2109101 วัสดุในงานว...

28
1 2109101 วัสดุในงานวิศวกรรม สมบัติทางกลของวัสดุ (2) เนื้อหา การแตกหักของโลหะ (Fracture) ความลา (Fatigue) ความคืบ (Creep)

Upload: others

Post on 15-Mar-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

1

2109101 วัสดุในงานวิศวกรรม

สมบัติทางกลของวัสดุ (2)

เนื้อหา

การแตกหักของโลหะ (Fracture)

ความลา (Fatigue)

ความคืบ (Creep)

Page 2: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

3

การตอบสนองตอภารกรรมทางกล

เกิดการแปรรูปแบบอิลาสติก (ยืดหยุน) (Elastic deformation)เกิดการแปรรูปแบบพลาสติก (ถาวร) (Plastic deformation)เกิดการแตกหัก (Fracture)

Page 3: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

4

การแตกหัก (Fracture)

การแตกหักแบบเหนียว (Ductile Fracture)

การแตกหักแบบเปราะ (Brittle Fracture)

a) Pure gold, lead at room T, Other metal, Polymer, glass at quite high T

สิ่งสําคัญ Temperature, material, strain rate!

Page 4: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

5

จากการทดสอบแรงดึง

ความตานแรงดึงความเคนแรงดึงสูงสุดกําลังวัสดุ

Hook’s law

Page 5: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

6

การแตกหัก (Fracture)

Page 6: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

7

การแตกหักแบบเหนียว

เกิดการแปรรูปถาวรกอนในระดับหนึ่ง (ถาเปนการทดสอบแรงดึงสังเกตจากการคอด)เกิดชองวาง (Void) ในเนื้อโลหะชองวางเชื่อมตอกันเปนแนวตั้งฉากทิศแรงดึงการขาดสุดทายทํามุม 45°

รอยแตกแบบเหนียวมักเปน Cup and Cone

Page 7: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

8

การแตกหักแบบเปราะ

Page 8: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

9

การแตกหักแบบเปราะ

ไมมีหรือมีการแปรรูปถาวรนอยมากแตกหักดวยแรงดึงในลักษณะเนื้อโลหะแยกจากกันดวยแรงดึงตามระนาบเฉพาะที่เรียกวา Cleavage Plane – เปนการแตกหักผานเกรน (Transgranular Fracture)ในโลหะบางชนิดมีจุดออนในขอบเกรนทําใหเกิดการแตกหักแบบเปราะระหวางเกรน (Intergranular Fracture)

Page 9: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

10

การทดสอบแรงกระแทก(Impact Test)

ประเมินความเปนวัสดุเปราะ/เหนียว อันนําไปสูความปลอดภัยในการใชงานเพื่อประเมินความแกรง Toughness ของวัสดุ

ประเมินจากพื้นที่ใตกราฟ stress-strain ก็ไดแตวิธีทดสอบแรงกระแทกจะสะดวกกวา

Page 10: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

11

การทดสอบแรงกระแทก

(Impact Test)

Page 11: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

12

การทดสอบแรงกระแทก(Impact Test)

Ductile to brittleTransition T

DBTT

FCC

FCC

BCC

Page 12: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

13

ตัวอยางของผลการทดสอบแรงกระแทก

Page 13: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

14

การทดสอบแรงกระแทก(Impact Test)

Page 14: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

15

Aluminium (FCC)

Page 15: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

16

ผลของโครงสรางของโลหะตอสมบัติทางกล

ปจจัยของโครงสรางผลึกตอความเหนียว

โลหะ FCC เหนียวที่ทุกอุณหภูมิโลหะ BCC เหนียวที่อุณหภูมิสูงเปราะที่อุณหภูมิต่ําโลหะ HCP เปราะที่ทุกอุณหภูมิ

ตัวอยาง: เหล็กที่อุณหภูมิหองเปน BCC การแปรรูปไมดีนัก

ที่อุณหภูมิสูงเปน FCC การแปรรูปงายกวา แปรรูปไดมากกวา

สิ่งสําคัญ Temperature, material, strain rate!

Page 16: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

17

Vdo Impact Test Charpy

Page 17: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

18

ความลา (Fatigue)

ความเสียหายเนื่องจากการรับแรงกระทําซ้ํา ๆ เปนรอบ (Cyclic Load) ทั้งที่แรง (ความเคน) ในแตละรอบ ไมไดเกินกําลังวัสดุ(UTS; หรือในการออกแบบใช YS) แตเมื่อเวลา (จํานวนรอบ) ผานไป ก็เกิดความเสียหายได

Page 18: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

19

ความลา (Fatigue)

กลไกของความลา

Page 19: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

20

ความลา (Fatigue)

กลไกของความลาการเริ่มตนเกิดรอยแตก (Crack Initiation) เกิดบริเวณจุดออนโดยเฉพาะรอยตําหนิ รอยขูดขีด รอยบาก รองตาง ๆ ที่บริเวณผิวการขยายตัวของรอยแตก (Crack Propagation) ภายใตแรงดึงในแตละรอบการแตกหักในขั้นสุดทาย (Fracture)

Page 20: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

21

การทดสอบความลา

Stress amplitude

Page 21: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

22

S-N Curve จากการทดสอบความลา

โลหะประเภทเหล็ก, ทองแดง โลหะนอกกลุมเหล็กทั่วไป

(Fatigue Limit)

Failure

Stre

ss a

mpl

itude

Stre

ss a

mpl

itude ไมแสดง Endurance limit

Page 22: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

23

ความลา (Fatigue)

การออกแบบชิ้นงานที่รับแรงกระทําซ้ํา ๆ เปนรอบออกแบบใหความเคนไมเกิน Fatuige Limit หรือ Fatigue Strength แลวแตกรณีเสริมสรางความแข็งใหผิวชิ้นงาน เชน ทําการชุบแข็งผิว (ปองกัน crack initiation)ทําใหเกิดความเคนตกคางที่เปนแรงอัดบนผิวชิ้นงาน (ปองกัน crack initiation)หลีกเลี่ยงจุดที่เกิดความเคนสูง เชน รอง รอยบาก รู บนผิวชิ้นงาน (ปองกัน crack initiation)

Page 23: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

24

ความคืบ (Creep)

ปรากฏการณที่วัสดุยืดออกเองได (เกิดการแปรรูปถาวร) ภายใตแรงหรือความเคนคงที่ เมื่อเวลาผานไปนาน ๆเกิดที่อุณหภูมิสูง (>0.4Tm โดยประมาณ)

เปนปญหาที่เกิดกับเครื่องยนต เครื่องจักรที่ใชงานที่ อุณหภูมิสูงๆเปนเวลานานๆ

Page 24: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

25

Lead Tm=327oC 0.4*(273+327)=240oC

Heater

Page 25: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

26

การทดสอบความคืบ

Creep Test สนใจคาอัตราการคืบตัวต่ําสุด (Minimum Creep Rate)Stress-rupture Test สนใจเวลาสุดทาย

Page 26: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

27

เสนโคงความคืบ (Creep Curve)

Page 27: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

28

เสนโคงความคืบ (Creep Curve)

Page 28: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-2-4mech2c.pdf1 2109101 ว สด ในงานว ศวกรรม

29

สมบัติทางกล(Mechanical Properties)

Mechanical Property

Stress

Strain and Deformation

Stress-Strain Relationship

Creep

Toughness

Fatigue

Hardness