสดงบนเวที การจําหนายผลิตภัณฑและสินคาราคาถูกและการแขงขันกีฬาพื้นบาน 7. การจัดตั้งและขยายศนูยวฒันธรรม เพื่อเปนการขยายงานวัฒนธรรมใหกระจายออกไปทั้งในสวนกลางและสวนภูมภิาค จึงไดมีการจัดตั้ ศูนยวัฒนธรรม เพื่อทําหนาที่ดําเนินงานและประสานงานวฒันธรรมระดับจังหวดั 8. การสงเสริมผูมีผลงานดีเดนทางวัฒนธรรมในทุกภาคของประเทศ โดยแบงออกเปนสาขา เชน สาขาศิลปะ สาขาการชางฝมือ

Mahasarakham University

Page 34: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

45

9. การจัดพิมพหนังสือและเอกสารทางวัฒนธรรม โดยเผยแพรไปยังหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อประโยชนในการสงเสริมและเผยแพรผลงานดานวัฒนธรรม สนับสนุน นักเขียน นักวจิัย ไดมีโอกาสเผยแพรผลงานของตน เพือ่เปนเอกสารงานทางดานวัฒนธรรม เพื่อใชเปนสื่อเผยแพรใหทุกคนได มีความรู ความเขาใจและปฏิบัติตนเกี่ยวกบังานวัฒนธรรมไดถูกตอง 10. การจัดงานมหกรรมวฒันธรรมพื้นบานไทย จากความคิดที่วาปจจบุันนี้ วัฒนธรรม ศิลปะ ประเพณีตาง ๆ ที่เคยเปนเอกลักษณของแตละทองถ่ิน ในแตละภาคของไทยกําลังจะสูญหายไป เพราะขาดการฟนฟูและสืบทอดทางวัฒนธรรม จึงไดจัดทําโครงการนี้ขึ้นเพื่อ สงเสริมใหหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดรวมมอืกันในการอนุรักษวัฒนธรรมพื้นบานของแตละทองถ่ิน เพือ่ใหประชาชนไดมีความรู ความเขาใจในวัฒนธรรมพื้นบาน มีความรกั ความหวงแหน วัฒนธรรมในทองถ่ินของตน และเพื่อเปนการเผยแพรประชาสมัพันธดานวัฒนธรรมของแตละทองถ่ิน สวนกจิกรรมตาง ๆ ที่จัดจะครอบคลุมเนื้อหาทางวัฒนธรรมพืน้บาน 4 ประเภท ไดแก ดนตรีและศิลปะการแสดงพื้นบาน ภาษาถิ่นและวรรณกรรมพืน้บาน ขนบธรรมเนียมประเพณ ีพื้นบาน วัฒนธรรมพื้นบาน ซ่ึงในการจัดงานดังกลาวประสบความสําเร็จเกินความคาดหมาย การวิจัยเชิงคณุภาพ การวิจยัเชิงคณุภาพ หมายถึง การแสวงหาความรูความจริงของปรากฏการณทางสังคม ภายใตบริบท (Contextual) ในทุกมิติที่ปรากฏการณนัน่เกิดขึ้น สุภางค จันทวานิช (2540 : 13-24) ไดเขียนหนังสือช่ือลักษณะและความสําคัญของ การวิจยัเชิงคณุภาพ กลาวถึงเรื่องแนวคดิและลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ สรุปสาระไดวา ลักษณะของงานวิจยัเชิงคณุภาพ มีดังนี ้ 1. ลักษณะแรกของงานวจิัยคุณภาพ คือ งานวิจยัที่ผูวจิัยตองเขาไปอยูในสภาพการณทีก่ําลังศึกษา เพือ่ความเขาใจอยางลึกซึ้ง การจะเขาไปปรากฏการณใดอยางลึกซึ้ง ตองศึกษา ส่ิงแวดลอมทีก่อใหเกิดปรากฏการณนัน้ดวย ดวยเหตนุีผู้วิจัยจึงเปนเครื่องมือการเกบ็ขอมูลที่สําคัญ 2. ลักษณะทีส่องของงานวิจัยเชิงคณุภาพ คือ งานวิจยัเชิงคุณภาพมกัจะมีลักษณะการบรรยาย รายละเอียด นกัวิจัยเชิงคุณภาพจะไวตอรายละเอียดและเกบ็มันไวใหมากที่สุด เทาที่จะทําได เพื่อวาเวลาที่เราจะวิเคราะหอธิบายรายละเอียดเหลานัน้จะชายเสริมเพิ่มการอธิบายนั้นใหรอบคอบมากขึ้น

Mahasarakham University

Page 35: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

46

3. ลักษณะประการที่สามของการวิจยัเชิงคณุภาพ คือ งานวิจยัชนดินี้สนใจกระบวนการมากกวาผลที่ได ส่ิงเกิดขึ้นในกระบวนการจะบอกเราถึงสาเหตุของปรากฏการณได การดูที่ผลที่ไดอาจบอกไดแตเพยีงวาเกดิอะไรขึน้ แตการทีก่ระบวนการณจะบอกไดวาเกดิขึ้นไดอยางไร 4. ลักษณะประการที่ส่ีของการวิจัยเชิงคุณภาพ ไดแก ลักษณะอุปมาน (Inductive) คือ การสรุปหลักการจากขอมูลตาง ๆ ที่เก็บรวบรวมมาได การวจิยัเชงิคุณภาพเปนการหาคําตอบ ไมใชการทดสอบคําตอบ (ที่ลองตั้งไวกอน) คําตอบนั้นจะไดมาก็โดยการพิจารณาภาพรวมซึ่งเกิดขึน้จากการนําเอาขอมูลตาง ๆ มาเรียงปะตดิปะตอกัน 5. ลักษณะประการที่หาของการวิจยัเชิงคณุภาพ ซ่ึงเปนลักษณะสุดทายของ การวิจัยเชิงคุณภาพ ไดแก การสนใจ “ความหมาย” ของผูที่เกี่ยวของกับปรากฏการณที่กําลังศึกษาวาเขาคิดอยางไรเกีย่วกับปรากฏการณ ทั้งนี้ก็เพราะวา การตีความของมนุษยที่มีตอปรากฏการณตาง ๆ จะเปนตังบงบอกการกระทําของเขาที่จะมีตอปรากฏการณนัน้ ทําใหเราเขาใจปรากฏการณใดปรากฏการณหนึ่งอยางรอบดาน อคิน รพีพัฒน และคณะ (2537 : 89-113) ไดเขยีนหนงัสือช่ือ คูมือการวิจัยเชิง คุณภาพ เพื่องานพัฒนา กลาวถึง วิธีการเกบ็ขอมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ สรุปสาระไดวา จุดเนนที่สําคัญของการเก็บรวบรวมขอมลู ไดแก การเนนความเปนมนุษยของผูวจิัยและถูกวจิัย การเนนขอมูลที่เปนระบบความหมายและการรับรูปรากฏการณ การเนนจดุยืนแบบคนใน ตอการรับรูปรากฏการณ การเนนบริบททางสังคมและวฒันธรรมของปรากฏการณ ซ่ึงจุดเนนทั้งส่ีประการนี้ทําใหผูวิจยัมีบทบาทที่เดนชัดและแตกตางจากบทบาทที่มีในการวิจยัแบบอืน่ ส่ิงแรกที่ผูวิจยัตองทําความเขาใจคือ วิธีการเขาถึงปรากฏการณอัน ไดแก ชุมชน เนื่องจากการวจิัยเชิงคณุภาพใหความสําคญัตอการทําวิจยักับมนษุยซ่ึงตาง จากการทาํวิจัยส่ิงอ่ืน ๆ การวิจัยชนิดนี้จึงกําหนดใหผูวจิัยซ่ึงเปนมนษุยคนหนึ่งเขาไปสัมผัสใกลชิดกับมนษุยคนอื่น ๆ ที่ตนจะทําวิจัยดวย อยางที่เรียกกนัวา เปนการนําคนไปสัมผัสกบัคน การกําหนดเชนนี้สงผลหลายประการ ประการแรกเปนการสรางเงื่อนไขใหผูวิจยัรูวาตนตองเคารพในความเปนมนุษยของคนอื่น ผูวิจยัซ่ึงอาจเปนนักวิชาการ หรือนักพัฒนาจะตองเขาหาชาวบานในชุมชนดวยความออนนอมถอมตน ประการที่สองทําใหผูวิจยัรูวาการจะไดขอมูลสําหรับการวิจยันั้นขึน้อยูกับความรวมมือของชาวบาน ถาชาวบานรักใครชอบพอและไวเนื้อเชือ่ใจผูวิจยักจ็ะยินดีเปดเผยขอมูลตาง ๆ ที่ตองการใหทราบ โดยไมปดบังเอาไว และการทําใหชาวบานไววางใจเปนเรื่องที่ตองอาศัยเวลา ตองสรางความคุนเคย เสียกอน นักวจิัยก็จะตระหนกัไดวาตนไมอาจรีบเรงเก็บขอมูลตามอําเภอใจ และยังตระหนกัดวยอีกวาไมมีเครื่องมือใด ๆ ดีเทาตัวผูวิจัยเอง หากผูวจิัยใชแบบสอบถาม ชาวบานอาจอานออกบางไมอานออกบางและตอบมาผิด ๆ ถูก ๆ ถาผูวิจัยใชวิธีสัมภาษณกจ็ะรูขอจํากัดอันนั้นหรือหากผูวิจยัสัมภาษณเร่ืองที่ละเอียดออนบางเรื่อง เชนการแบงเปนฝกเปนฝายในชุมชน ผูวิจยัก็อาจรูไดเองวาชาวบานไม

Mahasarakham University

Page 36: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

47

สะดวกใจทีจ่ะตอบตรง ๆ อาจจําเปนตองอาศัยวิธีสังเกตโดยผูวิจยัเอง ในประการสุดทาย การเขาไปสัมผัสชาวบานโดยตรงจนเกิดความคุนเคยกันจะทําใหนักวจิัยเกิดความตระหนกัวาตนจําเปนตองรักษาขอมูลที่ไดมานั้นอยางดี ไมทําใหเกดิความเดือดรอนเสยีหายตอชาวบานที่ใหขอมูลมาดวย ความไววางใจ โดยเก็บรักษาขอมลูเปนความลับ หรือหากตองเปดเผยก็เปดเผยโดยไมระบุช่ือเสียงเรียงนามของบุคคล และสถานที่ตาง ๆ ตลอดจนเกบ็งําอําพรางขอมูลใด ๆ ที่จะบงชี้ใหรูวา แหลงขอมูลคือใคร อยูที่ไหน ส่ิงนีเ้ปนจรรยาบรรณของนักวิจยั ส่ิงตอไปที่นักวิจัยจะศกึษาชมุชนตองทําความเขาใจก็ คอื เร่ืองของขอมูล ขอมูลที่สําคัญที่นักวิจยัเชิงคุณภาพสนใจเปนพิเศษคือขอมูลที่เปนเรื่องของความคิด ความเชือ่ ความหมาย และการรับรู ซ่ึงสวนใหญแลวไมใชขอมูลเชิงประจักษ เชน เมื่อจะศกึษาขอมูลเกี่ยวกับรายไดของ ชาวบาน นกัวจิัยเชิงคณุภาพมิไดสนใจเพียงจํานวนของรายไดอยางเดยีว แตอยากจะทราบดวยวา ชาวบานแตละคนคิดวา “รายไดคืออะไร” รายได “มีความหมายอยางไรสําหรับเขา” เพราะขอมูล เหลานี้จะชวยอธิบายไดวา ชาวบานจะจดัการอยางไรกับรายไดที่เขาไดมา ขอที่ผูวิจัยจะตองทําความเขาใจตอไปซึ่งสืบเนื่องกับระบบความหมายของขอมูล คือ แงมุมของการรับรูขอมูล โดยปกติผูวจิัยทีศ่ึกษาเกีย่วกับชุมชนมักมีแงมุมการมองปรากฏการาณหรือการับรูขอมูลแบบของตน จุดยนืนี้เกดิจากการสรางประสบการณสวนบุคคลของผูวิจัย แตเมื่อผูวิจยัเขาไปรับรูขอมูลในชุมชนแลว ผูวจิัยควรพยายามลบวิธีคิดแบบเดิมของตนซึ่งเปนวิธีคิดแบบ”คนนอก” ใหหมดสิ้นไป แลวพยายามรับรูขอมูลแบบ “คนใน” นั่นคือการรับรูขอมูลเหมือนกับวาตนเปนสมาชกิคนหนึ่งของชุมชน จุดยืนที่ตองการนี้จะทําใหเขาใจการรับรูตาง ๆ การทําความเขาใจในประเดน็สุดทายในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ การเนนความสําคัญของบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของขอมูล บริบททางสังคมและวฒันธรรม หมายถึง สภาพแวดลอมที่เหตุการณหนึ่ง ๆ เกิดขึ้น นักวิจยัเชิงคณุภาพไมอาจจํากัดความสนใจในการเก็บ ขอมูลไปที่ตัวขอมูลหลักโดยไมสนใจขอมูลอ่ืน ๆ ที่แวดลอมอยูได เพราะบริบททางสังคมและ วัฒนธรรมเปนตัวกําหนดแบบแผนและลกัษณะของขอมูลหลัก เชน ผูวิจัยจะศกึษาการรวมกลุมของชาวบานในองคกรชุมชน เชน กลุมเกษตรกร นอกจากเกบ็รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับกลุมเกษตรกรแลว ผูวิจัยจะตองศกึษาขอมูลที่เปนบริบททางสังคมของกลุมเกษตรกรดวย ซ่ึงถาจะพูดกวาง ๆ แลวก็คอืสภาพทั้งหมดของ ชุมชน เมื่อไดทําความเขาใจจดุเนนดังกลาวมาแลว ขั้นตอนในความเปนจริงของการทําวิจยั เชิงคุณภาพตอไปคือ การเริ่มทํางานสนามในชุมชน และการเก็บรวบรวมขอมูล ขั้นตอนเหลานี้อาจจําแนกไดดังนี ้

Mahasarakham University

Page 37: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

48

1. การเขาสนาม เร่ิมดวยรูจกัเลือกสนามในการทําวจิัยชุมชน ผูวิจยัตองรูจักเลือกชุมชนหมูบานที่ตนจะไปทํางาน ตองพิจารณาวาหมูบานนั้นสามารถตอบโจทยปญหาของการวิจยัไดหรือไม นอกจากนั้นตองพจิารณาความเหมาะสมของหมูบานในแงขนาดวาไมใหญเกนิไป ในแงความซับซอนวาไมมีเงื่อนงําอะไรที่จะทําใหเปนอุปสรรคตอการวิจัยและในแงที่วาไมหางไกลกันเกินควรหรืออันตรายจนเกินไป นักวจิัยเชิงคณุภาพที่ทํางานสนามในหมูบาน จะตองเขาไปพกัอาศัยอยูใน หมูบานทั้งนี้เพื่อจะไดเก็บขอมูลไดสมบูรณที่สุด ขั้นตอไปของการเขาสนามคือการแนะนําตวั นกัวจิัย เชิงคุณภาพที่จะไปทํางานในหมูบานจะตองแนะนําตนเองใหชาวบานรูจัก การแนะนาํตัวไมได หมายถึง การบอกชื่อเทานัน้ แตหมายถึงการบอกใหชาวบานรูวาผูวิจยัเปนใครจะมาทําอะไรใน หมูบาน รวมถึงอธิบายดวยวาทําไมถึงมาที่นี่ จะเอาผลงานไปทําอะไรและชาวบานจะไดอะไรจากการวิจัยคร้ังนี้ คําอธิบายแรกที่บอกวาผูวจิัยเปนใครก็เพื่อใหชาวบานรูจกัหวันอนปลายเทาของผูวิจัย จะไดไววางใจ เพราะชาวบานในชมุชนทุกแหงไมชอบคบคนจรหมอนหมิ่น ในการแนะนําตัวส่ิงหนึ่งที่ ชาวบานมักจะถามก็คือทําวิจยันี้แลวไดอะไรขึ้นมา ทั้งกับผูวิจัยเอง ชาวบานและชุมชน ผูวิจยัจะตองตอบคําถามนี้อยางตรงไปตรงมาตามวัตถุประสงคของการวิจัย นักวิจยัตองไมสรางภาพลวงหรือใหสัญญากับชาวบานในสิ่งที่ตนไมอาจทําไดเพื่อหลอกใหชาวบานรวมมอืกับตน 2. การสังเกตและจดบันทกึ การสังเกต คือ การเฝาดูส่ิงที่เกิดขึ้นอยางเอาใจใสและกําหนดไวอยางมีระเบียบวิธีเพื่อวิเคราะหหรือหาความสัมพันธของสิ่งที่เกิดขึ้นนัน้กับสิ่งอ่ืน การสังเกตแบงออกไดเปนสองชนิดคือ การสังเกตโดยตรง(Direct Observation) หรือการสังเกตแบบไมมีสวนรวม (Non-participant Observation) กับการสังเกตแบบมีสวนรวม (Particpant Observation) การสังเกตโดยตรง คือ การเฝาดูโดยที่ผูวจิัยมิไดเขาไปเกี่ยวของหรือรวมกระทําในเหตกุารณที่ตนดูอยู การสังเกตแบบมีสวนรวม คอื การเฝาดูโดยท่ีผูวิจยัเขาไปเกี่ยวของหรือมีสวนรวมกระทําในเหตุการณนั้น ๆ ดวย ในการวจิัยเชิงคณุภาพ เราใชวธีิการสังเกตแบบมีสวนรวมมากกวาการสังเกตโดยตรง อยางไรก็ตามนักวจิัยเชิงคณุภาพควรใชการสังเกตโดยตรงในระยะแรกของการเริ่มทํางานภาคสนาม เชน ในการสํารวจชุมชนหมูบาน จากนัน้จงึคอยเร่ิมใชวิธีการสังเกตแบบมีสวนรวม เพราะการสังเกตโดยตรงใชเวลาสั้นกวา และผูวิจัยไมตองพะวงกับการมีสวนรวมในกิจกรรมหรือเหตกุารณซ่ึงตนก็กําหนดไมไดแนชัดวาสมควรมีสวนรวมในกิจกรรมหรือเหตุการณใดดี 3. การสัมภาษณ คือ การสนทนาซักถามอยางมีจุดมุงหมาย เพื่อใหไดขอมูลเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งที่ตองการในการวิจยัเชิงคุณภาพ คือขอมูลจากการสัมภาษณจะชวยอธิบายสิง่ที่นักวจิัยพบเห็นหรือสังเกตไดแตยังไมเขาใจใหแจมแจงดียิง่ขึ้น ผูวิจัยมหีนาที่ควบคุมทศิทางในการสมัภาษณ ฉะนัน้จึงจําเปนตองกําหนดโครงสรางของคําถามถึงแมจะสามารถสับเปลี่ยนลําดับของขอคําถามได จุดสนใจของการสัมภาษณ คือ การหาขอมูลเกี่ยวกับกฏระเบยีบหรือระบบความหมายที่เหตกุารณหรือปรากฏการณสังคมหนึ่ง ๆ มีอยู สวนใหญขอมูลประเภทนี้มักเปนสิง่ที่มองไมเห็น จะเปนเรื่อง

Mahasarakham University

Page 38: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

49

เกี่ยวกับบรรทดัฐานทางสังคมซึ่งมีความเกีย่วของกับระบบวัฒนธรรมโดยตรง การสมัภาษณแบงออกเปน 3 ชนิด คือ 3.1 การสัมภาษณแบบเปนทางการหรือกึ่งทางการ (Formal or Semi-Formal Interview) การสัมภาษณแบบนี้มีลักษณะเกือบเหมือนการใชแบบ สอบถาม เพียงแตตางกันทีใ่ชวิธีการพูดซักถามแทนการใหผูตอบอานแลวตอบคําถามในแบบสอบถถาม ในการสัมภาษณผูวิจยัจะมีแบบสัมภาษณซ่ึงมีขอความโดยละเอยีดตามที่เตรียมไว การถามจะถามเรียงตามลําดับที่กําหนดในแบบสัมภาษณ สวนใหญเราจะใชการสัมภาษณแบบเปนทางการหรือกึ่งทางการกับกลุมผูตอบที่มีจํานวนมากเพื่อเปรียบเทียบขอมูลจากคําตอบ และควรจะใชวิธีการสัมภาษณแบบนี้ในตอนกลางหรือตอนทายของการเก็บขอมูลเมื่อผูวิจัยมีความรูเบื้องตนเกีย่วกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของสนามที่กําลังศึกษาเพยีงพอแลวเพราะการสัมภาษณแบบเปนทางการเปนการสัมภาษณที่ตองกําหนดโครงสรางขอคําถามและเนือ้หาสาระ ตลอดจนกําหนดลําดับของเหตกุารณที่ตองการศึกษา ถาหาก ผูวิจัยไมมีขอมูลเบื้องตนดังกลาวแลวก็ไมอาจสรางแบบสัมภาษณทีด่ีได 3.2 การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ (Informal Interview) การสัมภาษณแบบนี้นิยมใชกันเปนอยางมากในการวจิัยเชิงคณุภาพ มีวิธีคลาย ๆกับการพดูคุยกัน แมจะมีจุดมุงหมายวาตองการขอมูลเร่ืองใด ผูสัมภาษณจะปลอยใหบรรยากาศเปนไปแบบงาย ๆ ไมมีพิธีรีตรอง ไมเปนทางการไมเครงครัดในเรื่องขัน้ตอนและลําดับของขอคําถาม การสัมภาษณแบบไมเปนทางการเหมาะที่จะใชเพื่อใหทราบขอมูลทางวัฒนธรรม การสัมภาษณแบบไมเปนทางการกับบุคคลหลาย ๆ คน ชวยใหผูวจิัยเร่ิมกําหนดคานยิมทีช่าวบานยึดถือรวมกันได นอกจากนัน้การสมัภาษณแบบนีย้ังชวยเสริมสรางความสัมพันธที่ดีระหวางผูถามและผูตอบคําถาม การสัมภาษณแบบนี้ทําไดงายกวาการสัมภาษณแบบอื่น ๆ เพราะไมมีขั้นตอนและดําเนินไปไดเร่ือย ๆ แตกเ็ปนการสัมภาษณที่ทําใหดไีดยากเพราะความหลวมและปญหาเชิงจรรยาบรรณที่อาจเกดิขึ้นตลอดเวลาของการสนทนา 3.3 การสัมภาษณผูใหขอมูลหลัก (Key – Informant Interview) การสัมภาษณชนิดนี ้ คือ การซักถามบุคคลบางคนในชมุชนที่ผูวิจยัเลือกขึ้นมาเพราะเขามีคุณสมบัติพิเศษ ความเปนพิเศษของผูใหขอมูลหลักไมไดอยูทีว่าเขาเปนตัวแทนของคนทั้งชุมชนแตอยูทีว่าเขาเปนสมาชิกของกลุมที่เปนกระแสหลักในชุมชน และมีขอมลูทางวัฒนธรรมที่ทันสมัยอยูเสมอ ผูใหขอมูลหลักที่ดีตองเปนคนที่รูจักแสดงออก เปนคนที่ไดซึมซับของระบบวฒันธรรมของชุมชนเขาไปแลว ครุนคิดวิเคราะหจนสามารถตั้งขอสังเกต คําอธิบายหรือขอสรุปบางประการขึ้นมาได เราอาจหาตัวผูใหขอมูลหลักดวยการขอใหชาวบานชวยระบช่ืุอผูรู แลวเอาชื่อที่ชาวบานเอยถึงซํ้ากันมากที่สุดมาเปนจดุเริ่มตนก็ไดการใหสัมภาษณผูใหขอมูลหลัก เหมาะสําหรับการเก็บขอมูลเกี่ยวกับบรรทดัฐานทางสังคมและระบบความหมายของวัฒนธรรม

Mahasarakham University

Page 39: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

50

4. การใชขอมูลเอกสาร แหลงขอมูลขาวสารเปนแหลงทีเ่ราจะละเลยไมได เพราะมีขอมูลบางอยางที่ไมอาจหาไดในภาคสนาม เชนขอมูลเร่ืองราวเกีย่วกับอดีต หรือขอมูลที่พรอมแกการนําไปใชไดทุนเวลากวาจะไปเก็บใหมดวยตนเอง เชน ขอมูลทางดานประชากร ชนดิของขอมูลเอกสารแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ประการแรกสถิติและบันทึกตาง ๆ หมายถึง ขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมอยางเปนระบบระเบียบตอเนื่องกันมาเปนระยะนานพอสมควร ขอมูลสถิติมักเปนตัวเลข เชน จํานวนประชากร สวนขอมูลบันทึกมักเปนเรื่องเหตุการณเร่ืองราว เชน หนังสือราชกิจจานุเษกษา บันทกึประจําวนั ประการที่สองคือเอกสาร หมายถึง ขอมูลในเรื่องใดเรื่องหนึง่ที่เปนลายลักษณอักษรหรืออาจเปนแผนผัง รูปภาพ ขอมูลเหลานี้ไดแก ขาว บทความ ตวับทกฎหมาย บทเพลง ตํานาน บันทึกสวนตัว ฯลฯ ขอมูลเอกสารมีทั้งที่เปนของทางราชการและของสวนตวัเชนเดียวกัน ขอมูลเอกสารเปนขอมูลที่นํามาใชประโยชนไดมาก เพราะมีความพรอมมูลบางประการที่ขอมูลบุคคลอาจไมมีเทาหรือไมครอบคลุมเทา แตนักวิจยัก็ตองอดทนในการใชขอมูลเหลานี้ เพราะมักกินเวลาในการตรวจสอบและการวิเคราะหตคีวามปญหาสําคัญคือ ทําอยางไรจึงจะไดเอกสารที่ตองการ เพราะบางครั้งเอกสารที่ตองการนั้นหายาก การเสาะแสวงหาจึงตองใชความอดทน และตองฝกฝนที่จะใชขอมูลเอกสารใหเปนอีกดวย จึงจะใชไดคุมคา ขอมูลสถิติมีประโยชนในการรองรอยหรือเพือ่สืบสาวเหตุการณที่เกิดขึน้ สวนขอมูลเอกสารมีประโยชนในการใหรายละเอียดเกีย่วกับคานิยม อารมณความรูสึก เจตนารมณ ความเชื่อ อุดมการณ ตลอดจนการใหความหมายแกส่ิงตาง ๆ ของบุคคลหรือกลุมคน 5. การตรวจสอบขอมูล การตรวจสอบขอมูลในการวจิัยตองกระทําพรอม ๆ กับที่เก็บขอมูล เปนการตรวจสอบทันทีในสนาม เพราะการตรวจสอบขอมูลทางสนามเปนการเริ่มทําแบบ ฝกหัดทางความคิด หลังจากที่ไดตรวจสอบขอมูลในสนามแลว ผูวิจยัยงัสมารถตรวจสอบขอมูลอีกไดเปนระยะ ๆ การตรวจสอบขอมูลอาจทําไดหลายวิธี ดังนี้ 5.1 การตรวจสอบขอมูลจากแหลงขอมูลบุคคลที่ตางกัน ไดแก การเปลี่ยนแปลงแหลงขอมูลบุคคลที่ใชใหหลากหลายออกไป เชน เคยสัมภาษณนาย ก. ในเรื่องทัศนคติตอผูนําชุมชน ก็เปลี่ยนเปนสัมภาษณ นาย ข. บางเพื่อตรวจสอบวาผูนําชุมชนในทัศนะของหลาย ๆ ฝาย เปนอยางไรบาง สอดคลองหรือขัดแยงกนัอยางไร เพราะอะไร 5.2 การตรวจสอบขอมูลในสถานที่ที่ตางกัน ไดแก การเปลี่ยนสถานที่ที่ไดขอมูลเร่ืองเดียวกัน เชน ผูวจิยัที่ไดขอมูลเกีย่วกับผูนําชุมชนจากการประชุมขององคกรทองถ่ิน เชน คณะกรรมการหมูบานอาจเกบ็ขอมูลของผูนําคนเดยีวกันนี้ในสถานที่อ่ืน เชน ที่บาน ที่วัด ที่ในเมอืง ฯลฯ 5.3 การตรวจสอบขอมูลในเวลาที่ตางกัน ไดแก การเปลีย่นชวงเวลาทีจ่ะไดรับขอมูล เชน เคยเก็บขอมูลเกีย่วกับการทํางานพัฒนาของผูนําชุมชนในหนางานพฒันาชุมชน ไดแก หนาแลงอาจเปลี่ยนเปนเก็บขอมูลเดิมในหนาฝน และหนาหนาว หรือเปล่ียนชวงเวลาในวนัหนึ่ง ๆ ที่

Mahasarakham University

Page 40: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

51

จะเก็บขอมูลทีอ่าจแปรผันไปตามชวงเวลา เชา สาย บาย เย็น เชน กิจวัตรประจําวันในงานบาน และ งานไรนาของเกษตรกรหญิง เปนตน 5.4 การตรวจสอบขอมูลโดยใชผูเก็บขอมลูที่ตางกัน ขอมูลบางอยาง เปลี่ยนแปลงไปตามคุณสมบัติของผูเก็บ เชน นักวิจยัหญิงกับนักวิจยัชายจะทําความคุนเคยและรวมวงสนทนาในบางสถานการณไดตางกัน เชน ในวงเหลา วงนินทาซุบซิบ จึงควรมีการเปลี่ยนตัวผูรับขอมูลเพื่อจะไดตรวจสอบวาไดรับขอมูลครบและตรงกันหรือไม 5.5 การตรวจสอบขอมูลกับเจาของขอมูล ถาหากความสมัพันธของผูวิจัยกับชาวบานดพีอ ชาวบานอาจตรวจสอบขอมูลที่ตนเก็บไดกับเจาของหรอืผูใหขอมูลเองโดยตรงเลยวา ขอมูลที่ไดมานั้นถูกตองแลวหรือไม ความสนิทสนมไวเนื้อเชื่อใจกันจะเปนตัวกําหนดคุณภาพ ความแมนยํา เที่ยงตรงและความเชื่อถือไดของขอมูล 6. การใชหลักจรรยาบรรณในการวจิัย การทําวิจัยเชิงคุณภาพทุกขัน้ตอนมีความเกี่ยวพันกับเรือ่งจรรยาบรรณ นับตั้งแตการเลือกหัวขอวจิัย ไปจนถึงขั้นตอนการเผยแพรผลการวิจยั จรรยาบรรณเปนเรื่องสําคัญยิ่งหากผูวิจยัละเลยจะทําใหเกิดปญหาที่รุนแรงอยางที่ไมไดคาดคิดมากอน เหตุที่การวิจัยตองเกี่ยวกับจรรยาบรรณ ก็เพราะการวจิัยมิไดทําอยูในอวกาศแตทําอยูในทามกลางผูคนในสังคม ความเกี่ยวของระหวางผูวจิัยกับผูถูกวิจัยจึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได ทรงคุณ จันทจร (2549 : 51-56) ไดเขียนหนังสือช่ือ การวิจยัเชิงคณุภาพทาง วัฒนธรรม กลาวถึง การจัดสนทนากลุม สรุปสาระไดวา เปนวิธีการเกบ็ขอมูลสนามในการศึกษาเชิงคุณภาพทางวัฒนธรรมที่คอนขางเปนวธีิใหม ในการวจิัยทางสังคมศาสตรโดยเฉพาะอยางยิ่งในการวิจัยประเมนิทัศนคติของบุคคลที่เกี่ยวของในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ วิธีการจดัสนทนากลุมประกอบไปดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ การเตรยีมตัวของผูวิจัย การเตรียมนักวิจยัผูชวย การเตรียมตัวเขาสูชุมชน และการเลือกบุคคลหรือกลุมในการศกึษา การสนทนากลุมคือการสนทนาเปนกลุม และมีประเด็นปญหาที่เฉพาะเจาะจงในการสนทนาแตละครั้ง เปนการเก็บรวบรวมขอมูลจากบุคคลตั้งแต 2 คน ขึ้นไปจนถึง 10 คน หรือ 12 คน โดยมีขอสมมุติฐานที่เหมือนกันวาเราจะรูถึงปฏิกิริยาโตตอบของคนไดอยางละเลียดลึกซึ้ง โดยกระตุนใหคนหันมาสนใจในสิ่งเดยีวกันและมาแสดงความคิดเห็นรวมกัน ซ่ึงในลักษณะการเคลื่อนไหวภายในกลุม (Group Dynamics) และผูวิจัยก็สังเกตพฤติกรรมของบุคคลในกลุมที่ศึกษา ตลอดจนบันทกึการโตตอบกนัภายในกลุมดวยการบันทกึเทปหรือการจดบันทึกเอกไวเพื่อเปนขอมูลในการวิเคราะหตอไป การสนทนากลุมที่จะไดผลดี ผูวิจยัควรดําเนนิการใหบรรยากาศเปนไปดวยความเปนกันเอง ฟงผูใหขอมูลอยางตั้งใจ ใหความสําคัญดวยทาที่ที่เปนมิตร การสนทนากลุมจะเนนความคิดเห็นของคน คําตอบจาการสนทนาไมใชคําพูดหรือน้าํเสียงอยางเดยีว แตทาทีความรูสึกที่

Mahasarakham University

Page 41: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

52

แสดงออกมาทางสีหนาประกาย ตลอดจนพฤติกรรมตาง ๆ ที่ผูสนทนาแสดงออก ถือวาเปนคําตอบเชนเดยีวกัน การสนทนากลุมจะเนนความคิดเห็นของคน ในสวนของผูดําเนินการสนทนาและคณะตองเตรียมตัวใหพรอมทั้งดานเนื่อหาของการวิจยั วัตถุประสงค ระเบียบ วิธีวจิัย อุปกรณเครื่องมือ ตองตรวจสอบสนามทุกครั้งกอนลงสนาม บริบทขององคการบริหารสวนตําบล จังหวัดอุดรธาน ี 1. บริบทของจังหวดัอุดรธานี ขอมูลทั่วไป ที่ตั้ง จังหวัดอุดรธานี ตั้งอยูภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หางจากกรุงเทพฯ ตามทางหลวงแผนดิน หมายเลข 2 ระยะทาง 564 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 11,730.302 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,331,438.75 ไร เปนจงัหวัดที่มพีื้นทีม่าก เปนอันดบั 4 ใน ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ ตั้งอยูที่เสนรุงที่ 17 องศาเหนือ เสนแวงที่ 103 องศาตะวนัออก อาณาเขต จังหวัดอุดรธานีมีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดตาง ๆ 6 จังหวัด ดังนี ้ ทิศเหนือ ติดตอกับ จังหวดัหนองคาย ทิศใต ติดตอกับ จังหวัดขอนแกนและจงัหวัดกาฬสินธุ ทิศตะวนัออก ติดตอกับ จังหวัดสกลนครและจังหวัดกาฬสินธุ ทิศตะวนัตก ติดตอกับ จังหวัดหนองบวัลําภูและจังหวดัเลย ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพืน้ที่ของจังหวดัอุดรธานี ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเปนที่ราบสูง สูงกวาระดับน้าํทะเลโดยเฉลีย่ประมาณ 187 เมตร พื้นที่เอียงลาดลงสูแมน้ําโขงทางจังหวดัหนองคาย ประกอบดวยทุงนาปาไม และภเูขา พืน้ที่สวนใหญเปนดินปนทรายและดินลูกรัง ช้ันลางเปนดินดาน ไมเก็บน้ําหรืออุมน้ําในฤดูแลง พื้นที่บางแหงเปนดินเค็ม ซ่ึงประกอบการกสิกรรมไมคอยไดผลดี พืน้ที่บางสวนเปนลูกคลื่นลอนลาด มีพื้นที่ราบแทรกอยูกระจัดกระจาย สภาพพืน้ที่ทางตะวนัตกมภีูเขาและปาติดตอกันเปนแนวยาว มีเทือกเขาทีสํ่าคัญ คือเทือกเขาภูพานทอดเปน แนวยาวตั้งแตเขตเหนอืสุดของจังหวดั ลักษณะภูมิอากาศ สภาพอากาศของจังหวดัอุดรธานี แบงออกเปน 3 ฤดู ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน และ ฤดหูนาว อากาศรอนอบอาวในฤดูรอน และหนาวเย็นมากในฤดหูนาว เดือนทีม่ีอากาศรอนอบอาวมากที่สุด คือ เดือนเมษายน และหนาวเยน็ที่สุด คือ เดือนมกราคม

Mahasarakham University

Page 42: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

53

การเมืองการปกครอง การปกครองแบงออกเปน 18 อําเภอ 2 กิ่งอําเภอ 155 ตําบล 1816 หมูบาน 54 ชุมชน 1 องคการบริหารสวนจังหวัด 1 เทศบาลนคร 29 เทศบาลตําบล 150 องคการบริหารสวนตําบล และ 3 สภาตําบล ประชากร ประชากร ณ เดือน พฤษภาคม 2549 รวมทั้งส้ิน 1,539,198 คน เปนชาย 772,889 คน เปนหญิง 766,309 คน จํานวนครัวเรือนทัง้หมด 368,543 ครัวเรือน สําหรับอําเภอที่มีประชากรมากที่สุดตามลําดับ ไ ดแก อําเภอเมือง อําเภอกุมภวาป และอําเภอบานดงุ ความหนาแนนของประชากรทั้งจังหวดัเฉลีย่ 131.216 คน : ตารางกิโลเมตร อําเภอทีม่ีความหนาแนนประชากรมาก ที่สุด คือ อําเภอเมือง 365 คน/ตารางกิโลเมตร (รวมเทศบาลนครอุดรธานี) รองลงมา ไดแก อําเภอกุมภวาป 190 คน/ตารางกิโลเมตร และกิ่งอําเภอประจักษศิลปาคม 170 คน/ตารางกิโลเมตร ขอมูลดานสังคม

การศึกษา สัดสวนครู: นักเรียน 1:21.67 จังหวัดอุดรธานแีบงเขตพื้นที่การศึกษา ออกเปน 4 เขต ดังนี ้ 1. สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาอุดรธานี เขต 1 ประกอบดวย อําเภอเมือง อําเภอเพ็ญ อําเภอหนองวัวซอ และอําเภอสรางคอม 2. สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาอุดรธานี เขต 2 ประกอบดวย อําเภอกุมภวาป อําเภอศรีธาตุ อําเภอโนนสะอาด อําเภอวังสามหมอ อําเภอหนองแสง และกิ่งอําเภอประจักษ ศิลปาคม 3. สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาอุดรธานี เขต 3 ประกอบดวย อําเภอบานดุง อําเภอหนองหาน อําเภอทุงฝน อําเภอไชยวาน อําเภอพิบูลยรักษ และกิ่งอําเภอกูแกว 4. สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาอุดรธานี เขต 4 ประกอบดวย อําเภอบานผือ อําเภอน้ําโสม อําเภอกุดจับ และอําเภอนายูง การนับถือศาสนา มีวัดทั้งส้ิน 1,966 วัด แยกเปน สังกดัคณะสงฆ มหานิกาย 1,497 แหง พระภกิษ/ุสามเณร 7,720 รูป ธรรมยุต 468 แหง พระภิกษ/ุสามเณร 3,211 รูป อนัมนิกาย 1 แหง พระภกิษ/ุสามเณร 86 รูป โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม- บาลี 46 แหง โรงเรียนพระปริยัต-ิธรรมแผนกสามัญศึกษา 18 แหง สํานักปฏิบัติธรรม 18 แหง จํานวนผูนับถือศาสนาพุทธ 1,458,202 คน โบสถ (คริสต) จํานวน 25 แหง จํานวนผูนับถือศาสนาคริสต 8,767 คน มัสยิด 1 แหง จํานวนผูนับถือศาสนาอิสลาม 393 คน ขนบธรรมเนียมประเพณี ไดแก ประเพณีสิบ-สองเดือน(ฮีตสิบสอง) การสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุข ประกอบดวย 1. ภาครัฐ โรงพยาบาล ขนาด 806/150/30 เตียง จํานวนโรงละ 1 แหง ศูนยมะเร็ง 1 แหง ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย 1 แหง ตั้งอยูในเขตอําเภอเมืองอุดรธานี

Mahasarakham University

Page 43: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

54

2. ภาครัฐ โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 90/60/30/10 เตียง มีจํานวน 18 แหง ตั้งอยูทุกอําเภอ ยกเวน กิ่งอําเภอประจกัษศิลปาคม และกิ่งอําเภอกูแกว 3. ภาครัฐ สถานีอนามัย จํานวน 209 แหง ครอบคลุมทุกตําบล รวมจํานวนเตยีงทั้งหมด 1,897 เตียง สวัสดิการสังคม มีศูนยประสานงานองคกรเอกชนประจาํจังหวดั จํานวน 60 แหง การใหประกันสงัคม และการใหบริการกองทุนประกันสงัคม ชุมชนและการรวมกลุม กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต 780 แหง สมาชิก 72,263 คน สัจจะสะสม 106,161.506 บาท ศูนยสาธิตการตลาด 86 แหง ยุงฉาง 4 แหง ธนาคารขาว 34 แหง ปมน้ํามัน 5 แหง โรงสี 4 แหง การสรางนิสัยและพัฒนาจิตใจ ลานกฬีา 139 แหง สนามกีฬา 15 แหง การประกอบอาชีพและรายได ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายไดเฉล่ีย 29,966 บาท

หนองคาย

ภาพประกอบ 3 แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตจังหวัดอดุรธานี

หนองคาย N

เลย

หนองบัวลําภู สกลนคร

ขอนแก น กาฬสินธุ

แผนที่แสดงทีต่ั้งและอาณาเขต

Mahasarakham University

Page 44: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

55

2. บริบทขององคการบริหารสวนตําบลกดุสระ อําเภอเมือง จังหวดัอดุรธานี สภาพทั่วไป ตําบลกุดสระไดยกฐานะจากสภาตําบลกุดสระขึ้นเปนองคการบริหารสวนตําบลกุดสระ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2539 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย มีพืน้ทีป่ะมาณ 60 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 37,500 ไร องคการบริหารสวนตําบลกดุสระ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานโนนยาง หมูที่ 5 ถนนอุดร – หนองคาย ตาํบลกุดสระ อําเภอเมือง จังหวัดอดุรธานี อยูติดกับถนนสายบานโนนบอ ตําบลหมูมนและบานโนนยาง ตําบลกุดสระ มีพื้นที่ประมาณ 12 ไร โดยใชงบประมาณในการ กอสรางที่ทําการและอาคารโรงจอดรถทั้งส้ิน 3,191,039.00 บาท โดยเปนงบประมาณจายขาดเงินสะสมขององคการบริหารสวนตําบลกดุสระ มีสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลที่มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด จํานวน 26 คน เปนชาย 20 คน เปนหญิง 6 คน บุคลากรในหนวยงานประจําที่ทําการ อบต. รวมทั้งส้ิน 21 คน โดยแยกเปน พนักงานสวนตําบล 5 คน ลูกจางประจํา 2 คน พนักงานจาง 14 คน รายไดขององคการบริหารสวนตําบลกุดสระ ในปที่ผานมา (ปงบประมาณ 2548) รวมทั้งส้ิน 10,901,452.98 บาท (ที่อบต. จัดเกบ็เองและสวนราชการอื่นจัดเก็บให รวมเงนิอุดหนนุ) องคการบริหารสวนตําบลกดุสระ อยูหางจากที่วาการอําเภอเมืองอุดรธานี ไป ทางทิศเหนือตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 ตอน อุดรธานี ถึงหนองคาย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีอาณาเขต ดังนี ้

ทิศเหนือ จดกับ อบต.บานขาวและอบต.นาขา อําเภอเมือง จังหวัดอดุรธานี ทิศตะวนัออก จดกับ อบต.สรางแปน อําเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี ทิศใต จดกับ อบต.สามพราวและเทศบาลตําบลหนองบวั อําเภอเมืองอุดรธานี

ทิศตะวนัตก จดกับ อบต.หมูมน และอบต.นากวาง อําเภอเมืองอุดรธานี ในเขตองคการบริหารสวนตําบลกุดสระ มีจํานวน 11 หมูบาน และมี 2 หมูบานใน

ตําบลหนองบวั คือ หมูที่ บานเดื่อ และหมูที่ 7 บานเกานอย ที่ยุบรวมสภาตําบลหนองบัวเขากับองคการบริหารสวนตําบลกดุสระ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมือ่วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2547 และไดประกาศใน พระราชกิจจานเุบกษา ฉบับประกาศทั่วไปเลมที่ 121 ตอนพิเศษ 108 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2547 และมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ภูมิประเทศ สภาพพืน้ที่องคการบริหารสวนตําบลกุดสระโดยทัว่ไป มลัีกษณะเปนที่ราบลุมสวนใหญ บางสวนเปนที่ราบสูง มีสภาพปาสวนมากเปนปาโปรง ปจจุบันสภาพปาถูก บุกรุกจากราษฎรจนทําใหไมมีสภาพปาการใชทําการเกษตรตลอดปหลงเหลืออยู และมแีหลงน้ํา เพียงพอสําหรับอุปโภค บริโภค รวมทั้งใชสําหรับการเกษตรตามฤดูกาลแตไมเพียงพอตอ

Mahasarakham University

Page 45: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

56

ภาพประกอบ 4 แผนที่ตําบลกุดสระ

Mahasarakham University

Page 46: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

57

จํานวนหมูบาน ขององคการบริหารสวนตําบลกุดสระมีทั้งหมด 14 หมูบาน ประชากร ขององคการบริหารสวนตําบลกดุสระ มีประชากรทั้งส้ิน 8,537 คน โดยแยกเปน ชาย จํานวน 4,155 คน หญิง 4,382 คน จํานวนครัวเรือน 2,349 ครัวเรือน ความหนาแนนเฉลี่ย 135.53 คน/ตารางกิโลเมตร สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพ ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพาะปลูก ไดแก การทํานาป ทําสวน มีพื้นที่ทําการเกษตรประมาณ 50 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 31,250 ไร สวนอาชีพรองของราษฎรในพื้นที่ คือ รับจางทั่วไป นอกจากนี้เกษตรกรบางสวนยังทาํการเลี้ยงสัตว และเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เพื่อการบริโภคและจาํหนายเพื่อเปนรายไดเสริมอีกดวย หนวยธุรกิจในเขตอบต.กุดสระ มีดังนี ้ รานขายเครื่องสุขภัณฑ วัสดกุอสราง จํานวน 2 แหง รานขายเครื่องเคลือบดินเผา จํานวน 1 แหง รานชุบโครเมี่ยม จํานวน 1 แหง สถานีจําหนายน้ํามันขนาดกลาง จํานวน 1 แหง ปมน้ํามันแบบมือหมุน/ปมหลอด จํานวน 7 แหง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง จํานวน 6 แหง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก จํานวน 14 แหง โรงสีขาว จํานวน 24 แหง รานอาหาร จํานวน 1 แหง รานคา (ขายของชํา) จํานวน 51 แหง อูซอมรถทั่วไป จํานวน 10 แหง สภาพสังคม การศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา จํานวน 6 แหง โรงเรียนมัธยมศึกษา จํานวน 1 แหง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี จํานวน 1 แหง ศูนยพัฒนาเดก็เล็ก จํานวน 2 แหง โรงเรียนการอาชีพเอกชน จํานวน 1 แหง ที่อานหนังสือประจําหมูบาน จํานวน 3 แหง

Mahasarakham University

Page 47: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

58

สถาบันและองคกรทางศาสนา วัด/สํานักสงฆ จํานวน 14 แหง พระสงฆ จํานวน 50 รูป การสาธารณสุข สถานีอนามัยประจําตําบล 1 แหง ความปลอดภยัในชวีิตและทรัพยสิน สถานีตํารวจชมุชน 1 แหง การบริการพื้นฐาน การคมนาคม มีถนนลูกรังและถนนลาดยางภายใน ภายนอกและระหวางหมูบาน การโทรคมนาคม มีโทรศัพทสาธารณะ จํานวน 8 แหง และโทรศัพทสวนบุคคล (ไมรวมมือถือ) 200 แหง การไฟฟา ในเขตองคการบริหารสวนตําบลกุดสระ มีไฟฟาใชครบทุกหมูบาน อัตราเฉลี่ยราษฎรที่ใชไฟฟาประมาณ รอยละ 95 แตยงัขาดหลอดไฟฟาแสงสวางตามถนนครบทุกหมูบาน แหลงน้ําธรรมชาติ ลําหวยลําน้ํา จาํนวน 11 สาย หนองน้ํา จํานวน 14 แหง บงึ จํานวน 4 แหง แหลงน้ําที่สรางขึ้น ฝายน้ําลน จํานวน 5 แหง บอน้ําตื้น จํานวน 257 แหง บอบาดาลสาธารณะ จํานวน 7 แหง บอบาดาลสวนบุคคล จํานวน 133 แหง อางเก็บน้ํา จํานวน 1 แหง ถังเกบ็น้ําฝน จํานวน 20 แหง สถานสูีบน้ําดวยไฟฟา จํานวน 1 แหง ประปาหมูบาน จํานวน 3 แหง ปาไม ปาไมในเขตตาํบลกุดสระ มีพื้นที่ปาเหลืออยูประมาณ รอยละ 10 สวนใหญเปนปาที่มีอยูในที่สาธารณะของแตละหมูบาน มสีภาพเปนปาโปรงสลับปาพุมไมมีอยูทั่วไป มวลชนสัมพันธ องคการตาง ๆ ที่มีการรวมกลุมของประชาชนในทองถ่ิน สวนใหญจะมีรูปแบบเปนการรวมกลุมที่ไดรับการจัดตั้ง และสนบัสนุนโดยหนวยงานของรัฐไดแก กลุมอาสาสมัชชาเพื่อเอาชนะยาเสพตดิ (อสส) จํานวน 330 คน กลุมประสานพลังแผนดิน จํานวน 275 คน

Mahasarakham University

Page 48: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

59

อสม อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน จํานวน 70 คน อปพร. อาสาสมัครปองกันภยัฝายพลเรือน จํานวน 100 คน กพสม. คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับหมูบาน จํานวน 99 คน กพสต. คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับตําบล จํานวน 19 คน กยม. คณะกรรมการเยาวชนระดับหมูบาน จํานวน 9 คน อช. อาสาพัฒนาชุมชน จํานวน 22 คน กลุมลูกเสือชาวบาน 3 รุน ๆ ละ 150 คน จํานวน 750 คน กลุมสหกรณการเกษตร หมูบานละ 100 - 200 คน 3. บริบทขององคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทร กิ่งอําเภอกูแกว จังหวัดอดุรธานี สภาพทั่วไป ที่ตั้ง ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทร ตั้งอยูที่หมูที ่ 4 ตําบลโนนทองอินทร กิ่งอําเภอกูแกว จังหวัดอุดรธานี ตดิกับสถานีอนามัยตําบล หางจากกิ่งอําเภอ กูแกว ประมาณ 6 กิโลเมตร หางจากศาลากลางจังหวัดอุดรธานี ประมาณ 66 กิโลเมตร มีแนวเขตติดตอกับตําบล อําเภอขางเคียง ดงันี้ ทิศเหนือ ติดตอบานคอใหญ (บานโยธา)กิ่งอําเภอกูแกว จังหวัดอดุรธานี ทิศใต ติดตอเขตตําบลจําป (อําเภอศรีธาตุ จังหวดัอุดรธานี) ทิศตะวนัออก ติดตอเขตตําบลหนองหลัก ตําบลโพนสูง (อําเภอไชยวาน จังหวดัอุดรธานี) ทิศตะวนัตก ติดตอเขตตําบลบานจีต กิ่งอําเภอกูแกว จังหวัดอดุรธาน ี เนื้อที่ ขององคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทร มีพื้นที่รวมทั้งหมด 29,063 ไร หรือประมาณ 46.50 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ เปนที่เนินสลับที่ราบ มีความสูงจากระดับน้าํทะเล ประมาณระหวาง 180- 220 เมตร มีพื้นที่ปาอุดมสมบูรณ สองแหง และมีลําหวยยาง ซ่ึงเปนแหลงน้ําธรรมชาติตัดผานจากทศิใตลงสูทิศตะวนัตกเฉียงเหนอื จํานวนหมูบาน ในเขตพื้นทีอ่งคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทร มีทั้งหมดจํานวน 8 หมูบาน ประชากร จํานวนประชากรในเขตพื้นทีอ่งคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทร มีทั้งส้ิน จํานวน 4,500 คน แยกเปนชาย 2,236 คน เปนหญงิ 2,264 คน มีความหนาแนนเฉลี่ย 97 คนตอตารางกิโลเมตร

Mahasarakham University

Page 49: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

60

ภาพป

ระกอ

บ 5

แผนท

ี่ตําบล

โนนท

องอิน

ทร

Mahasarakham University

Page 50: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

61

สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพ ประชากรในองคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทรประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน ทํานา ทําไร เล้ียงสัตว และคาขาย หนวยธุรกิจในเขตองคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทร ประกอบดวย โรงสีขาว จํานวน 5 โรง รานคา จํานวน 18 ราน ปมน้ํามันปมหลอด จํานวน 23 แหง โรงงานทําอิฐบลอก จํานวน 1 แหง โรงงานทําขนมจีน จาํนวน 1 แหง สภาพสังคม การศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 4 แหง ศูนยพัฒนาเดก็เล็ก 2 แหง ที่อานหนังสือประจําหมูบาน 3 แหง สถานบันและองคกรทางศาสนา วัด/สํานักสงฆ จํานวน 8 แหง การสาธารณสุข สถานีอนามัยประจําตําบล 1 แหง ความปลอดภยัในชวีิตและทรัพยสิน มีถังดับเพลิงเคมทีุกหมูบาน การบริการขั้นพื้นฐาน การคมนาคม ถนนสายหนองหลัก – อําเภอกุมภวาป มีรถโดยสารสองแถวประจําทางวิ่งผานหมูบานจํานวน 7 หมูบาน (หมูที่ 1,2,3,4,6,7,8) สวนหมูที่ 5 มีรถโดยสารสองแถวสีเขียววิ่งผาน ไปอําเภอศรีธาตุ จังหวดัอุดรธานี การโทรคมนาคม โทรศัพทสาธารณ จํานวน 10 เครื่อง โทรศัพทบาน จํานวน 13 แหง การไฟฟา จํานวนหมูบานทีใ่ชไฟฟาเขาถึงครบทุกหมูบาน มีจํานวนครวัเรือนที่ใชไฟฟาครบทุกครัวเรือน แหลงน้ําธรรมชาติ ลําหวย 2 สาย หนองน้ํา จํานวน 8 แหง อางเก็บน้ํา จํานวน 1 แหง แหลงน้ําที่สรางขึ้น ฝายน้ําลน จํานวน 6 แหง บอน้ําตืน้ จํานวน 4 แหง บอบาดาลมือโยก จํานวน 21 แหง ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ มีปาอนุรักษดงสีเสียด ปาอนุรักษดงกกผึง้ มวลชนจัดตั้ง ลูกเสือชาวบาน 3 รุน จํานวน 450 คน ไทยอาสาปองกันชาติ 1 รุน จํานวน 185 คน อาสาพัฒนาปองกันตนเอง จํานวน 54 คน

Mahasarakham University

Page 51: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

62

ศักยภาพในตําบล จํานวนบุคลากร 6 คน ประกอบดวย ปลัดอบต. หัวหนาสวนการคลัง หัวหนาโยธา ผูชวยเจาหนาที่การเงินและบัญชี ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ ผูชวยเจาหนาที่จัดเก็บรายได จํานวนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลที่มาจากการเลือกตั้งจากประชาชน จํานวน 16 คน รายไดขององคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนตําบลมีรายไดทั้งส้ินในปงบประมาณ 2548 จํานวน 4,355,198.5 บาท การรวมกลุมของประชาชน ประกอบดวย กลุมอาชีพ จาํนวน 9 กลุม กลุมออมทรัพย จํานวน 8 กลุม กลุมราคาชุมชน จํานวน 5 กลุม กลุมเกษตรกรฟนฟู จํานวน 1 กลุม จุดเดนของพื้นที่ที่เอื้อตอการพัฒนา พื้นที่องคการบริหารสวนตําบลโนนทองอินทร โดยภาพรวมทั้งหมดถอืวา เปนพืน้ทีท่ี่มีลักษณะภูมิประเทศเอื้อตอการพัฒนาในดานตาง ๆ ไดดีพอสมควร โดยในแตละหมูบานมีแหลงน้ําธรรมชาติ ที่สําคัญไหลตัดผานเก็บน้ําไดตลอดป ซ่ึงเปนหัวใจสําคัญในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และยังมีปาไมที่คงความอุดมสมบูรณ จํานวน 2 แหง คอื ปาอนุรักษดงกกผึ้งและปาอนุรักษดงสีเสยีด ที่ใชเปนแหลงเสริมสรางปจจัยส่ีใหคนในชุมชน มีเสนทางคมนาคมใชสัญจรติดตอคาขายกับตําบล อําเภอ ขางเคยีงไดทกุดาน ประกอบกับประชาชนในพืน้ที่มีการสงเสริมและรักษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของทองถ่ินอยางเครงครัด และปลูกฝงใหแก ลูกหลานเยาวชนรุนหลังใหมีสืบไป งานวิจัยท่ีเก่ียวของ 1. งานวิจยัในประเทศ มีงานวิจยัในประเทศที่เกีย่วกบัองคการบริหารสวนตําบล ที่กลาวถึงวฒันธรรมการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลไว ดังนี ้ อัจฉริยา ชูวงศเลิศ (2540 : 95) ที่วาเพื่อใหองคการบรหิารสวนตําบล สนองนโยบายกระจายอํานาจและมีความสามารถในการตอบสนองความตองการของประชาชน จะตองเพิ่มรายไดใหกับงคการบริหารสวนตําบลและใหมีอิสระในการบริหารงบประมาณมากกวานี ้ โชคชัย เทวานฤมิตร (2543 : 9-12 ) ไดศึกษาวัฒนธรรมกับการพฒันาหมูบาน สวายสอ ตําบลเมืองไผ อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย สรุปสาระไดวา

Mahasarakham University

Page 52: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

63

ความมุงหมายของการวิจยั เพื่อศึกษาวัฒนธรรมของชาวบานสวายสอ ตําบลเมืองไผ อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย ที่มีผลกระทบตอการพฒันาหมูบาน วิธีดําเนนิการวิจัย ของงานวจิัยช้ินนี้ ผูวิจยัไดศกึษาเอกสารทางวิชาการจากหองสมุดตาง ๆ เพื่อใหไดขอมูลพื้นฐาน และศึกษาภาคสนาม โดยใชเครื่องมอื เปนการสังเกต และการสัมภาษณ ผลการวิจัยพบวา ชาวบานสวายสอ เปนคนไทยที่มีเชื้อสายเขมรและวัฒนธรรมแบบเขมร มีประชากร ทั้งหมด 481 คน ประชากรเกือบทั้งหมดมีอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม อาชีพรองไดแก อาชีพรับจาง หมูบานสวายสอมีปญหาคลายกับหมูบานชนบทยากจนทั่วไป มีขนบธรรมเนียม วฒันธรรมประเพณีที่เปนเอกลักษณ ซ่ึงเปนผลจากการปฏิบัติที่สืบทอดตอกันมาเปนระยะ เวลานาน มีรากฐานมาจากความคิด ความเชื่อ ในศาสนาพุทธแบบชาวบาน และศาสนาพราหมณที่ปรากฏอยูในประเพณีพิธีกรรมตาง ๆ ของชาวบาน เชน การนับถือผีบรรพบุรุษ การเลน แม - มวด การโกนจุก การแตงงาน และประเพณีงานศพ รวมถึงระเบียบ แบบแผนทางสังคมของชาวเขมรในเรื่องการดูฤกษ ยาม เพื่อเปนแนวทางในการประกอบพิธีกรรมตามประเพณีนิยม การเดินทางไกลหรือการทํางาน ฯลฯ ลักษณะการเขารวมกิจกรรมของชาวบานสวายสอ โดยสวนใหญเปนไปเพือ่ประโยชนเพยีงฝายเดยีว ทัง้นี้เพราะชาวบานขาดความไววางใจซึ่งกนัและกนั การรวมกลุมของชาวบานที่ประสบผลสําเร็จนั้นมักไดรับการชักชวนจาก พระสงฆ รองลงมาไดแก เจาหนาที่สวนราชการในทองถ่ิน เชน คร ู เจาหนาที่สาธารณสุข ลักษณะการรวมกลุมของชาวบานโดยสวนใหญจะเปนการรวมกลุมแบบไมมกีลุมถาวร (Permanent Group) เชน การทําบุญ การรวมพิธีกรรมตามประเพณีตาง ๆ เมื่อเสร็จสิ้นก็จะแยกยายไป พฤติกรรมโดยสวนรวมของ ชาวบานสวายสอ ไดรับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมจึงเปนผลกระทบตอการพัฒนาหมูบาน ทั้งใน ดานปจจัยที่สงเสรมิการพัฒนาหมูบานและปจจัยที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาหมูบาน ทศพร แตงพงษ (2548 : 2, 19-22) ไดศึกษาการศึกษาการดําเนินงานของ สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิตามความคิดเห็นของบุคลากรสังกัดสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการศึกษาคนควา เพื่อศึกษาการดําเนนิงานของสํานกังาน วัฒนธรรมชัยภูมิ ตามความคิดเห็นของบคุลากรสังกัดสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดชยัภูมิ วิธีดําเนนิการศึกษาคนควา ศึกษาจาก บุคลากรในสํานักงานวัฒนธรรมจังหวดัชัยภมูิ ประธานสภาวัฒนธรรม รองประธานสภาวัฒนธรรม เลขาธิการสภาวัฒนธรรม และสมาชิกสภาวฒันธรรม เครื่องที่ใชในการศึกษาคนควา เปนแบบสอบถาม แบงเปน 3 ตอน ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป ตอนที่ การดําเนินงานสักงานวัฒนธรรมจังหวดัชัยภมูิ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคดิเห็นและขอเสนอแนะซึ่งผูศึกษาไดสรางโดยนาํภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรมที่สํานักงานวัฒนธรรมจังหวดั จะตองดําเนินการในสวนพื้นที่มาเปนตวัช้ีวดัในการศกึษาครั้งนี้ทั้ง 5 ดาน ผลการศึกษาคนควาพบวา การดําเนินงานของ

Mahasarakham University

Page 53: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

64

สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ ตามความคิดเห็นของบุคลากรสังกัดสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ ผลการศึกษาพบวา บุคลากรเห็นวาการดําเนินงานของ สํานักงานวัฒนธรรมจังหวดัชัยภมูิ ในภาพรวมและรายดานทกุดานอยูในระดับปานกลาง เมื่อพจิารณาเปนรายขออยูในระดบัมาก มี 6 ขอ ไดแก การจัดงานวันอนุรักษมรดกไทย หัวหนาหนวยงานมีวิสัยทัศน มีลักษณะความเปนผูนํา มีความคิดริเร่ิมมีมนุษยสัมพนัธที่ดี สามารถประสานการปฏิบัติงานใหเกิดผลสําเร็จไดดี มีการจดังานประเพณแีละวฒันธรรมทองถ่ิน สํานักงานจัดใหมีบรรยากาศในการปฏิบัติงาน มีหองประชุม อุปกรณที่ปฏิบัติงานมีความสมบูรณเพียงพอ บุคลากรมีความรัก ความสามัคคี มีน้ําใจ ภักดตีอหนวยงาน มีศกัยภาพในการปฏิบัติงานและมีการจัดกิจกรรมรณรงครักษาวัฒนธรรม โดยสรุปการดําเนินงานของสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ โดยรวมอยูในระดับปานกลาง แตควรมีการสนับสนุนในดานงบประมาณ วัสดุอุปกรณ สวัสดิการรวมทั้งสงเสริมขวัญและกําลังใจเพื่อการปฏิบัติงานใหดีขึ้นไป นงเยาว ปฏกรัชต (2532 : 6, 39-44) ไดศึกษาบทบาทของพระสงฆในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบาน: ศึกษาเฉพาะจังหวดัสงขลา สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการวิจยั 1) เพื่อศึกษาบทบาทในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานของพระสงฆในจงัหวัดสงขลา 2) เพื่อเปรียบเทยีบบทบาทในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานของพระสงฆในจังหวดัสงขลาที่มีความแตกตางกันในดานอายุ ตามปปฏิทินอายุพรรษา วุฒิการศึกษาทางคณะสงฆ วุฒิการศึกษาตามหลักสูตรทางโลก สมณศักดิ์ พระสังฆาธิการ และภูมิลําเนา 3) เพื่อศึกษาปญหาและขอเสนอแนะในการสงเสริมวัฒนธรรมพืน้บานของพระสงในจังหวดัสงขลา วิธีดําเนินการวิจัย ผูวิจัยใชประชากรที่เปนพระสงฆในจงัหวัดสงขลา ใชเครื่องมือเปนแบบสอบถาม แบงเปน 3 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับรายละเอียดสวนตัวของผูตอบ ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับ บทบาทพระสงฆในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบาน ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปญหาและขอเสนอแนะในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานเปนคําถามปลายเปด โดยใหผูตอบแบบสอบถามไดแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่น ๆ เพื่อนําไปใชประกอบการอภิปราย ผลการวิจัยพบวา พระสงฆในจงัหวัดสงขลามบีทบาทตอการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานอยูในระดับปานกลาง สวนการเปรียบเทียบความแตกตางของบทบาทสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานตามสถานภาพสวนบุคคลของพระสงฆปรากฎผลวา พระสงฆที่มีอายุตามปปฏิทินมากจะมีบทบาทในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานมากกวาพระสงฆทีม่ีอายุตามปปฏิทินนอย พระสงฆที่มีอายพุรรษามากจะมีบทบาทในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานมากกวาพระสงฆที่มีอายุพรรษานอย พระสงฆที่มีวฒุิทางการศึกษาสูงจะมีบทบาทในการ สงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานมากกวาพระสงฆที่มีวุฒิทางการศึกษานอย พระสงฆที่มีวฒุิการศึกษาตามหลักสูตรทางโลกต่ําจะมีบทบาทในการสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานมาก

Mahasarakham University

Page 54: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

65

กวาพระสงฆที่มีวุฒิการศึกษาตามหลักสตูรทางโลกสูง พระสงฆที่สมณศักดิจ์ะมีบทบาทใน การสงเสริมวัฒนธรรมพื้นบานมากกวาพระสงฆที่ไมมีสมณศักดิ์ และพระสงฆที่มีตําแหนงพระสังฆาธิการจะมีบทบาทในการสงเสริมวัฒนธรรมพืน้บานมากกวาพระสงฆที่ไมมีตําแหนงพระสังฆาธิการ นเรศน เขียวพรหม (2545 : 8-10) ไดศกึษาบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลในการสงเสริมการพัฒนาองคกร : ศึกษากรณีตําบลโนนแดง อําเภอเมือง จังหวดัมหาสารคาม สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1) เพือ่ศึกษาบทบาทขององคกรที่มีอยูในเขต พื้นที่ตําบลโนนแดง อําเภอบรบอื จังหวดัมหาสารคาม 2) เพื่อศึกษาบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลในการสงเสริมการพัฒนาองคกรกรณีศึกษาตําบลโนนแดง อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ผูศึกษาคนควาศึกษาจากเอกสารเพื่อศึกษาความรูทั่วไป เกี่ยวกับบทบาทขององคกรภายในชุมชน บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลในการสงเสริมการพัฒนาองคกร โดยศกึษาจาก สํานกัวิทยบริการของมหาวิทยาลัย หลายแหง ศกึษาภาคสนาม โดยใชเครื่องมือเปนการสังเกต และการสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง ผลการศึกษาคนควาพบวา องคกรในเขตพื้นที่ตําบลโนนแดง อําเภอบรบือ จังหวดัมหาสารคาม มี 5 องคกร คือ กลุมสหกรณหมูบาน กลุมออมทรัพย กลุมแมบาน กลุมเยาวชน และกลุมอาชีพ ทั้ง 5 องคกร ไดรับการสงเสริมงบประมาณใหกับทุกองคกร องคกรละ 200,000 บาทตอป โดยกําหนดลงในแผนพัฒนา บทบาทในการสงเสริมดานวสัดุ ครุภัณฑ มีการจัดสรรวสัดุ ครุภัณฑเบื้องตนที่มีความจําเปนตอ การดําเนนิงานครบทุกองคกร สวนบทบาทในการสงเสริมดานบริหารจัดการมีการจัดอบรมสัมมนาเกี่ยวกับการจดัการใหกับสมาชิกทุกองคกรเกิดความรูนําไปใช สําหรับบทบาทในการสงเสริมดาน การมีสวนรวมของประชาชนใหการฝกอบรม สัมมนา และการจัดการแขงขันกีฬาตําบล ซ่ึงไดรับความรวมมือจากสมาชิกองคกรและประชาชนทั่วไปเปนอยางดี วิวัชน นาคุณทรง (2547 : 6, 46-48) ไดศึกษาการศึกษากระบวนการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สรุปสาระ ไดวา ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารงานของ องคการบริหารสวนตําบล อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียนความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกระบวนการบรหิารงานขององคการบริหารสวนตําบล อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โดยรวมและรายดาน ของบคุลากรทั้งฝายบริหารและผูปฏิบัติงานในองคการบริหารสวนตําบล ที่มีเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ การปฏบิัติงานในองคการบริหารสวนตําบล ตางกนั วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ศึกษาจากประชากร ไดแกบคุลากรองคการบริหารสวนตําบล เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควาใชแบบสอบถาม 2 ชุด ชุดที่ 1 ถามบุคลากรฝายบริหารองคการบริหารสวนตําบล ชุดที่ 2 ถามบุคลากรผูปฏิบัติงานในองคการบริหารสวนตําบล ผลการศึกษาคนควาพบวา บุคลากรฝายบริหารและผูปฏิบัติงานในองคการบริหารสวนตําบล ทั้งเพศชายและเพศหญิง มคีวามคิดเหน็เกี่ยวกับ

Mahasarakham University

Page 55: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

66

กระบวนการบริหารงานขององคกรบริหารสวนตําบล โดยรวมและรายดานทุกดาน อยูในระดับมาก และไมแตกตางกัน พระมหาจนัเตมิ มะเดื่อ (2546 : 4, 32-33) ไดศึกษาประสิทธิภาพในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล : ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอคอวัง จังหวัดยโสธร สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการศึกษา 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการบริหารงานของ องคการบริหารสวนตําบล ในเขตอําเภอคอวัง จังหวัดยโสธร 2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอคอวัง จังหวัดยโสธร ตามความคิดเห็นของสมาช ิกองคการบริหารสวนตําบล ที่มีความแตกตางในเรื่อง อายุ ระดบัการศึกษา และอาชีพ 3) เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอคอวัง จังหวดัยโสธร วิธีดําเนนิการศึกษาคนควา ผูศึกษาคนควาศึกษาจากประชากรซึ่งไดแกสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควาผูศึกษาคนควาใชแบบสอบถาม ซ่ึงแบงเปน 4 ตอน ตอนที่ 1 ถามขอมูลสวนบุคคลของสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล ตอนที่ 2 ถามเกี่ยวกับปจจัยที่เกี่ยวกับองคการบริหารสวนตําบล ไดแก งบประมาณ รายได และอัตรากําลัง ตอนที่ 3 ถามเกี่ยวกบัประสิทธิภาพในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล ตอนที่ 4 ถามเกี่ยวกบัปญหาและอุปสรรคการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล ผลการศึกษาพบวา สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล อําเภอคอวัง จังหวัดยโสธร มีความคิดเห็นเกีย่วกับประสิทธิภาพในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล โดยรวมอยูในระดับมากทุกดาน และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยความคิดเห็นจากมากที่สุดไปหานอยที่สุด คือ ดานการปรับปรุงงานอยางตอเนื่อง ดานการกําหนดวัตถุประสงคเปาหมายองคกร ดานการจัดทําขอมลูตกลงเพื่อใหรับรูถึงเปาหมาย ดานการกําหนดตัวช้ีวดัการบรรลุเปาหมายและผลการปฏิบัติงาน ดานการจดัวางกลไกการตรวจสอบ ดานการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการวดัและ การประเมินผลงาน และดานการใหรางวัลและการยกยอง ตามลําดบั ปญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล โดยรวม พบวา พนักงาน/ลูกจาง/สมาชิกองคการ-บริหารสวนตําบล ขาดความรูความสามารถและประสบการณในการปฏิบัติงาน ขาดความเขาใจ กฎระเบยีบ ขอบังคับ มีวุฒิการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี มีความขัดแยงระหวางผูบิหารสภาองคการ-บริหารสวนตําบล ซ่ึงสวนใหญอันเนื่องจากการปฏิบัติงานที่ทุจริต และมีการบริหารงานที่ไมมีความโปรงใส มุงเขาไปเพื่อที่จะแสวงหาผลประโยชนมากกวาการที่จะพัฒนาทองถ่ินของตนเองใหเจริญอยางแทจริง และประชาชนในพืน้ที่ยังขาดความรูความเขาใจที่เกี่ยวกับรูปแบบ โครงสราง และอํานาจหนาที่ มีสวนรวมในการปกครองทองถ่ินอยางจํากัดทั้งทางดานติดตามและตรวจสอบ

Mahasarakham University

Page 56: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

67

มนูญชัย ทัพเจริญ (2541 : 5, 55-57) ไดศึกษาคนการดาํเนินงานสงเสริมการศึกษา ศาสนา และวฒันธรรมขององคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอเมอืง จังหวดัมหาสารคาม สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1) เพื่อศึกษาการดําเนินงานสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวฒันธรรมขององคการบริหารสวนตําบล โดยภาพรวมและเปนรายดาน ในเขตอําเภอเมือง จังหวดัมหาสารคาม 2) เพื่อเปรียบเทียบการดําเนินงานสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมขององคการบริหารสวนตําบล โดยภาพรวมและเปนรายดาน ในเขตอําเภอเมือง จังหวดัมหาสารคาม ตามความคิดเหน็ของสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ในเขตอําเภอเมอืง จังหวดัมหาสารคาม วิธีดําเนนิการศึกษาคนควา ศึกษาจากประชากรซึ่งเปนสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยใชเครื่องในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม จํานวน 1 ชุด แบงเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 สอบถามเกี่ยวกับการดําเนินงานสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวฒันธรรมขององคการบริหารสวนตําบล ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ผลการศึกษาคนควาพบวา สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล โดยรวมและจําแนกตามประเภทสมาชิก การดําเนินงานสงเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของ องคการบริหารสวนตําบล โดยภาพรวมและเปนรายดานทกุดานอยูในระดับมาก โดยเรยีงลําดบัคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย คือ ดานวัฒนธรรม ดานการศึกษา และดานศาสนา สมาชิกองคการบริหาร สวนตําบลมีสถานภาพตางกันแตการดําเนินงานสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมขององคการบริหารสวนตําบล โดยรวมและเปนรายดาน ไมแตกตางกัน วิชิต โพธาราม (2547 : 4 , 40-41) ไดศึกษาการศึกษาการดําเนินงานของเทศบาลตําบลในเขตจงัหวัดรอยเอ็ด สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการศึกษา 1) เพื่อศึกษาระดับการดําเนินงานของเทศบาลในเขตจังหวดัรอยเอด็ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทยีบระดับการดําเนินงานของเทศบาลตําบลเกี่ยวกับบุคลากรที่มีความแตกตางในดานเพศ ระดับการศึกษา และตําแหนง วิธีดําเนนิการศึกษาคนควา ศึกษาจาก ประชากร คือบุคลากรที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตําบลในเขตจังหวดัรอยเอ็ด 16 แหง โดยใชเครื่องมอืเปนแบบสอบถามจํานวน 1 ชุด แบงเปน 3 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ถามขอมูลทั่วไป ประกอบดวย เพศ ระดบัการศึกษา และตําแหนง สวนที่ 2 ถามการดําเนินงานของเทศบาลตําบลในเขตจังหวัดรอยเอ็ด ในดานตาง ๆ ของการดําเนินงาน สวนที่ 3 ถามขอเสนอแนะอื่น ๆ เกี่ยวกับการดําเนินงานในดานบุคลากร ดานงบประมาณ ดานเครื่องมือวัสดุอุปกรณ และดานบรหิารจัดการ ผลการศึกษาพบวา ผลการศึกษาผลการดําเนินงานของเทศบาลตําบลในเขตจังหวดัรอยเอ็ด ทั้ง 4 ดาน ไดแก ดานบุคลากร ดานงบประมาณ ดานเครื่องมือวัสดุอุปกรณ และดานบรหิารจัดการมีผลการดําเนินงาน อยูในระดับปานกลาง โดยพิจารณาผลการดําเนินงานเปนรายดาน มีคาเฉลีย่จากมากไปหานอย คือ

Mahasarakham University

Page 57: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

68

ดานงบประมาณ รองลงมาคือ ดานการบริหารจัดการ ดานบุคลากรและ ดานเครื่องมือวัสดุอุปกรณ บุคลากรเพศหญิงจะมีผลการดําเนินงานโดยรวมและการใชเครื่องมือวสัดุอุปกรณของเทศบาลตําบลมากกวาเพศชาย สรรเพชร พลอยสังวาลย (2541 : 4, 19) ไดศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของ ขาราชการระดบัอําเภอ ศึกษาเฉพาะกรณี อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการวิจยั 1) เพื่อศึกษาระดับวัฒนธรรมทางการเมือง แบบประชาธปิไตยของขาราชการอําเภอเขาวง โดยภาพรวม 2) เพื่อเปรียบเทียบระดบัวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของขาราชการอําเภอเขาวง จังหวดักาฬสนิธุ วิธีดําเนนิการวิจยั ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวกับทฤษฎีและแนวคดิที่เกีย่วของกับการวิจยั วิธีการวิจยัภาคสนาม โดยใชการสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง ผลการวิจัยพบวา ระดับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของขาราชการ อําเภอเขาวง จังหวดักาฬสนิธุ สวนมากอยูในระดับเปนที่นาพอใจ ซ่ึงถือวาเปนการรักษาวฒันธรรมทางการเมือง ที่กอใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติของขาราชการในอําเภอเขาวงไดเปนอยางดีและนาจะเปนประโยชนตอการวางนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกบัการเสริมสรางการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีขาราชการระดับอําเภอเปนกลไกสําคัญ เสด็จ หมวดนา (2541 : 8-10) ไดศึกษาศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบลในการพัฒนาตําบล : ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลนาหนัง อําเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการวิจยั การวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยมีความุงหมายเพื่อศึกษาศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบลในการพัฒนาตําบลนาหนัง อําเภอโพนพสัิย จังหวัดหนองคาย วิธีดําเนนิการวิจัย ศกึษาจากเอกสารเพื่อใหทราบถึงความเปนมาของตําบลและการพฒันาตําบลตั้งแต เร่ิมจัดตั้งจนถงึปจจุบัน การศึกษาภาคสนาม โดยใชเครื่องมือ แบบสังเกตแบบมีสวนรวม และ แบบสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง ผลการวิจัยพบวา โดยภาพรวมการพัฒนาขององคการบริหาร สวนตําบลนาหนัง มีศักยภาพดานบุคลากร ดานการบริหารจดัการ ดานสภาพแวดลอมและไดระบความชวยเหลือสนับสนุนจากองคกรภายนอกเปนอยางดี แตศักยภาพที่ยังขาดหรือไมเอื้อตอการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลนาหนัง คือดานรายไดและงบประมาณ และดานวัสดุ ครุภัณฑ ยังขาดไมเพียงพอตอการใชงาน สมพันธ เตชะอธิก และคณะ (2544 : 9) ไดศึกษาองคการบริหารสวนตําบล สงเสริมประเพณีทองถ่ิน โดยอุดหนุนงบประมาณในการฟนฟูประเพณีดั้งเดิม แมวาองคการบริหาร สวนตําบลจะมีบทบาทหนาที่ครอบคลุมปญหาและงานพัฒนาแทบทกุดาน แตปรากฏวา องคการ บริหารสวนตําบลสวนใหญเนนงานดานโครงสรางพื้นฐานเปนหลักและอาจมีการกลาวขานถึง การตรวจสอบความโปรงใสในการใชจายเงินงบประมาณ จึงตองมีแนวคิดหลักทีเ่สริมสราง ความเขมแข็ง และเสริมสรางพฤติกรรมวฒันธรรมองคกรใหแกองคการบริหารสวนตําบล โดยการ

Mahasarakham University

Page 58: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

69

พัฒนาตัวองคการบริหารสวนตําบลเอง ใหมี ความรู ความสามารถ มีประสบการณ มีกระบวนการวางแผน อยางมีสวนรวม อยางมีขั้นตอนที่สามารถนําไปใชได ในการวางแผนและการจดัทํางบประมาณ ได ครอบคลุมปญหาทางวัฒนธรรมสําคัญ ๆ ของตําบล และการรวมพลังสรางสรรควัฒนธรรมของตําบล ใหเปนวิถีชีวิตที่ดี เปนขนบธรรมเนียมประเพณีตาง ๆ ที่เกี่ยวกับชวีิต โดยการประกอบกิจกรรม พิธีกรรม หรือการเจรจา การที่องคกรมีวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานที่ดียังกอใหเกดิ การประพฤติ ปฏิบัติที่อยูในระเบียบ มีความเคารพและใหเกยีรติซ่ึงกันและกัน มีความรักสามัคคี เปนอันหนึ่งอัน เดียว มีความเชื่อ มีสภาพความรูสึก นึกคิด สภาพทางจิตใจที่จะกระทําแตความดี การเสียสละรวมกนั มีการประกอบพิธีและกิจกรรมทางดานวัฒนธรรมตาง ๆ รวมกัน วิทยา ประวะโข (2545 : 90) ไดศึกษาองคการบริหารสวนตําบลเปนหนวยงาน บริหารราชารสวนทองถ่ินทีสั่มพันธใกลชิดกับประชาชนในทองถ่ิน ทําใหมีการรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับการประกอบอาชีพและภูมิปญญาทองถ่ิน และจดัลําดับความตองการในการสงเสริม วัฒนธรรมในทองถ่ิน มีการสนับสนุนงบประมาณ และจัดระดมทุนเพื่อสงเสริมกิจกรรมดาน วัฒนธรรม อีกทั้งสนับสนุนการนําภูมิปญญาทองถ่ินมาใชใหเปนประโยชน ในการเปนแหลงความรู ดานวัฒนธรรมทองถ่ิน สืบเนื่องจากคานยิมของการเปนสังคมที่เปดรับอิทธิพลและคานิยมจาก ภายนอกผานสื่อตาง ๆ โดยขาดการกลั่นกรองในการนาํมาใชอยางรอบคอบ อุปกรณ ดีเสมอ (2547 : 5, 59-60) ไดศึกษาปญหาการดําเนินงานขององคการบริหารสวนจังหวัดรอยเอ็ด สรุปสาระไดวา

ความมุงหมายของการศึกษา 1) เพื่อศึกษาปญหาการดําเนนิงานขององคการบริหารสวนจังหวัดรอยเอ็ด ในดานการบริหารบุคคล การบริหารงบประมาณ และการจดัทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวัดผลการศึกษาคนควาพบวาปญหาการดําเนนิงานขององคการบริหารสวนจังหวดัรอยเอด็ 2) เพื่อเปรียบเทียบปญหาในการดําเนนิงานขององคการบริหารสวนจังหวัดรอยเอ็ด ทั้ง 3 ดาน ตามความคิเห็นของบคุลากรขององคการบริหารสวนจังหวดัที่มคีวามแตกตางกันในเรื่องเพศ และระดับการศึกษา 3) เพื่อศกึษาแนวทางการแกไขปญหาการดําเนินงานขององคการ

บริหารสวนจังหวัดรอยเอด็ วธีิดําเนินการศกึษาคนควา ศกึษาจากประชากร ไดแก บุคลากรของ องคการบริหารสวนจังหวัดรอยเอ็ด โดยใชเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม จํานวน 1 ชุด แบงเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ถามเกี่ยวกับขอมูลเบื้องตนของผูตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 ถามเกี่ยวกับ ปญหาการดําเนินงานและแนวทางการแกไข ขององคการบริหารสวนจังหวดัรอยเอ็ด ผลการศึกษา พบวาโดยรวมและรายดาน อยูในระดับมาก เรียงลําดับคาเฉลี่ยมากไปนอย คือ ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารบุคคล และดานการวางแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวดั ขอทีม่ีปญหามาก คือ การบริหารงบประมาณ ซ่ึงประกอบดวยงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรเปนรายได ไมเพียงพอตอการนําไปพัฒนาทองถ่ินในทุกดาน การจดัทํางบประมาณรายจาย

Mahasarakham University

Page 59: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

70

ประจําป หรือเพิ่มเติม ตองเปนไปตามแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวดั แผนพฒันาองคการบริหารสวนจังหวัดขาดความทันสมัยทันตอเหตุการณ การบริหารงบประมาณของการตดิตามและประเมินผลการใชจายเงนิอยางมีประสิทธิภาพ จึงทําใหการตั้งงบประมาณในปตอไปเปนไปในแนวทางเดิมและการจดัทําบริหารงบประมาณมีขั้นตอนยุงยากและสลับซับซอน จึงทําใหการตรวจสอบ ไมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล พัชราศิณี ศิริโกมุท (2547 : 5, 29-33) ไดศึกษาการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตาํบลที่กอใหเกดิการมสีวนรวมของประชาชนในการพัฒนาทองถ่ิน : ศึกษากรณ ีอําเภอโกสุมพสัิย จังหวดัมหาสารคาม สรุปสาระไดวา ความมุงหมายของการศึกษา 1) เพื่อศึกษาการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบล ในเขตอาํเภอโกสุมพิสัยจังหวัดมหาสารคาม ที่กอใหเกดิการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาทองถ่ิน 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีสาวนรวมในการพัฒนาทิองถ่ินระหวางสมาชกิองคการบริหารสวนตําบลและกลุมผูนําชุมชนในเขตอําเภอโกสุมพิสัย จังหวดัมหาสารคาม 3) เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคตอการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลในการพัฒนาทองถ่ินแบบมีสวนรวม วิธีดําเนนิการศึกษา ผูวจิัยศกึษาจากประชากร คือ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลและกลุมผูนําประชาชน จาก จํานวน 17 องคการบริหารสวนตําบล ในอําเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม โดยใชเครื่องมือเปนแบบสอบถาม จํานวน 1 ชุด แบงเปน 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ถามขอมูลทั่วไปของ ผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ถามการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลในการพัฒนาทองถ่ินและมีสวนรวม ตอนที่ 3 ถามลักษณะกิจกรรมหรือระดับการมสีวนรวมตอการพัฒนาทองถ่ิน ตอนที่ 4 ปญหาและอุปสรรคในการมีสวนรวมตอการพัฒนาทองถ่ิน ประกอบดวย 4 ดาน คือ ดานการตัดสินใจในการพัฒนา ดานการปฏิบัติการในการพัฒนา ดานการรับประโยชนจาการพฒันา และดานการประเมินผลการพัฒนา ลักษณะการถามเปนแบบปลายเปด ผลการศึกษา พบวา องคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอโกสุมพสัิย จังหวัดมหาสารคาม มีการดําเนินการเพือ่กอใหกิดการมีสวนรวมในการพัฒนาทองถ่ินปานกลาง และสาเหตุสําคัญที่ทําใหการมีสวนรวมในการพัฒนาทอถ่ินมีไมมากนัก ไดแก ประชาชนมีโอกาสรับทราบขาวสารการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลนอย หากองคการบริหารสวนตําบลมีการเพิ่มการสื่อสารประชาสัมพันธกับชุมชนเพิ่มมากขึ้นแลว จะสามารถกระตุนประชาชนใหเขามรวมพัฒนาทองถ่ินของตนเองไดมากยิง่ขึ้น 2. งานวิจยัตางประเทศ มีงานวิจยัตางประเทศที่เกีย่วกับองคการบริหารสวนตําบล ที่กลาวถึงวฒันธรรมการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลไว ดงันี้ ชี และคณะ (Chee and others. 2002 : 347-360) ไดศึกษาเพื่อตรวจสอบ วัฒนธรรมองคกรของบริษัทการบัญชีสาธารณะที่มีขอมูลจากบริษัทการบัญชีระหวางประเทศทีร่วม

Mahasarakham University

Page 60: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

71

กิจการของสหรัฐในไตหวนั และบริษัททองถ่ินของชาวไตหวัน ทําการทดสอบสมมติฐานเกีย่วกับผลกระทบของวัฒนธรรมแมแหงชาติของบริษัทสหรัฐที่มีตอการยุบรวมของชาวไตหวันเอง และเกี่ยวกับความแตกตางทางวฒันธรรมขามหนาที่และขามตําแหนง การศึกษาครั้งนี้ไดขยายงานวจิยัที่มีมากอนโดย1) การตรวจสอบประเทศตะวันออกประเทศหนึ่งซ่ึงวัฒนธรรมของประเทศนั้น มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญจากวัฒนธรรมของสหรัฐ 2) การใชแบบวดัของ Hofstede,G. ; Neuijen, .B. ; Ohayv, D. D. ; และ Sanders, G. (1990) วัดวัฒนธรรมองคกร : การศกึษาเชิงคณุภาพแลเชิงปริมาณทั่วทั้ง 20 กรณี วาสารรายไตรมาส “ศาสตรการบริหาร” , 35, 286-316 แบบวัดวัฒนธรรมองคกรที่อาศัยการปฏิบัติเปนฐาน และ 3) กสนตรวจสอบความสําคัญของความเหมาะสมระหวางความชอบของลูกจางกับวฒันธรรมองคืกรตอไป ผลการศึกษาพบวา สนับสนุนผลกระทบทางวัฒนธรรมและตรงกับ สมมติฐาน นอกจากนีใ้นขณะที่พบวา วัฒนธรรมเมื่อเทียบกันแลวกลมกลืนเปนอันหนึ่งอันเดียวกนัตามหนาที่ สวนการขามตําแหนงพบวามีความแตกตางกัน ไซเลอร (Syler. 2003 : 2171-A) ไดศึกษาเพื่อนําเสนอรูปแบบเพื่อการตรวจสอบผลของความเหมาะสมระหวางลักษณะของวัฒนธรรมองคกรกับปจจัยของความยดืหยุนของสิ่งอํานวยความสะดวกขัน้พื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของบริษัท และประสิทธิผลของระบบสารสนเทศ ในการศึกษาใชการจัดรูปแบบตัวแปรแฝงกําลังสองในสวนนอยที่สุดเพื่อวิเคาะหขอมูลที่เกบ็รวบรวมจากบริษัทขนาดกลางถึงขนาดใหญในสหรัฐ ภาคตะวันออกเฉียงใต เพื่อตรวจสอบผลของความเหมาะสม และเพื่อตรวจสอบความสัมพันธเชิงประจักษระหวางลักษณะของวัฒนธรรมองคกรกับการปฏิบัติงานของบริษัท และปจจัยความยดืหยุนของสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ และประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ ขอคนพบของการศึกษาคร้ังนี้ช้ีแนะวามีความสําคัญตอการปฏิบัติงานของบริษัทที่มีความสามารถในการปรับตัวได ซ่ึงมีความสัมพันธโดยตรงอยางมีนัยสําคัญกับการปฏิบัติงานของบริษัทความยืดหยุนของสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ แสดงใหเห็นถึงความสมัพันธอยางมนีัยสําคัญกับประสิทธิผลของระบบสารสนเทศ ซ่ึงมีทั้งการบูรณาการและความรูทางเทคนิค และทักษะทีแ่สดงใหเห็นความสัมพันธโดยตรงกับประสิทธิผลของระบบสารสนเทศ ผลการศึกษาทําใหไดสารสนเทศที่มีคุณคาตอนักศกึษา และนักปฏิบัติ และทําใหไดกรอบสําหรับการวิจยัคร้ังตอไป รวมทั้งไดหลักฐานยืนยนัวา สามารถนําไปสูขอสรุปที่กําหนดไวสําหรับนกัปฏิบัติ ชิน-ลอย (Chin-Loy. 2004 : 3750-A) ไดศึกษาเพื่อทดสอบรูปแบบบของผล ปานกลางของวัมนธรรมองคกรที่มีตอความสัมพันธทางบวก ระหวางการจดัการความรูกบัผลประโยชนขององคกร ประเดน็ที่ศึกษานี้มีความสัมพันธกบัประเด็นปญหาตาง ๆ เพื่อการปฏิบัติโดยใชกระบวนการเรียนรูจํานวนกลุมตัวอยาง จาํนวน 133 คน เปนตัวแทนบริษัทอเมริกาตอนเหนือ 38 ใน 49 บริษัท ซ่ึงรูกันดีวามีความคิดริเร่ิมดาน “ การปฏิบัติที่ดีที่สุด” ในการจัดการความรูของตน

Mahasarakham University

Page 61: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

72

เครื่องมือมี 2 ชนิด คือ แบบประเมินอิทธพิลของวัฒนธรรมองคกร ใชวัดวัฒนธรรมองคกร 4 ประเภท(เครือญาติ ความมุงหมายในการปรับตัว ตลาด และลําดบัขั้นตอน) และแบบประเมนิการจดัการความรู ใชประเมินการจัดการความรู (การจับได การสรางสรรค การจัดองคกร การจัดเก็บ การเผยแพร และการประยกุตใช) และผูใชประโยชนขององคกร การเติบโตนวัตกรรมและความไดเปรยีบทางการแขงขัน ผลการศึกษาพบวา วัฒนธรรมองคกรมีความสัมพันธทางบวกกับผลประโยชนขององคกรที่มีปฏิสัมพันธทางสูง ไมมีผลปานกลางของวัฒนธรรมองคกรที่มีตอความสัมพันธระหวางการจัดการความรูสึกกับผลประโยชนขององคกร เลมอน และซาโฮตา (Lemon and Sahota. 2004 : 483-498) ไดศึกษาเพื่อสํารวจและนําเสนอวฒันธรรมองคกร ซ่ึงเปนปกใหญของที่เกบ็ความรูที่มีการเก็บรักษา และมีความสามารถดําเนินการจัดกระทําสารสนเทศ เมื่อไดรับการจัดการความรูและวรรณกรรมเกี่ยวกับนวัตกรรมแลว ทําเลที่ตั้ง ลักษณะ และคณุลักษณะของที่เก็บความรูเหลานี้ก็ถูกระบุ และทําหนาทีช่ั่วคราว ขอมลูเบื้องตนที่ไดจากสภาพแวดลอมการวิจยั และการพัฒนาในโทรคมนาคมไดนํามาใชพฒันาเครื่องมือสําหรับตรวจสอบบัญชี ซ่ึงระบุตัวอยางแบบเดิมทางวัฒนธรรมรวมทั้งขั้นตาง ๆ ของความรูที่ตรวจสอบแลวตามลําดับของตน เครื่องมือการเขาแทรกแซงซึ่งชี้แนะการแทรกแซงตาง ๆ และกลยุทธ สําหรับ การเปลี่ยนแปลงทีเ่ปนเปาหมายไปสูขั้นความรูที่ตรวจสอบแลว และการบํารุงรักษานวัตกรรม ลอวสัน (Lawson. 2004 : 2975-A) ไดศึกษาเพื่อตรวจสอบความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมองคกรกับการจัดการความรูในดานการศึกษา ใชกรอบคาการแขงขันที่ Robert Quinn (1983) สรางขึ้น ทําการวิเคราะหความแตกตางในลักษณะของวัฒนธรรมองคกร และวิธีการที่ลักษณะวัฒนธรรมองคกรอาจจะมีความสัมพันธกบัมิติตาง ๆ ของการจัดการความรู ขอบงชี้ของการศึกษาครั้งนี้สามารถจะมีคาที่สําคัญตอองคกรในขณะที่เตรียมจะนําการริเร่ิมการจดัการความรูไปใชผลการศึกษาสามารถชวยองคกรใหประเมินความเหมือนกันซึ่งการนาํการริเร่ิมการจัดการความรูไปใชนั้นจะประสบความสําเร็จ หรือจะเพิ่มขอไดเปรียบในการแขงขันขององคกรขึ้นในดานความสัมพันธกับวัฒนธรรมองคกรในปจจบุัน ฮอลโลเวย และแวนริน (Holloway and Van Rhyn. 2005 : 303-328) ไดศึกษาเพื่อวิเคราะหผลกระทบขององคกรเกี่ยวกบัแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด และขอเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปองคกร ผลการศึกษาผูวจิัยสรุปวา ภาระกิจที่เพียงพอยังมอียู และดูเหมอืนวาบริษัทตาง ๆ จะใชวธีิการ กาเครื่องหมายลงในชอง ซ่ึงเนนรูปแบบการเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการสาระตาง ๆ ผูวิจัยโตแยงเพื่อสนับสนุนวิธีการ 2 วิธี เพื่อใหมีการปฏิรูปที่ดําเนินการอยูมีประสิทธิผล วิธีการแรก เกีย่วของกบัการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในระดับหองคณะกรรมการบริหาร เพือ่พัฒนาวิธีการของทีมที่ แทจริง วิธีนี้จะรวมการใชขอขัดแยงเชิงสรางสรรคในกระบวนการตัดสินใจและองคประกอบที่ยุบรวมกนัของความไววางใจและความเปดเผยเขาดวยกนั ผูวิจัยโตแยงวาขอขัดแยงเชิงสรางสรรคนํา

Mahasarakham University

Page 62: 2 ยวของ - กระทรวง ... · 15 2. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย

73

ไปสูการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมในหองคณะกรรมการบริหารที่เปนจริงและมปีระสิทธิผลได กลุมสาระการปฏิรูปที่ผูวิจัยทั้งสองนําเสนอวา การเปลี่ยนแปลงดังกลาวควรจะไดรับการขยายเขาไปสูดานการตัดสินใจและทําใหมกีารเขาเกี่ยวของของลูกจางไดมากขึ้นในการจดัการ องคกร และให รายละเอียดการปรับกรอบคานิยม วัฒนธรรม และความเปนสมาชิกขององคกรไดอยางมีนัยสําคัญ บทบาทภาวะผูนํากลายเปนหนึ่งในการอํานวยความสะดวก และการสนับสนุนสิ่งที่ไมใชเจตคติทัว่ไปใน คําส่ังและการควบคุม ทีค่รอบงําอยูในปจจุบัน โฮเวิรด- เกรนวิลล (Howard-Grenville. 2006 : 46-73) ไดศึกษาเพื่อสํารวจ บทบาทของปจจัยภายในโดยเฉพาะอยางยิง่วัฒนธรรม และวัฒนธรรมยอยขององคกรในการปรับรูปการตีความและการปฏิบตัิในประเด็นปญหาสภาพแวดลอมของบริษัท วัฒนธรรมองคกรมีอิทธิพลตอวิธีการที่สมาชิกองคกรใหนิยาม หรือ “ ตั้ง” ปญหาและกลยุทธที่พวกตนนํามาแกไขปญหาดังกลาว ผูวิจัยดึงมาจากการศึกษาทางชาติพันธุวรรนาเปนเวลา 9 เดือน ที่ศึกษาโรงงานไฮเทค พบวายังม ี วัฒนธรรมยอยจํานวนมากทีท่ําใหการตีความที่แตกตางกนัไปเพิ่มขึ้น และกลยุทธเพื่อการปฏิบัติในประเด็นสภาพแวดลอม และยังพบวาอํานาจของวัฒนธรรมยอยที่มีอิทธิพลตอการตีความ และกลยุทธสําหรับการปฏิบัตินั้นไดรับเอาไปใชในทีสุ่ด

Mahasarakham University