· 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล...

130

Upload: others

Post on 03-Mar-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 2:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 3:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 4:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 5:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

48303204: สาขาวิชาชีววิทยา

คําสําคัญ: เซลลบุทอนําไขสุกร/ความสัมพันธของเซลลลอมรอบเซลลไขกับเซลลไข/สารหลั่งโปรตีน/รอบการเปนสัด

วรรณา เมธศาสตร: เซลลและโปรตีนที่หลั่งจากทอนําไขและรังไขสุกรในรอบการเปนสัด. อาจารยที่

ปรึกษาวิทยานิพนธ: ผศ. ดร. มยุวา อารีกิจเสรี. 118 หนา.

สัณฐานวิทยาของเซลลบุทอนําไขสุกรบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสในระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล

พบเซลลสองชนิดคือเซลลรูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลลเทากับ 7 ถึง 10 ไมโครเมตร และเซลลรูปทรงกลม

ไมมีซีเลียมีขนาดเซลลเทากับ 4 ถึง 5 ไมโครเมตร ในการศึกษาความสัมพันธของเซลลลอมรอบเซลลไขกับเซลลไข

(cumulus-oocyte complexes: COCs) ไดศึกษาจากรังไขแมสุกรอายุมากกวา 210 วัน จํานวน 110 รังไข พบเซลลไขใน

ระยะฟอลลิคูลารตอระยะลูเตียลเทากับ 557 ตอ 323 ซึ่งเซลลไขมีขนาดเฉลี่ยเทากับ 90 ถึง 130 ไมโครเมตร แบง

COCs ได 5 ชนิด ตามลักษณะการลอมรอบของเซลลลอมรอบเซลลไข โดยชนิดที่ 1 คือเซลลไขที่มีเซลลลอมรอบ

เซลลไขแบบติดแนน ชนิดที่ 2 คือเซลลไขชนิดมีเซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น ชนิดที่ 3 คือเซลลไขชนิด

มีเซลลลอมรอบเซลลไขเพียงบางสวน ชนิดที่ 4 คือเซลลไขที่ไมมีเซลลลอมรอบและชนิดที่ 5 คือเซลลไขชนิดที่มี

เซลลลอมรอบแบบแผขยาย ไดนําเซลลไขชนิดที่ 1 และ 2 ไปเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลลสูตร M 199 ที่เสริมดวย

10% heat treated fetal calf serum (HTFCS), LH, FSH และเอสโตรเจน บมในตูบมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส มี

คารบอนไดออกไซด 5 เปอรเซ็นตและมีความชื้นสูงนาน 24 ถึง 48 ชั่วโมง พบวาเซลลลอมรอบเซลลไขของ COCs

ทั้งสองชนิดไดคลี่ตัวแยกออกจากไซโทพลาซึมของเซลลไข โดยเซลลลอมรอบเซลลไขที่คลี่ตัวออกนั้นเปลี่ยนแปลง

จากเซลลท่ีเคยมีรูปรางกลมเปนเซลลรูปรางยาว ซึ่งบงบอกวา COCs ทั้งสองชนิดท่ีนํามาเพาะเลี้ยงสามารถเจริญพัฒนา

เปนเซลลไขสุกไดในน้ํายาเพาะเล้ียงที่เตรียมขึ้น

ไดนําเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสและเซลลในถุงไขไปเพาะเลี้ยงในอาหารสูตร M 199 ที่

เสริมดวย 10% heat treated fetal calf serum (HTFCS) บมในตูบมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส มีคารบอนไดออกไซด

5 เปอรเซ็นตและมีความชื้นสูงนาน 48, 96 และ 144 ชั่วโมง เพื่อตรวจโปรตีนที่เซลลหลั่งสูอาหารเพาะเลี้ยงดวยวิธี

SDS-PAGE แตจากผลการเพาะเลี้ยงไมพบแถบโปรตีนที่เซลลหลั่งสูอาหารเพาะเลี้ยง จึงนําของเหลวจากทอนําไข

และในถุงไขตรวจหาโปรตีนและเลือกโปรตีนที่สนใจไปวิเคราะหดวยวิธี LC/MS/MS โดยเลือกแถบโปรตีนจาก

ของเหลวในทอนําไขสวนแอมพูลาในระยะฟอลลิคูลารที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa และ 240 kDa

พบวาเปนโปรตีน trypsin และ protease โปรตีนที่เลือกจากของเหลวในทอนําไขสวนแอมพูลาระยะลูเตียลขนาด

น้ําหนักโมเลกุลที่ 95 kDa เปน 90 kDa heat shock protein (Hsp 90) และ105 kDa พบวาเปน glycogen phosphorylase,

protein kinase, oviductal glycoprotein สําหรับโปรตีนที่เลือกจากน้ําในถุงไขระยะฟอลลิคูลารน้ําหนักโมเลกุล 27 kDa

พบ immunoglobulin โปรตีนน้ํ าหนักโมเลกุล 45 kDa พบ haptoglobin, complement component 3 และ

apolipoprotein A-IV โปรตีนน้ําหนักโมเลกุล 140 kDa พบ ceruloplasmin และ hemopexin และโปรตีนน้ําหนัก

โมเลกุลมากกวา 220 kDa พบ fibronectin สวนโปรตีนจากน้ําในถุงไขระยะลูเตียลมีน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa

พบ alpha-2-macroglobulin

ภาควิชาชีววิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552

ลายมือชื่อนักศึกษา........................................

ลายมือชื่ออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ........................................

Page 6:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 7:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 8:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ

กิตตกิรรมประกาศ..................................................................................................................... ฉ

สารบัญตาราง ............................................................................................................................ ฌ

สารบัญภาพ.... ........................................................................................................................... ญ

บทที่

1 บทนํา.............................................................................................................................. 1

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ....................................................................................... 5

3 อุปกรณและสารเคม.ี....................................................................................................... 29

อุปกรณและเครื่องมือทีใ่ชในการทดลอง................................................................ 29

สารเคมี ................................................................................................................. 30

อาหารเพาะเลี้ยง.................................................................................................... 32

ตัวอยางที่ใชในการทดลอง ................................................................................... 32

4 วิธีดําเนินการทดลอง...................................................................................................... 33

วิธีเตรียมอาหารเพาะเล้ียงเซลล ............................................................................. 33

การเก็บและเตรียมตัวอยาง .................................................................................... 34

วิธีเตรียมเซลล ....................................................................................................... 34

การเตรียมตัวอยางเซลลไข สําหรับศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน-

แบบสองผาน ......................................................................................................... 35

การศึกษาปริมาณและรูปแบบสารหล่ังจากเซลลเพาะเล้ียงและเก็บรักษาโดยวิธ ี

แชแข็ง ................................................................................................................... 37

ศึกษาลักษณะโปรตนีที่เซลลเพาะเลี้ยงทั้งสองชนิดหล่ังในอาหารเพาะเลี้ยง ......... 37

การวิเคราะหโปรตนีที่สนใจดวยเทคนคิLiquid chromatography/

Mass spectrometer/Mass spectrometer ................................................................. 38

5 ผลการทดลอง................................................................................................................. 39

6 อภิปรายผลการทดลอง ................................................................................................... 83

Page 9:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

บทที่ หนา

บรรณานกุรม............................................................................................................................. 90

ภาคผนวก .................................................................................................................................. 101

ภาคผนวก ก......................................................................................................... 102

ภาคผนวก ข......................................................................................................... 109

ประวัติผูวจิัย .............................................................................................................................. 118

Page 10:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 11:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 12:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล
Page 13:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

1

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

สุกรเปนสัตวเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งมีการเลี้ยงกันอยางแพรหลายเพื่อบริโภคและ

สงออก โดยจังหวัดนครปฐมเปนจังหวัดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงสุกรมากเปนอันดับ 2 ของประเทศจาก

รายงานขอมูลจํานวนปศุสัตวในประเทศไทย ป พ.ศ.2549 มีจํานวนสุกร 1,135,155 ตัว (กลุม

สารสนเทศและขอมูลสถิติ ศูนยสารสนเทศ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2549) และ

มีโรงชําแหละสุกรหลายแหง ซึ่งมีทั้งโรงชําแหละสุกรสาวเพื่อนําเนื้อและอวัยวะภายใน

ออกจําหนายเพื่อการบริโภค แยกออกจากโรงชําแหละแมสุกรซึ่งแมสุกรจะมีเนื้อคอนขางเหนียว

ไมออนนุมเหมือนสุกรสาว ดังนั้นจึงมักนําเนื้อและอวัยวะภายในไปทําผลิตภัณฑตางๆ เชน

กุนเชียง หมูแผน หมูหยอง เปนตน ซึ่งสามารถเก็บไวไดนานและพบวาอวัยวะบางสวนของสุกร

ไมไดถูกนําไปใชประโยชนอื่นใด เชน รังไข (ovary) และทอนําไข (oviduct) อวัยวะเหลานี้ไมนิยม

ที่จะนําไปรับประทานหรือทําประโยชนอื่นใดจึงถูกกําจัดทิ้งซึ่งกอใหเกิดขยะเนาเหม็น เพื่อใหเกิด

ประโยชนตอการศึกษาเกี่ยวกับเซลลเทคโนโลยี (cell technology) และการเรียนรูทางชีววิทยาของ

ระบบสืบพันธุ Areekijseree และ Vejaratpimol (2006); Areekijseree และ Veerapraditsin (2008)

ไดนํารังไขและทอนําไขของสุกรสาว ซึ่งเปนสุกรที่ยังไมผานรอบการเปนสัดมาศึกษาและวิจัยใน

หองปฏิบัติการ จากผลการวิจัยพบวาเซลลในระบบสืบพันธุของสัตวเพศเมียคือ เซลลไข (oocyte)

เซลลบุทอนําไข (oviductal epithelial cells) เซลลลอมรอบเซลลไข (cumulus cells: CC) และ

เซลลแกรนูโลซา (granulosa cells: GC) สามารถนํามาเพาะเลี้ยงแบบปลอดเชื้อ (sterile technique)

ไดเปนอยางดี

นอกจากนี้การศึกษาโครงสรางและสัณฐานวิทยาของเซลลในขณะที่เซลลถูกเพาะเลี้ยงนั้นเปน

ประโยชนตอการศึกษาทางพิษวิทยา จึงมีความตองการใชเซลลเพาะเลี้ยงแทนการใชสัตวทดลอง

เพราะปญหาในการเลี้ยงสัตวทดลองนั้นมีหลายอยางทั้งในดานคาใชจายที่สูงหรือการดูแลเพื่อ

ปองกันการปวยตายของสัตวทดลองและในดานจริยธรรม เพื่อใชเปนขอมูลเบื้องตนและประกอบ

1

Page 14:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

2

ในการใชเซลลเปนตนแบบสําหรับศึกษาความเปนพิษของยา สารเคมี โลหะหนัก (Sanmanee และ

Areekijseree, 2009) และสารอื่นๆ ซึ่งในปจจุบันความตองการใชเซลลเพื่อทดสอบความเปนพิษ

ของสารและโลหะหนักเพิ่มขึ้นมาก การใชเซลลเพาะเลี้ยงเพื่อทดสอบความเปนพิษของโลหะหนัก

ที่ตกคางในสิ่งแวดลอมเปนการประเมินผลกระทบตอเซลลไดเปนอยางดี (Reeves และคณะ, 1996;

Takano และคณะ, 2002) ซึ่งใหผลชัดเจนกวาการใชสัตวทดลองเพราะสามารถทดสอบโลหะหนัก

กับเซลลไดโดยตรง

การศึกษาเพาะเลี้ยงเซลลสืบพันธุโดยเฉพาะการเพาะเลี้ยงเซลลจากอวัยวะของสัตวที่ไมได

นําไปใชประโยชนอื่นใด เชน รังไขและทอนําไขในสุกร ซ่ึงการเพาะเล้ียงเซลลสืบพันธุเหลานี้เปน

ประโยชนอยางมากในอนาคต ทั้งในเรื่องของการทําปฏิสนธิในหลอดแกว (in vitro fertilization)

เชน การทํามนุษยหลอดแกว การทําสุกรหลอดแกว (Brussow, 2000) การนําเซลลเพาะเลี้ยงมาเปน

เซลลพี่เล้ียง (feeder cells) เพื่อเสริมในอาหารเพาะเลี้ยงตัวออนในหลอดแกว ทําใหตัวออนสามารถ

พัฒนาจนถึงยายฝากได จากรายงานของ Kittayanant และคณะ (1993) พบวาเซลลบุทอนําไขชวย

สงเสริมการเจริญพัฒนาของตัวออนโคใหเพิ่มขึ้นมากกวาเซลลบุทอนําไขของโคเอง

นอกจากนี้ประโยชนจากการศึกษาเซลลเพาะเลี้ยงยังชวยในการเตรียมความพรอมของเซลล

อสุจิสัตวกอนผสมกับเซลลไขในการทําปฏิสนธิสัตวหลอดแกว (White และคณะ, 1989; Park และ

Sirard, 1996; Romar และคณะ 2001; Coy และคณะ, 2002) ตลอดจนการศึกษาสารหลั่งที่เกิดจาก

เซลลเพาะเลี้ยงของ POEC และ CC+GC ที่หล่ังออกมาสูอาหารเพาะเลี้ยงเซลล (condition medium)

โดยเก็บแชแข็งไวที่อุณหภูมิ -196 องศาเซลเซียสไดนานกวา 3 เดือน และพบวาสารหลั่งจากเซลล

เพาะเลี้ยงสามารถชักนําใหอสุจิเจาะเขาสูเซลลไข (oocyte) ไดดีในเปอรเซ็นตที่สูง (Areekijseree

และ Veerapraditsin, 2008)

ดังนั้นเพื่อการพัฒนาในดานชีววิทยาการเจริญพันธุและชีวเคมีของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่

สมบูรณขึ้น ผูวิจัยจะทําการศึกษาและวิจัยโดยใชทอนําไขและรังไขแมสุกรจากโรงฆาสัตวใน

จังหวัดนครปฐม (ซึ่งชําแหละสุกรที่โตเต็มวัยที่มีอายุประมาณ 200 วันหรือมากกวา) ที่ถูกตัดทิ้งมา

ศึกษา โดยคัดเลือกสุกรที่อยูในรอบการเปนสัดทั้งในระยะกอนการตกไข (pre-ovulation) และหลัง

การตกไข (post-ovulation) ซึ่งดูจากรังไขและทอนําไขของสุกรที่เปล่ียนแปลงลักษณะของทอนําไข

และฟอลลิเคิล (follicle) ฟอลลิเคิลจะมีขนาดใหญขึ้นประมาณ 5 ถึง 7 มิลลิเมตร มีสีชมพูหรือเปน

กอนเนื้อเหลือง (corpus luteum) สําหรับสุกรสาวฟอลลิเคิลจะมีขนาดเล็กประมาณ 1.5 ถึง 3

มิลลิเมตร (มงคล เตชะกําพุ, 2543) มีลักษณะใส หลังจากนั้นนําเซลลจากทอนําไขและรังไขสุกรมา

ศึกษาการเปล่ียนแปลงทางสัณฐานวิทยาและเพาะเลี้ยงเซลลและวิเคราะหโปรตีนที่เซลลหลั่งลงสู

Page 15:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

3

อาหารเพาะเลี้ยง ซ่ึงจะทําใหไดขอมูลท่ีเปนประโยชนอยางมากในการที่จะนําเซลลและสารหล่ังจาก

เซลลไปใชในการเพิ่มผลผลิตสัตวเศรษฐกิจตอไปในอนาคต

ความมุงหมายของงานวิจัย

เพื่อศึกษาเซลลเพาะเลี้ยงจากเซลลบุทอนําไข เซลลลอมรอบเซลลไขและเซลลแกรนูโลซาของ

แมสุกรในรอบการเปนสัดในชวงระยะเวลาหนึ่งเพื่อเปรียบเทียบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ

เซลลบุทอนําไขที่อยูในรอบการเปนสัดในสวนแอมพูลา (ampulla) และอิสทมัส (isthmus) ศึกษา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาตลอดจนศึกษาความสัมพันธของเซลลลอมรอบเซลลไขกับเซลลไข และ

วิเคราะหหาโปรตีนที่หล่ังจากเซลลเพาะเล้ียง

วัตถุประสงคของการวิจัย

วัตถุประสงคหลักของงานวิจัย คือ ตองการศึกษา โดยใชทรัพยากรที่มีจํานวนมากและสามารถ

หาไดจากโรงฆาสัตวในจังหวัดนครปฐม ไดแก ทอนําไขและรังไขสุกรในรอบการเปนสัด แลว

นํามาเพาะเล้ียงเซลลเพื่อการศึกษาทางชีวเคมี และในทางชีววิทยาการเจริญพันธุของสัตว เพื่อให

บรรลุถึงวัตถุประสงคหลักขางตน การศึกษาไดแยกเปนวัตถุประสงคยอย ๆ ดังนี้

1. ศึกษาและเปรียบเทียบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเซลลบุทอนําไขสุกร (Porcine

oviductal epithelial cells: POEC) ที่อยูในรอบการเปนสัดในสวนอีชทมัสและแอมพูลา

2. ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาความสัมพันธของเซลลลอมรอบเซลลไขกับเซลลไข (Cumulus

oocyte complexes: COCs) ในรอบการเปนสัด

3. วิ เคราะหโปรตีนที่สนใจเพื่อจําแนกโปรตีนชนิดที่หลั่งในอาหารเพาะเลี้ยงจากเซลล

เพาะเลี้ยงของ POEC และ CC+GC

4. เปรียบเทียบรูปแบบโปรตีนของเซลลเพาะเลี้ยง POEC และ CC+GC ในรอบการเปนสัดที่

หล่ังสูอาหารเพาะเลี้ยงเซลล หลังจากเพาะเล้ียงนาน 48, 96 และ 144 ช่ัวโมง

Page 16:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

4

ขอบเขตของการทําวิจัย

1. เปนการศึกษาเซลลในหองปฏิบัติการ

2. ใชทอนําไขและรังไขสุกรที่ไดจากโรงฆาสัตวในจังหวัดนครปฐมเปนตัวแทนในการศึกษา

เซลลและสารหล่ังโปรตีนจากทอนําไขและรังไข

3. การศึกษาเทคนิคการเพาะเลี้ยง POEC และ CC+GC ของสุกรนั้น ศึกษาทดลองในสูตร

อาหารที่เหมาะสม

4. การศึกษาและเปรียบเทียบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเซลลเพาะเลี้ยงของสุกรในสภาพ

ธรรมชาติและสภาพเพาะเลี้ยง โดยศึกษาในระยะเวลา 48 ชั่วโมง ภายใตกลองจุลทรรศน

อิเล็กตรอน

5. การแชแข็งสารหล่ังจากเซลลเพาะเล้ียงจาก POEC ระยะฟอลลิคูลาและระยะลูเตียลบริเวณ

แอมพูลาและอิสทมัส และสารหล่ังจาก CC+GC ที่อุณหภูมิ – 20 องศาเซลเซียส

6. การวิเคราะหโปรตีนที่เซลลเพาะเลี้ยงหล่ังสูอาหารเพาะเลี้ยง ไดวิเคราะหหลังจากเพาะเลี้ยง

เซลลเปนเวลา 48, 96 และ 144 ช่ัวโมง

7. การวิเคราะหโปรตีนที่เซลลเพาะเลี้ยงหลั่งสูอาหารเลี้ยงเซลลโดยจําแนกชนิดของโปรตีน

โดยเลือกจากแถบโปรตีนที่พบ

ประโยชนของงานวิจัยที่จะไดรับ

1. ไดขอมูลการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาของความสัมพันธเซลลลอมรอบเซลลไขกับ

เซลลไข (COCs) ของแมสุกรในรอบการเปนสัดเมื่อเพาะเลี้ยงในอาหารเล้ียงเซลล

2. ไดขอมูลสารหลั่งโปรตีนจากเซลลบุทอนําไขและเซลลแกรนูโลซา (จากแมสุกรในรอบ

การเปนสัดในระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล) หล่ังลงในอาหารเล้ียงเซลล

3. ไดแหลงโปรตีนจากการวิจัยไปทําการศกึษาตอในอนาคต ซึ่งอาจเปนประโยชนตอเซลล

เทคโนโลย ี

Page 17:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

5

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่วของ

1. ชีววิทยาของสุกร

1.1 อนุกรมวิธานของสุกร

Kingdom Animalia

Phylum Chordata

Class Mammalia

Order Artiodactyla

Genus Suidae

Species Sus scrofa Linnaeus

สุกร หรือ หมู เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมในวงศ Suidae มีชื่อวิทยาศาสตรวา Sus scrofa

Linnaeus, ค.ศ. 1758 เปนสัตวกีบคู ตัวอวน จมูกและปากยื่นยาว มีทั้งที่เปนสัตวเลี้ยงและที่เปน

สัตวปา หาอาหารโดยใชจมูกดันพื้นดิน สุกรมีวิวัฒนาการทางสายพันธุเปลี่ยนแปลงมาตลอด จาก

การคัดเลือกโดยธรรมชาติของมนุษยทําใหมีการผสมขามสายพันธุสุกร โดยใชความรูทางวิชาการ

ในดานพันธุศาสตร เพื่อปรับปรุงพันธุใหสามารถผลิตสุกรที่มีอัตราการเจริญเติบโตรวดเร็วเปลี่ยน

สารอาหารที่ไดรับเปนเนื้อไดดี และเพื่อใหไดคุณภาพซากที่ดีเหมาะสมที่จะใชเปนอาหารมนุษย

มากยิ่งขึ้น

สุกรพันธุในโลกมีประมาณ 87 พันธุที่ถูกยอมรับวาเปนพันธุแท และอีก 225 ชนิดที่ยังไมได

ถูกยอมรับเปนสุกรพันธุแท ซ่ึงแตกตางไปตามลักษณะของภูมิประเทศท่ีอาศัยอยู

2. การจัดแบงประเภทพนัธุสกุร แบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ

2.1 สุกรประเภทพันธุเนือ้ (meat type) สวนใหญเปนสกุรพันธุดั้งเดิมท่ีถูกปรับปรงุคัดเลือก

ใหผลิตเนื้อมากกวามัน สวนอีกพวกเปนสุกรที่เกิดจากลกูผสมระหวางพันธุเปนสุกรพันธุใหม โดย

5

Page 18:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

6

ผสมระหวางพันธุมันดั้งเดิมกับพันธุเบคอน ไดแก พันธุดูรอค (Duroc) แฮมเชียร (Hampshire)

ยอรกเชียร (Yorkshire) เชสเตอรไวท (Chester White) โปแลนดไชนา (Poland China) เปนตน

2.2 สุกรประเภทพันธุเบคอน (bacon type) สวนใหญเปนสุกรพันธุดั้งเดิม ซ่ึงปจจุบันพบไมกี่

พันธุ พันธุที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย ไดแก พันธุลารจไวท (Large White) และพันธุแลนดเรช

(Landrace) เปนตน

3. สุกรพันธุทีเ่ลี้ยงในประเทศไทย

3.1 สุกรพันธุลารจไวท

สุกรพันธุนี้มีถิ่นกําเนิดในประเทศอังกฤษ นําเขามาในประเทศไทยตั้งแตป พ.ศ.2482 เปน

พันธุผสมระหวางยอรกเชียรผสมขามกับสุกรไลเคสเตอร และไดทําการคัดเลือกจนกระทั่งเปน

สุกรพันธุใหมและเรียกวา ลารจไวทจนปจจุบัน ซึ่งเปนสุกรพันธุเบคอนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดพันธุ

หนึ่งลักษณะมีขนและหนังสีขาว หูตั้ง จมูกยาว ลําตัวยาว กระดูกใหญ โครงใหญ หนาสั้น หัวใหญ

สะโพกไมโต เปนสุกรขนาดโต ตัวผูโตเต็มที่น้ําหนัก 250 ถึง 300 กิโลกรัม ตัวเมีย 150 ถึง 220

กิโลกรัม มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วมาก ลูกดก 10 ถึง 15 ตัว เปนสุกรที่มีคุณภาพซากดีมากเหมาะ

ในการทําลูกผสมเพื่อผลิตสุกรขุน

ภาพที่ 1 สุกรพันธุลารจไวท

Page 19:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

7

3.2 สุกรพันธุแลนดเรช

ถิ่นกําเนิดอยูในประเทศเดนมารค นําเขามาในประเทศไทยป พ.ศ. 2506 เปนสุกรลูกผสมของ

พันธุลารจไวทและพันธุพื้นเมืองของเดนมารค และไดคัดเลือกปรับปรุงพันธุจนเปนที่ตองการของ

ตลาดทั้งในอังกฤษและยุโรป มีคุณภาพซากดี หลายประเทศนิยมนําไปทําลูกผสม ลักษณะของ

สุกรพันธุนี้มีสีขาว หูปรก ลําตัวยาว มีซ่ีโครงมาก 16 ถึง17 คู (สุกรปกติมีกระดูกซี่โครง 15 ถึง16 คู)

หนายาว หัวเล็ก สะโพกโต หลังไมโคงมากนัก บางครั้งดูแบนตรง ไหลกวางหนา เปนสุกรขนาดโต

เหมือนพันธุลารจไวทโตเต็มที่ 200 ถึง 250 กิโลกรัม ใหลูกดกเฉลี่ย 9 ถึง10 ตัว เติบโตเร็วมาก

เปลี่ยนอาหารเปนเนื้อไดสูง เกษตรกรนิยมเลี้ยงเปนสุกรพันธุเบคอนที่สมบูรณมาก มีขอเสียคือ

มักจะมีปญหาเรื่องขาออน ขาไมคอยแข็งแรง แกไขโดยตองเลี้ยงดวยอาหารที่มีคุณภาพดี

พันธุแลนดเรชเหมาะที่ใชเปนสายแมพันธ ุ

ภาพที่ 2 สุกรพันธุแลนดเรช

3.3 สุกรพันธุดูรอค

มีถ่ินกําเนิดจากประเทศอเมริกา ไมทราบตนตระกูลแนนอนแตนาจะมาจากสุกรสามพันธุ คือ

สุกรพันธุเจอรซ่ีเร็ด (Jersey Reds) เร็ดดูรอค (Red Duroc) และเร็ดเบอรคชารย (Red Berkshire) ซึ่ง

ครั้งแรกเรียกวา ดูรอคเจอรซ่ี ถูกรับรองพันธุแทเม่ือป พ.ศ. 2428 สุกรพันธุนี้เปนประเภทพันธุเนื้อ

ซึ่งมีลักษณะแตกตางจากพันธุเบคอน ลักษณะของสุกรพันธุนี้มีสีแดง หูปรกเปนสวนใหญ ลําตวัสัน้

กวาพันธุลารจไวท และแลนดเรช ลําตัวหนา หลังโคง โตเต็มที่หนัก 150 ถึง 200 กิโลกรัม คุณภาพ

Page 20:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

8

ซากดีมากเชนเดียวกับพันธุลารจไวทและแลนดเรช เปนสุกรที่ใหลูกไมดกเฉลี่ย 8 ถึง 9 ตัว เลี้ยงลูก

ไมเกง ลูกสุกรหลังจากอายุ 2 เดือนไปแลว เจริญเติบโตเร็ว มีความแข็งแรงทนทานตอสภาพดินฟา

อากาศทุกชนิด นิยมใชเปนสายพอพันธุเพื่อผลิตลูกผสมที่สวยงาม แผนหลังกวาง เจริญเติบโตเร็ว

ภาพที่ 3 สุกรพันธุดรูอคเจอรซ่ี

3.4 สุกรพันธุพืน้เมือง

สุกรพันธุนี้เปนพันธุที่เลี้ยงอยูตามหมูบานชนบทพวกชาวเขาไมเคยไดรับการปรับปรุงพันธุแต

อยางใดจึงยังคงมีรูปรางลักษณะที่ไมดีหลายประการ เชน อัตราการเจริญเติบโตคอนขางต่ํา

ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อต่ํามาก และคุณภาพซากไมคอยดีมีเนื้อนอยมันมาก

ลักษณะโดยทั่วไป มีขนสีดํา พ้ืนทองขาว ลักษณะสีไมคอยแนนอนนักสําหรับบางพันธุ ทองยาน มี

ขนาดเล็ก หลังแอน การเจริญเติบโตชา น้ําหนักเมื่อโตเต็มที่ระหวาง 60 ถึง 70 กิโลกรัม ใหลูกดก

จะมีชื่อเรียกตางกันไปตามทองถ่ิน เชน สุกรพันธุไหหลํา พันธุควาย พันธุราด พันธุพวง และพันธุ

กระโดน เปนตน

Page 21:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

9

ภาพที่ 4 สุกรพันธุพื้นเมือง (http://www.dld.go.th/service/pig/p2.html)

4. กายวิภาคศาสตรของระบบสบืพันธุในสกุรเพศเมีย

ระบบสืบพันธุในสุกรเพศเมียประกอบดวย รังไข (ovaries) ทอนําไข (oviducts) ปกมดลูก

(horn of uterus หรือ uterine horns) ปากมดลูก (cervix) ชองคลอด (vagina) และปากชองคลอด

(vulva)

ภาพที่ 5 กายวิภาคศาสตรของระบบสืบพันธุในสุกรเพศเมยี

ovary

oviduct

uterine horns

cervical folds

vagina

vulva

Page 22:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

10

ภาพที่ 6 (ก) ทอนําไข รังไขและฟอลลิเคิลของสุกรสาว (ข) ทอนําไข รังไขและฟอลลิเคิลของสุกร

ที่อยูในรอบการเปนสัดที่ใชในงานวิจยั

รังไข (Ovary)

รังไขเปนอวัยวะที่สําคัญของระบบสืบพันธุเพศเมียในสุกร อยูทางดานขางของชองเชิงกราน

(pelvic inlet) รังไขสามารถขยับไดตามผนังพังผืดในชองทอง (broad ligament) ลักษณะขนาดของ

รังไขจะเปลี่ยนแปลงไปตามระยะ จํานวน และสภาพของถุงหุมไข และคอรโปรา ลูเทีย (corpola

lutea) ตามปกติรังไขมีลักษณะคลายพวงองุน (อรรณพ คุณาวงกฤต, 2545) ขนาดและน้ําหนักของ

รังไขนั้นผันแปรไดขึ้นอยูกับระยะของวงจรการสืบพันธุ จากการสํารวจรังไขของสุกรสาวจาก

โรงฆาสัตวจํานวน 1,000 ตัว Kunavongkrit และคณะ (1987) รายงานวารังไขดานซายมีขนาดใหญ

และมีน้ําหนักมากกวาดานขวา แสดงถึงการทํางานมากกวาดานขวา ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ

Einarsson และ Gustafsson (1970); Kunavongkrit และ Larsson (1982 ) สําหรับสุกรสาวที่ไมเคย

เปนสัดจะมีรังไขหนักในชวง 3.00 ถึง 3.30 กรัม โดยมีขนาด 1.8 x 2.5 x 1.1 เซนติเมตร (ภาพที่ 6)

และสุกรที่เคยเปนสัดแลวจะมีรังไขหนัก 6.20 ถึง 6.50 กรัม Kunavongkrit และคณะ (1987) รอบๆ

รังไขจะมีถุงหุมรังไข (ovarian bursa) โดยเฉพาะชวงเปนสัดถุงหุมนี้มักจะคลุมรังไขเอาไว

รังไขทําหนาที่หลักดวยกัน 2 อยาง คือ

1. ผลิตเซลลสืบพันธุเพศเมีย (gametogenic function) ที่เรียกวาโอโอไซต หรือ เซลลไข โดย

กระบวนการสรางโอโอไซต (oogenesis) รังไขเปนแหลงสะสมของเซลลไขตั้งแตแรกเกิด รวมทั้ง

การสรางถุงไขหรือฟอลลิเคิลดวย

ทอนําไข

ฟอลลิเคิล

รังไข

ก ข

ทอนําไข

ฟอลลิเคิล รังไข

Page 23:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

11

2. ผลิตฮอรโมนเพศ (endocrine function) ที่สําคัญ คือ ฮอรโมนเอสโตรเจน (estrogen)

โปรเจสเตอโรน (progesterone) และแอนโดรเจน (androgen) ฮอรโมนเหลานี้ เกี่ยวของกับ

กระบวนการสรางฟอลลิเคิล (folliculogenesis) การเจริญของเซลลไขพรอมการปฏิสนธิ

(fertilization) ซึ่งอยูในระยะ secondary oocyte การตกไข (ovulation) และการปฏิสนธิ

นอกจากนี้รังไขยังผลิตฮอรโมนที่เกี่ยวของกับระบบสืบพันธุ ซึ่งเซลลไขตอบสนองตอการ

เปลี่ยนแปลงของฮอรโมนหลายตัวที่ผลิตมาจากสมองสวนไฮโปธาลามัส (hypothalamus) และ

ตอมใตสมอง (pituitary gland) โดยผานมาทางกระแสเลือด ซึ่งตอมใตสมองมีหนาที่ในการผลิต

ฟอลลิเคิล สติมูเลติง ฮอรโมน (เอฟเอสเอช: Follicle Stimulating Hormone: FSH) และลูติไนซิง

ฮอรโมน (แอลเอช: Lutinizing Hormone: LH) ฮอรโมนสองชนิดนี้มีหนาที่สําคัญคือ เปนตัวกระตุน

ใหรังไขในสุกรสาวเริ่มทํางาน ตามวงจรของระบบสืบพันธุ

เซลลไขซึ่งอยูในฟอลลิเคิลเมื่อเจริญเต็มที่จะเกิดการตกไข ฟอลลิเคิลจะกลายเปนคอรโปรา

ลูเทีย ซึ่งผลิตฮอรโมนโปรเจสเตอโรน สําหรับเตรียมผนังมดลูกและควบคุมการตั้งทอง สวน

เซลลไขที่ตกจากรังไขจะเขาสูทอนําไขเพื่อรอการปฏิสนธิตอไป

เยื่อบุชั้นนอกสุดที่หุมรังไข เรียกวา germinal epithelium ประกอบดวยเซลลรูปลูกบาศก

ชั้นเดียว เยื่อบุนี้จะหุมรังไขทั้งหมด ถัดเขาไปเปนชั้น tuniga albuginea สวนที่เหลือของรังไข

แบงเปน 2 สวนคือ สวนที่เปนเนื้อเยื่อชั้นนอกเรียก คอรเทก (cortex) และเนื้อเยื่อชั้นในเรียก

เมดัลลา (medulla) สวนคอรเทกเปนสวนที่มีฟอลลิเคิลหรือคอรปส ลูเตียม ในระยะตางๆ ภายใน

ฟอลลิเคิลนั้นจะมีเซลลไขอยูภายใน การเจริญของฟอลลิเคิลจะอยูภายใตอิทธิพลของฮอรโมน

เอฟเอสเอชและแอลเอช จากตอมใตสมองสวนหนา (anterior pituitary gland) เนื้อเยื่อประสานใน

สวนนี้ ประกอบดวย fibroblast, collagen และ reticular fiber นอกจากนี้ยังมีเสนเลือด เสนประสาท

มาเลี้ยงดวย สวนเมดัลลาเปนสวนของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิด fibro elastic และเปนที่รวมของ

เสนประสาทและเสนเลือดที่มาเล้ียงรังไข โดยผานทางรอยตอระหวางรังไขกับเยื่อยึด mesovarium

ที่เรียกวา hilus

บริเวณเปลือกนอกรอบๆ เซลลไข เปนสารพวกไกลโคโปรตีนที่เรียกวา โซนา เพลลูซิดา

(zona pellucida) และมีเซลลลอมรอบเซลลไขหลายชั้น เรียกวา เซลลคูมูลัส ซ่ึงในสุกรเมื่อเซลลไข

อยูในระยะเซกันดารี ฟอลลิเคิล จะมีเซลลคูมูลัสหนาประมาณ 10 ชั้น มีขนาดเทากับ 300

ไมโครเมตร (มงคล เตชะกําพุ, 2543) สวนเซลลที่อยูลอมรอบถุงไข เรียกวา เซลลแกรนูโลซา ซึ่ง

สามารถผลิตฮอรโมนเอสโตรเจนได

Page 24:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

12

ภาพที่ 7 ลักษณะของเหลวภายในฟอลลิเคิล น้ําในถุงไข (follicular fluid) โซนา เพลลูซิดา (Z)

เซลลไขสุกร (O) ความสัมพันธเซลลลอมรอบเซลลไขกับเซลลไข (COCs) และ

เซลลแกรนูโลซา (GC)

โครงสรางของรังไขจะมีความแตกตางกันในสัตวแตละชนิด ตามอายุ และระยะวงจรการเปน

สัด ซึ่งรังไขสุกรมักจะมีรูปรางคอนขางกลมกวาสัตวอื่นๆ รังไขเปนบริเวณที่มีการเจริญของ

ฟอลลิเคิล ทําใหรังไขมีรูปรางคลายพวงองุน (อรรณพ คุณาวงกฤต, 2545) เยื่อบุชั้นนอกสุดที่หุม

รังไขมีลักษณะเปนเซลลแบนๆ ชั้นเดียว (simple squamous epithelium) และเปลี่ยนแปลงเปน

เซลลรูปลูกบาศกชั้นเดียว (simple cuboidal epithelium) ตามอายุ เรียกชั้นนี้วา germinal epithelium

เยื่อบุนี้จะหุมรังไขทั้งหมด ถัดเขาไปเปนชั้นของ dense connective tissue เรียก tuniga albuginea

การเจริญของฟอลลเิคิล แบงเปน

1. ไพรมอเดียล ฟอลลิเคิล (primodial follicles) ภายในฟอลลิเคิลชนิดนี้มีไพรแมรี โอโอไซต

(primary oocyte) ซึ่งถูกลอมรอบดวยเซลลฟอลลิเคิลแบบเซลลแบนๆ ชั้นเดียว (single layer of

flattened follicular cells)

2. ฟอลลิเคิลระยะแรก (primary follicles) เปนฟอลลิเคิลท่ีพบมากที่สุดในรังไข ประกอบดวย

เซลลไขออนคือ ไพรแมรี โอโอไซต ที่ลอมรอบดวยเซลลฟอลลิเคิลแบบเซลลรูปลูกบาศกหรือเซลล

รูปทรงกระบอกชั้นเดียว (single layer of cuboidal หรือ columnar follicular cells)

Z

GC

COCs

O O Z

COCs

Page 25:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

13

3. ฟอลลิเคิลระยะที่สอง (secondary follicles หรือ maturing follicles หรือ growing follicles)

พัฒนาจากฟอลลิเคิลระยะแรก พบวาภายในประกอบดวยเซลลไขที่มีโซนา เพลลูซิดา (เปนไกลโค-

โปรตีนที่สรางจากเซลลฟอลลิคูลาร) ถัดออกมามีเซลลฟอลลิเคิลแบบเซลลหลายชั้นลอมรอบเซลล

ไขอยู

4. ฟอลลิเคิลระยะที่สาม (tertiary follicles : vesicular follicles) ระยะนี้พบวามีการเจริญของ

ฟอลลิเคิล โดยการเพิ่มจํานวนเซลลแกรนูโลซาสรางน้ําในถุงไข (follicular fluid) ทําใหเกิดมี

ชองน้ําที่เรียกวาแอนทรัม (antrum) ปรากฏขึ้นเมื่อฟอลลิเคิลมีเสนผานศูนยกลางเทากับ 200 ถึง 400

ไมโครเมตร ชองวางภายในฟอลลิเคิลเปนผลของการหลั่งของเหลวจากเซลลแกรนูโลซาทําใหแยก

เซลลแกรนูโลซาเปน 2 สวน คือ

- ชนิดแรกอยูรอบ ๆ ผนังดานในฟอลลิเคิลเปนเซลลแกรนูโลซาที่แทจริง (true

granulosa cells)

- ชนิดที่สองอยูรอบๆ เซลลไข เรียกวา คิวมูลัส โอโอฟอรัส (cumulus oophorus)

นอกจากนี้ยังมีเซลลชั้นรอบนอกเรียกวา เซลลทีกา (theca cells) แบงออกเปนทีกาชั้นใน (theca

interna) และทีกาชั้นนอก (theca externa) หุมรอบเซลลแกรนูโลซาอีกทีหนึ่ง

ภาพที่ 8 ฟอลลิเคิลระยะที่สามพบชองน้ําภายในเซลลแกรนูโลซาที่มีการเจริญ ( ) เบซัล

ลามินา (basal lamina : BL) ทีกาชั้นใน (TI) ทีกาชั้นนอก (TE) (Bloom W, Fawcett DW In A

Textbook of Histology. Philadelphia, WB Saunders Company, Philadelphia 1975. With

permission from Arnold.)

BL

TI

TE

Page 26:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

14

ภาพที่ 9 ภาพวาดการเจริญของฟอลลิเคิลระยะตางๆ

(http://www.endotext.org/female/female1/femaleframe1.htm)

5. กราเฟยน ฟอลลิเคิล (Graafian follicle) หรือ แอนทรัล ฟอลลิเคิล (Antral follicle) หรือ

ฟอลลิเคิลที่เจริญเต็มที่ (mature follicle) หรือ follicle de DE Graff (มงคล เตชะกําพุ, 2543) เปน

ฟอลลิเคิลขนาดใหญและมีชองวางอยูภายในซึ่งเจริญเติบโตเต็มที่จนใกลจะตก โดยฟอลลิเคิลนี้จะ

อยูบริเวณริมสวนขอบของรังไขเปนฟอลลิเคิลระยะที่สามที่ไดรับอิทธิพลจากฮอรโมนเอฟเอสเอช

และแอลเอช จากตอมใตสมองสวนหนาทําใหฟอลลิเคิลระยะที่สามพัฒนาไปเปนกราเฟยน ฟอลลิ-

เคิล ซ่ึงเซลลไขระยะแรกภายในขณะนี้พัฒนาเปนเซลลไขระยะที่สอง และ primary polar body โดย

การแบงเซลลแบบไมโอซิส 1 (meiosis I) พรอมที่จะตกไข ขณะที่เซลล membrana granulosa ทํา

หนาที่หลั่งเอสโตรเจนสูน้ําในถุงไข เพิ่มมากขึ้นและยังสงผานสารที่มีน้ําหนักโมเลกุลนอยคือ ion

nucleotides และกรดอะมิโนไปสูเซลลไขระยะแรกของสัตวเพศเมียที่ยังไมเจริญพันธุ สารนี้มีผล

ยับยั้งการสุกของเซลลไขจึงถูกเรียกวา oocyte maturation inhibitor (OMI) ผลคือ เซลลไขจะหยุด

การแบงเซลลในระยะไมโอซิส กลาวคือ เซลลไขหยุดการพัฒนาอยูที่ระยะ diplotene ของโปรเฟส 1

Page 27:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

15

(prophase I) มีผลใหเซลลไขไมสามารถพัฒนาสูเซลลไขระยะที่สองได (Campbell และ Reece,

2002)

ภาพที่ 10 ภาพวาดเซลลไขระยะกราเฟยน ฟอลลิเคิล

(http://www.endotext.org/female/female1/femaleframe1.htm)

สัตวแตละชนิดจะใชเวลาในการเจริญของฟอลลิเคิลแตกตางกัน เชน ในสุกรใชเวลา

ประมาณ 84 วัน จากระยะไพรมอเดียล ฟอลลิเคิลจนถึงระยะแอนทรัล ฟอลลิเคิลและอีกประมาณ

21 วันจึงไดขนาดของไขพรอมที่จะตก (มงคล เตชะกําพุ, 2543) ซึ่งฟอลลิเคิลระยะที่สองพบวา

ขนาดของเซลลไขจะเพิ่มมากขึ้น ในสุกรมีขนาด 90 ไมโครเมตร การเจริญของฟอลลิเคิลเหลานี้

นอกจากมีการเพิ่มจํานวนของเซลลแกรนูโลซาและการสะสมของน้ําในถุงไขแลว โครงสรางของ

เซลลตาง ๆ ยังถูกสรางเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีการสรางเปลือกโซนา เพลลูซิดาหุมเซลลไขอีกดวย

หลังจากเกิดการตกไขเซลลแกรนูโลซาภายในแอนทรัล ฟอลลิเคิลจะกลายเปนเซลลลูเตียล

เปลี่ยนลักษณะของฟอลลิเคิลเปนคอรปส ฮีโมราจีกัม (corpus haemorrhagicum) ในเวลาตอมา

กลายเปนคอรปส ลูเตียม และคอรปส อัลบีแคน (corpus albicans)โดยเฉพาะคอรปส ลูเตียมหรือที่

เรียกวา “กอนเนื้อเหลือง” มีความสําคัญตอชวงลูเตียลของวงจรการเปนสัดและการตั้งทองโดยทํา

หนาที่ผลิตฮอรโมนโปรเจสเตอโรน (มงคล เตชะกําพุ, 2543)

Page 28:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

16

ภาพที่ 11 ภาพเซลลไขและเซลลลอมรอบเซลลไขขณะเกิดการตกไขทะลุผานผนังฟอลลิเคิล

(http://www.endotext.org/female/female1/femaleframe1.htm)

ภาพที่ 12 ภาพวาดโครงสรางภายในรังไขแสดงใหเห็นระยะตางๆ ของฟอลลิเคิล

(http://nongae.gsnu.ac.kr/~cspark/teaching/chap2.html)

Page 29:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

17

ทอนําไข

ทอนําไข (oviduct หรือ fallopian tubes หรือ uterine tubes) ของสุกร (ไพศาล เทียนไทย,

2004) มีความยาวประมาณ 15 ถึง 30 เซนติเมตร (Sisson และ Grossman, 1970) ทอนําไขเปนอวยัวะ

คูที่แขวนอยูในชองทองโดยมีเยื่อ mesosalpinx ยึดทอนําไขกับผนังลําตัว ทอนําไขจะถูกขดเปนวง

โดย mesosalpinx ทําใหเกิดกระพุงของเยื่อยึดเรียกวา Ovarian bursa โดยมีรังไขอยูที่ปากกระพุง

แบงเปน 3 ช้ัน คือ

1. ชั้นนอก (serous membrane)

2. ชั้นกลางเปนชั้นกลามเนื้อเรียบ (muscular layer)

3. ชั้นใน (mucous membrane)

ผนังดานในประกอบดวยเซลลบุทอนําไข (oviductal epithelial cells) 2 ชนิด ชนิดแรกคือ

เซลลทรงกลมที่ไมมีซีเลีย (non-ciliated round shape epithelial cells) ทําหนาที่ในการหลั่งของเหลว

และปรับสภาพแวดลอมภายในใหเหมาะสมเพื่อการปฏิสนธิ ชนิดที่สองคือ เซลลรูปทรงกระบอกที่

มีซีเลีย (ciliated columnar epithelial cells) ทําหนาที่คอยพัดโบกเซลลไขและเซลลอสุจิที่ผานใน

ทอนําไขและสงผานตัวออนไปยัง uterine horns ทอนําไขสามารถยืดและหดตัวไดมากแบงออกได

เปน 3 สวน คือ

1. อินฟนดิบูลัม (infundibulum) เปนสวนที่มีผนัง tunica mucosa หนาที่สุด ดานปลายเปน

ฟริมเบรีย (frimbriae) หรือปากแตร มีลักษณะคลายนิ้วมือเปดอยูเปนทางเขาใหญ และมีสวนแคบ

ติดอยูกับปลายของปกมดลูกในปลายอีกดานหนึ่ง ซึ่งทําหนาที่พัดโบกใหเซลลไขระยะกราเฟยน

ฟอลลิเคิล ตกลงสูชองวางของทอนําไข

2. แอมพูลา มีลักษณะคอนขางตรง เปนสวนที่มี tunica mucosa หนาและยาวมากที่สุด ดาน

ปลายติดกับอิสทมัส เรียกสวนนี้วา แอมพูลารี อิสทมัส จังชั่น (ampullary - isthmus junction: AIJ)

การปฏิสนธิเกิดขึ้นที่สวนนี้

3. อิสทมัส เปนสวนที่ตอจากแอมพูลาโดยมีปลายอีกดานเชื่อมกับปกมดลูกตรงสวนที่เรียกวา

Uterotubal junction ทอมีขนาดเล็กและมีผนัง tunica muscularis ที่หนา ทอสวนนี้เปนทางผานของ

ตัวออนหลังจากที่ไดรับการปฏิสนธิแลวผาน uterine horns ไปยังมดลูก (Campbell และ Reece,

2002)

ถาหากมีการอุดตันของทอนําไขหรือเกิดการงอและปดกั้นทางสงผานแลวอาจจะทําใหการ

ผสมติดต่ํา Kunavongkrit และคณะ (1987) รายงานความผิดปกติของทอนําไขจากสุกรสาวสง

โรงฆาจํานวน 1,000 ตัว พบวา รอยละ 4 มีความผิดปกติพบถึง รอยละ 3.9 มีการงอและติดกันของ

Page 30:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

18

ทอนําไข และรอยละ 0.1 ทอนําไขมีสภาพเปนถุงน้ํา (hydrosalphinx) ใน 2 กรณี ดังกลาวจะทําให

สภาพการผสมติดต่ําลงดวย

หนาที่ของทอนําไข

นําเซลลไขที่ตกจากรังไขและอสุจิมาพบกันที่ทอนําไขในทิศทางที่ตรงกันขามกัน ฟริมเบรีย

จะเปนสวนที่โบกพัดใหเซลลไขตกลงในอินฟนดิบูลัมจากนั้นไขจะถูกสงตอไปยังแอมพูลาซึ่งเปน

สวนที่ตอกับอิสทมัสและจะเกิดการปฏิสนธิกับอสุจิที่สวนแอมพูลา

ภาพที่ 13 ทอนําไขสวนแอมพูลา อิสทมัส และรังไขของสุกรที่ใชในงานวิจัย

มดลกู (uterus)

มดลูกสุกรประกอบดวยสวนตัวมดลูก ซึ่งมีความยาวประมาณ 5 เซนติเมตรและปกมดลูก

มีความยาวและยืดหยุนไดยาวประมาณ 1.0 ถึง 1.5 เมตร แตปกมดลูกมักจะขดกันอยูลักษณะดูคลาย

กับลําไสที่มีผนังหนา ดานนอกของมดลูกจะติดอยูกับผนังพังผืดในชองทอง มีตอมน้ําเหลืองติดอยู

มีหลอดเลือดแดงและดํามากมาย ซึ่งเปนหลอดเลือดขนาดเล็ก น้ําหนักของมดลูกมีตั้งแต 153 ถึง

263 กรัม ในสุกรสาว ซึ่งแลวแตระยะของวงจรการสืบพันธุในสุกรตัวนั้น

หนาที่ของมดลูกคือ เปนที่ฝงตัวของตัวออน (embryo) ในบริเวณปกมดลูกและมีการ

ควบคุมทําใหมีการตั้งทองโดยสมบูรณ สงผานอาหารมาเลี้ยงลูกในทองระยะฟตัส (fetus) จนครบ

แอมพูลา อิสทมัส

รังไข

ทอนําไข

ฟริมเบรีย

Page 31:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

19

กําหนดการตั้งทองนอกจากนี้ปกมดลูกทั้งสองขางยังมีการสงสลับตัวออน จากดานซายและขวา

สลับไปมาไดอีกดวย ขึ้นกับจํานวนลูกออนของการปฏิสนธิในปกมดลูกแตละดาน (Kunavongkrit

และ Larsson, 1982 )

ปากมดลูก (cervix)

เปนสวนที่ตอจากมดลูก มีความยาวประมาณ 10 ถึง 15 เซนติเมตร และตอไปยังชองคลอด

โดยไมมีสวนยื่นเขาไปในสวนของชองคลอดเลย ซึ่งสวนของปากมดลูกจะแยกไดจากสวนของ

ชองคลอด โดยดูที่ผนังจะมีผนังหนากวาและมีปุมกลมอยูในผนังดานใน ซึ่งจะเปนตัวที่คอย

กระชับปลายลึงคของสุกรเพศผู เมื่อทําการผสมพันธุและทําใหมีการหลั่งน้ําเชื้อได โดยการกระชับ

ใหปลายลึงคเขาที่หรือติดแนนได มักจะพบในชวงระยะการเปนสัดเทานั้นที่ทําใหปากมดลูกมีการ

แข็งตัว ซึ่งเปนอิทธิพลของฮอรโมนเอสโตรเจน (Rigby, 1967; Kunavongkrit และคณะ, 1983)

หนาที่ของปากมดลูกในสุกร นอกจากจะปองกันเชื้อโรคไมใหเขาไปในมดลูกแลว ยังเปน

จุดที่ปลอยน้ําเชื้อของพอสุกรเมื่อผสมพันธุตามธรรมชาติ และเปนที่กักไมใหน้ําเชื้อมีการไหลกลับ

ดวยในขณะผสมพันธุ

ชองคลอด (vagina)

เปนทอตอจากสวนของปากมดลูกมีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ซึ่งประกอบดวย

กลามเนื้อหนา 2 ชั้น สวนผนังดานในเปนเยื่อบุเมือก (mucous membrane) เปนประเภทไมมีตอม

(nonglandular epithelium) (อรรณพ คุณาวงกฤต, 2545)

หนาที่ของชองคลอด เปนอวัยวะที่ใชในการผสมพันธุและเปนทางออกของลูกสุกร

เมื่อคลอด

ปากชองคลอด (vulva)

เรียกอีกอยางหนึ่งวา อวัยวะเพศภายนอก (external genitalia) (กัมพล แกวเกษ, 2548)

ประกอบดวย สวนที่เปนทอตอกับชองคลอดยาวประมาณ 7 ถึง 8 เซนติเมตร มีสวนที่มีตอมขับ

น้ําหลอล่ืน (vestibular glands) ซ่ึงจะมีการทํางานมากในชวงการเปนสัด นอกจากสวนที่เปนทอแลว

Page 32:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

20

ยังมีอีก 2 สวนคือ สวนที่เปนแคม (labia) ซึ่งมักจะหนาและยน และในแองของแคมดานลางจะมี

ปุมคลิโตรีส (clitoris) อยูในแอง

หนาที่ เปนปากทางเปดของอวัยวะในระบบสืบพันธุเพศเมีย มีการหลั่งน้ําหลอลื่นบาง

เพื่อใหสะดวกในการผสมพันธุตามธรรมชาติเมื่อสัตวเพศเมียเปนสัด

5. วงจรการสืบพันธุของสุกร

วงจรการสืบพันธุของสุกรเพศเมียเริ่มมีการพัฒนาโดยรังไขของลูกสุกรจะสรางถุงหุมไขเปน

แบบปฐมภูมิตั้งแตอยูในทองแม หลังจากนั้น 70 วัน รังไขจะเปนแบบทุติยภูมิ หลังจากคลอดลูก

สุกรที่มีอายุ 2 เดือนรังไขจะเปนแบบตติยภูมิ และจะเริ่มพัฒนาอยางรวดเร็ว เมื่อลูกสุกรอายุได 70

ถึง 100 วัน แตถุงหุมไขยังมีขนาดเล็ก 1 ถึง 3 มิลลิเมตร และจะมีการเจริญเติบโตอยางชาๆ เปน

สัดสวนกับน้ําหนักตัว จนกระทั่งโตเต็มวัยขนาดของมดลูกจะใหญขึ้นตามอายุ ภายหลังจากสุกร

เจริญเติบโตเต็มที่จนเขาสูการเปนหนุมเปนสาวแลว จะถูกควบคุมโดยการทํางานของฮอรโมนจาก

สมองสวนไฮโปธาลามัส ซึ่งผลิตฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอช ในขณะที่สัตวยังเล็กอยูสมอง

สวนนี้จะมีการพักตัว เมื่อรางกายเจริญเติบโตขึ้นและอายุเขาเกณฑ สมองสวนนี้จะผลิตฮอรโมนทั้ง

สองตัวเขาควบคุมการทํางานของตอมใตสมองสวนหนา ทําใหการผลิตฮอรโมนเอฟเอสเอชและ

แอลเอชเพิ่มขึ้น ซ่ึงฮอรโมนทั้งสองตัวนี้จะเขาควบคุมการทํางานของรังไขและลูกอัณฑะทันที ซึ่ง

ฮอรโมนเอฟเอสเอชจะกระตุนใหมีการสรางถุงหุมไขและมีการตกของไขในที่สุด การเพิ่มของ

ฮอรโมน แอลเอชจะเพิ่มตั้งแต 4 สัปดาหกอนการเปนสัด (heat) ครั้งแรกอยางตอเนื่องทีละนอย

จนกระทั่งเปนสัด (Anderson และคณะ, 1983) และระดับของเอสโตรเจนจะเพิ่มขึ้นในชวง 5 ถึง 6

วัน กอนเปนสัดครั้งแรกเทานั้น ซึ่งไมมีการขึ้นลงของฮอรโมนเอสโตรเจนมากอน ถามีการผสม

พันธุจะทําใหรังไขผลิตฮอรโมน เพศเมีย เพื่อแสดงอาการเปนสัดและเตรียมมดลูกใหพรอม

ตามปกติสุกรเพศเมียจะเริ่มมีการตกของไขและเปนสัดรวมทั้งมีการยอมรับเพศผู เมื่อโตเต็มวัยอายุ

ประมาณ 180 ถึง 200 วัน หรือ 6 ถึง 7 เดือน แตไมควรทําการผสมกอนอายุ 6 เดือน (ควรมีน้ําหนัก

90 กิโลกรัม) เพราะการเปนสัดครั้งที่ 2 และ 3 จะมีการตกของไขเพิ่มขึ้นกวาครั้งแรก หลงัจากนัน้จะ

คงที่ (16 ถึง18 ฟอง) ในระยะนี้ถามีการสังเกตดูอวัยวะภายนอกของอวัยวะสืบพันธุ สําหรับเพศเมีย

จะพบวามีความสมบูรณของอวัยวะสืบพันธุภายนอกและเตานมมีขนาดเติบโตไดรูปรางและ

สัดสวน แสดงวามีการทํางานของฮอรโมนในการสืบพันธุเปนไปโดยปกติสวนแมสุกรมักจะเปน

สัดภายใน 1 สัปดาหหลังหยานมลูก สําหรับรอบการเปนสัด (estrous cycle) ของสุกรเฉลี่ย 21 วัน

(ชวง 19 ถึง 23 วัน) อรรณพ คุณาวงกฤต (2545) รายงานวามีสุกรบางตัวแสดงการเปนสัดเงียบ

Page 33:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

21

หรือไมเปนสัดในฤดูกาลท่ีรอน การใหอาหารและการจัดการดีไมสามารถยนระยะวงจรการเปนสัด

ลงได ในรอบการเปนสัดจะพบวามีการเปล่ียนแปลงของฮอรโมนเพศ พบวารังไขผลิตฮอรโมนที่

แตกตางกันในแตละชวง ซึ่งฮอรโมนเพศที่เกี่ยวของมีโปรเจสเตอโรน เอสโตรเจน เอฟเอสเอช

แอลเอช และโปรสตาแกลนดิน (prostaglandin) ฮอรโมนเหลานี้ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายใน

รังไขในแตละชวงของการเปนสัด

ระยะการเปนสัดในสุกรนั้นขึ้นอยูวาเปนสุกรสาวหรือแมสุกร ในสุกรสาวมักจะสั้นคือ

ประมาณ 1 วันเทานั้น สวนในแมสุกรประมาณ 2 ถึง 3 วัน (24 ถึง 72 ชั่วโมง) (Wrathall, 1980)

แมสุกรอาจจะแสดงอาการเปนสัดหลังคลอด (postpartum estrus) โดยไมมีการตกไข ซึ่งพบหลัง

คลอด 2-5 วัน การเปนสัดหลังคลอดนี้ เนื่องจากการลดระดับของโปรเจสเตอโรนในขณะที่ระดับ

ของเอสโตรเจนในกระแสเลือดเพิ่งจะลดลง เนื่องจากการขับรกออก (Kunavongkrit และคณะ,

1983a)

กรณีผสมไมติดสุกรจะกลับเปนสัดใหมทุก 21 วัน เรียกวา วงรอบของการเปนสัด ถาตั้งทอง

หลังคลอดแลวประมาณ 9 วัน จะเริ่มวงรอบของการเปนสัดใหม ในการผสมพันธุสุกรเพศเมีย

ตองการน้ําเชื้อสูงถึง 50 มิลลิลิตร เปนอยางนอยตอการผสม เนื่องจากปกมดลูกของสุกรเพศเมีย

ใหญและยาว รวมทั้งมีการตกไขคราวละมาก ๆ จึงทําใหอัตราการผสมติดสูง ไมควรใชพอพันธุ

ผสมมากกวาสัปดาหละ 2 ถึง 3 ครั้ง เพราะจะทําใหน้ําเช้ือลดปริมาณลง รวมทั้งความหนาแนนดวย

ตารางที่ 1. แสดงระยะเวลาในการสืบพันธุของแมสกุร

เหตุการณ ระยะเวลา (วนั)

รอบการเปนสัด 21

เปนสัดครั้งแรก 210 หรือระยะ 180-250

ผสมพันธุครั้งแรก 260

ระยะเวลาอุมทอง 114

ระยะเวลาในการใหนมลูก 28

ระยะจากหยานมถึงผสมติด 15

วงจรการเปนสัดแบงเปนระยะตางๆ มีการเจริญของฟอลลิเคิลตามลําดับซึ่งเกิดจากการ

เปลี่ยนแปลงของระดับฮอรโมนชนิดในกระแสเลือดที่สรางมาจากตอมใตสมอง ไดแก ฮอรโมน

เอสโตรเจน เอฟเอสเอช และแอลเอช ทําใหการเจริญของฟอลลิเคิล แบงเปน 2 ระยะ

Page 34:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

22

1.ระยะฟอลลิคูลาร (follicular phase) เปนชวงที่ใกลตกไขคอรปส ลูเตียมสลาย ทําใหฮอรโมน

โปรเจสเตอโรนอยูในระดับต่ํา ฮอรโมนแอลเอชมีการหลั่งออกมาในลักษณะของความถี่สูงมาก

(high frequency) ชวยใหฟอลลิเคิลเจริญจนเกิดการตกไขได นอกจากนี้ระดับ ของฮอรโมน

เอสโตรเจนที่ผลิตจากฟอลลิเคิลมีขนาดเพิ่มขึ้นมีผลตอการกระตุนใหเกิด preovulatory LH surge

ทําใหเกิดการตกไข

ภาพที่ 14 รังไขและทอนําไขในระยะฟอลลิคูลาร

2. ระยะลูเตียล (luteal phase) จะมีฟอลลิเคิลขนาดใหญที่ปรากฏตัวขึ้นมาแตไมสามารถเจริญ

ตอไปจนตกไขจึงเกิดการเส่ือมลง เนื่องจากฮอรโมนโปรเจสเตอโรนที่หลั่งจากคอรปส ลูเตียมใน

ระดับสูง ในระยะลูเตียลไปลดความถี่ของ LH pulses และ GnRH pulses ทําใหไมมีฮอรโมน

แอลเอชในความถ่ีที่สูงเพียงพอ (low frequency) ที่จะกระตุนใหเกิดการตกไขได

รังไข

ทอนําไข

Page 35:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

23

ภาพที่ 15 รังไขและทอนําไขในระยะลูเตียล

รอบการเปนสดั (Estrous Cycle) ในสุกร แบงเปน 4 ระยะ

1. ระยะกอนการเปนสัด (Proestrous) มีระยะเวลาประมาณ 4 วัน โดยที่คอรปส ลูเตียมจะ

สลายตัว ระดับโปรเจสเตอโรนลดลง เอฟเอสเอชและแอลเอชมีการหมุนเวียนมากขึ้น ทําใหเซลล

ไขเจริญเติบโตซึ่งขึ้นอยูกับฮอรโมนทั้งสองตัวนี้ เซลลทีกาชั้นในจะผลิตฮอรโมนเพศเมียมากขึ้น

ทําใหสุกรเขาสูระยะท่ี 2

2. ระยะเปนสัด (Estrous or heat) มีระยะเวลาประมาณ 2 ถึง 4 วัน เนื่องจากอิทธิพลของ

ฮอรโมนเอสโตรเจนตอระบบประสาท ทําใหเพศเมียแสดงอาการยอมรับเพศผูในการผสมพันธุ

อวัยวะเพศบวมแดงเนื่องจากการเจริญเติบโตของเซลลและการคั่งของโลหิตเกิดการตกไข ในตอน

ปลายๆ ของการเปนสัด (ครึ่งหลังของการเริ่มเปนสัดไปแลว 18 ถึง 36 ชั่วโมง) ในการผสมควรผสม

2 ครั้งหางกัน 12 ถึง 24 ช่ัวโมง

3. ระยะหลังการเปนสัด (Metestrous) มีระยะเวลานานประมาณ 5 ถึง 7 วัน เปนระยะเวลาที่

เกิดการขยายตัวของคอรปส ลูเตียม การผลิตฮอรโมนโปรเจสเตอโรนและเอสโตรเจนลดระดับลง

ทําใหอวัยวะเพศหายบวมแดง แตมีการเจริญของเซลลเยื่อบุผนังมดลูกภายในโดยอิทธิพลของ

ฮอรโมนโปรเจสเตอโรนเพื่อเตรียมรับตัวออน และการบีบตัวของมดลูกลดลง

4. ระยะพักตัว (Diestrous) มีระยะเวลาไมต่ํากวา 10 วัน คอรปส ลูเตียมคงอยูในระยะตนๆ เมื่อ

ไขไมไดรับการผสมคอรปส ลูเตียมจะสลายตัวในวันที่ 15 ถึง16 ของวงรอบ และภายหลังจากนั้น

รังไข

ทอนําไข

Page 36:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

24

วงรอบใหมจะเริ่มขึ้น ถาไขมีการผสมพันธุและตัวออนของไขมีการเจริญเติบโตตอไปคอรปส

ลูเตียมจะคงสภาพอยู ซ่ึงเปนผลมาจากการเจริญเติบโตของรกและตัวออน ตัวออนก็สามารถพัฒนา

ตัวเองตอไป เซลลไขที่ไมไดรับการผสมจะตายภายใน 8 ชั่วโมงหลังตกไข และสลายตัวไปในที่สุด

ระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการผสมพันธุ (time for breeding) การเปนสัดเกิดขึ้นประมาณ 2 ถึง

3 วันหลังคลอดแตไมควรผสม เพราะถาสุกรใหนมจะไมมีการตกของไข ยกเวนแตลูกสุกรตายหมด

ซึ่งก็ไมควรผสม ควรรอใหมดลูกไดพักตัวกอน ประมาณ 28 ถึง 45 วันหลังคลอด

การตกไข

ในสุกรเปนการตกไขตามธรรมชาติ (spontaneous ovulation) (มงคล เตชะกําพุ, 2543) ซึ่ง

เกิดขึ้นกอนหมดการเปนสัด ประมาณชวงปลายของการเปนสัดประมาณ 24 ถึง 30 ชั่วโมง เวลาใน

การตกไขมีความสําคัญมากตอการผสมพันธุสัตว การผสมในชวงที่ไมเหมาะสมทําใหเกิดการผสม

ไมติดหรือไมมีตัวออนหรือตัวออนที่ไดมีคุณภาพไมดี (มงคล เตชะกําพุ, 2543) การตกไขจะเกิดขึ้น

หลังจากที่มีการผลิตฮอรโมนเอสโตรเจนออกมาจากฟอลลิเคิลในปริมาณที่สูง ซึ่งจะไปกระตุนให

เกิดปริมาณแอลเอชสูง ซึ่งพบไดประมาณ 36 ถึง 42 ชั่วโมง กอนที่จะเกิดการตกไขเกิดขึ้น ชวง

ระยะเวลาทั้งหมดตั้งแตเกิดการตกไข (duration of ovulation) ใบแรกจนถึงใบสุดทายใชเวลา

ประมาณ 3 ชั่วโมง ระยะเวลาในการตกไขเริ่มตั้งแตสุกรเริ่มยืนนิ่ง (onset of estrous) จนถึงเกิดการ

ตกไขมีความแตกตางกันระหวาง สุกรสาวและแมสุกร คือ ในสุกรสาวจะใชเวลาประมาณ 32

ชั่วโมง และแมสุกรใชเวลาประมาณ 40 ชั่วโมง นอกจากนี้ระยะเวลาในการตกไขในแตละรอบของ

วงจรการเปนสัดจะมีคาใกลเคียงกัน แตโดยทั่วไปประมาณกันวาการตกไขเกิดขึ้น 2 ใน 3 ของ

ระยะเวลาทั้งหมดที่สุกรแสดงอาการยืนนิ่ง (duration of estrous) (กัมพล แกวเกษ, 2548) และ

ระยะเวลาทั้งหมดที่สุกรแสดงอาการยืนนิ่งนั้นแปรผันตามระยะเวลาตั้งแตหยานมจนถึงสุกรเริ่ม

แสดงอาการยืนนิ่ง กลาวคือ สุกรตัวใดมีอาการนี้สั้น (ประมาณ 3 วัน) จะแสดงอาการเปนสัดนาน

(long estrous duration) และทําใหระยะเวลาในการตกไข (เกิดขึ้น 2 ใน 3 ของ duration of oestrus)

นานกวากลุมสุกรที่มีอาการนี้ยาว (5 ถึง 7 วันมี short duration of oestrus) ดังนั้นจะเห็นวาระยะเวลา

ในการตกไขมีความสําคัญมาก เนื่องจากเซลลไขมีอายุส้ัน เพียง 8 ถึง 12 ชั่วโมง (อาจถึง 18 ชั่วโมง)

หลังการตกไข เมื่อเปรียบเทียบกับตัวอสุจิที่มีอายุไดประมาณ 24 ชั่วโมงหลังจากเขาไปในโพรง

มดลูก เพราะฉะนั้นถาระยะเวลาที่ทําการผสมสุกรไมเหมาะสมจะทําใหไมเกิดการปฏิสนธิหรือ

เกิดขึ้นไดแตวาตัวออนไมสามารถพัฒนาตอไปได (อาจมีอายุไดแคประมาณ 11 วัน) หลังจากนั้นจะ

คอย ๆ ตายไป ดังนั้นเวลาจะผสมสุกรควรทําการผสมอยางนอยหนึ่งครั้ง กอนที่จะเกิดการตกไข

Page 37:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

25

(24 ชั่วโมงกอนการตกไข) เนื่องจากตัวอสุจิของสุกรตองใชเวลาประมาณ 3 ถึง 6 ชั่วโมง จึงจะมี

ความสามารถในการที่จะปฏิสนธิกับโอโอไซดได อัตราการตกไขของสุกรเปนปจจัยสําคัญในการ

กําหนดขนาดของขนาดครอก (litter size) ในรังไขของสุกรมีฟอลลิเคิลหลายรอยใบในวงรอบของ

การเปนสัด แตจะมีฟอลลิเคิลเพียง 10 ถึง 20 ใบเทานั้น ที่จะเติบโตไปเปน pre-ovulatory follicles

(เสนผานศูนยกลาง 8 ถึง 10 มิลลิเมตร) ในสุกรสาวจะมีอัตราการตกไขนอยกวาในแมสุกร (8 ถึง 10

กับ 10 ถึง 20) ซ่ึงตรงกับ Anderson และคณะ (1983) รายงานวาสภาพการตกไขไมเทากัน โดยการ

ตกไขมีมากขึ้นเมื่อเปนสัดครั้งหลังๆ เมื่อเปรียบเทียบกับการตกไขครั้งแรก

6. การเลี้ยงเซลลไขและเซลลบุทอนําไขในหองปฏิบัติการ

Yoshimura และคณะ (1989 ) พบวาฮอรโมนโปรแลคติน (prolactin) เอฟเอสเอช แอลเอช

และเอสโตรเจน มีผลตอการเจริญพัฒนาของเซลลไขกระตาย ในการทําเซลลไขใหสุกในจานแกว

ไดมากขึ้น

Saeki และคณะ (1991) พบวาการเสริมฮอรโมนเอฟเอสเอช แอลเอชและเอสโตรเจน ใน

อาหารเพาะเลี้ยงสําหรับเลี้ยงเซลลไขมีผลทําใหเซลลไขวัวเจริญพัฒนามากขึ้นและมีผลไปเพิ่มการ

แบงเซลลของตัวออนในระยะบลาสโตซีส (blastocyst) เพิ่มมากขึ้นดวย

มงคล และคณะ (1993) รายงานวาในการผลิตตัวออนสุกรดวยวิธีการปฏิสนธินอกรางกาย

โดยการเล้ียงเซลลไขที่เก็บจากรังไขแมสุกรและสุกรสาว สามารถอยูในสภาพเพาะเล้ียงไดโดยเลี้ยง

ในน้ํายา TCM 199 + NaHCO3 ใน 10% FCS ที่มีฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอช 10ไมโครกรัมตอ

มิลลิลิตร และ17 ß Estradiol 10 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร รวมกับ GC และCC นาน 40 ชั่วโมง ทําให

เซลลไขสุกพรอมที่จะปฏิสนธิภายนอกรางกายกับตัวอสุจิจนไดเปนตัวออน

Mori และคณะ (2000) รายงานวา COCs ของสุกรชนิดที่หนึ่งและสองที่นําไปเพาะเลี้ยงใน

อาหารเพาะเลี้ยงเซลล TCM-199 ท่ีเสริมดวยฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอชสามารถพัฒนาเซลล

ไขใหสุกไดสูงขึ้น

Suzuki และคณะ (2000) ศึกษาการเปล่ียนแปลงของ CC ขณะที่มีการสุกของเซลลไขที่อยูใน

สภาพเพาะเล้ียง พบวาในชั่วโมงที่ 44 (อยูในชวง M-I และ M-II stage ) ของการเพาะเลี้ยง เซลลที่

ลอมรอบเซลลไขแยกตัวออกจากเซลลไข ซึ่งเซลลไขอยูในชวงกําลังจะเจริญสมบูรณ และพบวายัง

Page 38:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

26

มีการเกาะกันอยูระหวางเซลลที่ลอมรอบเซลลไขเอง (cumulus –cumulus communications) ซึ่งยัง

ไมทราบหนาที่ทางชีวภาพของเซลลท่ีเกาะกันนี้

Funahashi และคณะ (2000) ศึกษาการเปล่ียนแปลงทางสัณฐานวิทยาของโซนา เพลลูซิดาใน

เซลลไขของสุกรหลังการปฏิสนธิในสภาพธรรมชาติและในสภาพเพาะเลี้ยง โดยการใช

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด ซึ่งในการเพาะเลี้ยงเซลลไขในอาหารเพาะเลี้ยงเซลล

เสริมดวยฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอช

Lucidi และคณะ (2003) ศึกษาเกี่ยวกับการสรางสเตียรอยดของ CC ซึ่งมีอิทธิพลตอการสุก

ของไข โดยทําการเพาะเลี้ยงเซลลไขในอาหารเลี้ยงเซลลที่มีฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอชมี

วิธีการเพาะเล้ียงที่แตกตางกัน พบวาเซลลไขที่มีเซลลลอมรอบเซลลไขที่มีคุณภาพดีมีความสามารถ

ในการสรางสเตียรอยดไดดีจะลดความลมเหลวในการทําเซลลเทคโนโลยีในเรื่องการถายฝากตัว

ออนเพื่อใหเกิดการปฏิสนธิของเซลลเพื่อพัฒนาไปเปนตัวออน

Wetscher และคณะ (2005) ศึกษาการยายฝากตัวออนระยะแรกของโคเพื่อนํามาเลี้ยงตอใน

สภาพธรรมชาติ โดยเลือก COCs ของโคขนาด 2-8 มิลลิเมตรมาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลล M199

พบวาการเพาะเลี้ยงดวยอาหาร M199 สามารถทําใหเซลลไขของโคสุกพรอมที่จะปฏิสนธิไดใน

สภาพเพาะเล้ียงจนพัฒนาอยูในระยะบลาสโตซิสพรอมที่จะถายฝากตัวออนได

Romar และคณะ (2005) ศึกษาอิทธิพลของทอนําไขและเซลลคูมูลัสที่อยูบริเวณโซนา-

เพลลูซิดาและเนื้อเยื่อบริเวณรอบเซลลไข (cortical granules) ตอการปฏิสนธิของอสุจิในสภาพ

เพาะเลี้ยง ในการศึกษาไดนําเซลลบุทอนําไขของสุกรมาเพาะเลี้ยงดวยอาหารเลี้ยงเซลล M199 ใน

เวลา 3 และ 6 ชั่วโมง แลวนําไปใสในหลอดทดลองซึ่งมีเซลลไขที่ไดรับการปฏิสนธิแลว เพื่อดูการ

เปล่ียนแปลงของโซนา เพลลูซิดาและเนื้อเยื่อบริเวณรอบเซลลไข

Somfai และคณะ (2005) ศึกษาการพัฒนาระยะบลาสโตซิสในเซลลไขสุกรที่ยังไมพรอม

ปฏิสนธิเหนี่ยวรั้งกอนเขาสูระยะเมทาเฟส II และปฏิสนธิในสภาพเพาะเลี้ยง ซึ่งไดเลือกเซลลไข

สุกรที่มี CC ลอมรอบขนาด 3 ถึง 6 มิลลิเมตรเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลล M199 ซึ่งพบวาใหผลดี

เซลลไขสามารถสุกและปฏิสนธิไดดี

Page 39:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

27

Areekijseree และ Vejaratpimol (2006) ศึกษาเทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล สัณฐานวิทยา

และลักษณะโปรตีนที่หล่ังจากเซลลบุทอนําไขและเซลลลอมรอบเซลลไขสุกร พบวา การเพาะเลี้ยง

เซลลในอาหาร M199, RPMI 1640 และ DMEM ที่เสริมดวยฮอรโมนเอฟเอสเอช แอลเอช

และเอสโตรเจน ใหผลการเพาะเล้ียงที่ดีมีเปอรเซ็นตการรอดตายของเซลลสูง สามารถทําไดจริงไม

สิ้นเปลืองเวลาและประหยัดคาใชจาย

Vannucchi และคณะ (2006) ศึกษาการเพาะเลี้ยงเซลลไขและเซลลบุทอนําไขของสุนัข

รวมกับการใชอาหารเพาะเล้ียงผสมฮอรโมนในสภาพเพาะเลี้ยง โดยนําเซลลไขและเซลลบุทอนําไข

ของสุนัขมาเพาะเล้ียงดวยอาหารเพาะเลี้ยงเซลล M199 เปนกลุมควบคุม อีก 3 กลุมเพาะเลี้ยงดวย

อาหารเพาะเลี้ยงเซลล M199 และเสริมฮอรโมน กลุมที่ 2 เสริมฮอรโมนเอสโตรเจน กลุมที่ 3 เสริม

ดวยฮอรโมนโปรเจสเตอโรน กลุมที่ 4 เสริมทั้งฮอรโมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน จาก

การศึกษาพบวาเซลลไขที่นํามาเพาะเลี้ยงสามารถสุกพรอมปฏิสนธิไดในอัตราสูงสุดในกลุมที่ 2

ในชวง 72 ถึง 96 ชั่วโมง แตเปอรเซ็นตการเสื่อมของเซลลไขก็มีอัตราสูงกวาในกลุมอื่นอยางมี

นัยสําคัญ ซ่ึง Vannucchi และคณะ ไดใหความเห็นวาความแตกตางของวงจรการเปนสัดในสุนัขที่

นําเซลลไขมาทําการศึกษาก็เปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหมีความแตกตางกันได

Bogliolo และคณะ (2007) ไดทําการวิเคราะหสัณฐานวิทยาและชีวเคมีของเซลลไขแกะที่ยังโต

ไมเต็มวัยที่เปลี่ยนแปลงซึ่งมีและไมมี CC ไดทําการศึกษาโดยเลี้ยงเซลลไขแกะโดยใชอาหาร

เพาะเลี้ยงเซลล M199 เลี้ยงนาน 24 ชั่วโมง หลังจากเซลลไขแกะสุกเต็มที่พรอมที่จะผสมได

ชวงเวลา 0, 2 และ 6 ชั่วโมง ตอมาจึงแยก CC ออกเปนเซลลไขชนิดไมมีคูมูลัสลอมรอบกลุมหนึ่ง

อีกกลุมหนึ่งยังคงมี CC ลอมรอบ ในกลุมแรกเซลลที่ไมมีคูมูลัสลอมรอบจะถูกเลี้ยงรวมกับ CC ที่

แยกจาก COCs ใหมๆ จํานวน 1×106 เซลลตอมิลลิลิตร ซึ่งจากการศึกษาพบวาอาหารเพาะเล้ียงเซลล

M 199 สามารถทําใหเซลลไขของแกะสุกได

Chen และคณะ (2007) ศึกษาอิทธิพลของเซลลเนื้อเยื่อชั้นนอกรังไขที่เลี้ยงรวมกับเซลลไข

สุกรในสภาพเพาะเลี้ยงจนเซลลไขสุกสามารถปฏิสนธิและมีการพัฒนาของตัวออนได ซึ่งใน

การศึกษาไดเล้ียงเซลลไขสุกรในอาหารเพาะเลี้ยงเซลล M199 ที่ไมมีฮอรโมนและที่มีฮอรโมนนาน

12 ชั่วโมง หลังจากนั้นนํามาเลี้ยงรวมกับเซลลเนื้อเยื่อชั้นนอกรังไขนาน 44 ชั่วโมง ซึ่งผลที่ได

พบวาการเลี้ยงรวมกับเซลลเนื้อเยื่อช้ันนอกรังไขชวยเพิ่มการสุกของเซลลไขสุกร

Page 40:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

28

Mossa และคณะ (2007) ศึกษาความสัมพันธของเซลลลอมรอบเซลลไขจากจํานวนรังไขที่มี

ฟอลลิเคิลมากมีผลตอการเพิ่มตัวออนของแพะในสภาพเพาะเลี้ยง โดยการตัดฟอลลิเคิลจากรังไข

ของแพะใหบางลงเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเซลล M199 ที่เสริมดวยฮอรโมนเอฟเอสเอชและ

แอลเอช ซึ่งฟอลลิเคิลมี COCs ที่เพาะเลี้ยงถูกทําใหสุกพรอมปฏิสนธิในหลอดทดลองได ผลจาก

การศึกษาพบวารังไขที่มีจํานวนฟอลลิเคิลมากทําใหมีการเพิ่มของตัวออนของแพะในหลอดทดลอง

แตไมมีผลตอการพัฒนาของตัวออนถึงระยะบลาสโตซิส

Gomez และคณะ (2008) ศึกษาเกี่ยวกับอาหารเพาะเล้ียงตัวออนที่ไมมีซีรัมจะปรับปรุงการรอด

ชีวิตของตัวออนโคระยะบลาสโตซิสใหเปล่ียนแปลง โดยไดนําอาหารเพาะเลี้ยงเซลล M199 เลี้ยง

เซลลไขที่มีคูมูลัสลอมรอบนาน 48 ชั่วโมงจนเซลลไขสุกสามารถปฏิสนธิได

Pereira และคณะ (2008) ศึกษาผลของโปรเจสเตอโรนโดยใชตัวออนและการเพาะเลี้ยงเซลล

เปนแบบจําลองการเรียนรู โดยเพาะเลี้ยงเซลล 2 ชนิด คือ GC และเซลลบุทอนําไขของโคโดยใช

อาหารเพาะเลี้ยงเซลล M199 ซ่ึงเสริมดวยฮอรโมนโปรเจสเตอโรนสังเคราะหใน GC และไมเสริม

ฮอรโมนในการเลี้ยงเซลลบุทอนําไขโคซึ่งเล้ียงรวมกับตัวออนโค ผลจากการเลี้ยงเซลลทั้ง 2 ชนิด

พบวาไมมีอันตรายตอการพัฒนาของตัวออน

McElroy และคณะ (2008) ศึกษาการเพาะเลี้ยงเซลลในอาหารเพาะเลี้ยงแบบตางๆ กับการ

ถายฝากตัวออนระยะบลาสโตซิสและการแสดงออกของ mRNA กอนการฝงตัวออนของสุกร ซึ่ง

ไดทําการเพาะเลี้ยงเซลลไขสุกรที่มีเซลลลอมรอบโดยอาหารเพาะเลี้ยงเซลล M199 เสริมดวย

สารอาหารที่แตกตางกัน พบวาอาหารเพาะเลี้ยงเซลลที่มีสารอาหารที่แตกตางกัน มีผลตอการพัฒนา

ของตัวออนในสภาพเพาะเลี้ยงและมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในระดับยีนเมื่อเปรียบเทียบกับ

บลาสโตซิสในสภาพธรรมชาติ

Page 41:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

1

บทที่ 3

อุปกรณและสารเคม ี

1.อุปกรณและเครื่องมอืทีใ่ชในการทดลอง

1.1 กลองจุลทรรศนแบบใชแสง (light microscope)

1.2 กลองจุลทรรศนแบบสเตอริโอ (stereomicroscope)

1.3 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน (Transmission electron microscope: TEM)

1.4 เครื่องอิเล็กโทรโฟรีซีส XCell SureLockTM Mini-Cell (invitrogen)

1.5 เครื่องนึ่งฆาเชื้อแบบใชแรงดัน (autoclave)

1.6 ตูอบ (hot air oven)

1.7 ตูบม (incubator)

1.8 ตะเกียงแอลกอฮอล

1.9 กระบอกฉีดยา (syringe)

1.10 เข็มฉีดยาเบอร 18 (dispossible needle)

1.11 ชุดเครื่องมือผาตัด

1.12 พาราฟลม (parafilm)

1.13 จานเพาะเล้ียง (falcon dish)

1.14 จานแกว (petri dish)

1.15 พาสเจอรปเปต (paster pipette)

1.16 แคปซูลบีม (BEEM capsule)

1.17 บิกเกอร ขนาด 50, 100 และ 200 มิลลิลิตร

1.18 กระจกปดสไลด (cover slips)

1.19 กระจกสไลด (slide)

1.20 ผากอซ (gauze)

1.21 ท่ีวางตัวอยาง (stub)

1.22 ปากคีบ (tweezer) ปลายแหลม

29

Page 42:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

30

1.23 ไมโครปเปต (micro pipette)

1.24 เครื่องวัดความเปนกรด-เบส (pH meter)

1.25 เครื่องชั่งสารแบบละเอียด

1.26 เครื่องปนเหวี่ยง (centrifuge)

1.27 ตูดูดความชื้น (desiccator)

1.28 เครื่องตัดกระจก (knife maker)

1.29 มีดแกวหรือมีดกระจก (glass knife)

1.30 กริด (grid)

1.31 เครื่องฉาบผิวดวยโลหะ (ion sputter)

1.32 เครื่องตัดตวัอยางใหบาง (ultramicrotome)

1.33 ตูปลอดเช้ือ (Laminar air flow)

1.34 เครื่องวิเคราะหมวลสาร (Mass spectrometer)

1.35 เทปคารบอน (carbon tape)

1.36 แคปทิวป (cap tube)

1.37 ตูเย็น (Freezer -20° C)

1.38 เครื่องตรวจวัดสารดวยการดูดกลืนแสง (UV/VIS Spectrophotometer: Model 7800, Jasco

Ltd., Japan)

1.39 เครื่องเขยาผสมสารเคมี (Votex mixer: Science Industries)

1.40 หวงโลหะ (loop)

2. สารเคมี

2.1 เมทิลแอลกอฮอล (methyl alcohol)

2.2 น้ําเกลือ 0.9 เปอรเซ็นต (0.9 % normal saline solution)

2.3 เอทิลแอลกอฮอล (ethyl alcohol)

2.4 น้ํากลั่น (distilled water)

2.5 กลูตาราลดีไฮด 2.5 เปอรเซ็นต (2.5% glutaraldehyde)

2.6 ฟอสเฟตบัฟเฟอร (0.1 M phosphate buffered pH 7.2)

2.7 ออสเมียม เตตรอกไซด 1 เปอรเซ็นต (1% osmium tetroxide : OsO4)

2.8 สารละลายโปรตีนมาตรฐาน BSA (Bovine Serum Albumin)

2.9 สารละลายฟนอล (Folin phenol reagent)

Page 43:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

31

2.10 สารละลายอัลคาไลน คอปเปอร (alkaline cupper)

2.11โซเดียม คารบอเนต (sodium carbonate)

2.12 กลีเซอรอล 10 เปอรเซ็นต (10% w/v glycerol)

2.13โบรโมฟนอล บลู 0.01 เปอรเซ็นต (0.01% w/v Bromophenol blue)

2.14 เลดซิเตท 0.5 เปอรเซ็นต (0.5% lead citrate)

2.15 สเปอรเรซิน (Spurr’s resin)

2.16 โทลูอิดีน บลู 1 เปอรเซ็นต (1 % toluidine blue)

2.17 ยูรานิล อาซิเตท 2 เปอรเซ็นต ในเมทานอล 50 เปอรเซ็นต (2% uranyl acetate in 50 %

methanol)

2.18 อะซีโตน (acetone)

2.19 โซเดียมไฮดรอกไซด 0.1 โมลารตอลิตร (NaOH 0.1 M/l)

2.20 โปแตสเซียม 1 เปอรเซ็นต (1% w/v potassium)

2.21 คูแมสซี บริลเลียน บลู (COOMASSIE BRILLIANT BLUE R®-250)

2.22 แอมโฟเทอริซิน บี (amphotericin B)

2.23 เพนนิซิลิน จี โซเดียม (penicillin G sodium)

2.24 สเตรปโทมายซิน (streptomycin)

2.25 โปรตีนมาตรฐาน BenchMark™ Protein Ladder (invitrogen) บริษัทกีบไทย จํากัด

2.26 นูเพจ โนเวก บิส ทริส เจล NuPAGE® Novex Bis-Tris Gels (invitrogen)

2.27 นูเพจ แอลเอสดี แซมเปล บัฟเฟอร NuPAGE® LSD Sample buffer (4X) (invitrogen)

2.28 นูเพจ รีดิวสซ่ิง เอเจนต NuPAGE® Reducing Agent (10X) (invitrogen)

2.29 กราเชียล อะซีติค แอซิด (glacial acetic acid)

2.30 คอปเปอรซัลเฟต 1 เปอรเซ็นต (1% w/v CuSO4)

2.31 น้ําปราศจากไอออน (deionized water)

Page 44:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

32

3. อาหารเพาะเลี้ยง (medium)

3.1 M199 มี Earle’s salts (Sigma Company, St Louis MO)

3.2 10% heattreated fetal calf serum (HTFCS)

3.3 โซเดียมไบคารบอเนต 2.2 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร (2.2 mg/ml NaHCO3: Sigma Company,

St Louis MO)

3.4 ทาลป เฮปเพส 1 โมลาร (1 M TALP HEPES: Sigma, St Louis MO)

3.5 ไพรูเวต 0.25 มิลลิโมล (0.25 mM pyruvate)

3.6 ฟอลลิคูลา สติมูเลติ่งฮอรโมน 15 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร(15 µg/ml follicular stimulating

hormone: FSH)

3.7 ลูติไนซิ่งฮอรโมน 1 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร(1 µg/ml lutinizing hormone: LH)

3.8 เอสตราไดออลซ่ึงละลายในเอธานอล 1 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร (1 µg/ml estradiol with

ethanol)

3.9 เจนตามายซิน ซัลเฟต 50 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร (50 mg/ml gentamycin sulfate)

4. ตัวอยางที่ใชในการทดลอง

4.1 ทอนําไขแมสุกร

4.2 รังไขแมสุกร

Page 45:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

34

บทที่ 4

วิธีดําเนินการทดลอง

1. วิธีเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเซลล

1.1 การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเซลลไข ประกอบดวย M 199 เปนอาหารที่เหมาะสําหรับใช

เลี้ยง endothelium cells ตาง ๆ ที่มี Earle’s salts (Sigma Company, St Louis MO) เพิ่ม 10%

heattreated fetal calf serum (HTFCS), NaHCO3 2.2 mg/ml (Sigma Company, St Louis MO),

1 M Hepes (Sigma, St Louis MO), 0.25 mM pyruvate, 15 µg/ml FSH, 1 µg/ml LH, 1 µg/ml

estradiol ซ่ึงละลายในเอธานอล และ gentamycin sulfate 50 mg/ml โดยกรองอาหารเพาะเลี้ยงและ

ปรับคาความเปนกรด-ดาง (pH) เทากับ 7.2 ถึง 7.4 แบงอาหารเพาะเลี้ยงเปน 2 สวน สวนที่ยังไมได

ใชเก็บแชที่เย็นที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส สวนที่จะนํามาใชเพาะเลี้ยงแบงใส cap tube ประมาณ 2

มิลลิลิตร กอนนํามาเลี้ยงเซลลควรบมในตูบมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส คารบอนไดออกไซด 5

เปอรเซ็นต ความชื้นสัมพัทธ 95 เปอรเซ็นต นาน 24 ชั่วโมง เพื่อดูวาเมื่อจะนําอาหารเพาะเลี้ยงมา

ใช อาหารนั้นขุนหรือมีตะกอนหรือไม ซึ่งถาพบเชนนั้นแสดงวามีสิ่งปลอมปนเกิดขึ้นในอาหาร

เพาะเลี้ยง ไมควรนําอาหารนั้นมาเล้ียงเซลล

1.2 การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเซลลบุทอนําไข อาจใช hepes buffered tyrodes medium

(TALP-HEPES) ซึ่งเปนน้ํายาที่ใชในการเลี้ยงเซลลบุทอนําไขชั่วคราวที่ใชเมื่ออยูนอกตูบมใน

ระยะเวลาสั้นๆ สําหรับอาหารเพาะเลี้ยงเซลลบุทอนําไขที่ใชเพื่อเลี้ยงเซลลในงานวิจัยนี้

ประกอบดวย M 199 ที่มี Earle’s salts (Sigma Company, St Louis MO) เพิ่ม 10% heat treated

fetal calf serum (HTFCS), NaHCO3 2.2 mg/mL (Sigma Company, St Louis MO), 0.25 mM

pyruvate, 1 M Hepes (Sigma, St Louis MO) และ gentamycin sulfate 50 mg/ml โดยกรองอาหาร

เพาะเลี้ยงและปรับคาความเปนกรด-ดางเทากับ 7.2 ถึง 7.4 แบงอาหารเพาะเลี้ยงเปน 2 สวน สวนที่

ยังไมไดใชเก็บแชที่เย็นที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส สวนที่จะนํามาใชเพาะเล้ียงแบงใสจานเพาะเล้ียง

จานละ 10 มิลลิลิตร กอนนํามาเลี้ยงเซลลควรทําวิธีการเชนเดียวกับการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง

เซลลไข

33

Page 46:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

34

2. การเกบ็และเตรียมตัวอยาง

เก็บตัวอยางทอนําไข และรังไขสุกรจากโรงฆาแมสุกรในจังหวัดนครปฐม โดยใชกรรไกรตัด

ตัวอยางออกจากซากแมสุกรที่ เพิ่งตายบรรจุใสถุง ลางตัวอยางดวยสารละลายน้ําเกลือ 0.9

เปอรเซ็นต ที่ผสมยาปฏิชีวนะ 2 ถึง 3 ครั้ง นําถุงใสกระติกที่หลอดวยน้ํากลั่น ควบคุมอุณหภูมิไวที่

25 ถึง 30 องศาเซลเซียส และนําตัวอยางกลับหองปฏิบัติการภายใน 1 ชั่วโมง

3. วิธีเตรียมเซลล

การเลือกและเตรียมเซลลบุทอนําไข เซลลไขที่มีคูมูลัสเซลลลอมรอบและเซลลแกรนูโลซา

3.1 การเลือกทอนําไข และรังไข

นําทอนําไข และรังไขจํานวน 110 ชิ้นของสุกรพันธุลารจไวทและแลนดเรช ที่เก็บมาจาก

โรงฆาแมสุกร แยกตัวอยางเปน 2 ระยะ คือระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล โดยดูลักษณะที่

แตกตางของรังไขและทอนําไขในการแยกระยะแลวลางดวยสารละลายน้ําเกลือ 0.9 เปอรเซ็นต ที่

เสริมดวยยาปฏิชีวนะ penicillin 100 IU/ml streptomycin 100 µg/ml และamphotericin-B

250 µg/ml ตัดแยกทอนําไขและรังไขออกจากกันเลาะไขมันและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ทอนําไขออก

ลางดวยสารละลายน้ําเกลือที่ผสมยาปฏิชีวนะซ้ําอีก 2 ถึง 3 ครั้ง

3.2 การเตรียมเซลลบุทอนําไขเพาะเล้ียงในอาหารเล้ียงเซลล

เตรียมเซลลบุทอนําไขในตูปลอดเชื้อโดยนําทอนําไขที่เตรียมใสในจานเพาะเลี้ยงที่ฆาเชื้อแลว

แยกตัดบริเวณแอมพูลา และอิสทมัส ขูดเซลลบุทอนําไขของสุกรทั้ง 2 สวน ดวยกระจกสไลดที่ฆา

เชื้อ จะไดเซลลเยื่อบุผิวจากภายในทอนําไข แลวนําใสใน cap tube ที่ฆาเชื้อขนาด 12 มิลลิลิตร

โดยบรรจุน้ํายาลางเซลล washing medium จํานวน 10 มิลลิลิตร แลวทําการลางเซลลซ้ําอีก 5 ถึง 7

ครั้ง หลังจากนั้นนําเซลลที่ลางแลวในอัตราสวน 1 ตอ 50 (ใสเซลล 200 ไมโครลิตร) ในจาน

เพาะเลี้ยงที่บมอาหารเพาะเลี้ยงเซลลไวแลว 24 ชั่วโมง ซึ่งมีอาหารเพาะเลี้ยงเซลลอยูจํานวน

10 มิลลิลิตรและเพาะเลี้ยงในตูบมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส คารบอนไดออกไซด 5 เปอรเซ็นต ความชื้นสัมพัทธที่ 95 เปอรเซ็นต นาน 48, 96 และ 144 ช่ัวโมง

Page 47:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

35

3.3 การเตรียมเซลลไขที่มีเซลลคูมูลัสลอมรอบ (COCs) และเซลลแกรนูโลซา (GC) เพาะเลี้ยง

ในอาหารเล้ียงเซลล

รังไขที่แยกจากทอนําไขทั้งระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล ลางดวยน้ํายาลางเซลล (TALP-

HEPES ผสมกับ 10% HTFCS และ gentamycin 50 µg/ml) 3 ครั้ง ใช syringe ขนาด 5 มิลลิลิตร ตอ

ดวยเข็มเบอร 18 เจาะน้ําในถุงไข (follicular fluid) แลวนําไปใสในจานเพาะเชื้อที่ฆาเชื้อแลว

หลังจากนั้นดูดเซลลไขโดยใชปเปตแกวที่ยืดปลายใหมีขนาดเล็กเหมาะสมกับการดูดเซลลไข ดู

ภายใตกลองจุลทรรศนแบบสเตอริโอ แบงกลุมตามความแตกตางขึ้นอยูกับจํานวนชั้นของ CC ที่

ลอมรอบเซลลไข

การเพาะเล้ียงเซลลไขโดยการเตรียมอาหารเปนหยดๆ ละ 25 ไมโครลิตร ในจานเพาะเล้ียงหนึ่ง

อาจเตรียม 4 ถึง 5 หยด เท mineral oil ปริมาตร 10 มิลลิลิตรใสลงในจานเพาะเลี้ยงที่เตรียมอาหาร

เพาะเลี้ยงไวแลว หลังจากนั้นหยดอาหารเพาะเลี้ยงเซลลจํานวน 25 ไมโครลิตรลงในตําแหนงเดิมที่

มีอาหารเพาะเล้ียงเซลลอยูกอนแลว เลือกเซลลไขชนิดที่ 1 และ 2 เพ่ือนํามาเล้ียงในอาหารเพาะเลี้ยง

ซึ่งกอนเลี้ยงเซลลควรลางเซลลไขดวยอาหารเพาะเลี้ยงเซลล 1 ครั้ง แลวจึงดูดเซลลไขที่เลือกไวใส

ลงในอาหารเพาะเลี้ยงเซลล โดยแตละหยดควรมีเซลลไขประมาณ 7 ถึง 10 เซลล หลังจากนั้นนําไป

เล้ียงในตูบมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส คารบอนไดออกไซด 5 เปอรเซ็นต ความชื้นสัมพัทธที่ 95

เปอรเซ็นต นาน 48 ชั่วโมง

สวนที่เหลือในถุงไข ซึ่งมีเซลลแกรนูโลซา นําใสใน cap tube ที่ฆาเชื้อขนาด 12 มิลลิลิตร รอ

ใหตกตะกอนแลวดูดสวนบนทิ้ง นําน้ํายาลางเซลลจํานวน 10 มิลลิลิตร ใสลงใน cap tube ที่มี

เซลลแกรนูโลซาทําการลางเซลลซ้ํา 5 ถึง 7 ครั้ง หลังจากนั้นนําเซลลที่ลางแลวในอัตราสวน

1 ตอ 50 ใสในจานเพาะเล้ียง ซ่ึงมีอาหารเพาะเลี้ยงเซลลอยูจํานวน 10 มิลลิลิตรและเพาะเลี้ยงในตู

บมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส คารบอนไดออกไซด 5 เปอรเซ็นต ความชื้นสัมพัทธที่

95 เปอรเซ็นต เปนเวลานาน 48, 96 และ 144 ช่ัวโมง

4. การเตรียมตัวอยางเซลลไข สําหรับศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน

4.1 นําเซลลไขที่ยังไมไดเพาะเลี้ยงและที่เพาะเล้ียงนาน 48 ชั่วโมง มาดองเพื่อคงสภาพตัวอยาง

(pre-fix) ดวยสารละลายกลูตารัลดีไฮด 2.5 เปอรเซ็นต ผสมอยูใน 0.1 M phosphate buffer pH 7.2

ถึง 7.4 ใหแชชิ้นตัวอยางในน้ํายาคงสภาพนาน 2 ถึง 24 ชั่วโมง

Page 48:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

36

4.2 ใชปเปตดูดน้ํายาคงสภาพเกาทิ้ง แลวปนลางตัวอยางดวยบัฟเฟอรเดิมที่ 900 รอบตอนาที

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสอีก 3 ครั้ง ครั้งละ 10 นาที หลังจากนั้นดองตัวอยางครั้งที่ 2 (post-fix) ดวย

ออสเมียม เตตรอกไซด 1 เปอรเซ็นตใน 0.1 M phosphate buffer pH 7.2 ถึง 7.4 ตองทําในที่มืด

และทําในตูดูดไอสารเคมี ใหแชชิ้นตัวอยางในน้ํายาคงสภาพนาน 2 ชั่วโมง

4.3 ครบเวลาใหใชปเปตดูดออสเมียม เตตรอกไซดออกแลวปนลางตัวอยางดวยน้ํากลั่น 3 ครัง้ๆ

ละ 10 นาที

4.4 ดึงน้ําออกจากตัวอยางดวยอะซีโตน จากความเขมขน 20, 40, 60, 80, และ 100 เปอรเซ็นต

ทําขั้นตอนละ 2 ครั้งๆ ละ 10 นาที ตามลําดับ

4.5 แทนที่อะซีโตน (infiltration)โดยผสมอะซีโตนตอพลาสติก (Spurr’s resin) อัตราสวน

2 ตอ 1 ทิ้งไวขามคืน ผสมอะซีโตนตอพลาสติก อัตราสวน 1 ตอ 2 นาน 8 ชั่วโมง (กอนใชพลาสตกิ

ควรแชในชองทําน้ําแข็ง ซึ่งพลาสติกชนิดนี้มีคุณสมบัติ คือ ถาเย็นจะเหลว ถารอนจะแข็งตัว)

4.6 ดูดตัวอยางใสลงในพลาสติก โดยใช pure resin ครั้งที่ 1 ทิ้งไวขามคืน ดูดตัวอยางใสใน

พลาสติก ครั้งที่ 2 ทิ้งไว 8 ช่ัวโมง

4.7 เขี่ยชิ้นตัวอยางนํามาฝง (embedding) ใน pure resin ที่อยูใน beam capsule ซึ่งทําดวย

polyethylene ทําตัวอยางใหแข็ง (polymerization) ในตูอบตั้งอุณหภูมิที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 8

ชั่วโมง

4.8 เมื่อ pure resin แข็งตัว ใหแกะชิ้นตัวอยางในแมพิมพออก และตัดแตง blockใหไดขนาด จึง

นําตัวอยางไปตัดใหบาง

4.9 นํา block ตัวอยางไปตัดดวยเครื่องตัดตัวอยางใหบาง โดยตัดจากดานบน (apical plane) สู

ดานลาง (basal plane) ใหไดขนาดบาง 60 ถึง 90 นาโนเมตร แลววางชิ้นตัวอยางที่บางมากลงบน

ตะแกรงวางตัวอยาง ขนาด 200 mesh

4.10 ยอมชิ้นตัวอยางดวยยูรานิล อาซิเตท 2 เปอรเซ็นตในเมทานอล 50 เปอรเซ็นต และเลดซิ-

เตท 0.5 เปอรเซ็นตใหยอมทําในที่มืดโดยตัดพาราฟลมวางในจานแกวกดใหแนน ใชกระดาษกรอง

กรองสารยูรานิล อาซิเตท ใหเปนหยดเล็กบนพาราฟลม จํานวนหยดเทากับตะแกรงวางตัวอยาง

ที่ยอม วางตะแกรงวางตัวอยางดานที่มีตัวอยางบนหยดของยูรานิล อาซิเตทกอน ทิ้งไวนาน 10 ถึง

15 นาที หลังจากนั้นยกตะแกรงวางตัวอยางซับใหแหงดวยกระดาษกรอง แลวลางดวยเมทานอล

50 เปอรเซ็นต จุมขึ้นลง 20 ครั้ง ซับดวยกระดาษกรอง ลางสวนที่เกินออกดวยน้ํากลั่นตมกรองโดย

จุมขึ้นลง ประมาณ 20 ครั้งซับใหแหง จากนั้นจุมตัวอยางลงในเลดซิเตท นาน 10 ถึง 15 นาที แลว

ลางสวนที่เกินออกดวยน้ํากลั่นตมกรอง 2 บิกเกอรๆ ละ 20 ครั้ง (จุมขึ้นลง) และซับใหแหง แลวเก็บ

ใน กลองเก็บตะแกรงวางตัวอยาง

Page 49:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

37

4.13 ศึกษาชิน้ตัวอยางภายใตกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผานที่ 60 กิโลโวลท

5. การศึกษาปริมาณและรูปแบบสารหลั่งจากเซลลเพาะเลี้ยงและเก็บรักษาโดยวธิีแชแข็ง

5.1 นําเซลลบุทอนําไขที่เพาะเล้ียงในอาหารเล้ียงเซลลระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียลบริเวณ

แอมพูลาและอิสทมัส ที่เลี้ยงเปนเวลา 48, 96 และ 144 ชั่วโมง มาปนที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส

ความเร็วรอบ 2,500 รอบตอนาที นาน 10 นาที เพื่อใหเซลลตกตะกอน

5.2 ดูดเก็บ condition medium เฉพาะสวนของเหลวที่อยูดานบนไวที่อุณหภูมิ – 196 องศา-

เซลเซียส

6.ศึกษาลักษณะโปรตีนทีเ่ซลลเพาะเลีย้งทัง้สองชนดิหลัง่ในอาหารเพาะเลี้ยง โดยทําการศกึษา ดังนี้

6.1 นํา condition medium ที่เก็บแชแข็งไวมาวิเคราะหหาสารหลั่งจากเซลลดวยวิธี Sodium

dodecyl sulfate polyacrylamide gel eletrophoresis (SDS-PAGE) โดยเปรียบเทียบสารหลั่งใน

ระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล เปรียบเทียบเปนชวงเวลา 48, 96 และ 144 ชั่วโมง ซึ่งเทคนิคนี้มี

หลักการแยกโปรตีนโดยอาศัยขนาดหรือน้ําหนักโมเลกุล

6.2 วัดปริมาณโปรตีนของสารหล่ังจากเซลลดวยวิธีของ Lowry (1951) ใช spectrophotometer

ชวงคาความยาวคลื่นแสง 650 นาโนเมตร คํานวณหาคาโปรตีนเปรียบเทียบกับคาการดูดกลืนแสง

ของโปรตีนมาตรฐาน (standard protein of bovine serum albumin)

6.3 วิเคราะหหาปริมาณโปรตีนในสารตัวอยางโดยวิธีของ Lowry (1951) แลวเตรียมสาร

ตัวอยางใหมีปริมาณโปรตีนคงที่เทากันคือ 15 ไมโครกรัมตอหลุม

6.4 ผสมสารตัวอยางใหเขากัน นําสารตัวอยางไปตมใหความรอนที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส

นาน 10 นาที แลวนําไปหยอด (load) ลงในแตละหลุม ทําเทียบกับโปรตีนมาตรฐาน Bench

Mark™Protein Ladder ทําการแยกโดยใชความตางศักยไฟฟา 200 โวลต นานประมาณ 50 นาที ใน

MOPS buffer

6.5 นําเจลที่ไดไปยอมใน staining solution (COOMASSIE BRILLIANT BLUE R®-250) ทิ้ง

ไวขามคืนแลวลางสีสวนเกินออก (destain) ดวย destaining solution

Page 50:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

38

7. การวิเคราะหโปรตีนที่สนใจดวยเทคนิค Liquid chromatography/Mass spectrometer/Mass

spectrometer (LC/MS/MS)

การวิเคราะหจําแนกชนิดของโปรตีนอยางละเอียดทําไดโดยการเปรียบเทียบลายพิมพการแตก

ตัวของเปปไตดแตละชิ้นที่ไดจริงจากการวัดดวยเครื่อง Mass Spectrometer กับรูปแบบการแตกตัว

ของเปปไตดจากการคํานวณในฐานขอมูลโปรตีนมาตรฐาน

7.1 นําโปรตีนที่สนใจมายอยดวยเอนไซมทริปซินใหเปนเปปไตทสายส้ันๆ ซ่ึงแตละสายอาจมี

ความส้ันยาวไมเทากัน ทําใหมีน้ําหนักไมเทากัน เนื่องจากการกระจายตัวของกรดอะมิโนอารจินีน

และไลซีนในโปรตีนแตละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะ ดังนั้นน้ําหนักของสายเปปไตดที่ไดจากการ

ยอยดวยเอนไซมทริปซินที่ตําแหนงกรดอะมิโนอารจินีนและไลซีนจึงเปนลักษณะเฉพาะของ

โปรตีนนั้นๆ (ลายพิมพมวลเปปไตดแตละสายที่ประกอบกันเปน 1 โปรตีนจะพบเฉพาะในโปรตีน

ชนิดเดียวเทานั้นตามทฤษฎ ีเหมือนกับลายพิมพนิ้วมือท่ีจะเปนเอกลักษณเฉพาะบุคคล ไมพบซํ้ากับ

คนอื่น)

7.2 ละลายเปปไตดดวยสารละลาย 0.1% formic acid แลววิเคราะหดวย nano-LC/MS/MS

เปปไตดจะถูกแยกออกจากกันดวย Reverse phase column chromatography ใช acetonitrile ตอ

water โดยใช acetonitrile จาก 2 ถึง 40 เปอรเซ็นตเปนตัวชะเปปไตดที่ผานจากคอลัมนจะถูกนําไป

วิเคราะหรูปแบบการแตกตัวของเปปไตดดวย ESI-Mass spectrometer

7.3 นํารูปแบบการแตกตัวของเปปไตดมาวิเคราะหดวยโปรแกรม MASCOT เทียบกับ

ฐานขอมูลโปรตีนใน NCBI

Page 51:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

40

บทที่ 5

ผลการทดลอง

1. ศึกษาและเปรียบเทียบสัณฐานวิทยาของเซลลบุทอนําไขแมสุกรในรอบการเปนสัด บริเวณ

แอมพูลาและอิสทมัส

1.1 ผลจากการเก็บตัวอยางรังไขและทอนําไขแมสุกรในรอบการเปนสัดจากโรงฆาสุกรใน

จังหวัดนครปฐม จํานวน 110 รังไข เจาะไดเซลลไข 880 เซลล คิดเปน 8 เซลลไขตอหนึ่งรังไข

จําแนกเปน 2 ระยะ คือ ระยะฟอลลิคูลารจํานวน 73 รังไข เจาะไดเซลลไข 557 เซลล และระยะ-

ลูเตียลจํานวน 37 รังไข เจาะไดเซลลไข 323 เซลล จากการวิจัยสามารถแบงชนิดของเซลลไขที่มี

เซลลลอมรอบ (COCs) ได 5 ชนิด (ภาพที่ 17) โดยแบงตามการเรียงตัวของเซลลที่ลอมรอบเซลลไข

คือ

ก. ชนิดที่ 1 เซลลลอมรอบเซลลไขแบบติดแนน (Intact cumulus cells layer)

ข. ชนิดที่ 2 เซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น (Multi cumulus cells layer)

ค. ชนิดที่ 3 เซลลลอมรอบเซลลไขเพียงบางสวน (Partial cumulus cells layer)

ง. ชนิดที่ 4 เซลลไขที่ไมมีเซลลลอมรอบ (Completely denuded oocyte)

จ. ชนิดที่ 5 เซลลไขที่มีเซลลลอมรอบแบบแผขยาย (Expanded cumulus cells layer)

จากการเจาะเซลลไขระยะฟอลลิคูลารตอระยะลูเตียลพบเซลลไขชนิดที่ 1 จํานวน 347 ตอ 127

เซลลไขชนิดที่ 2 จํานวน 68 ตอ 58 เซลลไขชนิดที่ 3 จํานวน 13 ตอ 25 เซลลไขชนิดที่ 4 จํานวน

96 ตอ 73 และเซลลไขชนิดที่ 5 จํานวน 33 ตอ 40 ตามลําดับ ดังแสดงตามตารางที่ 2 และ 3 ซึ่งทั้ง

ระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล พบเซลลไขที่มีเซลลลอมรอบทั้ง 5 ชนิดเหมือนกัน ดังภาพที่ 13

(ก ถึง จ) และเมื่อนํา COCs ชนิดที่ 1 และ2 ไปเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลล M 199 ที่เสริมดวย

10% heattreated fetal calf serum (HTFCS), NaHCO3 2.2 mg/mL (Sigma Company, St Louis

MO), 1 M Hepes (Sigma, St Louis MO), 0.25 mM pyruvate, 15 µg/mL FSH, 1 µg/mL LH,

1 µg/mL estradiol ซ่ึงละลายใน ethanol และ gentamycin sulfate 50 µg/mL บมในตูบมที่อุณหภูมิ

37 องศาเซลเซียส เสริมคารบอนไดออกไซด 5 เปอรเซ็นต มีความชื้น 95 เปอรเซ็นต เซลลไขทั้ง 2

ชนิดนี้สามารถเจริญพัฒนา (maturation) ในน้ํายาเพาะเลี้ยงได

39

Page 52:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

40

ตารางที่ 2 จํานวนเซลลไขตอรังไขในระยะฟอลลิคูลารจํานวน 73 รังไข แบงตามการเรียงตัวของ

เซลลลอมรอบเซลลไข

ชนิดของ COCs จํานวนเซลลไข เปอรเซ็นต

1. เซลลลอมรอบเซลลไขแบบติดแนน

(Intact cumulus cells layer)

2. เซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น

(Multi cumulus cells layer)

3. เซลลลอมรอบเซลลไขเพียงบางสวน

(Partial cumulus cells layer)

4. เซลลไขที่ไมมีเซลลลอมรอบ

(Completely denuded oocyte)

5. เซลลไขที่มีเซลลลอมรอบแบบแผขยาย

(Expanded cumulus cells layer)

347

68

13

96

33

62.30

12.21

2.33

17.24

5.92

รวม 557 100

ตารางที่ 3 จํานวนเซลลไขตอรังไขในระยะลูเตียลจํานวน 37 รังไขแบงตามการเรียงตัวของ

เซลลลอมรอบเซลลไข

ชนิดของ COCs จํานวนเซลลไข เปอรเซ็นต

1. เซลลลอมรอบเซลลไขแบบติดแนน

(Intact cumulus cells layer)

2. เซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น

(Multi cumulus cells layer)

3. เซลลลอมรอบเซลลไขเพียงบางสวน

(Partial cumulus cells layer)

4. เซลลไขที่ไมมีเซลลลอมรอบ

(Completely denuded oocyte)

5. เซลลไขที่มีเซลลลอมรอบแบบแผขยาย

(Expanded cumulus cells layer)

127

58

25

73

40

39.32

17.96

7.74

22.6

12.38

รวม 323 100

Page 53:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

41

ภาพที่ 16 กราฟจํานวนเซลลไขที่มีเซลลลอมรอบ (COCs) ทั้ง 5 ชนิด ระยะฟอลลิคูลารและ

ระยะลูเตียลในแมสุกร

จากกราฟแสดงจํานวนชนิดของเซลลไขที่มีเซลลลอมรอบทั้งหมด 880 เซลล

ชนิดที่ 1 เซลลลอมรอบเซลลไขแบบติดแนน

ชนิดที่ 2 เซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น

ชนิดที่ 3 เซลลลอมรอบเซลลไขเพียงบางสวน

ชนิดที่ 4 เซลลไขที่ไมมีเซลลลอมรอบ

ชนิดที่ 5 เซลลไขที่มีเซลลลอมรอบแบบแผขยาย

พบวาเซลลไขชนิดที่หนึ่งและสอง ซึ่งเปนเซลลไขที่สามารถเพาะเลี้ยงใหสุกไดในอาหาร

เพาะเลี้ยงเซลลที่เตรียมไดในหองปฏิบัติการในระยะฟอลลิคูลารตอระยะลูเตียล มีจํานวนเทากับ

415 ตอ 185 มีคาเฉลี่ยเทากับ 6 ตอ 5 เซลลตอรังไข จะเห็นไดวาจํานวนเซลลไขที่สามารถเพาะเลี้ยง

ใหสุกไดระยะฟอลลิคูลารมีคาเฉลี่ยมากกวาระยะลูเตียล

0

50

100

150

200

250

300

350

400

1 2 3 4 5

ชนิดของ COCs

จํานว

นเซล

ลไข

(เซลล

)

ระยะฟอลลิคูลาร ระยะลูเตยีล

Page 54:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

42

ภาพที่ 17 ภาพจากกลองจุลทรรศนแบบหัวกลับ แสดง (ก) เซลลไขชนิดมีเซลลลอมรอบเซลลไข

แบบติดแนน (ข) เซลลไขชนิดมีเซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น (ค) เซลลไขชนิดมีเซลล

ลอมรอบเซลลไขเพียงบางสวน (ง) เซลลไขชนิดที่ไมมีเซลลลอมรอบและ (จ) เซลลไขชนิดที่มี

เซลลลอมรอบแบบแผขยาย

Page 55:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

43

ก 30 µm

30 µm

30 µm

30 µm

90 µm

Page 56:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

44

1.2 สัณฐานวิทยาของเซลลบุทอนําไขสุกร (Porcine oviductal epithelial cells : POEC) บริเวณ

แอมพูลาและอิสทมัสในรอบการเปนสดั

จากการเก็บตัวอยางทอนําไขแมสุกรในรอบการเปนสัดโดยเก็บในระยะฟอลลิคูลารและ

ระยะลูเตียล ไดขูดเซลลบุทอนําไขแมสุกรบริเวณแอมพูลาและอิสทมัส ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยา

ในรอบการเปนสัดในสภาพธรรมชาติโดยศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนแบบหัวกลับ พบวาเซลลบุ-

ทอนําไขแมสุกรบริเวณแอมพูลาและอิชทมัสทั้งระยะฟอลลิคูลารและลูเตียล ประกอบดวยเซลล

2 ชนิด คือเซลลบุทอนําไขรูปรางยาวมีซีเลียอยูดานบนซึ่งพบเซลลชนิดนี้ในระยะฟอลลิคูลาร

มากกวาระยะลูเตียลและเซลลบุทอนําไขรูปรางกลมไมมีซีเลีย ดังภาพที่ 18, 19 (ก และ ข)

และภาพที่ 20 (ก ถึง ค)

ภาพที่ 18 สัณฐานวิทยาของเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสในระยะฟอลลิคูลารใน

สภาพธรรมชาติ แสดงเซลลมีรูปรางกลมไมมีซีเลียอยูเปนกลุมๆ

5 µm

Page 57:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

45

ภาพที่ 19 (ก และ ข) สัณฐานวิทยาของเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสใน

ระยะฟอลลิคูลารในสภาพธรรมชาติ ในภาพแสดงเซลลรูปรางยาวมีซีเลียอยูดานบน (ลูกศร)

ข 5 µm

ก 5 µm

Page 58:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

46

ภาพที่ 20 (ก ถึง ค) สัณฐานวิทยาของเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสระยะลูเตียล

ในสภาพธรรมชาติ พบเซลลรูปรางกลมไมมีซีเลียอยูเปนกลุมๆ และเซลลรูปรางยาวมีซีเลียอยู

ดานบน (ลูกศร)

Page 59:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

47

ก 5 µm

5 µm

5 µm

Page 60:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

48

2. ผลการศึกษาสัณฐานวิทยา ความสัมพันธของเซลลลอมรอบเซลลไขกับเซลลไข (complexes

oocyte cumulus : COCs) ในรอบการเปนสัด

ผลการเพาะเลี้ยงพบวา เมื่อนําเซลลไขชนิดที่ 1 (เซลลไขแบบมีเซลลลอมรอบเซลลไขแบบ

ติดแนน) และเซลลไขชนิดที่ 2 (เซลลไขแบบมีเซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น) มาเพาะเลี้ยง

ในอาหารเพาะเลี้ยงสูตร M 199 ที่เสริมดวย 10% heattreated fetal calf serum (HTFCS), NaHCO3

2.2 mg/mL (Sigma Company, St Louis MO), 1 M Hepes (Sigma, St Louis MO), 0.25 mM

pyruvate, 15 µg/mL FSH, 1 µg/mL LH, 1 µg/mL estradiol ซ่ึงละลายใน ethanol และ gentamycin

sulfate 50 µg/mL บมในตูบมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เสริมคารบอนไดออกไซด 5 เปอรเซ็นต

มีความชื้น 95 เปอรเซ็นต เพาะเลี้ยงนาน 48 ชั่วโมง เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยา

ของเซลลไขและ COCs ภายใตกลองจุลทรรศนแบบหัวกลับ พบวาเซลลไขชนิดที่ 1 และ 2 กอน

นําไปเพาะเลี้ยงเซลลลอมรอบเซลลไข (cumulus: CC) มีลักษณะรูปรางกลมเรียงตัวหลายชั้น

ดังแสดงในภาพที่ 21 (ก และ ข) เชนเดียวกับภาพจากกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน

ภาพที่ 22 (ก และ ข) และพบเซลลลอมรอบเซลลไขลักษณะกลมมีสวนที่ยื่นยาว (process) ฝงตัวเขา

สูโซนา เพลลูซิดา (zona pellucida: Z) ของเซลลไข (ภาพที่ 22 ค) ซึ่งแตกตางจากเซลลไขหลัง

เพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเซลลนาน 48 ชั่วโมง พบการเปล่ียนแปลงทางสัณฐานวิทยาอยางเห็น

ไดชัดภายใตกลองจุลทรรศนแบบหัวกลับ พบ CC แผกระจายออกจากเซลลไขและมีลักษณะเปน

รูปกรวยยื่นยาว ดังแสดงในภาพที่ 23 (ก และ ข) เมื่อศึกษาสัณฐานวิทยาภายในภายใต

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน พบวาไซโทพลาซึมของ CC เคลื่อนตัวออก เซลล CC

เปล่ียนจากทรงกลมเปนเซลลยื่นยาวออก ซึ่งสัณฐานวิทยาเหมือนกันทั้งระยะฟอลลิคูลาร (ภาพที่

24) และระยะลูเตียล (ภาพที่ 25) และจากเซมิทิน เซคชั่น (semi-thin section) ผลการทดลองพบวา

เซลลไขชนิดที่ 1 และ 2 กอนเพาะเลี้ยงทั้งระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล สัณฐานวิทยาของ CC มี

ลักษณะเรียงตัวกันหลายชั้น หลังเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเซลลนาน 24 ชั่วโมง พบ CC มี

ลักษณะยื่นยาวแผกระจายตัวออกจากเซลลไขและหลังเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเซลลนาน

48 ชั่วโมง CC แผกระจายตัวมากขึ้นและเซลลลักษณะยื่นยาว แสดงในภาพที่ 26 (ก ถึง ค) และ

ภาพที่ 27 (ก ถึง ค)

Page 61:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

49

ภาพที่ 21 (ก และ ข) ภาพจากกลองจุลทรรศนแบบหัวกลับแสดงสัณฐานวิทยาของ COCs ในรอบ

การเปนสัดของเซลลไขชนิดที่ 1 และ 2 กอนเพาะเลี้ยงพบเซลลลอมรอบเซลลไข (CC) เรียงตัวอยู

หลายชั้นรอบเซลลไข (O)

N

O

ก 30 µm

30 µm ข

O

CC

OCC

Page 62:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

50

ภาพที่ 22 (ก) ภาพจากกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผานแสดงสัณฐานวิทยาของเซลล

ลอมรอบเซลลไข (CC) ซึ่งมีลักษณะกลมมีนิวเคลียส (N) ตรงกลาง (ข) ระยะฟอลลิคูลารกอน

เพาะเลี้ยง CC เรียงตัวหลายชั้นรอบโซนา เพลลูซิดา (Z) ซ่ึงอยูติดกับเซลลไข (O) (ค) เซลลลอมรอบ

เซลลไข (CC) มีสวนที่ยื่นยาว (process: P) ฝงตัวเขาโซนา เพลลูซิดา (Z)

N

CC

CC

Z

O ข

P

CC Z

Page 63:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

51

ภาพที่ 23 (ก และ ข) ภาพจากกลองจุลทรรศนแบบหัวกลับแสดงสัณฐานวิทยาเซลลลอมรอบ-

เซลลไข (CC) ของเซลลไขชนิดที่ 1 และ 2 ระยะฟอลลิคูลารหลังเพาะเลี้ยงนาน 48 ชั่วโมง

พบเซลลลอมรอบเซลลไขมีลักษณะยื่นยาวแผกระจายตัวออกจากเซลลไข (O) สัมผัสเขาสู

ผิวเซลลไข (ลูกศร)

O

O

CC

CC

30 µm

20 µm

Page 64:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

52

P Z CC

ภาพที่ 24 (ก ถึง ค) ภาพจากกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผานแสดงสัณฐานวิทยา

ของ COCs ชนิดที่ 1 และ 2 ระยะฟอลลิคูลารหลังเพาะเลี้ยงนาน 48 ชั่วโมง พบเซลล

ลอมรอบเซลลไข (CC) เปล่ียนแปลงรูปรางยื่นยาว

Page 65:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

53

Z

Z

CC Z

P

P

P

N

CC

CC N

N CC

N CC

N

CC

Page 66:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

54

ภาพที่ 25 (ก และ ข) ภาพจากกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผานแสดงสัณฐานวิทยาของ

COCs เซลลไขชนิดที่ 1 และ 2 ระยะลูเตียลหลังเพาะเลี้ยงนาน 48 ชั่วโมง แสดงเซลลลอมรอบ-

เซลลไข (CC) เปล่ียนแปลงรูปรางเปนเซลลยื่นยาว

CC

CC

N

P

CC

N

N

CC

Page 67:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

55

ภาพที่ 26 (ก ถึง ค) ภาพจาก Semi -Thin section ยอมสี 1% Toluidine blue แสดงสัณฐาน-

วิทยา ของ COCs ในรอบการเปนสัดระยะฟอลลิคูลาร ของเซลลไขชนิดที่ 2 กอนเพาะเลี้ยง

ในสภาพธรรมชาติ (ก) พบ CC เรียงตัวกันหลายชั้น (ข) หลังเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยง

เซลลนาน 24 ชั่วโมงภายในตูบม พบ CC มีลักษณะยื่นยาวและกระจายตัวตามลูกศร (ค)

หลังเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเซลลนาน 48 ชั่วโมง พบ CC แผกระจายตัวมากขึ้นตาม

ลูกศร

Page 68:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

56

Z

CC O Z

20 µm

30 µm ข

ค 30 µm

O

O

CC

CC

O

Page 69:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

57

ภาพที่ 27 (ก ถึง ค) ภาพจาก Semi-thin section ยอมสี 1% Toluidine blue โดยกลองจุลทรรศน

แบบใชแสง แสดงสัณฐานวิทยา COCs ในรอบการเปนสัดระยะลูเตียลของเซลลไข (O) ชนิดที่ 2

กอนเพาะเล้ียงในสภาพธรรมชาติ (ก) พบ CC มีการเรียงตัวของเซลลหลายชั้น (ข) หลังเพาะเลี้ยง

นาน 24 ชั่วโมงในตูบมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ที่เสริมดวยคารบอนไดออกไซด 5 เปอรเซ็นต

และมีความชื้นสูง 95 เปอรเซ็นต พบ CC แผกระจายตัวออกจาก O และยื่นยาวดังลูกศร (ค) เมื่อ

เพาะเลี้ยงนาน 48 ชั่วโมง พบ CC ยื่นยาวมากขึ้นตามลูกศร

Page 70:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

58

Z

O

CC

CC

Z

O

O

30 µm

30 µm

30 µm

O

CC

CC

Page 71:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

59

3. เปรียบเทียบรูปแบบโปรตีนที่หลั่งสูอาหารเพาะเลี้ยงเซลล (condition medium) ของเซลล

เพาะเลี้ยง POEC และเซลลลอมรอบเซลลไขกับเซลลแกรนูโลซา (CC+GC) ในรอบการเปนสัด

ระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล หลังจากเพาะเลี้ยงนาน 48, 96 และ144 ชั่วโมง โดยวิเคราะหดวย

วิธี Sodium dodecyl sulfate polyacrylamide gel electrophoresis (SDS-PAGE)

3.1 ผลจากการเก็บสารหลั่งจากเซลลบุทอนําไขระยะฟอลลิคูลารบริเวณแอมพูลา

เปรียบเทียบกับบริเวณอิสทมัสพบรูปแบบโปรตีนจากสารหลั่งในอาหารเพาะเลี้ยงทั้งสองบริเวณมี

ความคลายกันดังภาพที่ 28 ซึ่งโปรตีนที่มีน้ําหนักโมเลกุลแตกตางกันมีหลายขนาด ตัวอยางเชน

ขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 27, 32, 45, 95 kDa และ 240 kDa ในแถบโปรตีน FI0 (ชอง 5) และพบวา

แถบโปรตีนนี้ชัดขึ้นในตัวอยางของ FA0 (ชอง 1) ซึ่งพบโปรตีนที่มีน้ําหนักโมเลกุลมากกวา

220 kDa ในชอง 1 ดวย ซึ่งขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่แตกตางกันนั้นไดเลือกรูปแบบโปรตีนที่

นาสนใจมีขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่มากกวา 220 kDa และ 240 kDa ในชอง 1 ซึ่งเปนโปรตนีทีไ่ดจาก

สารหลั่งในเซลลบุทอนําไขระยะฟอลลิคูลารบริเวณแอมพูลาเปรียบเทียบกับโปรตีนมาตรฐาน

(Standard protein marker) ที่กําหนดไวแลว ซึ่งมีน้ําหนักโมเลกุลตั้งแต 10 ถึง 220 kDa

Page 72:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

60

ภาพที่ 28 แถบโปรตีนของสารหล่ังจาก POEC ระยะฟอลลิคูลารที่หล่ังในอาหารเพาะเลี้ยงเมื่อ

เพาะเลี้ยงเซลลนาน 48, 96 และ 144 ช่ัวโมง

หมายเหตุ ชองที่ 1: FA0 = สารหลั่งจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่ยังไมไดเพาะเลี้ยง

ชองที่ 2: FA2 = สารหลั่งจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่เพาะเล้ียงนาน 2 วัน (48 ชั่วโมง)

ชองที่ 3: FA4 = สารหลั่งจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่เพาะเล้ียงนาน 4 วัน (96 ชั่วโมง)

ชองที่ 4: FA6 = สารหลั่งจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่เพาะเล้ียงนาน 6 วัน (144 ชั่วโมง)

ชองที่ 5: FI0 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่ยังไมไดเพาะเลี้ยง

ชองที่ 6: STD = Standard protein marker

ชองที่ 7: Control = M 199 + 10 % fetal calf serum

ชองที่ 8: FI2 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่เพาะเล้ียงนาน 2 วัน (48 ชั่วโมง)

ชองที่ 9: FI4 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่เพาะเล้ียงนาน 4 วัน (96 ชั่วโมง)

ชองที่ 10: FI6 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่เพาะเล้ียงนาน 6 วัน (144 ชั่วโมง) 70

220

160 120 100 90 80 70 60 50 40 30 25 20 15 10

240 kDa

1 2 3 4 5 6 7 8

>220 kDa

FA0 FA2 FA4 FA6 FI0 STD Control FI2 FI4 FI6

ชอง 1 ชอง 2 ชอง 3 ชอง 4 ชอง 5 ชอง 6 ชอง 7 ชอง 8 ชอง 9 ชอง 10

95

45

32 27

Page 73:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

61

3.2 ผลการเก็บสารหลั่งจากเซลลบุทอนําไขระยะลูเตียลบริเวณแอมพูลาเปรียบเทียบกับ

บริเวณอิสทมัส พบวารูปแบบโปรตีนจากสารหลั่งในอาหารเพาะเลี้ยงทั้งสองสวนมีลักษณะ

คลายกัน ดังภาพที่ 29 พบโปรตีนขนาดประมาณ 38 และ 45 kDa (ชอง 1 และชอง 7) ซึ่งเปนสาร

หล่ังจากเซลลบุทอนําไขระยะลูเตียลบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสที่ยังไมไดเพาะเลี้ยง ซึ่งโปรตีน

จาก LA0 (ชอง 1) จะเห็นชัดกวาโปรตีนจาก LI0 (ชอง 7) ในสวนเหนือขึ้นตอนบนของเจล พบ

โปรตีนขนาดน้ําหนักโมเลกุลอยูในชวง 70-220 kDa พบไดเกือบทุกแถบโปรตีนแตที่เห็นไดชัด

(ชอง 1, 2, 3, 6, 7, 8, 9 และ 10) และไดเลือกรูปแบบโปรตีนที่นาสนใจขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 95

kDa และ 105 kDa จากชอง1 ซึ่งเปนโปรตีนที่ไดจากสารหลั่งในเซลลบุทอนําไขระยะลูเตียล

บริเวณแอมพูลาที่เจาะออกจากถุงไขที่ยังไมไดเพาะเล้ียงเปรียบเทียบกับโปรตีนมาตรฐานที่กําหนด

ไวแลว ซ่ึงมีน้ําหนักโมเลกุลตั้งแต 10 ถึง 220 kDa

Page 74:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

62

ภาพที่ 29 แถบโปรตีนสารหล่ังจาก POEC ระยะลูเตียลที่หลั่งในอาหารเพาะเลี้ยงเมื่อเพาะเลี้ยงเซลล

นาน 48, 96 และ 144 ช่ัวโมง

หมายเหตุ

ชองที่ 1: LA0 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่ยังไมไดเพาะเลี้ยง

ชองที่ 2: LA2 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่เพาะเล้ียงนาน 2 วัน (48 ชั่วโมง)

ชองที่ 3: LA4 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่เพาะเล้ียงนาน 4 วัน (96 ชั่วโมง)

ชองที่ 4: LA6 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณแอมพูลาที่เพาะเล้ียงนาน 6 วัน (144 ช่ัวโมง)

ชองที่ 5: STD = Standard protein marker

ชองที่ 6: Control = M 199 + 10 % fetal calf serum

ชองที่ 7: LI0 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่ยังไมไดเพาะเล้ียง

ชองที่ 8: LI2 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่เพาะเล้ียงนาน 2 วัน (48 ชั่วโมง)

ชองที่ 9: LI4 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่เพาะเล้ียงนาน 4 วัน (96 ชั่วโมง)

ชองที่ 10: LI6 = สารหล่ังจาก POEC บริเวณอิสทมัสที่เพาะเล้ียงนาน 6 วัน (144 ช่ัวโมง)

1 2 3 4 5 6 7 8

220 160 120 100 80 70 60 50 40 30 25 20

90

15 10

95

105

LA0 LA2 LA4 LA6 STD Control LI0 LI2 LI4 LI6

ชอง 1 ชอง 2 ชอง 3 ชอง 4 ชอง 5 ชอง 6 ชอง 7 ชอง 8 ชอง 9 ชอง 10

45

45 38

38

Page 75:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

63

3.3. ผลการเก็บสารหลั่งจากเซลล CC + GC ของรังไขแมสุกรที่เพาะเลี้ยงระยะฟอลลิคูลาร

และระยะลูเตียล พบวารูปแบบโปรตีนจากสารหล่ังในอาหารเพาะเลี้ยงเซลลทั้งสองระยะมีโปรตีนที่

มีน้ําหนักโมเลกุลท่ีคลายกัน โดยเฉพาะโปรตีนจากสารหลั่งจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคูลาร

และระยะลูเตียลที่ยังไมไดเพาะเลี้ยง FC0 และ LC0 (ชอง 1 และชอง 7) พบโปรตีนที่มีน้ําหนัก

โมเลกุลตั้งแต 13, 27, 45 kDa ในสวนเหนือขึ้นตอนบนของเจล พบโปรตีนที่มีน้ําหนักโมเลกุล

ตั้งแต 80, 90, 100, 140, 190, 220 และมากกวา 220 kDa เห็นไดในทุกแถบโปรตีนลักษณะที่พบ

คลายกันกับแถบโปรตีนควบคุมในชอง 3 แตเห็นไดชัดเจนในชอง 1 และชอง 7 ซึ่งไดเลือกโปรตีน

ที่สนใจในระยะฟอลลิคูลารชอง 1 ขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 27, 45, 140 และมากกวา 220 kDa สวน

ระยะลูเตียลที่ชอง 7 เลือกโปรตีนที่มีน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa ผลที่ไดแสดงดังภาพที่ 30

Page 76:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

64

ภาพที่ 30 แถบโปรตีนของสารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียลที่หลั่งใน

อาหารเพาะเลี้ยงเมื่อเพาะเลี้ยงเซลลนาน 48, 96 และ 144 ช่ัวโมง

หมายเหตุ

ชองที่ 1: FC0 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคลูารที่ยังไมไดเพาะเล้ียง

ชองที่ 2: STD = Standard protein marker

ชองที่ 3: Control = M 199 + 10 % fetal calf serum

ชองที่ 4: FC2 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคลูารที่เพาะเล้ียงนาน 2 วัน (48 ชั่วโมง)

ชองที่ 5: FC4 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคลูารที่เพาะเล้ียงนาน 4 วัน (96 ชั่วโมง)

ชองที่ 6: FC6 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคลูารที่เพาะเล้ียงนาน 6 วัน (144 ชั่วโมง)

ชองที่ 7: LC0 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะลูเตียลที่ยังไมไดเพาะเลี้ยง

ชองที่ 8: LC2 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะลูเตียล ท่ีเพาะเลี้ยงนาน 2 วัน (48 ชั่วโมง)

ชองที่ 9: LC4 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะลูเตียลที่เพาะเล้ียงนาน 4 วัน (96 ชั่วโมง)

ชองที่ 10: LC6 = สารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะลูเตียลที่เพาะเล้ียงนาน 6 วัน (144 ชั่วโมง)

50 40 30 25 20 15 10

45

70

1 2 3 4 5 6 7 8

220 160 120 100 90 80 70 60

>220

>220

140

50 40 30 25 20 15

10

FC0 STD Control FC2 FC4 FC6 LC0 LC2 LC4 LC6

ชอง 1 ชอง 2 ชอง 3 ชอง 4 ชอง 5 ชอง 6 ชอง 7 ชอง 8 ชอง 9 ชอง 10

45

27

190

13

90 80

100

Page 77:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

65

4. วิเคราะหโปรตีนที่สนใจดวยวิธี LC/MS/MS เพื่อศึกษาชนิดของโปรตีนที่หลั่งในอาหาร

เพาะเลี้ยงจากเซลลเพาะเลี้ยงของ POEC และ CC + GC

4.1 ผลการนําโปรตีนที่ไดจากสารหลั่งจากเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาและอิสทมัส

ระยะฟอลลิคูลาร โดยวิเคราะหขนาดของโปรตีนดวยวิธี SDS-PAGE แลวตัดโปรตีนที่สนใจจากเจล

ในชอง 1 ซึ่งมีขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa และ 240 kDa ซึ่งเทียบกับตําแหนงของ

โปรตีนมาตรฐาน หลังจากนั้นยอยโปรตีนดวยเอนไซมทริปซิน วิเคราะหชนิดของโปรตีนดวยวิธี

LC/MS/MS ประเมินผลโดยใชโปรแกรม Mascot เกณฑการวิเคราะหที่ใช p < 0.05 ไดผลดังตาราง

ที่ 4 และ 5

ภาพที่ 31 ตําแหนงของโปรตีนที่ตัดขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa และ 240 kDa จากเจล

โปรตีนชอง 1

>220

240

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

220 160 120 100 90 80 70 60 50 40 30 25 20 15 10

FA0 FA2 FA4 FA6 FI0 STD Control FI2 FI4 FI6

ชอง 1 ชอง 2 ชอง 3 ชอง 4 ชอง 5 ชอง 6 ชอง 7 ชอง 8 ชอง 9 ชอง 10

Page 78:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

66

ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาระยะฟอลลิคูลารขนาด

น้ําหนักโมเลกุลของโปรตีนที่มากกวา 220 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi/136429 Trypsin precursor

gi/6981420 Protease, serine, 1 (Trypsin 1) ( Rattus norvegicus)

ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาระยะฟอลลิคูลารขนาด

น้ําหนักโมเลกุลของโปรตีน 240 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi/136429 Trypsin precursor

gi/6981420 Protease, serine, 1 (Trypsin 1) ( Rattus norvegicus)

gi/28317 Unnamed protein product (Homo sapiens)

Page 79:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

67

4.2 ผลการนําโปรตีนจากเซลลบุทอนําไขระยะลูเตียลบริเวณแอมพูลาที่ยังไมไดเพาะเลี้ยง

(LA0) โดยวิเคราะหขนาดของโปรตีนดวยวิธี SDS-PAGE แลวตัดโปรตีนที่สนใจขนาดน้ําหนัก

โมเลกุลที่ 95 kDa และ 105 kDa เมื่อเทียบกับตําแหนงของโปรตีนมาตรฐาน หลังจากนั้นยอย

โปรตีนดวยเอนไซมทริปซิน วิเคราะหชนิดของโปรตีนดวยวิธี LC/MS/MS โดยใชโปรแกรม

Mascot เกณฑการวิเคราะหที่ใช p < 0.05 ไดผลดังตารางที่ 6 และ 7

ภาพที่ 32 ตําแหนงของโปรตีนที่ตัดจากเจลชอง 1 ขนาดน้ําหนักโมเลกุล 95 kDa และ105 kDa

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

220 160 120 100 90 80 70 60 50 40 30 25 20 15 10

105

95

LA0 LA2 LA4 LA6 STD Control LI0 LI2 LI4 LI6

ชอง 1 ชอง 2 ชอง 3 ชอง 4 ชอง 5 ชอง 6 ชอง 7 ชอง 8 ชอง 9 ชอง 10

Page 80:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

68

ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาระยะลูเตียล ขนาดน้ําหนัก

โมเลกุลของโปรตีนที่ 95 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi|47522774 90-kDa heat shock protein [Sus scrofa]

gi|1170383 Heat shock protein HSP 90-alpha (HSP 86)

gi|149636948 PREDICTED: hypothetical protein [Ornithorhynchus anatinus]

gi|306891 90kDa heat shock protein

gi|149525990 PREDICTED: similar to heat shock protein 84b, partial [Ornithorhynchus

anatinus]

gi|123681 Heat shock protein HSP 90-beta (HSP 84) (Tumor-specific transplantation 84

kDa antigen) (TSTA)

gi|309317 84 kD heat shock protein

gi|73989602 PREDICTED: similar to Heat shock protein HSP 90-alpha (HSP 86) isoform 3

[Canis familiaris]

gi|73989600 PREDICTED: similar to Heat shock protein HSP 90-alpha (HSP 86) isoform 2

[Canis familiaris]

gi|73989598 PREDICTED: similar to heat shock protein 1, alpha isoform 1 [Canis familiaris]

gi|194033 heat-shock protein hsp86

gi|1351907 RecName: Full=Serum albumin; AltName: Full=BSA; AltName: Allergen=Bos

d 6; Flags: Precursor

gi|61104911 heat shock protein 90Bb [Homo sapiens]

gi|11935049 keratin 1 [Homo sapiens]

gi|73696357 heat shock 90kDa protein 1, beta [Macaca mulatta]

gi|30962111 albumin [Felis catus]

gi|136429 Trypsin precursor

gi|73974509 PREDICTED: similar to heat shock protein 1, beta [Canis familiaris]

gi|126335261 PREDICTED: similar to angiotensin receptor [Monodelphis domestica]

gi|4159806 type II keratin subunit protein [Mus musculus]

gi|306891 90kDa heat shock protein

Page 81:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

69

gi|149525990 PREDICTED: similar to heat shock protein 84b, partial [Ornithorhynchus

anatinus]

gi|123681 Heat shock protein HSP 90-beta (HSP 84) (Tumor-specific transplantation 84

kDa antigen) (TSTA)

gi|309317 84 kD heat shock protein

gi|73989602 PREDICTED: similar to Heat shock protein HSP 90-alpha (HSP 86)

isoform 3 [Canis familiaris]

gi|73989600 PREDICTED: similar to Heat shock protein HSP 90-alpha (HSP 86) isoform 2

[Canis familiaris]

gi|73989598 PREDICTED: similar to heat shock protein 1, alpha isoform 1 [Canis familiaris]

gi|194033 heat-shock protein hsp86

gi|1351907 RecName: Full=Serum albumin; AltName: Full=BSA; AltName: Allergen=Bos

d 6; Flags: Precursor

gi|61104911 heat shock protein 90Bb [Homo sapiens]

gi|11935049 keratin 1 [Homo sapiens]

gi|73696357 heat shock 90kDa protein 1, beta [Macaca mulatta]

gi|30962111 albumin [Felis catus]

gi|136429 Trypsin precursor

gi|73974509 PREDICTED: similar to heat shock protein 1, beta [Canis familiaris]

gi|126335261 PREDICTED: similar to angiotensin receptor [Monodelphis domestica]

gi|4159806 type II keratin subunit protein [Mus musculus]

gi|12859782 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|194037336 PREDICTED: similar to Keratin 77 [Sus scrofa]

gi|119892108 PREDICTED: similar to keratin 2 (epidermal ichthyosis bullosa of Siemens)

[Bos taurus]

gi|6981420 protease, serine, 2 [Rattus norvegicus]

gi|28590 unnamed protein product [Homo sapiens]

gi|55956899 keratin 9 [Homo sapiens]

gi|148747492 keratin 2 [Sus scrofa]

gi|191765 alpha-fetoprotein

Page 82:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

70

gi|17028367 Similar to gelsolin (amyloidosis, Finnish type) [Homo sapiens]

gi|2865466 heat shock protein 75 [Homo sapiens]

gi|14198259 Unknown (protein for IMAGE:3584589) [Mus musculus]

gi|52789 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|28317 unnamed protein product [Homo sapiens]

ตารางที่ 7 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาระยะลูเตียลขนาดน้ําหนัก

โมเลกุลของโปรตีนที่ 105 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi|6005942 valosin-containing protein [Homo sapiens]

gi|984249 protein kinase [Sus scrofa]

gi|74178174 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|4503483 eukaryotic translation elongation factor 2 [Homo sapiens]

gi|11935049 keratin 1 [Homo sapiens]

gi|73972966 PREDICTED: similar to heat shock protein 1, beta isoform 1 [Canis

familiaris]

gi|149525990 PREDICTED: similar to heat shock protein 84b, partial [Ornithorhynchus

anatinus]

gi|178056753 glycogen phosphorylase, liver [Sus scrofa]

gi|73971731

PREDICTED: similar to Iron-responsive element binding protein 1 (IRE-BP

1) (Iron regulatory protein 1) (IRP1) (Ferritin repressor protein) (Aconitate

hydratase) (Citrate hydro-lyase) (Aconitase) [Canis familiaris]

gi|126334046 PREDICTED: similar to iron regulatory factor [Monodelphis domestica]

gi|194224903 PREDICTED: similar to aconitase 1, soluble [Equus caballus]

gi|197101163 aconitase 1, soluble [Pongo abelii]

gi|115498012 glycogen phosphorylase, liver [Bos taurus]

gi|32488 unnamed protein product [Homo sapiens]

Page 83:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

71

gi|229552 albumin

gi|126283523 PREDICTED: similar to Liver glycogen phosphorylase [Monodelphis

domestica]

gi|73989579 PREDICTED: similar to brain glycogen phosphorylase isoform 1 [Canis

familiaris]

gi|183353 glycogen phosphorylase (EC 2.4.1.1)

gi|55741435 oviductal glycoprotein 1 [Sus scrofa]

gi|136429 Trypsin precursor

gi|194207375 PREDICTED: similar to Phosphorylase, glycogen; liver [Equus caballus]

gi|4159806 type II keratin subunit protein [Mus musculus]

gi|12859782 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|28317 unnamed protein product [Homo sapiens]

gi|114667176 PREDICTED: similar to Keratin, type I cytoskeletal 14 (Cytokeratin-14)

(CK-14) (Keratin-14) (K14) [Pan troglodytes]

gi|687239 tumor necrosis factor type 1 receptor associated protein

gi|194037336 PREDICTED: similar to Keratin 77 [Sus scrofa]

gi|119892108 PREDICTED: similar to keratin 2 (epidermal ichthyosis bullosa of Siemens)

[Bos taurus]

gi|46485130 TPA: TPA_exp: keratin Kb40 [Mus musculus]

gi|74219975 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|109096781 PREDICTED: keratin 6A isoform 18 [Macaca mulatta]

gi|85701680 keratin 76 [Mus musculus]

gi|51092293 keratin 77 [Mus musculus]

gi|148747492 keratin 2 [Sus scrofa]

gi|1082886 tumor necrosis factor type 1 receptor associated protein TRAP-1 - human

gi|21313044 katanin p60 subunit A-like 2 [Mus musculus]

gi|6981420 protease, serine, 2 [Rattus norvegicus]

gi|19343783 2610301G19Rik protein [Mus musculus]

gi|293686 epidermal keratin subunit II

gi|1098541 osmotic stress protein 94

Page 84:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

72

gi|74001348 PREDICTED: similar to mitochondrial ribosomal protein L39 isoform a

[Canis familiaris]

gi|62122767 keratin 9 [Canis lupus familiaris]

Page 85:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

73

4. 3 ผลการนําโปรตีนที่ไดจากสารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคูลารที่ยังไมได

เพาะเลี้ยง (FC0) โดยวิเคราะหขนาดของโปรตีนดวยวิธี SDS-PAGE แลวตัดโปรตีนที่สนใจขนาด

น้ําหนักโมเลกุลที่ 27, 45, 140 และมากกวา 220 kDa เมื่อเทียบกับตําแหนงของโปรตีนมาตรฐาน

หลังจากนั้นยอยโปรตีนดวยเอนไซมทริปซิน วิเคราะหชนิดของโปรตีนดวยวิธี LC/MS/MS โดยใช

โปรแกรม Mascot เกณฑการวิเคราะหที่ใช p < 0.05 ไดผลดังตารางที่ 8 ถึง 11 ตามลําดับ

ภาพที่ 33 ตําแหนงของโปรตีนที่ตดัขนาดน้ําหนกัโมเลกุล 27, 45, 140 และมากกวา 220 kDa จาก

เจลโปรตีนชอง 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

220

160

120

100

90

>220

FC0 STD Control FC2 FC4 FC6 LC0 LC2 LC4 LC6

ชอง 1 ชอง 2 ชอง 3 ชอง 4 ชอง 5 ชอง 6 ชอง 7 ชอง 8 ชอง 9 ชอง 10

80

70

60

50

40

30

25

20

15

10

27

140

45

Page 86:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

74

ตารางที่ 8 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากสารหลั่งจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคูลารขนาด

น้ําหนักโมเลกุลของโปรตีนที่ 27 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi|89216 Ig lambda chain V-C region PLC3 - pig (fragment)

gi|227747 Ig VL

gi|21703157 immunoglobulin kappa light chain VJ region [Sus scrofa]

gi|89215 Ig kappa chain V-C region (PLC18) - pig (fragment)

gi|48374067 inter-alpha-trypsin inhibitor family heavy chain-related protein [Sus scrofa]

gi|473213 IgM [Mus musculus]

gi|55369 immunoglobulin light chain [Mus musculus]

gi|297642 immunoglobulin variable region [Mus musculus domesticus]

gi|999962 Chain A, The Structure Of A Bivalent Diabody

gi|1002414 immunoglobulin light chain

gi|3328091 monoclonal anti-DNA IgM kappa-chain variable region [Mus musculus]

gi|194043301 PREDICTED: similar to hCG2010519 [Sus scrofa]

gi|90935 Ig kappa chain V region (SM1.5) - mouse (fragment)

gi|197102 (V-J). Ig heavy chain V-region. [Mus musculus]

gi|197096 (V-J). Ig heavy chain V-region. [Mus musculus]

gi|197098 (V-J). Ig heavy chain V-region. [Mus musculus]

gi|2385463 anti-pseudouridine monoclonal antibody light chain variable region [Mus sp.]

gi|111185614 Igl-V1 protein [Mus musculus]

gi|90911 Ig kappa chain V region (H37-60) - mouse

gi|1870366 anti-DNA immunoglobulin light chain IgG [Mus musculus]

Page 87:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

75

ตารางที่ 9 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากสารหลั่งจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคูลารขนาดน้ําหนกั

โมเลกุลของโปรตีนที่ 45 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi|47522826 haptoglobin [Sus scrofa]

gi|47522844 complement component 3 [Sus scrofa]

gi|47523830 apolipoprotein A-IV [Sus scrofa]

gi|136429 Trypsin precursor

gi|164302 alpha-1 acid glycoprotein

gi|179665 complement component C3

gi|149636227 PREDICTED: similar to chromosome 1 open reading frame 114

[Ornithorhynchus anatinus]

gi|6981420 protease, serine, 2 [Rattus norvegicus]

gi|6978487 aldolase A, fructose-bisphosphate [Rattus norvegicus]

gi|194665589 PREDICTED: hypothetical protein [Bos taurus]

gi|86695 Ig gamma chain C region - chimpanzee

gi|121111 Glia-derived nexin precursor (GDN) (Protease nexin I) (PN-1)

gi|149587632 PREDICTED: similar to alpha 2 type VI collagen, partial [Ornithorhynchus

anatinus]

gi|154818367 beta-actin [Neovison vison]

Page 88:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

76

ตารางที่ 10 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากสารหลั่งจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคูลารขนาด

น้ําหนักโมเลกุลของโปรตีนที่ 140 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi|194041147 PREDICTED: similar to Ceruloplasmin precursor (Ferroxidase) [Sus

scrofa]

gi|47522844 complement component 3 [Sus scrofa]

gi|164318 albumin

gi|99028969 complement component 3 [Bos taurus]

gi|78101268 Chain B, Human Complement Component C3

gi|1620909 ceruloplasmin [Homo sapiens]

gi|1351907 RecName: Full=Serum albumin; AltName: Full=BSA; AltName:

Allergen=Bos d 6; Flags: Precursor

gi|3319897 albumin [Canis familiaris]

gi|544053

Complement C3 precursor [Contains: Complement C3 beta chain;

Complement C3 alpha chain; C3a anaphylatoxin; Complement C3b alpha'

chain; Complement C3c alpha' chain fragment 1; Complement C3dg fragment;

Complement C3g fragment; Complement C3d fragmen

gi|158138568 albumin [Rattus norvegicus]

gi|26340966 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|164503 immunoglobulin gamma-chain

gi|57164373 pre-pro serum albumin [Ovis aries]

gi|164507 immunoglobulin gamma-chain

gi|136429 Trypsin precursor

gi|126723309 complement component 3 [Oryctolagus cuniculus]

gi|57619174 ceruloplasmin [Ovis aries]

gi|76363596 Serum albumin precursor

gi|2136516 Ig gamma 4 chain constant region - pig (fragment)

gi|58585560 albumin [Microtus fortis fortis]

gi|166236027 immunoglobulin gamma chain 6b [Sus scrofa]

Page 89:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

77

gi|15808978 albumin precursor [Schistosoma mansoni]

gi|2492797 Serum albumin precursor

gi|149642125 PREDICTED: similar to complement component C3 [Ornithorhynchus

anatinus]

gi|90824 Ig heavy chain V-D-J region (RP93) - mouse (fragment)

gi|112696672 immunoglobulin heavy chain variable region [Homo sapiens]

gi|194037849 PREDICTED: alpha-2-macroglobulin [Sus scrofa]

gi|112699006 immunoglobulin heavy chain variable region [Homo sapiens]

gi|194376358 unnamed protein product [Homo sapiens]

gi|85787215 complement component C3 [Isoodon macrourus]

gi|2136551 Ig alpha chain C region - pig (fragment)

gi|6649884 Ig heavy chain [Homo sapiens]

gi|47522736 hemopexin [Sus scrofa]

gi|149587632 PREDICTED: similar to alpha 2 type VI collagen, partial [Ornithorhynchus

anatinus]

Page 90:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

78

ตารางที่ 11 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากสารหลั่งจากเซลล CC + GC ระยะฟอลลิคูลารขนาด

น้ําหนักโมเลกุลของโปรตีนมากกวา 220 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi|160961491 keratin 1 [Pan troglodytes]

gi|56407693 fibronectin [Sus scrofa]

gi|28317 unnamed protein product [Homo sapiens]

gi|61740600 keratin 10 [Canis lupus familiaris]

gi|4159806 type II keratin subunit protein [Mus musculus]

gi|12859782 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|57012358 keratin 73 [Rattus norvegicus]

gi|136429 Trypsin precursor

gi|194212015 PREDICTED: similar to type II keratin Kb15 [Equus caballus]

gi|194037336 PREDICTED: similar to Keratin 77 [Sus scrofa]

gi|119892108 PREDICTED: similar to keratin 2 (epidermal ichthyosis bullosa of Siemens)

[Bos taurus]

gi|149417895 PREDICTED: similar to keratin 6 irs3 [Ornithorhynchus anatinus]

gi|109096781 PREDICTED: keratin 6A isoform 18 [Macaca mulatta]

gi|46485130 TPA: TPA_exp: keratin Kb40 [Mus musculus]

gi|148747492 keratin 2 [Sus scrofa]

gi|52789 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|293686 epidermal keratin subunit II

gi|6981420 protease, serine, 2 [Rattus norvegicus]

Page 91:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

79

4.4 ผลการนําโปรตีนที่ไดจากสารหล่ังจากเซลล CC + GC ระยะลูเตียลที่ยังไมไดเพาะ

เลี้ยง (LC0) โดยวิเคราะหขนาดของโปรตีนดวยวิธี SDS-PAGE แลวตัดโปรตีนที่สนใจขนาด

น้ําหนักโมเลกุลที่มากกวา 220 kDa เมื่อเทียบกับตําแหนงของโปรตีนมาตรฐาน หลังจากนั้นยอย

โปรตีนดวยเอนไซมทริปซิน วิเคราะหชนิดของโปรตีนดวยวิธี LC/MS/MS โดยใชโปรแกรม

Mascot เกณฑการวิเคราะหที่ใช p < 0.05 ไดผลดังตารางที่ 12

ภาพที่ 34 ตําแหนงของโปรตีนที่ตดัขนาดน้ําหนกัโมเลกุลที่มากกวา 220 kDa จากเจลโปรตีนชอง 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

220

160

120

100

90 80

70 60

50

40

FC0 STD Control FC2 FC4 FC6 LC0 LC2 LC4 LC6

ชอง 1 ชอง 2 ชอง 3 ชอง 4 ชอง 5 ชอง 6 ชอง 7 ชอง 8 ชอง 9 ชอง 10

220

160

120

100

90

80

70

60

50

40

30

25

20

15

10

>220

Page 92:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

80

ตารางที่ 12 ผลการวิเคราะหโปรตีนจากสารหลั่งจากเซลล CC + GC ระยะลูเตียลขนาดน้ําหนัก

โมเลกุลของโปรตีนมากกวา 220 kDa เมื่อเทียบกับ database ของสิ่งมีชีวิตอื่น

รหัสโปรตีน ชนิดของโปรตีน

gi|119888979 PREDICTED: heparan sulfate proteoglycan 2 [Bos taurus]

gi|194207923 PREDICTED: heparan sulfate proteoglycan 2 [Equus caballus]

gi|28317 unnamed protein product [Homo sapiens]

gi|11935049 keratin 1 [Homo sapiens]

gi|108998883 PREDICTED: heparan sulfate proteoglycan 2 [Macaca mulatta]

gi|73950644

PREDICTED: similar to Basement membrane-specific heparan sulfate

proteoglycan core protein precursor (HSPG) (Perlecan) (PLC) [Canis

familiaris]

gi|194037847 PREDICTED: similar to Alpha-2-macroglobulin precursor (Pregnancy zone

protein) (Alpha-2-M) [Sus scrofa]

gi|61740600 keratin 10 [Canis lupus familiaris]

gi|73950646

PREDICTED: similar to Basement membrane-specific heparan sulfate

proteoglycan core protein precursor (HSPG) (Perlecan) (PLC) [Canis

familiaris]

gi|1172451 Basement membrane-specific heparan sulfate proteoglycan core protein

precursor (HSPG) (Perlecan) (PLC)

gi|122891114 perlecan (heparan sulfate proteoglycan 2) [Mus musculus]

gi|27805977 keratin 10 [Bos taurus]

gi|164318 albumin

gi|146741296 keratin 1 [Sus scrofa]

gi|547754 Keratin, type II cytoskeletal 2 epidermal (Cytokeratin-2e) (CK 2e) (K2e)

(keratin-2)

gi|148697968 mCG120448, isoform CRA_a [Mus musculus]

gi|1351907 RecName: Full=Serum albumin; AltName: Full=BSA; AltName:

Allergen=Bos d 6; Flags: Precursor

gi|4159806 type II keratin subunit protein [Mus musculus]

Page 93:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

81

gi|12859782 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|148747492 keratin 2 [Sus scrofa]

gi|136429 Trypsin precursor

gi|119892108 PREDICTED: similar to keratin 2 (epidermal ichthyosis bullosa of Siemens)

[Bos taurus]

gi|3319897 albumin [Canis familiaris]

gi|109096781 PREDICTED: keratin 6A isoform 18 [Macaca mulatta]

gi|148356276 keratin 4 [Bos taurus]

gi|149714794 PREDICTED: keratin 4 [Equus caballus]

gi|149031970 rCG50690 [Rattus norvegicus]

gi|30962111 albumin [Felis catus]

gi|398168 keratin 2 epidermis [Mus musculus]

gi|194037336 PREDICTED: similar to Keratin 77 [Sus scrofa]

gi|47059013 keratin 73 [Mus musculus]

gi|80475848 KRT73 protein [Homo sapiens]

gi|57012360 keratin 4 [Rattus norvegicus]

gi|149449400 PREDICTED: similar to heparan sulfate proteoglycan perlecan, partial

[Ornithorhynchus anatinus]

gi|46485130 TPA: TPA_exp: keratin Kb40 [Mus musculus]

gi|74219975 unnamed protein product [Mus musculus]

gi|114667176 PREDICTED: similar to Keratin, type I cytoskeletal 14 (Cytokeratin-14) (CK-

14) (Keratin-14) (K14) [Pan troglodytes]

gi|85701680 keratin 76 [Mus musculus]

gi|149417893 PREDICTED: similar to epidermal cytokeratin 2 [Ornithorhynchus anatinus]

gi|76617986 PREDICTED: keratin 18 [Bos taurus]

gi|149714860

PREDICTED: similar to Keratin, type I cytoskeletal 18 (Cytokeratin-18) (CK-

18) (Keratin-18) (K18) (Cell proliferation-inducing gene 46 protein) [Equus

caballus]

gi|191765 alpha-fetoprotein

gi|194212015 PREDICTED: similar to type II keratin Kb15 [Equus caballus]

Page 94:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

82

gi|149417897 PREDICTED: similar to keratin 6 irs4 [Ornithorhynchus anatinus]

gi|57012352 keratin 75 [Rattus norvegicus]

gi|149422950 PREDICTED: similar to keratin 13 [Ornithorhynchus anatinus]

gi|293686 epidermal keratin subunit II

gi|6981420 protease, serine, 2 [Rattus norvegicus]

gi|18031720 keratin protein K6irs [Homo sapiens]

gi|126308030 PREDICTED: similar to Krt35 protein [Monodelphis domestica]

gi|126308114 PREDICTED: similar to K12 keratin [Monodelphis domestica]

จากผลการวิเคราะหโปรตีนดวยวิธี LC/MS/MS โดยใชโปรแกรม Mascot พบโปรตีนที่

นาสนใจที่มีขนาดของน้ําหนักโมเลกุลที่แตกตางกัน โดยเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาและ

อิสทมัสระยะฟอลลิคูลารเลือกโปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa และ 240 kDa

เซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสระยะลูเตียลเลือกโปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่

95 kDa และ 105 kDa โปรตีนที่ไดจาก CC+GC ระยะฟอลลิคูลารเลือกโปรตีนขนาดน้ําหนัก

โมเลกุลที่ 27, 45, 140 และมากกวา 220 kDa สวนโปรตีนที่ไดจาก CC+GC ระยะลูเตียลเลือก

โปรตีนขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa ผลที่ไดพบวาน้ําหนักโมเลกุลที่เทากันมีโปรตีนที่

ตรวจพบหลายชนิด

Page 95:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

1

บทที่ 6

อภิปรายผลการทดลอง

จากการศึกษาสัณฐานวิทยาเซลลบุทอนําไขแมสุกรบริเวณแอมพูลาและอิสทมัสในรอบการ

เปนสัดทั้ง 2 ระยะ คือระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล พบเซลลบุทอนําไขรูปทรงกระบอกที่มี

ซีเลีย (ciliated columnar epithelial cells) และเซลลบุทอนําไขรูปรางกลมไมมีซีเลีย (non-ciliated

round shape epithelial cells) แตมีไมโครวิลไล (microvilli) สั้นๆ อยูที่ผิว (Dekel และ Phillips,

1979; Kamici และคณะ, 1999; Steffl และคณะ, 2004; Kress และ Morson, 2007; Codon และ

Casanave, 2009) และจากการศึกษาของ Areekijseree และคณะ (2005) (2006) ที่ศึกษาความ

แตกตางของสัณฐานวิทยาและโครงสรางของเซลลบุทอนําไขสุกรภายใตกลองจุลทรรศนแบบ

หัวกลับและกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด พบวาในระยะฟอลลิคูลารมีเซลลบุทอนําไข

รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียจํานวนมากกวาในระยะลูเตียล โครงสรางของเซลลบุทอนําไขบริเวณ

แอมพูลาและอิชทมัสเปนสวนที่สําคัญในกระบวนการสืบพันธุ ซึ่งเซลลไขเคลื่อนเขาสูทอนําไข

เพื่อรอการปฏิสนธิกับเซลลอสุจิหลังเซลลไขสุกและตกจากรังไข บริเวณแอมพูลาเปนสวนที่เกิด

การปฏิสนธิและมีการพัฒนาของตัวออนในระยะเริ่มแรก (Leese, 1988; Desantis และคณะ, 2004)

ลักษณะของเซลลบุทอนําไขบริเวณแอมพูลาในระยะฟอลลิคูลาร พบเซลลที่มีซีเลียเปนจํานวน

มากกวาระยะลูเตียล (Yanis และคณะ, 2009) เซลลที่มีซีเลียนี้ชวยในการเคลื่อนที่ของเซลลไขที่สุก

สวนในระยะลูเตียลจะพบเซลลบุทอนําไขที่ไมมีซีเลียเปนจํานวนมากขึ้น (Abe และ Oikawa, 1991

Areekijseree และคณะ, 2006) ซ่ึงเซลลชนิดนี้สรางและหล่ังสารไกลโคโปรตีน (glycoprotein) พบ

ที่ตอมหลั่งสาร (secretory granule) (Murray, 1992; Desouza และ Murry, 1995) เชนเดียวกับ

งานวิจัยของ Verhage และคณะ ในป ค.ศ.1997 พบวาเซลลบุทอนําไขที่ไมมีซีเลียของลิงบาบูนจะ

หล่ังสารไกลโคโปรตีนเมื่อระดับเอสโตรเจนสูงขึ้น สําหรับลักษณะสัณฐานวิทยาของเซลลบุทอ-

นําไขบริเวณอิสทมัสในรอบการเปนสัด พบเซลลที่มีซีเลียและเซลลที่ไมมีซีเลียแตมีไมโครวิลไล

สั้นๆ หรือเซลลหลั่งสาร (secretory cells) จํานวนมาก ซึ่งงานวิจัยของ Arthur และคณะ (1976)

พบวาเซลลหล่ังสารมีขนาดเล็กกวาที่พบในมดลูกและปากมดลูกซึ่งเหมือนกับในบริเวณแอมพูลา

การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ COCs ในรอบการเปนสัดไดคัดเลือกรังไขที่อยูใน

ระยะฟอลลิคูลารและลูเตียลมาทําการศึกษา โดยไดเจาะเซลลไขบริเวณแอนทรัลฟอลลิเคิล

83

Page 96:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

84

(antral follicle) จํานวนทั้งหมด 110 รังไข ระยะฟอลลิคูลารจํานวน 73 รังไข และระยะลูเตียล

จํานวน 37 รังไข เจาะไดเซลลไขทั้งหมด 880 เซลล เฉลี่ยได 8 เซลลไขตอรังไข เมื่อเทียบกับจํานวน

เซลลไขของสุกรสาวพบวาในสุกรสาวมีคาเฉลี่ยเทากับ 46 เซลลไขตอรังไข (Arekijseree และ

Vejaratpimol, 2006) ซ่ึงมากกวาในแมสุกร และพบวาเปนระยะฟอลลิคูลารตอระยะลูเตียลเทากับ

557 ตอ 323 ซึ่งพบเซลลไขที่มีลักษณะแตกตางกัน 5 ชนิด โดยแบงตามลักษณะของเซลลคูมูลัสที่

ลอมรอบเซลลไข คือเซลลไขชนิดที่หนึ่ง (เซลลไขที่มีเซลลลอมรอบเซลลไขแบบติดแนน) เซลลไข

ชนิดที่สอง (เซลลไขที่มีเซลลลอมรอบเซลลไขแบบหลายชั้น) เซลลไขชนิดที่สาม (เซลลไขที่มี

เซลลลอมรอบเซลลไขเพียงบางสวน) เซลลไขชนิดที่สี่ (เซลลไขที่ไมมีเซลลลอมรอบ) และเซลล

ไขชนิดที่หา (เซลลไขที่มีเซลลลอมรอบแบบแผขยาย) (มงคล เตชะกําพุ และคณะ, 2536; Tomer

และคณะ, 1997) ซึ่งจากการเจาะไดเซลลไขชนิดตางๆ พบวาเซลลไขชนิดที่หนึ่งและสองที่นํามา

เพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลลและทําใหเซลลไขสุกไดในระยะฟอลลิคูลารตอระยะลูเตียลเทากับ

415 ตอ 185 ซึ่งจะเห็นไดวาในระยะฟอลลิคูลารมีจํานวนเซลลไขชนิดที่หนึ่งและชนิดที่สอง

มากกวาระยะลูเตียล ในงานวิจัยของมงคล เตชะกําพุ และคณะ (2536) พบความแตกตางของคาเฉลีย่

จํานวนเซลลไขระหวางรังไขจากแมสุกรที่ผานรอบการเปนสัดมาแลวกับสุกรสาวที่ยังไมมีรอบของ

การเปนสัดจํานวนของเซลลไขที่ไดจากรังไขของแมสุกรมีคานอยกวาของสุกรสาว เนื่องจากหลัง

วัยเจริญพันธุจะมีการเจริญของฟอลลิเคิลและเซลลไขมากกวากอนวัยเจริญพันธุฟอลลิเคิลและ

เซลลไขจะเจริญจนถึงชวงตกไขในแตละรอบของวงจรการเปนสัดโดยบางสวนจะสูญเสียกอน

ตกไขและอีกสวนหนึ่งจะเจริญจนถึงชวงตกไข

นอกจากนี้พบวาเซลลไขชนิดที่มีเซลลลอมรอบเซลลไขแบบติดแนนและแบบหลายชั้น

เปนเซลลไขที่สามารถนํามาเพาะเล้ียงเพื่อการปฏิสนธินอกรางกาย เพราะอัตราการปฏิสนธิและการ

เจาะของตัวอสุจิสูงเมื่อเทียบกับเซลลไขชนิดอื่นๆ (Kikuchi และคณะ, 1993) งานวิจัยนี้ไดเพาะเลี้ยง

เซลลไขชนิดที่หนึ่งและชนิดที่สองในอาหารเพาะเลี้ยงเซลล M 199 ที่เสริมดวย 10% heattreated

fetal calf serum (HTFCS), NaHCO3 2.2 mg/mL (Sigma Company, St Louis MO), 1 M Hepes

(Sigma, St Louis MO), 0.25 mM pyruvate, 15 µg/mL FSH, 1 µg/mL LH,1 µg/mL estradiol ซึ่ง

ละลายใน ethanol และ gentamycin sulfate 50 µg/mL พบวาเซลลไขทั้งสองชนิดสามารถพัฒนาให

ไขสุกไดสูง (Areekijseree และคณะ, 2006; Mahmodi และคณะ, 2009) นอกจากนี้ Areekijseree

และคณะ (2006)ไดศึกษาเซลลภายใตกลองจุลทรรศนแบบหัวกลับและกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน

แบบสองกราดพบวา COCs ของสุกรสาวชนิดที่หนึ่งและชนิดที่สองเมื่อเพาะเลี้ยงในอาหาร

เพาะเลี้ยงเซลลที่เสริมดวยฮอรโมนสามารถพัฒนาใหไขสุกไดสูงขึ้น ซึ่งพบในการศึกษาของสัตว

เล้ียงลูกดวยนมอื่นๆ เชน ในโคไดมีการศึกษาโดยเพาะเลี้ยงเซลลไขโคในอาหารเพาะเลี้ยงเซลล

Page 97:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

85

M 199 และเสริมดวยฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอช ซึ่งสามารถทําใหเซลลไขของโคสุกได

(ณรงค เลี้ยงเจริญ และคณะ, 2549; Kitiyanant และคณะ,1995; Choi และคณะ, 2000; Geshi และ

คณะ, 2000) เชนเดียวกับงานวิจัยของ Mossa และคณะ (2007) ไดศึกษาความสัมพันธระหวาง

จํานวนฟอลลิเคิลในรังไขกับคุณภาพของการพัฒนาตัวออนของแกะในการเพาะเลี้ยงโดยเพิ่ม

ฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอชในอาหารเพาะเลี้ยงเซลล

ตามธรรมชาติลักษณะถุงไขที่เปนแอนทรัลฟอลลิเคิล ประกอบดวยเซลล 2 ชนิด เซลลที่อยู

ชิดกับเซลลไขเรียกวาคูมูลัสเซลล (cumulus cell: CC) สวนเซลลที่อยูลอมรอบในถุงไข เรียกวา

แกรนูโลซาเซลล (granulose cell: GC) เซลล CC และ GC มีหนาที่สรางสารที่มีน้ําหนักโมเลกุลต่ําๆ

เชน ion nucleotides และกรดอะมิโน ปลอยเขาสูน้ําในถุงไข (Tsafriri และคณะ, 1976; Stone และ

คณะ, 1978) สารนี้คือ oocyte maturation inhibitor (OMI) หรือเรียกวา meiosis arresting factor ทํา

หนาที่หยุดการเจริญพัฒนาของเซลลไขในขณะที่เซลลไขซึ่งมี CC หนาแนนถูก OMI ยับยั้งใหอยูใน

ระยะ diplotene stage of prophase I และยังทําให primary oocyte ไมพัฒนาไปสู secondary oocyte

(Centola และคณะ, 1981; Whitaker, 1996; Li และคณะ, 2000) ซึ่งขนาดของฟอลลิเคิลที่ใหญมี

ความสัมพันธกับความเขมขนของสาร OMI ที่หล่ังออกมานอย แตไมขึ้นกับรอบการเปนสัด (Wiel

และคณะ, 1983) ในงานวิจัยครั้งนี้เมื่อเจาะ COCs ออกจากแอนทรัลฟอลลิเคิล มีผลให CC แยกตัว

ออกจาก GC เซลลไขที่ถูกแยกนํามาเพาะเล้ียงในอาหารเพาะเลี้ยงเซลลจะเกิดการแบงตัวแบบไมโอ

ซิสตอไดเอง โดยผนังของนิวเคลียสของเซลลไขจะหายไป เรียกการหายไปนี้วาเจมินัล เวสิเคิล

เบรกดาวน (Germinal vescicle breakdown: GVBD) ซ่ึงเปนลักษณะอยางหนึ่งที่บงชี้ถึงสภาพของ

การเจริญพรอมปฏิสนธิ (มงคล เตชะกําพุ, 2543) ดังนั้นการทําให CC ที่ลอมรอบเซลลไขกระจาย

ตัวออก ทําใหไมสามารถสงสาร OMI มายับยั้งการเจริญและพัฒนาของเซลลไขได และเมื่อเสริม

ฮอรโมนจึงทําใหเซลลไขสามารถพัฒนาจนสุกไดเซลลไขมีการเจริญและพัฒนาจากระยะ primary

oocyte เขาสูระยะ secondary oocyte โดยการเพิ่มฮอรโมนหรือไดรับอิทธิพลของฮอรโมนโกนาโด

โทฟน (gonadotropins: GnRH) ซึ่งมีผลไปกระตุนฮอรโมนเอฟเอสเอชและแอลเอช จากตอมใต

สมองสวนหนาใหหลั่งฮอรโมนเอฟเอสเอช แอลเอช และสเตียรอยดฮอรโมน เชน ฮอรโมน

เอสโตรเจนมากระตุนเซลลไขจึงเจริญตอไปได (Schwartz และ Channing, 1977) ซึ่งตรงกับ

งานวิจัยของ Stone และคณะ ในป ค.ศ. 1978 ที่เสริมฮอรโมนแอลเอชในอาหารเพาะเลี้ยงเซลลและ

สามารถทําใหเซลลไขสุกไดเชนเดียวกับ Wetscher และคณะ (2004) ไดศึกษาการฝากถายตัวออน

ในโคเพื่อศึกษาการเจริญของตัวออนในระยะแรกดวยการเพิ่มฮอรโมนโกนาโดโทฟนทําใหโคเกิด

การตกไขไดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังพบวา OMI ถูกยับยั้งโดยเอนไซมทริปซิน แตสามารถทํางานไดดี

หลังจากละลายเมื่อถูกแชแข็งหรือขณะมีอุณหภูมิสูงถึง 60 องศาเซลเซียส (Tsafriri และคณะ, 1976)

Page 98:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

86

ผลจากการเพาะเล้ียงเซลลไขสุกรนาน 48 ชั่วโมงศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน

แบบสองผาน พบการเปลี่ยนแปลงไซโทพลาซึมของ CC เคลื่อนตัวและยื่นยาวออกจากผิวเซลลไข

(Dietl และ Czuppon, 1984; Martinova และคณะ, 2007) ยืนยันผลไดจากการทํา Semi–thin section

ที่ไดแสดงใหเห็นการแยกตัวของ CC ออกจากเซลลไข โดย CC มีลักษณะกระจายออกเซลลที่มี

รูปรางกลมเปลี่ยนเปนรูปกรวยยื่นยาวออก (Areekijseree และ Vejaratpimol, 2006) งานวิจัยนี้

สามารถทําใหเซลลไขแมสุกรสุกได ซึ่งการเพาะเลี้ยงเซลลไขดวยวิธีนี้ทําใหประหยัดเวลาและ

สารเคมีรวมทั้งอาหารเพาะเลี้ยงเซลลที่เตรียมขึ้นเองและใชฮอรโมนเทาที่จําเปน แตสามารถเตรียม

เซลลไขใหสุกไดเพื่อประโยชนที่จะนําไปใชในอนาคต หากตองการที่จะขยายพันธุเปนจํานวนมาก

ซึ่งพบวาสุกรที่ถูกคัดทิ้งเปนสุกรที่มีปญหาทางระบบสืบพันธุ ซึ่งจากงานวิจัยของ Tienthai และ

คณะ (2005) ไดศึกษาการเปล่ียนแปลงทางสัณฐานวิทยาของทอนําไขสุกรสาวทดแทนที่ถูกคัดทิ้ง

โดยเจาะเลือดและเก็บอวัยวะสืบพันธุหลังจากสุกรถูกสงไปยังโรงฆาสัตว พบวาสุกรมีปญหาไม

เปนสัดรอยละ 68 ผสมไมติดรอยละ 32 ซึ่งในแมสุกรที่มีปญหาทางระบบสืบพันธุก็จะตองถูกคัดทิ้ง

เชนเดียวกัน

จากงานวิจัยนี้ยังไดศึกษาสารหลั่งจากเซลลที่หลั่งสูอาหารเพาะเลี้ยง (condition medium)

ซึ่งผูวิจัยไดทําการศึกษาตอในเรื่องสารหลั่งจากเซลลบุทอนําไขสุกรที่เพาะเลี้ยงนาน 48, 96 และ

144 ชั่วโมง โดยการแยกแถบโปรตีนดวยการทํา sodium dodecyl sulfate polyacrylamide gel

electrophoresis (SDS-PAGE) และเลือกโปรตีนที่สนใจแลวยอยดวยเอนไซมทริปซินวิเคราะหชนิด

ของโปรตีนดวยวิธี Liquid chromatography/Mass spectrometer/Mass spectrometer (LC/MS/MS)

โดยใชโปรแกรม Mascot เกณฑการวิเคราะหมีคาความนาเชื่อถือรอยละ 95 (p < 0.05) ซึ่งสารหลั่ง

จากเซลลที่นํามาศึกษาตามขั้นตอนดังกลาวเลือกระยะของการเปนสัดและบริเวณที่แตกตางกัน

4 แบบ คือสารหล่ังจากเซลลบุทอนําไขระยะฟอลลิคูลาบริเวณแอมพูลา สารหลั่งจากเซลลบุทอนํา-

ไขระยะลูเตียลบริเวณแอมพูลาและสารหลั่งจากเซลล CC+GC ระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล

ซึ่งงานวิจัยของ Richard และ Sirard (1996) พบวา GC ที่อยูในของเหลวในฟอลลิเคิลมีสัณฐานกลม

และอยูเปนกลุมเม่ือนํามาเพาะเลี้ยงนาน 48 ชั่วโมง เซลลจะแยกออกเปนกลุมเล็กๆ หรือเปนเซลล

เดี่ยวแตไมมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐานวิทยา ซึ่งเซลลเหลานี้หลั่งสารสูอาหารเพาะเลี้ยง แตจาก

งานวิจัยหลังการเพาะเลี้ยงเซลลนาน 48, 96 และ 144 ช่ัวโมงในทุกการทดลองไมพบแถบโปรตีนที่

แตกตางจากกลุมควบคุม จึงไดเลือกแถบโปรตีนที่สนใจจากถุงไขระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล

และสารหล่ังจากเซลลบุทอนําไขระยะฟอลลิคูลารและระยะลูเตียล โดยเลือกโปรตีนจากสารหลั่ง

ของเซลลบุทอนําไขระยะฟอลลิคูลารบริเวณแอมพูลาขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa และ

240 kDa ซึ่งตรงกับงานวิจัยของ Areekijseree และ Veerapraditsin (2008) ไดทําการทดลอง

Page 99:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

87

เพาะเลี้ยงเซลลบุทอนําไขในสุกรสาว และนําสารหลั่งจากเซลลบุทอนําไขสุกร (POEC) และสาร

หล่ังจากเซลล CC+GC ที่หลั่งในอาหารเพาะเลี้ยงที่เพาะเลี้ยงในชวงเวลา 48, 96 และ 144 ชั่วโมง

โดยวิธี SDS-PAGE และพบแถบโปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa ในทุกแถบ

โปรตีน ซึ่งจากงานวิจัยพบวาชนิดของโปรตีนที่ตรวจพบไดในแถบโปรตีนที่มีขนาดน้ําหนัก

โมเลกุลมากกวา 220 kDa และ 240 kDa ทั้งสองแถบจากงานวิจัยนี้ที่นํามาวิเคราะหไดผลเหมือนกัน

คือ trypsin precursor และ protease

สําหรับสารหลั่งจากเซลลบุทอนําไขระยะลูเตียลบริเวณแอมพูลา ไดเลือกแถบโปรตีนที่

สนใจขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 95 และ 105 kDa ซึ่งขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 95 kDa พบโปรตีนที่มี

ขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่เทากันหลายชนิด ไดเลือก 90 kDa heat shock protein ซ่ึงพบวาเปนโปรตนี

ที่มีอยูภายในเซลลทําหนาที่หลักเปนตัวกระตุนโปรตีนอื่นๆ ที่สังเคราะหขึ้น (Zhao และคณะ,

2002) จากงานวิจัยของ King และคณะ (1994) ศึกษาเกี่ยวกับการนําเซลลบุทอนําไขของโค

ในรอบการเปนสัดหาโปรตีนขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 85 ถึง 95 kDa ที่ชักนําใหเกิดการพัฒนาของ

เซลลอสุจิเพื่อการปฏิสนธิในหลอดทดลองเปรียบเทียบกับโปรตีนที่นํามาจากของเหลวในทอนําไข

Staros และ Killian (1998) ศึกษาความสัมพันธของโปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลแตกตางกัน

6 แบบกับโซนา เพลลูซิดาของโคในรอบการเปนสัด และงานวิจัยของ Gerena และ Killian (1995)

ศึกษาของเหลวในทอนําไขของโคในรอบการเปนสัด พบโปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่

47 kDa ตลอดรอบการเปนสัด และพบโปรตีนขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 80 ถึง 95 kDa ชวงกอน

ตกไข 3 ถึง 4 วัน สวนขนาดน้ําหนักโมเลกุลที่ 105 kDa พบโปรตีน glycogen phosphorylase

protein kinase และ oviductal glycoprotein ซึ่งงานวิจัยของ Verhage และคณะ (1997) ไดศึกษา

เกี่ยวกับเซลลบุทอนําไขของลิงบาบูนพบโปรตีนขนาดน้ําหนักโมเลกุล 110 ถึง 130 kDa ซึ่งเปน

ไกลโคโปรตีนที่ชวยใหอสุจิมีความพรอมในการปฎิสนธิไดดีขึ้น สําหรับ glycogen phosphorylase

เปนเอนไซมที่ทําหนาที่เรงการแตกตัวของไกลโคลเจนใหเปนกลูโคส สวน protein kinase ทํา

หนาที่ชวยในกระบวนการสลายไกลโคเจนโดยทํางานรวมกับแคลเซียมอิออน (Ca2+)

สวนโปรตีนที่ไดจากสารหลั่งจากเซลล CC+GC ในรอบการเปนสัดระยะฟอลลิคูลาพบ

โปรตีนที่มีน้ําหนักโมเลกุล 27, 45, 140 และมากกวา 220 kDa ซึ่งโปรตีนที่มีน้ําหนักโมเลกุล 27

kDa ที่พบจากการทําวิจัย คืออิมมูโนโกลบูริน (immunoglobulin: Ig) เปน globulin ที่ทําหนาที่

เกี่ยวกับภูมิคุมกันของรางกายมี 5 ชนิด คือ IgG, IgA, IgM, IgD และ IgE แตละชนิดมีหนาที่

แตกตางกันโดยทั่วไป Ig ถูกทําลายใน granulocytes และ reticuloendothelial cells ของตับและ

ระบบทางเดินอาหาร บางสวนถูกขับออกทางลําไสและไต ซึ่งในงานวิจัยของ Liu และคณะ (2006)

Page 100:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

88

ที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบเฉพาะของโปรตีนจากน้ําในรังไขของมนุษยในระยะตางๆ ที่วิเคราะหโดย

MALDI-TOF MS พบ immunoglobulin เชนกัน

โปรตีนที่มีน้ําหนักโมเลกุล 45 kDa พบโปรตีนหลายชนิด คือ haptoglobin, complement

component 3 และ apolipoprotein A-IV สําหรับ haptoglobin เปนโปรตีนชนิดหนึ่งในพลาสมาซึ่ง

ในภาวะปกติ haptoglobin จะจับกับฮีโมโกลบินอิสระ (free hemoglobin) โดยคา haptoglobin จะมี

คาลดลงในคนที่มีภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis) สามารถผานเขาสูฟอลลิเคิลและมีผลตอ

คุณภาพเซลลไขซึ่งขัดขวางการแลกเปลี่ยนของ apolipoprotein A-I (Porta และคณะ, 1998) สวน

apolipoprotein A-IV เปนโปรตีนที่เปนองคประกอบใน HDL-c (High-density lipoproteins

cholesterol) มีหนาที่กระตุนการไหลของคลอเรสเตอรอลถูกสรางขึ้นในตับและลําไสเล็ก

(อาภัสสรา ชมิดท, 2537) ซ่ึงทําหนาที่เหมือน apolipoprotein A-I สําหรับ complement component

3 เปนโปรตีนในพลาสมา ทําหนาที่ในระบบภูมิคุมกันของรางกาย ซึ่งในภาวะปกติไมทํางานจะ

ทํางานตอเมื่อถูกกระตุน โดยงานวิจัยของ Gordon และคณะ (1986) ไดศึกษาเปรียบเทียบตัวยับยั้ง

กับเอนไซมโปรติเอสในของเหลวในรังไขของมนุษยกับสุกร พบโปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุล

45 kDa

โปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุล 140 kDa พบ ceruloplasmin และ hemopexin ซึ่ง

ceruloplasmin เปนเอนไซมที่สังเคราะหที่ตับ มีโครงสรางเปนทองแดง 90 เปอรเซ็นต และอีก 10

เปอรเซ็นต เปนโปรตีนมีหนาที่ลําเลียงธาตุเหล็กในเลือด โดยเปลี่ยนเหล็กเฟอรัสไปเปนเหล็ก

เฟอริค สวน hemopexin เปนโปรตีนที่ทําหนาที่เก็บรักษาธาตุเหล็ก (Smith และคณะ, 1983)

โปรตีนที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa พบ fibronectin (FN) ซึ่งเปนไกลโค-

โปรตีนที่มีคารโบไฮเดรตรวมอยูดวย ที่เกี่ยวโยงไปถึงเมมเบรน และ extracellular matrix ดวย เชน

collagen, fibrin และ heparane sulfate พบมากในเลือด จึงเปนตัวการสําคัญในกระบวนการหายของ

แผลและยังพบมากในน้ําลาย ดังนั้นการเลียแผลจะเปนการสมานแผลอยางหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีสวน

สําคัญในกระบวนการซอมแซมเนื้อเยื่อ (Williams และคณะ, 2008)

โปรตีนที่ไดจากสารหล่ังจากเซลล CC+GC ในรอบการเปนสัดระยะลูเตียลเลือกโปรตีนที่มี

น้ําหนักโมเลกุลมากกวา 220 kDa คือ alpha-2-macroglobulin เปนพลาสมาโปรตีนถูกสรางในตับ

ทําหนาที่ยับยั้งการแข็งตัวของเลือด (De Boer และคณะ, 1993)

จากการศึกษาโปรตีนที่หล่ังจากเซลล CC+GC ในรอบการเปนสัดทั้งระยะฟอลลิคูลาและ

ระยะลูเตียลเปนโปรตีนที่ผลิตขึ้นจากเซลลของฟอลลิเคิล มีบทบาทสําคัญตอการเจริญของฟอลลิ-

เคิลและการเปล่ียนแปลงของระดับฮอรโมนที่เกี่ยวของกับการเจริญของฟอลลิเคิล ซึ่งสารควบคุม

ภายในรังไขแบงเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมที่ 1 อินฮีบิน (inhibin) แอคติวิน (activin) และฟอลลิสเต-

Page 101:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

89

ติน (follistatin) กลุมที่ 2 โกรทแฟกเตอรตางๆ (growth factors) พบวาโปรตีนหลายชนิดที่พบใน

สารหลั่งจากเซลล CC+GC เปนโกรทแฟกเตอรที่เปน binding compounds เชน fibronectin

alpha-2-macroglobulin ซึ่งมีสวนสําคัญตอการเจริญของฟอลลิเคิลในเรื่องการปรับเปลี่ยน

(modulation) การเพิ่มจํานวน (proliferation) และการเปลี่ยนสภาพ (differentiation) ของเซลล

แกรนูโลซาและทีกาในฟอลลิเคิล (มงคล เตชะกําพุ, 2543) เชนเดียวกับงานวิจัยของ Angelucci และ

คณะ, (2006) ไดวิเคราะหโปรตีนจากของเหลวภายในฟอลลิเคิลของผูหญิงจํานวน 25 คนพบ

โปรตีนจํานวน 695 ตําแหนง ซึ่งมีโปรตีนหลายชนิดที่พบในการทดลองครั้งนี้เชนเดียวกัน ไดแก

alpha-2-macroglobulin, ceruloplasmin, complement component 3, immunoglobulin, haptoglobin,

apolipoprotein A-IV, hemopexin และ albumin

จากผลการศึกษาพบวามีโปรตีนหลายชนิดที่มีขนาดน้ําหนักโมเลกุลตางๆ ซึ่งพบใน

ทอนําไขและถุงไข ดังนั้นในการศึกษาครั้งตอไปควรมีการศึกษาถึงประโยชนที่ไดจากโปรตนีทีพ่บ

เพื่อที่จะไดนําไปใชประโยชนตอไปในอนาคต จะเห็นไดวาการนํารังไขและทอนําไขของสัตวที่

ไมไดนําไปบริโภคมาใชศึกษาทดลองอาจเปนประโยชนในระบบสืบพันธุของสัตว เชน การเตรียม

ความพรอมของอสุจิเพื่อการปฏิสนธิ ชวยใหอสุจิเคลื่อนที่ไดดีมีชีวิตอยูไดนาน ชวยในการปฏิสนธิ

และชวยพัฒนาการเจริญเติบโตของตัวออนในระยะแรก (Brackett และ Mastrioianni, 1974; Buhi

และคณะ,1993; King และคณะ, 1994; Woldesenbet และ Newton, 2003; Areekijseree และ

Veerapraditsin, 2007; Lloyd และคณะ, 2008; Imam และคณะ, 2009)

Page 102:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

90

บรรณานุกรม

ภาษาไทย

กัมพล แกวเกษ. การจดัการฟารมสุกรพนัธุ (ความรูพื้นฐาน). นครปฐม. รานพัชราภรณ. 2548.

กลุมสารสนเทศและขอมูลสถิติ ศูนยสารสนเทศ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ. ขอมูล

จํานวนปศุสัตวในประเทศไทย. 2549.

ไชยา อุยสูงเนิน. คูมือสุกร. ศูนยผลิตตําราเกษตรเพื่อชนบท. 2532.

ชวนพิศ ดีเอกนามกูล. “วิธีวิเคราะหปริมาณและคณุภาพโปรตีน.” อณูพันธุศาสตรและพันธุ-

วิศวกรรม. นครปฐม. โรงพิมพสาธารณสุขอาเชีย่น มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา. 2536.

ณรงค เล้ียงเจริญ, อนนท เทืองสันเทียะ, วิบูลย เยี่ยงวิศวกรู และ มาลี อภิเมธีธํารง. “ผลของขนาด

ฮอรโมนเอฟ เอส เอช ตอการเพิ่มการตกไขและจํานวนตัวออนในโคขาวลําพนู.”

ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการยายฝากตวัออน ปากชอง นครราชสีมา กรมปศุสัตว

สํานักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว. 2550.

พิณทิพ รื่นวงษา. “การแยกโปรตีนโดยวิธีทําเจลอิเลคโตรฟอเรซิส.” อณูพันธุศาสตรและพันธุ-

วิศวกรรม. นครปฐม. โรงพิมพสาธารณสุขมูลฐานอาเชี่ยน มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา.

2536.

พรทิพย ชัยมณ,ี ธนิต ผิวนิ่ม และ อรนาถ สุนทรวฒัน. “เจลฟลเตรชั่นและสมบัติบางประการของ

โปรตีน.” ปฏิบัติการชวีเคมี 1. นครปฐม. ภาควชิาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร. 2530.

ไพศาล เทียนไทย. “บทบาทของทอนําไขกับการขนสงและการคาปาซิเตชัน่ของตัวอสุจใินสุกร.”

เวชชสารสัตวแพทย ปที่ 34 ฉบับที่ 2 (30 มิถุนายน 2547). 31-40.

มงคล เตชะกําพุ. เทคโนโลยกีารยายฝากตัวออนเพื่อการปรบัปรุงพันธุในปศุสัตว. กรุงเทพฯ. บริษัท

ดานสุทธาการพิมพ จํากัด. 2543.

มงคล เตชะกําพุ, วนัเพ็ญ ศรีอนนัต, จินดา สิงหลอ และ วิชัย ทันตศุภารกัษ. “การผลิตตัวออนสกุร

ดวยวิธกีารปฏิสนธินอกรางกาย.” เวชชสารสัตวแพทย 23, 3 (กันยายน 2536) :

189-198.

มยุวา อารีกิจเสร.ี “การเตรียมตวัอยางเซลลเพาะเล้ียงเพื่อศึกษาดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน.”

วารสารศูนยเครื่องมือวจิัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี12, 1 (มิถุนายน 2547) : 9 -12.

มยุวา อารีกิจเสร.ี เทคนิคการเตรียมตัวอยางทางชีววิทยาเพือ่การศึกษาโดยกลองจุลทรรศน

อิเล็กตรอนแบบสองกราด. นครปฐม. ภาควิชาชวีวิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร. 2548.

Page 103:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

91

มยุวา อารีกิจเสร.ี “เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลลบุทอนําไข และเซลลลอมรอบเซลลไขสุกรเพื่อ

การศึกษาทางชีววิทยาการสืบพันธุและการทดสอบทางพิษวิทยา.” วารสารวิทยาศาสตร

ศึกษา 1, 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2547) : 33 -36.

เรณู เวชรัชตพิมล. เทคนิคการเพาะเล้ียงเซลลสัตว. นครปฐม. ภาควิชาชวีวิทยา คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2540.

วิไลรัตน นุชประมูล. อิเล็กโตรฟอเรซีสทางการแพทย. กรงุเทพฯ. ภาควิชาเคมีคลินกิ

คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2528.

อาภัสสรา ชมิดท. ชีวเคมี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ. โรงพิมพสหมิตรออฟเซท. 2537.

อรรณพ คุณาวงกฤต. วิทยาการสืบพันธุสุกร. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ. โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. 2545.

ภาษาตางประเทศ

Abe H and Oikawa T. Examination by scanning electron microscopy of oviductal epithelium

Of the prolific Chinese Meishan pig at follicular and luteal phases.

The Anatomical Record. 2004. 233 : 399-408.

Alavi-Shoushtari SM, Asri-Rezai S and Abshenas J. A study of the uterine protein variations

during the estrous cycle in the cow: Molecular weights determination.

Anim. Reprod. Sci. 2008. 105 : 302-310.

Anderson A-M, Einarsson S and Edqvist LE. Prepubertal LH, oestradiol-17ß and progesterone

pattern in gilts. Zbl. Vet. Med. A. 1983. 30 : 438-446.

Angelucci S, Ciavardelli D, Giuseppe FD, Eleuterio E, Sulpizio M, Tiboni GM, Giampietro F,

Palumbo P and Llio CD. Proteome analysis of human follicular fluid. Biochimica et

Biophysica Acta. 2006. 1764 : 1775-1785.

Areekijseree M. Scanning electron microscopy observations of porcine ampullary oviductal

epithelial cells. Silpakorn University International Journal. 2003. 3 (1-2) : 266-272.

Areekijseree M, Vejaratpimol R and Gumlungpat N. Microstructure investigations of porcine

ampullary oviductal epithelial cells by scanning electron microscope. Abstract of

the 30th Congress on Science and Technology of Thailand 19-21 October 2004

Impact Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani. 43.

Page 104:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

92

Areekijseree M, Thongpan A and Vejaratpimol R. Morphological study of porcine

oviductal epithelial cells and cumulus-oocyte complex. Kasetsart Journal. (Nat. Sci.)

2005. 39 (1) : 136-144.

Areekijseree M, Thongpan A and Vejaratpimol R. Porcine oviductal epithelial cells and

cumulus-oocyte complex observance. Abstract of the 22th EMST Annual Conference

Microscopy Society of Thailand 2-4 February 2005 at Chonburi, Thailand.

Areekijseree M and Vejaratpimol R. In vivo and in vitro study of porcine oviductal epithelial

cells cumulus oocyte complexes and granulosa cells: A scanning electron microscopy

and inverted microscopy study. Micron. 2006. 37 : 707-716.

Areekijseree M and Veerapraditsin T. Characterization of porcine oviductal epithelial cells,

cumulus cells and granulosa cells-conditioned media and their ability to induce

acrosome reaction on frozen-thawed bovine spermatozoa. Micron. 2008. 39 :160-167.

Arthur G H. Veterinary Reproduction and Obstetics. London : Beccles and Colchester. 1977.

Brackett BG and Mastrioianni L. Composition of oviductal fluids. In Johnson A, Foley C(eds).

The oviduct and its Functions. New York: Academic press. 1974 : 134-159.

Brussow K P, Torner H, Kanitz W and Ratky J. In vitro technologies related to pig embryo

transfer. Reprod. Nutr. Dev. 2000. 40(5) : 469-480.

Bogliolo L, Ariu F, Fois S, Rosati I, Zedda MT, Leoni G, Succu S, Pau S and Ledda S.

Morphological and biochemical analysis of immature ovine oocytes vitrified without

cumulus cells. Theriogenology. 2007. 68 : 1138-1149.

Buccione R, Vanderhyden, Caron P and Eppig J. FSH- induced expansion of the mouse cumulus

oophorus in vitro is dependent upon a specific factor(s) secreted by the oocyte.

Dev. Biol. 1990. 138 : 16-25.

Buhi WC, O’Brien B, Alvarez IM, Erdos G and Dubois D. Immunogold localizationof porcine

oviductal secretory proteins within the zona pellucid, perivitelline space, and plasma

membrane of oviductal and uterine oocytes and early embryos. Biol. of Reprod. 1993.

48 : 1274–1283.

Campbell NA and Reece J B. Biology. 6th. USA. ed. Addison-Wesley. 2002.

Centola GM, Anderson LD and Channing CP. Oocyte maturation inhibitor (OMI) activity in

protein granulosa cells. Gamete Research. 1989. 4 : 451–461.

Page 105:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

93

Chen L, Russell P and Larsen W. Sequential effects of follicle- stimulating hormone and

luteinizing hormone on mouse cumulus expansion in vitro. Biol. Reprod. 1994.

51 : 290–295.

Chen XY, Li QW, Zhang SS, Han ZS, Zhao R,Wu SY and Huang J. Effects of ovarian cortex cell

co-culture during in vitro maturation on porcine oocytes maturation, fertilization and

embryo development. Anim. Reprod. Sci. 2007. 99 : 306-316.

Choi YH, Carnevale EM, Seidel GE, Jr and Squires. Effect of gonadotropins on bovine oocytes

matured in TEM-199. Theriogenology. 2001. 56 : 661-670.

Codon SM and Casanave EB. Morphology and histological annual changes of the oviduct of

Chaetophractus villosus (mammalian, xenarthra, dasypodidae). Int. J. Morphol. 2009.

27 (2) : 355-360.

Coy P, Gadea J, Romar R, Matas C and Garcia E. Effect of in vitro fertilization medium on the

acrosome reaction, cortical reaction, zona pellucid hardening and in vitro development in

pigs. Reproduction. 2002. 124 : 279-288.

De Boer JP, Creasey AA, Chang A, Abbink JJ,Roem D, Eerenberg AJ, Hack CE and Taylor FB.

Alpha-2- macroglobulin functions as an inhibitor of fibrinolytic, clotting, and

neutrophilic proteinases in sepsis : studies using a baboon model. Infect Immun. 1993.

61 (12) : 5035-5043.

Dekel N and Phillips DM. Maturation of the rat cumulus oophorus: A scanning electron

microscopic study. Biol. of Reprod. 1979. 21 : 9-18.

De Loos F, Kastrop P, Maurik PV, Beneden HV and Kruip AM. Heterologous cell contacts and

metabolic coupling in bovine cumulus oocyte complexes. Mol. Reprod. Dev. 1991.

28 : 255-259.

Desantis S, Ventriglia G, Zubani D, Corriero A, Deflorio M, Acone F, Palmieri G and

De Metrio G. Differential lectin binding patterns in the oviductal ampulla of the horse

during oestrus. European Journal of Histochemistry. 2005. 49 : 33-44.

DeSouza M and Murray MK. An Estrogen–Dependent secretory protein, which shares identity

with chitinases, is expressed in a temporally and regionally specific manner in the

sheep oviduct at the time of fertilization and embryo development. Endocrinology.

1995. 136 : 2485-2496.

Page 106:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

94

Dietl J and Czuppon AB. Ultrastructural studies of the porcine zona pellucida during the

solubilization process by Li-3,5-diiodosalicylate. Gamete Research. 1984. 9 : 45-54.

Einarsson S and Gustafsson B. Development abnormalities of female sexual organs in genital

tract in 1,000 gilts. Acta vet. scand. 1970. 11 : 427-442.

Finley J, Briske-Anderson M, Reeves P and Johnson L. Zinc uptake and transcellular movement

by CACO-2 cells: Studies with media containing fetal bovine serum. J. Nutr. Biochem.

1995. 6 : 137-144.

Flechon JE, Degrouard J, Kopecny V, Pivko J, Pavlok A and Motlik J. The extracellular matrix

of porcine mature oocytes : Origin, composition and presumptive roles.

Reprod. Biol. and Endocrin. 2003. 1 : 1-13.

Funahashi H, Ekwall H, Kikuchi K and Rodriguez-Martinez H. Transmission electron

microscopy studies of the zona reaction in pig oocytes fertilized in vivo and in vitro.

Reproduction. 2001. 122 : 443-452.

Funahashi H, Ekwall H and Rodriguez-Martinez H. Zona reaction in porcine oocytes fertilized

in vivo and in vitro as seen with scanning electron microscopy. Biol. Reprod. 2000.

63 : 1437-1442.

Geshi M, Takenouchi N, Yamauchi N and Nagai T. Effect of sodium pyruvate in nonserum

maturation medium on maturation, fertilization, and subsequent development of bovine

oocytes with or cumulus cells. Biol. Reprod. 2000. 63 : 1730-1734.

Gerena RL and Killian GJ. Electrophoretic characterization of proteins in oviduct fluid of cows

during the estrous cycle. Journal of Experimental Zoology. 1995. 256 : 113-120

Gomez E, Rodriguez A, Munoz M, Caamano JN, Hidalgo CO, Moran E, Facal N and Diez C.

Serum free embryo culture medium improves in vitro survival of bovine blastocysts to

vitrification. Theriogenology. 2008. 69 : 1013-1021.

Gordon WL, Wan-Kyng L and Darrell NW. Inhibin fractionation : A comparison of human and

porcine follicular fluid, with particular reference to protease activation. Biol. of Reprod.

1986. 35 : 209-218.

Kamaci M, Suludere Z, Irmak K, Can C and Bayhan H. Observation of isthmatic epithelial cells

from fallopian tubes at follicular phase by light and scanning electron microscope.

Eastern Journal of Medicine. 1999. 4(2) : 51-53.

Page 107:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

95

Kidson A, Schoevers E, Langendijk P, Verheijden J, Colenbrander B and Bevers M. The effect

of oviductal epithelial cell co-culture during in vitro maturation on sow oocyte

morphology, fertilization and embryo development. Theriogenology. 2003. 59 :

1889-1903.

Kikuchi K, Nagai T, Motilk J, Shioya Y and Izaike Y. Effect of follicle cells on in vitro

fertilization of pig follicular oocytes. Theriogenology. 1993. 39 : 593-599.

King RS, Anderson SH and Killian GJ. Effect of bovine oviductal estrus-associated protein on the

ability of sperm to capacitate and fertilize oocytes. Journal of Andrology. 1994. 15 :

468-478.

Kittiyanant Y, Lhungmahamonkol S, Areekijseree M, Tocharus C, Thonabulsombat C and

Pavasuthipaisit K. Porcine oviduct support in vitro bovine embryo development.

Theriogenology. 1993. 39 (1) : 246.

Kittiyanant Y, Thonabulsombat C, Tocharus C, Sanitwongse B and Pavasuthipaisit K.

Co-culture of bovine embryos from oocytes matured and fertilized in vitro to the

blastocyst stage with oviductal tissues. J. Sci. Soc. Thailand. 1989. 15 : 251-260.

Kitiyanant Y, Tocharus C, Areekijseree M and Pavasuthipaisit K. Swamp buffalo oocytes from

transvaginal ultrasound-guided aspiration fertilized and co-cultured in vitro with bovine

oviductal epithelial cells. Theriogenology. 1995. 43 : 250-250 (1).

Kress A and Morson G. Changes in the oviductal epithelium during the estrous cycle in the

Marsupial Monodelphis domestica. J. Anat. 2007. 211 : 503–517.

Kunavongkrit A and Larsson K. Ovulation rate and embryonic migration in cross-bred gilts.

Nord. Vet-Med. 1982. 34 : 20-24.

Kunavongkrit A, Karlberg K and Einarsson S. The relationship between plasma levels estradiol-

17ß, progesterone and the consistency of the cervix in the sow. Theriogenology. 1983.

20 : 61-66.

Kunavongkrit A, Kindahl H, Einarsson S. and Edquist L-E. Clinical and endocrinological studies

in primiparous zero-weaned sows 1. clinical and morphological findings with special

reference to the effects of PGF 2 alpha treatment. Zbl.Vet. Med. 1983a. 30 : 607-615.

Kunavongkrit A. Chantaraprateep P, Prateep P and Poomsuwan P. Ovarian activities and

abnormalities in slaughtered gilts. Thai. J. Hlth. Resch. 1987. 1 : 9-14.

Page 108:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

96

Imam S, Ansari M, Ahmed N and Kumaresan A. Effect of oviductal fluid proteins on buffalo

sperm characteristics during cryopreservation. Theriogenology. 2006. 69 : 925-931.

Lloyd RE, Elliott RMA, Fazeli A, Watson PF and Holt WV. Effects of oviductal proteins,

including heat shock 70 kDa protein 8, on survival of ram spermatozoa over 48 h

in vitro Reproduction, Fertility and Development. 2008. 21 (3) : 408–418.

Leese HJ. The formation and function of oviduct fluid. J Reprod Fetil. 1988. 82 : 843-856.

Li RJ, Norman RJ, Armstrong DT and Gilchrist RB, Oocyte secreted factor(s) determine

functional differences between bovine mural granulosa cells and cumulus cells.

Biol. Report. 2000. 63 : 839-845.

Liu AX, Zhu YM, Luo Q, Wu YT, Gao HJ, Zhu XM, Xu CM and Huang HF. Specific peptide

patterns of follicular fluids at different growth stages analyzed by matrix-assisted laser

desorption/ionization time-of-flight mass spectrometry. Biochimica et Biophysica Acta.

2007. 1770 : 29–38.

Lucidi P, Bernabo N, Turriani M, Barboni B and Mattioli M. Cumulus cells steroidogenesis is

influenced by the degree of oocyte maturation. Reprod. Biol. and Endocrin. 2003.

1 : 45.

Mahmodi R, Abbasi M, Amiri I, Kashani IR, Pasbakhsh P, Saadipour K, Amidi F, Abolhasani F

and Sobhani A. Cumulus cell role on mouse germinal vesicle oocyte maturation,

fertilization, and subsequent embryo development to blastocyst stage in vitro.

Yakhteh Medical Journal. 2009. 11 : 299-302.

Martinova Y, Petrov M, Mollova M, Rashev P and Ivanova M. Ultrastructural study of cat

zona pellucida during oocyte maturation and fertilization . Anim. Reprod. Sci. 2008.

108 : 425-434.

Mattioli M, Bacci ML, Galeeati G and Seren E. Developmental competence of pig oocytes

matured and fertilizes in vitro. Theriogenology. 1989.31 : 1201-1207.

McElroy SL, Kim JH, Kim S, Jeong YW, Lee EG, Park SM, Hossein MS, Koo OJ,

Abul Hashem MD, Jang G, Kang SK, Lee BC and Hwang WS. Effects of culture

conditions and nuclear transfer protocols on blastocyst formation and mRNA expression

in pre-implantation porcine embryos. Theriogenology. 2008. 69 : 416-425.

Page 109:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

97

Mori T, Amano T and Shimizu H. Roles of gap junctional communication of cumulus cells in

cytoplasmic maturation of porcine oocytes cultured in vitro. Biol. Reprod. 2000.

62 : 913-919.

Mossa F, Leoni GG, Berlinguer F, Succu S, Madeddu M, Bebbere D and Naitana S. Recovery of

COCs from ovaries with high follicle numbers enhances in vitro embryo yield in sheep.

Anim. Reprod. Sci. 2007. 109 : 134-145.

Murray MK. Biosynthesis and immunocytochemical localization of an estrogen-dependent

glycoprotein and associated morphological alterations in the sheep ampulla oviduct.

Biol. Reprod. 1992. 47 : 889-902.

Murray MK. An estrogen-dependent glycoprotein is synthesized and released from the

oviduct in a temporal and region-specific manner during early pregnancy in the ewe.

Biol. of Reprod. 1993. 48 : 446-453.

Nagai T. In vitro maturation and fertilization of pig oocytes. Anim. Reprod. Sci. 1996.

42 : 153-163.

Niemann H and Rath D. Progress in reproductive biotechnology in swine. Theriogenology.

2001. 56 : 1291-1304.

Park CK and Sirard MA. The effect of pre-incubation of frozen-thawed spermatozoa with

oviductal cells on the in vitro penetration of porcine oocytes. Theriogenology. 1996.

46 : 1181-1189.

Pereira RM, Marques CC, Baptista MC, Vasques MI and Horta AEM. Embryos and culture cells:

A model for studying the effect of progesterone. Anim. Reprod. Sci. 2008. 111 : 31-40.

Porta A, Cassano E,Balestrieri M, Bianco M, Picone R, De Stefano C and Abrescia P.

Haptoglobin transport into human ovarian follicles and its binding to apolipoprotein A-1.

Zygote. 1999. 7 : 67-77.

Reeves PG, Briske-Anderson MJ and Newman SM. High zinc concentrations in culture

media affect copper uptake and transport in differentiated human colon adenocarcinoma

cells. Am. Inst. Nutr. 1996 : 1701-1711.

Rigby J. The cervix of the sow during estrus, Vet. Rec. 1967. 80 : 672-675.

Page 110:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

98

Romar R, Coy P, Campos I, Gadea J, Matás C and Ruiz S. Effect of co–culture of porcine sperm

and oocytes with porcine oviductal epithelial cells on in vitro fertilization.

Anim. Reprod. Sci. 2001. 68 : 85-98.

Romar R, Coy P, Gadea J and Rath D. Effect of oviductal and cumulus cells on zona pellucida

and cortical granules of porcine oocytes fertilized in vitro with epididymal spermatozoa.

Anim. Reprod. Sci. 2005. 85 : 287-300.

Saeki K, Hoshi M, Leibfried- Rutledge ML and First NL. In vitro fertilization and development

of bovine oocytes matured in serum-free medium. Biol. Reprod. 1991. 44 : 256-260.

Sanmanee N and Areekijseree M. In vitro toxicology assessment of cadmium bioavailability on

primary oviductal epithelial cells. Environmental Toxicology and Pharmacology. 2009.

27 : 84-89.

Schwartz NB and Channing CP. Evidence for ovarian “inhibin”: Suppression of the secondary

rise in serum follicle stimulating hormone levels in proestrous rats by injection of

porcine follicular fluid. Proc. Natl. Acad. Sci. USA. 1977. 74 ; 5721-5724.

Smith EL, Hill RL, Lehman IR, Lefkowitz RJ, Handler P and White A. Principles of

biochemistry : mammalian biochemistry. 7th New York. ed. McGrew-Hill. 1983.

Sirard MA, Desrosier S and Assidi M. In vivo and in vitro effects of FSH on oocyte maturation

and developmental competence. Theriogenology. 2007. 68s : s71-s76.

Sisson S and Grossman J. The anatomy of the domestic animals. W.B. Saunders Co. U.S.A. 1970.

Somfai T, Kikuchi K, Medvedev S, Onishi A, Iwamoto M, Fuchimoto DI, Ozawa M, Noguchi J,

Kaneko H, Ohnuma K, Sato E and Nagai T. Development to the blastocyst stage of

immature pig oocytes arrested before the metaphase-II stage and fertilized in vitro.

Anim. Reprod. Sci. 2005. 90 : 307-328.

Speicher DW. “ Electrophoresis.” In Short Protocols in Protein Science, 10-1 to 10-47. Edited

by Coligan, J. E. et al. New York : John Wiley & Sons. 2003.

Staros AL and Killian GJ. In vitro association of six oviductal fluid proteins with the bovine zona

pellucida. Journal of Reproduction and fertility. 1998. 112 : 131-137.

Steffl M, Schweiger M and Amselgruber WM. Immunophenotype of porcine oviduct epithelial

cells during the oestrous cycle: a double-labelling immunohistochemical study

Histochemistry and Cell Biology. 2004. 121 : 239-244.

Page 111:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

99

Stone SL, Pomernatz SH, Schwartz-Kripner A and Channing CP. Inhibitor of oocyte maturation

from porcine follicular fluid: further purification and evidence for reversible action,

Biol Reprod. 1978. 19 : 585-92.

Suzuki H, Jeong BS and Yang X. Dynamic changes of cumulus-oocyte cell communication

during in vitro maturation of porcine oocytes. Biol. Reprod. 2000. 63(3) : 723-9.

Takano Y, Taguchi T, Suzuki I, Balis JU and Yuri K. Cytotoxicity of heavy metals on primary

cultured alveolar type II cells. Environ. Res. 2002. 89 : 138-145.

Tienthai P, Sajjarengpong K and Tummaruk P. Morphological changes in the oviduct of culling

replacement gilts. TJVM. 2005. 36(4) : 41-53.

Tomer H, Brussow K, Alm H, Ratky J and Kanitz W. Morphology of porcine cumulus-oocyte-

complexes depends on the stage of preovulatory maturation. Theriogenology. 1998.

50 : 39-48.

Tsafriri A, Pomerantz SH and Channing CP. Inhibition of oocyte maturation by follicular fluid:

Partial characterization of the inhibitor. Biol. of Reprod. 1976. 14 : 511–516.

Van de Wiel DFM, Bar -Amit S, Tsafriri A and de Jong FH. Oocyte maturation inhibitor, inhibin

and steroid concentrations in porcine follicular fluid at various stages of the oestrous

cycle. J. Reprod. Fert. 1983. 68 : 247-252.

Vannucchi CI, de Oliveira CM, Marques MG, Assumpcao MEOA and Visintin JA. In vitro

canine oocyte nuclear maturation in homologous oviductal cell co- culture with

hormone-supplemented media. Theriogenology. 2006. 66 : 1677-1681.

Verhage HG, Fazleabas A T, Mavrogianis PA, Day –Bowman, MBO, Donnelly K M,

Arias EB and Jaffe R C. The baboon oviduct : characteristics of an oestradiol-

dependent oviduct-specific glycoprotein. Human Reproduction and Embryology. 1997.

3 : 541-552.

Wetscher F, Havlicek V, Huber T, Gilles M, Tesfaye D, Griese J, Wimmers K, Schellander K,

Muller M, Brem G and Besenfelder U. Intrafallopian transfer of gametes and early stage

embryos for in vivo culture in cattle. Theriogenology. 2005. 64 : 30-40.

White KL, Hehnke LF and Richards LL. Early embryonic development in vitro by co-culture

with oviductal cells in pigs. Biol. Report. 1989. 41 : 425-430.

Whitaker M. Control of meiotic arrest. Rev Reprod. 1996. 1 : 127-135.

Page 112:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

100

Williams CM, Engler AJ, Slone RD, Galante LL and Schwarzbauer JE. Fibronectin expression

modulates mammary epithelial cell proliferation during acinar differentiation.

Cancer research. 2008. 68(9) : 3185-92.

Woldesenbet S and Newton GR. Comparison of proteins synthesized by polarized caprine

oviductal epithelial cells and oviductal explants in vitro. Theriogenology. 2003. 60 :

533-543.

Wrathall AE. Ovarian disorders in the sow. Vet. Bull.1980. 50 : 253-272.

Wu ASH, Carlson SD and First NL. Scanning electron microscopic study of the porcine

oviduct and uterus. J Anim Sci. 1976. 42 : 804-809.

Yaniz JL, Lopez-Gatius F and Hunter RHF. Scanning electron microscopic study of the

functional anatomy of the porcine oviductal mucosa. Anatomia, Histologia,

Embryologia. 2009. 35 : 28-34.

Yoshimura Y, Hosoi Y, Iritani A, Nakamura Y, Atlas SJ and Wallach EE. Developmental

potential of rabbit oocytes matured in vitro: the possible contribution of prolactin.

Biol. of Reprod.1989. 40 : 26-33.

Xia P, Rutledge J, Watson A J and Armstrong DT. Effect of estrogen-treated porcine ampulla

oviductal epithelial cells on early embryonic development in vitro and characterization

of their protein synthetic activity. Anim. Reprod. Sci. 1996. 45 : 217-229.

Zhao C, Hashiguchi A, Kondoh KDW, Hata J-i and Yamada T. Exogenous expression of heat

shock protein 90kDa retards the cell cycle and impairs the heat shock response.

Experimental Cell Research. 2002. 275 : 200-214(15).

Page 113:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

101

ภาคผนวก

Page 114:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

102

ภาคผนวก ก

Page 115:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

103

องคประกอบของอาหารสูตร M 199 ( Freshney, R. I.; 1987 )

องคประกอบ อาหารสูตร Medium 199 (mg/l)

Amino acid

L-alanine 25.0

L-arginine (freebase) -

L-arginine.HCl 70.0

L-asparagine -

L-asparagine.H2O -

L-aspartic acid 30.0

L-cysteine (freebase) -

L-cystine -

L-cystine.2Na 23.7

L-cysteine HCl.H2O 0.0987

L-glutamic acid 66.8

L-glutamine 100

Glycine 50.0

L-histidine (freebase) -

L-histidine HCl.H2O 21.9

L-hydroxy-proline 10.0

L-isoleucine 20.0

L-leucine 60.0

L-lycine HCl 70.0

L-methionine 15.0

L-phenylalanine 25.0

L-proline 40.0

L-serine 25.0

L-threonine 30.0

L-tryptophan 10.0

Page 116:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

104

องคประกอบ อาหารสูตร Medium 199 (mg/l)

L-tyrosine -

L-tyrosine 2Na 49.7

L-Valine 25.0

Vitamins

L-ascorbic acid 0.050

Biotin 0.010

D-Ca pantothenate 0.010

Calciferol 0.100

Choline chloride 0.500

Folic acid 0.010

i-inositol 0.050

Nicotinamide 0.025

Pyridoxal HCl 0.025

Riboflavin 0.010

Thiamine HCl 0.010

Vitamin B12 -

Pyridoxine HCl 0.025

Cholesterol -

Para-aminobenzoic acid 0.050

Nicotinic acid 0.025

Menaphthone sodium bisulphate 3H2O 0.019

Dl-α tocopherol PO4.2Na 0.01

Vitamin A acetate 0.115

Riboflavin PO4.2Na -

Thiamin mono PO4.2Na -

Inorganic salts -

CaCl2 (anhyd.) -

Page 117:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

105

องคประกอบ อาหารสูตร Medium 199 (mg/l)

CaCl2.2H2O 186.0

Fe(NO3)39H2O 0.70

KCl 400

KH2PO4 60.0

MgCl2.6H2O -

MgSO4.7H2O 200

NaCl 8,000

NaHCO3 350

NaH2PO4.H2O -

Na2HPO4(anhyd.) 47.5

Na2H2PO4.7H2O -

CuSO4.5H2O -

FeSO4.7H2O -

ZnSO4.7H2O -

CaNO3.4H2O -

Other components

D-glucose 1,000

D-galactose -

Lipoic acid -

Phenol red 17.0

Sodium pyruvate -

Hypoxanthine 0.30

Linoleic acid -

Putrescine 2HCl -

Thymidine -

Cocarboxylase -

Coenzyme A -

Deoxyadenosine -

Page 118:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

106

องคประกอบ อาหารสูตร Medium 199 (mg/l)

Deoxycytidine HCl -

Deoxyguanosine -

Diphosphopyridine nucleotide.4H2O -

Ethanol for solubilizing lipid component -

Dinucleotide

Glutathione(reduced) 0.05

5-methy-deoxycytidine -

Sodium acetate.3H2O -

Sodium glucuronate.H2O

Sodium glucuronate.H2O -

Triphosphopyridine

nucleotide

Tween 80 5.00

Uridine triphosphate.4H2O -

Adenine SO4 10.0

5.’AMP 0.02

ATP-2Na 10.0

Cholesterol 0.02

2-Deoxyribose 0.50

Guanine HCl 0.30

D-ribose 0.50

Na acetate 36.7

Thymine 0.30

Uracil 0.30

Xanthine 0.30

CO2(gas phase) Ambient

Page 119:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

107

องคประกอบของอาหารเลี้ยงเซลลชั่วคราว HEPES BUFFERED TYRODES MEDIUM

(TALP-HEPES) (Ping Xia, 1966)

1. NaCl 0.7422 g

2. KCl 0.0236 g

3. GLUCROSE 0.0901 g

4. NaH2PO4(anhydrous) 0.0048 g

5. NaHCO3 0.0168 g

6.HEPES (Na SALT:MW 260.30) 0.1302 g

7.HEPES (ACID FORM:MW 238.30) 0.1192 g

8.PENICILLIN –G 0.0065 g

9.PHENAL RED 0.001 g

10.BSA(BOVINE SERUM ALBUMIN) 0.3002 g

11.CaCl2.2H2O 0.0294 g

12.MgCl2.6H 2O 0.0102 g

13.PYRUVATE(SODIUM PYRUVATE) 1 ml

14.DL LACTIC ACID 186 µl

15.GENTAMYCIN 100 µl

Dulbecco phosphate buffered saline (PBS) 3% BSA

วิธีเตรียม

1. นําสารท่ีชั่งไดตั้งแตขอ 1 ถึง 9 ผสมลงในบิกเกอรขนาด 300 มิลลิลิตร แลวเติมน้ํามิลลิคิว

จํานวน 80 มิลลิลิตร ผสมใหเขากัน

2. นํา CaCl2.2H2O เติมดวยน้ํามิลลิคิว จํานวน 10 มิลลิลิตร

3. นํา MgCl2.6H 2O เติมดวยน้ํามิลลิคิว จํานวน 10 มิลลิลิตร

4. จากนัน้นําสวนผสมในขอ 1 ถึง 3 มาผสมกันคนเบาๆ ใหเนื้อสารผสมเขาดวยกนั

5. เติม pyruvate 1 ml เติม dl lactic acid 186 µl และเติม gentamycin 100 µl

6. ผสม BSA จํานวน 0.3002 กรัม รอจนผง BSA ละลายแลวกรองน้ํายาผานฟลเตอรเมมเบรน

ที่มีขนาดรู 0.22 ไมครอน ใสน้ํายาในขวดปลอดเชื้อ สามารถเก็บน้ํายา TALP-HEPES ในตูเย็น

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส นาน 1 สัปดาห เมื่อจะนํามาใชในปฏิบัติการใหนํามาตั้งไวที่อุณหภูมิหอง

Page 120:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

108

การเตรียม Fetal calf Serum 500

Fetal Bovine Serum 100 ml (Tested for Mycoplasma)

การเตรียมซีรัมกอนนําไปใชผสมในอาหารเล้ียงเซลลใหเตรียม ดังนี้

1. เมื่อซื้อซีรัมมาใหเก็บไวที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส

2. นําซีรัมออกมาละลายโดยวางไวในน้ําอุนควบคุมอุณหภูมทิี่ 37 องศาเซลเซียส

3. นําไป heat inactivate สารประกอบบางชนิดและเอนไซมในอางน้ําอุนที่ควบคุม

อุณหภูมิที่ 56 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที แบงใสขวดทีท่ําไรเช้ือ (ฆาเชื้อ) ดวยเทคนคิปลอดเชื้อ

ขวดละ 10 มิลลิลิตร เก็บไวที่ -20 องศาเซลเซียส

Page 121:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

109

ภาคผนวก ข

Page 122:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

110

การเตรียมน้ํายาลางรังไขและทอนําไขนอกสถานที ่

0.9% NSS 1000 ml

Penicillin G sodium 1000 µl (100Ū/ml)

การเตรียมน้ํายาลางรังไขและทอนําไขในหองปฏิบัตกิาร

0.9% NSS 1000 ml

Penicillin G sodium 1000 µl (100Ū/ml)

Streptomycin 0.1 g

Amphoteracin B 0.25 µg/ µl

Page 123:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

111

การเตรียม staining solution (COOMASSIE BRILLIANT BLUE R®-250) 100 ml

COOMASSIE BRILLIANT BLUE R®-250 0.214 g

Methly alcohol 50 ml

น้ํา DI 50 ml

Acetic acid 7 ml

ผสมแลวกรองดวยกระดาษกรอง

การเตรียม destaining solution 200 ml

Methly alcohol 14 ml

Acetic acid 10 ml

น้ํา DI 176 ml

การเตรียม 1 เปอรเซ็นต Toluidine blue ใน 1 เปอรเซ็นต Borax tetra, sodium borate

Toluidine blue 1 g

Borax 1 g

โดยละลาย Borax ดวยน้ํากอน 50 มิลลิลิตร จากนัน้ละลาย Toluidine blue ในน้ํา 50 มิลลิลิตร แลว

เท Borax ผสมลงไป

Page 124:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

112

การเตรียมสารเคมเีพื่อเตรียมตัวอยางสําหรบักลองจลุทรรศนอิเล็กตรอน

การเตรียม phosphate buffers solution (Sorenson’s buffer) (เวคิน นพนิตย, 2524)

เตรียม stock solutions :

1. Solution A: 0.2M sodium phosphate monobasic

ชั่ง NaH2PO4 27.80 g

ชั่ง NaH2PO4.H2O 27.60 g

ละลายในน้ํากลั่น เติมน้ํากลั่นใหถึงขดี 1000 มิลลิลิตร เก็บไวในขวดสีน้ําตาล

2. Solution B: 0.2M sodium phosphate dibasic

ชั่ง Na2HPO4 28.40 g

ชั่ง Na2HPO4.7H2O 53.65 g

ชั่ง Na2HPO4.12H2O 71.70 g

ละลายในน้ํากลั่น เติมน้ํากลั่นใหถึงขดี 1000 มิลลิลิตร เก็บไวในขวดสีน้ําตาล

3. เตรียม Working 0.2 M buffer solution :

Working solution ทําโดยการผสม stock solution ทั้ง A และ B ตามสัดสวนในตารางเพื่อให

ได pH ตามตองการ (pH 7.2-7.4)

Solution A (ml) Solution B(ml) pH

28 72 7.2

23 77 7.3

19 81 7.4

4. เตรียม 0.1 M phosphate buffer (Washing buffer) :

ผสม 0.2M buffer solution จาก (3) 1 สวน

น้ํากลั่น 1 สวน

Page 125:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

113

5. การเตรียม Glutaraldehyde solution

Stock solution : 5% glutaraldehyde

Glutaraldehyde 50 % 10 ml

น้ํากลั่น 90 มิลลิลิตร

วิธีการ ลางขวด Glutaraldehyde ใหสะอาดเช็ดใหแหง ตัดคอขวดแลวใช ปเปต ดดูลงในน้ํากลั่น

คนใหเขากนั ปดฝาใหสนิท เก็บในชองแชแข็งของตูเย็น

6. การเตรียม Working solution 2.5 % glutaraldehyde ใน 0.1M phosphate buffer

วิธีการ ละลาย stock solution แลวผสมกับ 0.2 M phosphate buffer ปริมาณเทากัน (1:1) ที่ 4 องศา-

เซลเซียส ใชไมหมดตองเก็บในชองแชแข็ง

7. การเตรียม 1% Osmium tetroxide

ผลึก Osmium tetroxide (O2SO4) 1 กรัม

น้ํากลั่น 99 มิลลิลิตร

วิธีการ เทน้ํากลัน่ที่เตรียมไวใสลงไปในขวดสีชา จากนั้นนําขวด Osmium tetroxide ตัดคอขวดแลว

ทิ้งลงไปในขวดที่เตรียมน้ํากลั่นไว ใหน้ํากลั่นไหลเขาไปในขวด Osmium tetroxide เพื่อใหละลาย

ทิ้งไว 1 คืนในตูเย็นที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส

8. การเตรียมพลาสติกสูตร Spurr’s resin

โดยมีสวนประกอบดังนี ้

เรซิน VCD (vinyl cyclohexene dioxide) 10 กรัม

เฟลกซิบิไลเซอร DER 736 (diglycidyl ether polypropylene glycol) 6 กรัม

สารที่ชวยใหพลาสติกแข็ง NSA (nonenyl succinic anhydride) 26 กรัม

ตัวเรงการแข็งตวัของพลาสติก DMAE (dimethylamino ethanol) 0.4 กรัม

วิธีการ ในการเตรียมสารเคมีจะใชการชั่งน้ําหนัก โดยเอาบิกเกอรแบบแกวหรือพลาสติกวางบนแทง

ของเครื่องชั่งน้ําหนกั แลวชั่งสวนผสมชนิดตางๆ ใสลงในบิกเกอรตามลําดับผสมใหเขากนัดวย

magnetic bar ทําใหแข็งโดยนําไปอบที่อุณหภูมิประมาณ 70 ºC นาน 8 ช่ัวโมง หรือ 80 ºC นาน 7

ชั่วโมง ผสมกอนใชอยางนอย 1 คืน เก็บในหองแชแข็งเมื่อใชตองนําออกจากตูเยน็แลวรอใหถึง

อุณหภูมิหองกอน

Page 126:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

114

9. การเตรียม 0.5 % Lead citrate (Reynold’s)

โดยมีวิธีการเตรียมดังนี ้

เลดไนเทรต [Pb(NO3)2] 1.33 กรัม

โซเดียมซิเทรต [Na3(C6H5O7) .2H2O] 1.76 กรัม

น้ํากลั่นตมกรอง (stain-water) 30 มิลลิลิตร

เทสวนผสมตามลําดับเขยาแรงๆ 1 นาที จากนั้นตั้งทิ้งไว 30 นาที โดยเขยาเปนครั้งคราว

เติม 1 N โซเดียมไฮดรอกไซด (1 N NaOH) 8 มิลลิลิตร

เติมน้ํากลั่นจนครบ 50 มลิลิลิตร

เลิกใชทันทีเมื่อมีตะกอนสีขาวเกาะที่ขวด

10. การเตรียม 2 % Uranyl acetrate

Uranyl acetate 2 g

50% methanol 98 ml

วิธีการ ชั่ง Uranyl acetate เทลงในสารละลายเมธานอล คนใหละลายในที่มืดประมาณ 30 นาที เก็บ

ในขวดสีชาหรือฟลาสกที่หอหุมดวยอลูมิเนียมฟอย ผสมกอนใหอยางนอย 1 วัน เก็บในตูเย็นและใช

ที่อุณหภูมิหอง อายุใชงาน 6 เดือน

Page 127:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

115

วิธีการหาปริมาณโปรตีนมาตรฐาน โดยวิธขีอง Lowry

1. นําสารละลายโปรตีนมาตรฐาน BSA (Bovine Serum Albumin) ความเขมขน 1 มิลลิกรัมตอ

มิลลิลิตร รวมหลอดที่เปน blank ดวย มี 9 หลอด ทําตัวอยางละ 2 หลอด รวมทั้งหมด 18 หลอด ใช

อัตราสวน 1 ตอ 20 และ 1 ตอ 40 โดยมีวิธกีารเตรียมสาร ดงันี้

หลอดที่ ปริมาณ BSA(1mg/ml) (µl) น้ํากลั่น (µl) ความเขมขนโปรตีน (µg)

blank - 100 -

1 10 90 10

2 20 80 20

3 30 70 30

4 40 60 40

5 50 50 50

6 60 40 60

7 80 20 80

8 100 - 100

2. สารละลายฟนอล (Folin phenol reagent) เจือจางเทาตัวกอนใช

3. สารละลาย alkaline cupper เตรียมจากสารละลาย 3 ชนดิ สารละลาย A, B และ C

3.1 สารละลาย A ชั่ง sodium carbonate 20 g ในสารละลาย NaOH ที่ความเขมขน 0.1 M/l

(10 มิลลิลิตร) จนมีปริมาตรครบ 1 ลิตร

3.2 สารละลาย B 1% w/v CuSO4

3.3 สารละลาย C 1% w/v potassium หรือ sodium tatrate

สารละลาย alkaline cupper เตรียมโดยใชอัตราสวนของ B:C:A เปน 1:1:100 โดยปริมาตร

การเตรียมตองผสม สารละลาย B และ C กอน แลวจึงเติมสารละลาย A ผสมใหเขากัน สารนี้เตรียม

ทันทีกอนทําการทดลอง

วิธีการ นําสารละลายในขอ 1. ทั้งหมด 18 หลอดมาหาปรมิาณโปรตีน โดยเติมสารละลาย alkaline

cupper 3 มิลลิลิตรตอหลอด เขยาตั้งทิ้งไวที่อุณหภูมิหอง 10 นาที

Page 128:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

116

เติมสารละลายฟนอล หลอดละ 300 ไมโครลิตร ตั้งทิ้งไวใหเกิดสีที่อุณหภูมิหอง 30 นาที วัดคา

การดดูกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร เทียบกับหลอดที่เปน blank

นําคาที่ไดไปเขียนกราฟมาตรฐานที่แสดงความสัมพนัธระหวาง A650 และความเขมขนของ

โปรตีน

การวิเคราะหหาปริมาณโปรตนีในสารตัวอยางโดยวิธขีอง Lowry (1951)

เตรียมสารตัวอยางใหมีปริมาณคงที่เทากัน คือ 15 ไมโครกรัมตอ well โดยผสมสารตัวอยาง ดังนี ้

สารตัวอยาง X ไมโครลิตร

NuPAGE® LSD Sample buffer (4X) 3.75 ไมโครลิตร

NuPAGE® Reducing Agent (10X) 1.5 ไมโครลิตร

น้ํา deionized X ไมโครลิตร

รวม 15 ไมโครลิตร

ตารางแสดงปริมาณโปรตนีที่ใชในการทดลองในแตละกลุมตัวอยาง

ชนิดตัวอยาง ปริมาณโปรตนี

(µl)

ปริมาณสารตัวอยาง

(µl/well)

น้ํา deionized

(µl/well)

FA0 25 2.08 7.67

FA2 25 4.17 5.58

FA4 25 4.31 5.44

FA6 25 4.81 5.57

FI0 25 4.03 5.72

STD 25 15 -

control 25 3.68 6.07

FI2 25 4.63 5.12

FI4 25 5 4.75

FI6 25 3.57 6.18

Page 129:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

117

ชนิดตัวอยาง ปริมาณโปรตนี

(µl)

ปริมาณสารตัวอยาง

(µl/well)

น้ํา deionized

(µl/well)

LA0 25 1.47 8.28

LA2 25 4.17 5.58

LA4 25 3.68 6.07

LA6 25 2.36 7.39

STD 25 15 -

Control 25 3.68 6.07

LI0 25 3.21 6.54

LI2 25 4.46 5.29

LI4 25 4.81 4.94

LI6 25 4.31 5.44

ชนิดตัวอยาง ปริมาณโปรตนี

(µl)

ปริมาณสารตัวอยาง

(µl/well)

น้ํา deionized

(µl/well)

FC0 25 2.12 7.63

STD 25 15 -

control 25 3.68 6.07

FC2 25 5.68 4.07

FC4 25 5.68 4.07

FC6 25 6.94 2.81

LC0 25 6.25 3.5

LC2 25 5.95 3.8

LC4 25 5.68 4.07

LC6 25 5 4.75

Page 130:  · 2011-03-09 · พบเซลล สองชนิดคือเซลล รูปทรงกระบอกที่มีซีเลียมีขนาดเซลล

118

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล นางวรรณา เมธศาสตร

ที่อยู 30 ซอยกุมภิล 3 ถนนกุมภิล ตําบลหวยจรเข อําเภอเมืองนครปฐม

จังหวัดนครปฐม 73000

ที่ทํางาน โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

โทรศัพท (034) 241657

ประวัตกิารศึกษา

พ.ศ.2523 สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศกึษาปที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวทิยาลัยศิลปากร

พ.ศ.2527 สําเร็จการศึกษาประกาศนยีบัตรพยาบาลศาสตรและผดุงครรภชั้นสูง

เทียบเทาปริญญาตรี วิทยาลัยพยาบาลกรุงเทพ (ปจจุบันเปนวิทยาลัยพยาบาล

บรมราชชนนี)

พ.ศ.2547 สําเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบณัฑิต (เอกวิทยาศาสตร- มัธยมศึกษา)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พ.ศ.2548 ศึกษาตอระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาชวีวิทยา บัณฑติวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัตกิารทํางาน

พ.ศ.2527-2533 พยาบาลวิชาชีพ 3-6 ตึกศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลนครปฐม จังหวัดนครปฐม

พ.ศ.2533-2548 พยาบาลประจําโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย จังหวัดนครปฐม

พ.ศ.2548-ปจจุบัน ครูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

จังหวัดนครปฐม

ผลงาน

Mettasart W, Cheunim T and Areekijseree M. Oocyte collection and in vitro oocyte culture

supplemented with hormones in sow. 1st Silpakorn University Research Fair November

22, 2007 Nakhonprathom. Thailand.

Areekijseree M, Cheun-Im T, Mettasart W and Narkkong N. Porcine cumulus-oocyte complexes and

their interaction in in vitro condition. 25th Annual Conference Microscope society of

Thailand January 9-11, 2008 Phitsanulok, Thailand.