2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว...

45

Upload: others

Post on 15-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม
Page 2: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม

กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา ก

คํานํา สาระสังเขปหนังสือใหมนี้ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนคูมือแกสมาชิกรัฐสภาและ

ผูใชบริการในการติดตามหนังสือใหมที่หองสมุดไดรับในแตละเดือน ซึ่งจะเปนการชวยอํานวยความสะดวก

และประหยัดเวลาในการเลือกอานหนังสือใหมที่ตองการไดมากข้ึน อีกทั้งยังเปนสวนหนึ่งของกิจกรรม

สงเสริมการอานและรักการอานหนังสือดวย หากสมาชิกรัฐสภาและผูใชบริการทานใดมีความประสงคจะใชหนังสือใหมรายการใด สามารถติดตอขอใชบริการไดที่ กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ อาคารรัฐสภา 3 ชั้น 1 หมายเลขโทรศัพท 0 2244 1287, 0 2244 1375 และหากทานมีขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะประการใด โปรดแจง

ใหผูจัดทําไดรับทราบดวย เพื่อเปนประโยชนในการจัดพิมพครั้งตอไป โดยแจงมาที่หมายเลขโทรศัพท

0 2244 1056, 0 2244 1078

กลุมงานหองสมุด สํานกัวิชาการ สํานกังานเลขาธกิารสภาผูแทนราษฎร กรกฎาคม 2552

Page 3: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม

กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา ข

คําชี้แจงวิธีใช “สาระสังเขปหนังสือใหม“ เลมนี้ เปนการสรุปยอเนื้อหาของหนังสือแตละเลมทีห่องสมุดไดรับ

โดยจัดหมวดหนงัสือดานตาง ๆ รวมไวดวยกนั ภายในหนังสือแตละหมวดจัดเรียงตามลาํดับอักษรชื่อ

หนงัสือ ตั้งแต ก - ฮ หรือ A - Z รายละเอียดประกอบดวย

ชื่อหมวดหนังสือ ลําดับที่. ชื่อหนังสือ. / ชื่อผูแตง. คร้ังที่พมิพ. สถานที่พมิพ : สํานกัพมิพ, ปทีพ่ิมพ. [เลขหมูหนงัสือ]

Page 4: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม

กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา ค

ตัวอยาง

หนงัสอืหมวดกฎหมาย (K)

1. กฎหมายพิเศษที่ใชในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต. / โดย มูลนิธิผสานวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ

: มูลนิธิผสานวัฒนธรรม, 2551.

หนังสือเรื่อง กฎหมายพิเศษที่ใชในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ไดถูกจัดพิมพข้ึนโดยมี

วัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับสิทธิของประชาชนโดยเฉพาะกฎหมาย ซึ่งมีความเกี่ยวของกับ

คดีอาญา เนื่องจากในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต คือ จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส

และส่ีอําเภอในจังหวัดสงขลา คือ อําเภอนาทวี อําเภอจะนะ อําเภอเทพา และอําเภอสะบายอย มีการบังคับ

ใชกฎหมายพิเศษหลายฉบับ และในอนาคตจะมีการประกาศใชพระราชบัญญัติความมั่นคงภายใน

ราชอาณาจักร พ.ศ.2550 เพิ่มเติมข้ึนอีก ซึ่งกฎหมายพิเศษดังกลาวมีบทบัญญัติและระเบียบปฏิบัติที่ให

อํานาจแกเจาพนักงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่ แตกตางไปจากหลักและวิธีการที่ใชในการประมวล

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จึงอาจกอใหเกิดความสับสนแกประชาชนที่จะตองถูกบังคับใชเนื่องจาก

เจาหนาที่ของรัฐอาจจะหยิบกฎหมายฉบับใดมาใชบังคับก็ได หรืออาจจะใชกฎหมายพิเศษหลายฉบับไป

พรอม ๆ กันก็ได ดังนั้น จึงไดรวบรวมกฎหมายและภาคผนวกที่เปนระเบียบและคําสั่งเกี่ยวของไว เพื่อสราง

ความเขาใจระหวางผูใชกฎหมายและถูกบังคับใชกฎหมายและสรางความเชื่อมั่นใหกับประชาชนตอ

กระบวนการยุติธรรม

Page 5: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม

กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา ง

สารบัญ หนา

คํานํา ....................................................................................................................................... ก

คําชี้แจงวธิีใช ............................................................................................................................... ข

ตัวอยาง ..................................................................................................................................... ค

สารบัญ ....................................................................................................................................... ง

หนังสือหมวดปรัชญาและศาสนา (B) ........................................................................................ 1

หนังสือหมวดประวัติศาสตรทั่วไป (D)........................................................................................ 2

หนังสือหมวดภูมิศาสตรทั่วไป (G)............................................................................................. 5

หนังสือหมวดสังคมศาสตร (H) ................................................................................................. 6

หนังสือหมวดกฎหมาย (K)....................................................................................................... 8

หนังสือหมวดการศึกษา (L) .................................................................................................... 11

หนังสือหมวดดนตรี (M) ......................................................................................................... 13

หนังสือหมวดศิลปะ (N) ......................................................................................................... 14

หนังสือหมวดวิทยาศาสตร (Q) ............................................................................................... 15

หนังสือหมวดเกษตร (S)......................................................................................................... 16

หนังสือหมวดวิทยานิพนธ รายงานการวิจัย .............................................................................. 17

หนังสือหมวดสิ่งพมิพรัฐบาล .................................................................................................. 25

หนังสือหมวดอางองิ .............................................................................................................. 32

ภาคผนวก..... สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

Page 6: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 1

หนังสือหมวดปรชัญาและศาสนา (B)

1. ลายแทงแหงความสุข. / โดย ว.วชิรเมธี. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ปราณ, 2552.

ความสุขมีหลายระดับตั้งแตความสุขพื้นฐานในทางเศรษฐกิจ ความสุขในทางครอบครัว ความสุขในทางสังคม/ความสุขในทางปญญา กระทั่งความสุขในทางจิตที่เกิดการตื่นรูสูอิสรภาพมนุษยทุกคนควรมีความสุขและความสุขที่มีวิวัฒนาการไปตามลําดับขั้น แตการทําเชนนั้นไดไมใชของงาย หากไมมีคูมือหรือลายแทงแหงความสุข หนังสือ “ลายแทงแหงความสุข” เลมนี้เนื้อหาภายในเปนการรวมบทความของทานผูเขียนที่ทยอยตีพิมพในคอลัมน “กิเลส แมเนจเมนท” ในหนังสือพิมพ ซ่ึงบทความทั้งหมดพยายามนําเสนออรรควิธีในการแสวงหาความรูในแงมุมตาง ๆ ตั้งแตเร่ืองพื้นฐานที่สุดอยางการศึกษาของมนุษย ระบบความคิดความเชื่อของสังคม ระบบเศรษฐกิจไปจนถึงเรื่องใหญอยางการเมืองการปกครอง ที่ผูอานสามารถพินิจพิเคราะหไดวาส่ิงที่กําลังทําและกําลังเปนนั้นเบี่ยงเบนไปจากวิถีทางแหงการสรางความสุขมากนอยเพียงใด

Page 7: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 2

หนังสือหมวดประวัติศาสตรทั่วไป (D)

1. กบฏกรุงศรีอยุธยา. / โดย จิตรสิงห ปยะชาติ. กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุป, 2551.

ประวัติศาสตรกรุงศรีอยุธยาราชธานีเกาของไทย มีระยะเวลายาวนานรวม 417 ป ผานการปกครองโดยมีกษัตริยจาก 5 ราชวงศ ประกอบดวย ราชวงศอูทอง ราชวงศสุพรรณภูมิ ราชวงศสุโขทัย ราชวงศปราสาททอง และราชวงศบานพลูหลวง มีพระมหากษัตริยปกครองมากถึง 34 พระองค ตลอดระยะเวลา 417 ป ของกรุงศรีอยุธยามีเร่ืองราวของ “กบฏ” ปรากฏใหเห็นมากมายในพงศาวดารและหลักฐานตาง ๆ แตในหนังสือเลมนี้ไมไดมีเพียงเรื่องราวจากบันทึกหรือเอกสารชั้นตนและชั้นรองเทานั้น หากแตผูเขียนพยายามที่จะนําเสนอภาพกวางของปญหา อันนับเปนที่มาของเรื่องราวที่เกิดขึ้นเพื่อแสดงใหเห็นภาพของบานเมือง การเมืองการปกครอง และสภาพแวดลอมตาง ๆ ของกรุงศรีอยุธยาในสมัยตาง ๆ ใหแกผูอานอีกขั้นหนึ่งดวย

2. เกิดในเรือบันทึกความทรงจําของ ส.พลายนอย. / โดย ส.พลายนอย. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ :

มติชน, 2552. หนังสือเลมนี้เปนบันทึกความทรงจําของผูเขียนที่เลาเรื่องเหนือแมน้ําของชีวิตคนเรือที่ไดถายทอดประสบการณจริงของผูเกิดในเรือที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ 70 กวาปกอน บอกเลาเรื่องราววิถีชีวิตชาวเรือที่เลือนหายไป เชน วิชาของคนอยูเรือ ไหวแมยานางของเด็กเลนชาวเรือ เทศกาลหนาน้ําเที่ยวทุง รูจักเรือชนิดตาง ๆ มีที่มาอยางไร เชน เรือสําปน เรือหมู เรือพายมา เรือหางแมงปอง เปนตน ซ่ึงเกิดในเรือบันทึกความทรงจํา ผูเขียนไดมีการแกไขปรับปรุงเนื้อหาใหม เพื่อใหสมบูรณที่สุด อีกทั้งเปนอนุสรณของชีวิตชาวเรือเลมแรกที่เขียนเลาอยางครบวงจร

Page 8: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 3

3. ขอมูลท่ีประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับกรณีปราสาทพระวิหารและการเจรจาเขตแดนไทย-

กัมพูชา. กรุงเทพฯ : กระทรวงการตางประเทศ, 2552.

หนังสือ “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับกรณีปราสาทพระวิหารและการเจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา” เลมนี้ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรแกประชาชนทั่วไปใหไดรับทราบขอมูลและใหขอคิดเห็นอันเปนสวนหนึ่งของการดําเนินการตามมาตรา 190 วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ที่กําหนดวา การดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศที่มีบทเปลี่ยนอาณาเขต ซ่ึงประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน โดยมีเนื้อหาภายในเลมแบงออกเปน 4 สวน ไดแก สวนที่ 1 ภูมิหลังเกี่ยวกับเขตแดนไทย-กัมพูชา และปราสาทเขาพระวิหารโดยสังเขป สวนที่ 2 ปญหาจากการที่กัมพูชานําปราสาทพระวิหารไปขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก สวนที่ 3 ความตึงเครียดบริเวณชายแดนหลังจากกัมพูชานําปราสาทพระวิหารไปขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก และสวนที่ 4 การดําเนินการของไทยและการแกปญหาที่ยั่งยืน

4. ฉลากคลาสสิค. / โดย อเนก นาวิกมูล. กรุงเทพฯ : แสงดาว, 2552.

หนังสือ “ฉลากคลาสสิค” เลมนี้เปนการรวบรวมบทความทั้งหมดของผูเขียนที่เคยลงตีพิมพในคอลัมน “มุมสะสม” ของนิตยสารสารคดีตั้งแตป พ.ศ.2528 ถึง พ.ศ.2536 โดยการนําเสนอเนื้อหา ประกอบดวย เร่ืองการสะสมสิ่งพิมพจําพวกฉลากตาง ๆ เชน ฉลากน้ํานม ฉลากนม ฉลากปดลังผลไม ฉลากหรือไมขีดไฟที่คนแตกอนเรียกวา หนาไมขีดไฟ ปลอกซิการ กระดาษมวนบุหร่ี และไพที่แถมมาในซองบุหร่ีสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 8 ซ่ึงเรียกกันวา รูปยาซิกาแร็ต พรอมกันนี้ยังมีภาพประกอบทั้งที่เคยตีพิมพและยังไมไดตีพิมพ พรอมคําบรรยายของภาพเพื่อใหทานผูอานไดเขาใจมากขึ้น

5. ทองไปในเสนทางราชมรรคา เท่ียวตามหาอัปรานางฟาขอม. / โดย สุธีระ ประเสริฐสรรพ. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551.

หนังสือเลมนี้เปนสารคดีเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรมมาหลอมรวมกับจินตนาการที่ไดจากการเดินทางและตํานาน โดยการพยายามผสมผสานประวัติศาสตรและโบราณคดีเขากับเรื่องราวชีวิตของชาวเขมรที่พบเห็นตลอดเสนทางในการรวมเดินทางของผูเขียนไปกับคณะวิจัยไทยและกัมพูชาที่ทํางานรวมกันใน “โครงการคนหาและพัฒนาสารสนเทศของราชมรรคาสมัยพระเจาชัยวรมันที่ 7” เพื่อคนควาเกี่ยวกับเสนทางโบราณระหวางเมืองหลวงของเขมรตั้งแตยุคพุทธศตวรรษที่ 17-18

Page 9: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 4

6. ไทย จีน ญ่ีปุน ในยุคจักรวรรดินิยมใหม. / โดย วุฒิชัย มูลศิลป. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2551.

หนังสือเลมนี้เปนการวิเคราะหเปรียบเทียบการปรับตัวของไทย จีนและญี่ปุน ในประเด็นที่มีความสําคัญในยุคจักรวรรดินิยม โดยเปนการรวบรวมบทความที่ผูเขียนนําเสนอตอท่ีประชุมของราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก สํานักธรรมศาสตรและการเมืองและราชบัณฑิตสถาน ไดแก ปญหาฝนในเมืองไทยกอนสนธิสัญญาเบาวริงในบริบทของประวัติศาสตรเอเชีย การปรับตัวของไทยและจีนในสมัยจักรวรรดินิยมใหม พัฒนาการทางการศึกษาของไทยสมัยรัชกาลที่ 5 กับญี่ปุนสมัยเมจิ : วิเคราะหเปรียบเทียบ ปอมพระ

จุลจอมเกลากับการรักษาเอกราชของชาติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 ร.ศ.116 เมื่อประวัติศาสตรเปนเหตุแหงความขัดแยงระหวางชาติในเอเชีย ซ่ึงนับไดวาเปนขอมูลสําคัญยิ่ง

7. แรกสรางพระมหานคร. / โดย เกริกฤทธ เชื้อมงคล. กรุงเทพฯ : สยามความรู, 2552.

หนังสือ “แรกสรางพระมหานคร” เลมนี้เนื้อหาเกี่ยวกับพระราชประวัติของพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ผูทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร โดยไดนําขอมูล เร่ืองราว บันทึก จากเอกสารโบราณและแหลงขอมูลตาง ๆ อันเปนหลักฐานที่หลงเหลืออยู โดยเฉพาะพระราชพงศาวดารที่ไดบันทึกเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชวงรัชสมัยไวอยางละเอียด ระบุถึงวันเดือนปและเรื่องราวที่เกิดขึ้นอยางตรงไปตรงมา ซ่ึงในหลาย ๆ เร่ืองหลาย ๆ เหตุการณที่นาสนุกและประทับใจ ไมวาจะเปนเหตุการณสงครามความสัมพันธระหวางประเทศเพื่อนบาน เหตุการณหลากหลายที่เกิดขึ้นในพระบรมมหาราชวัง นอกจากนี้ยังมีเร่ืองราวเหตุการณอ่ืนที่นาสนใจ อาทิ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงมีความสัมพันธกับญวนเขมรอยางลึกซึ้ง คือ เมื่อตนรัชสมัยมี องเชียงสือ เจานายญวนไดหนีภัยพวกกบฏเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ซ่ึงพระองคก็ทรงพระเมตตากรุณาชุบเล้ียงและสงกองทัพไปชวยทําสงครามกูชิงเอาบานเมืองจนองเชียงสือกูบานเมืองได และตั้งตนเปนเจาอนัมกก และตอมาเปนพระเจาเวียตนาม ยาลอง และมีพระราชสาสนเจริญพระราชไมตรีทางการทูตและสงของบรรณาการมาถวายดวยรําลึกใน พระเดชพระคุณเสมอตลอดรัชกาล สวนทางฝายเขมรนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงอุปถัมภเล้ียงดูนักองเองเชื้อพระราชวงศเขมร หลังเกิดเหตุการณขัดแยงแยงชิงราชสมบัติกันขึ้นในหมูราชวงศกัมพูชา และดวยเหตุนักองเองยังเด็กนัก เชื้อพระวงศเจาแผนดินกัมพูชาเหลืออยูพระองคเดียวเกรงจะเปนอันตราย ทรงดูแลและเปนพระธุระนักองเองเยี่ยงบุตรรวมกับสมเด็จพระเจาลูกยาเธอและพระองคอัมรินทร พระราชโอรสพระเจากรุงธนบุรี จนนักองเองสามารถปกครองบานเมืองไดแลว จึงโปรดให นักองเองไปครองเมืองกัมพูชาสืบราชวงศทรงพระราชทานนามนักองเองวา พระนารายณรามาธิบดี

Page 10: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 5

หนังสือหมวดภูมิศาสตร

ทั่วไป (G)

1. อุทกวิทยา. / โดย นิตยา หวังวงศวิโรจน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี,

2551. อุทกวิทยา เลมนี้เนื้อหาประกอบดวย บทนําเกี่ยวกับคําจํากัดความ ขอบเขตของวิชาอุทกวิทยา วัฏจักรของน้ํา ความสัมพันธของงานพัฒนาแหลงน้ําและอุทกวิทยา ตลอดจนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในประเทศไทย ลุมน้ําและการจัดการรายละเอียดจากแผนที่ภูมิประเทศ ซ่ึงเปนหลักการพื้นฐานและสามารถประยุกตใชกับระบบเทคโนโลยีภูมิศาสตรสารสนเทศ (GIS) พรอมกันนี้ประกอบดวย ปริมาณน้ําที่

อยูในวัฏจักรของน้ําในรูปแบบตาง ๆ ซ่ึงกลาวถึง หยาดน้ําฟา น้ําทา การระเหย การคายน้ํา และการคายระเหย การซึมลงดินและน้ําใตดิน อีกทั้งยังมีการศึกษาเรื่องของกราฟน้ําทา ซ่ึงเปนขอมูลสําคัญในการคํานวณออกแบบดานวิศวกรรมพรอมกับกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงขอมูลกราฟน้ําทา เมื่อปริมาณน้ําหลากเคลื่อนตัวจากดานเหนือน้ําไปยังดานทายน้ําและการวิเคราะหน้ําทวมดวยหลักทางสถิติ ซ่ึงเปนความรูเบื้องตนที่จะนําไปประยุกตใชในการคํานวณออกแบบอาคารทางชลศาสตร การทํานายปริมาณน้ําทวมในอนาคต ตลอดจนการวางแผนในโครงการพัฒนาแหลงน้ําตาง ๆ ทั้งนี้ในสวนของภาคผนวก ก. ไดรวบรวมเร่ืองมาตรวัดใชตามประเพณีไทยและอัตราเทียบระบบเมตริก สําหรับภาคผนวก ข เปนการตั้งชื่อพายุหมุนเขตรอน

Page 11: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 6

หนังสือหมวดสังคมศาสตร

(H)

1. รวมสุดยอดแนวคิดการจัดการสมัยใหม. / โดย ชัจจชนันต ธรรมจินดา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,

2551.

หนังสือเลมนี้เปนการนําเสนอแนวความคิดตาง ๆ ของผูคิดคนบุกเบิกดานบริหารจัดการและแนวความคิดที่มีผลตอพฤติกรรมและความคาดหวัง รวมถึงสามารถนําไปปรับใชใหเขากับเวลาและส่ิงแวดลอมที่เหมาะสม ในเนื้อหาของหนังสือเลมนี้ประกอบดวย แนวความคิดที่สําคัญ ไดแก โลกใหมดานการจัดการ องคกรในโลกยุคใหม ความทาทายทางเทคโนโลยี การกําหนดกลยุทธและการนํากลยุทธไปปฏิบัติ การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยแนวใหม สายงานอาชีพและชีวิตการทํางาน การปฏิวัติดานคุณภาพการตลาดแบบคิดใหมทําใหม ภาวะผูนํา การเรียนรูและการพัฒนา การจัดการระดับโลก และในสวนทายของหนังสือเลมนี้ยังมีภาคผนวก ซ่ึงไดนําเสนอประวัติยอของนักคิดตาง ๆ และระบุถึงแนวความคดิหลักในการพิมพครั้งนี้ไดมีการเพิ่มเนื้อหา เชน เร่ืองทุนทางปญญา (Intellectual capital) การผลิตแบบลีน

(lean production) และ Balanced Scorecard นอกจากนี้บทที่เพิ่มใหม ไดแก ความทาทายทางเทคโนโลยี

งานอาชีพและชีวิตการทํางาน

2. เศรษฐวิบัติ ฉบับปรับปรุง. / โดย ดรุกแมน, พอล. กรุงเทพฯ : 2552.

เศรษฐวิบัติ ฉบับปรับปรุงเลมนี้เปนการปรับปรุงจากเลมเดิม “เศรษฐวิบัติ” (The Return of

Depression Economics)” ซ่ึงเปนการเพิ่มสาระที่จําเปนตอการทําความเขาใจเศรษฐกิจยุคใหมเอาไวอยาง

ครบถวน ไมวาจะเปนขอมูลอันทันสมัย บทวิเคราะหใหม ๆ ที่เขากับเหตุการณและบทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจในป 2008 โดยที่เนื้อหาหลักเปนการรวบรวมบทเรียนสําคัญที่มนุษยไดประสบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ําตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยผูเขียนไดวิเคราะหถึงที่มาของปญหา การแกไขในขณะนั้นสิ่งที่ควรทําแตไมไดทํา และแรงผลักดันที่ทําใหปญหากลายเปนวิกฤตและไดเจาะลึกไปถึงรากของปญหาเศรษฐกิจที่หลาย ๆ ประเทศประสบ นอกจากนี้ประเทศไทยเองก็เปนหนึ่งในนั้นดวย พรอมกันนี้ในหนังสือเลมนี้ยังมีขอคิดที่

Page 12: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 7

กระตุนเตือนใหทุกฝายหันมารับมือกับปญหาอยางถูกจุด ไมใหสถานการณลุกลามกลายเปนภาวะเศรษฐกิจตกต่ําครั้งใหญอยางในอดีตที่ผานมา

3. บางบทสํารวจปรัชญาการเมืองคลาสสิก. / โดย พิศาล มุกดารัศมี. กรุงเทพฯ : วิภาษา, 2551.

หนังสือ บางบทสํารวจปรัชญาการเมืองคลาสสิก มุงศึกษาเพื่อทําความเขาใจและเขาถึงปรัชญาการเมืองคลาสสิก โดยเริ่มที่การสํารวจสถานะ บทบาทและอิทธิพลของปรัชญาการเมืองคลาสสิก ซ่ึงผลตอชีวิตความเปนอยูของผูคนในยุคสมัยตาง ๆ หนังสือเลมนี้จึงปรากฏอยูในสถานะของการเปนทั้งสัญลักษณความเปนตัวแทนและความพยายามในพันธกิจของการสํารวจและทําความเขาใจปรัชญาการเมืองคลาสสิกดวยวิธีการมองยอนกลับไปอยางที่มันเคยดําเนินอยูภายใตบริบทของยุคสมัย ผานมุมมองการวิเคราะหของทั้งตัวนักปรัชญาการเมืองผูเปนเจาของความคิดเอง อีกทั้งผานทางการตีความของนักปรัชญาการเมืองในยุคตาง ๆ มา นักปรัชญาการเมืองเหลานี้ไดพิจารณาปรัชญาการเมืองคลาสสิกในฐานะที่มันเคยมีบทบาทหนาที่และมีความสําคัญในลักษณะของการเปนสิ่งที่ไดสรางคุณคา เปนองคประกอบหลักในการใหความหมายแกชีวิตความเปนอยูของผูคน รวมไปถึงการสรางมาตรฐาน การตั้งเปาหมายแกใหแกระบอบการปกครอง ซ่ึงอาจกลาวไดวา ปรัชญาการเมืองคลาสสิกดํารงอยูในสถานะของการเปนมรดกทางภูมิปญญา มีคุณลักษณะและพัฒนาการเปนตัวของตัวเอง ประกอบขึ้นดวย แนวความคิดและเนื้อหาอันไดรับการพิสูจนยอมกับกันวามีความเปนสากลสามารถขามพนยุคสมัยและกาลเวลามาได

Page 13: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 8

หนังสือหมวดกฎหมาย

(K)

1. กฎหมายพิเศษท่ีใชในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต. / โดย มูลนิธิผสานวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : มูลนิธิผสานวัฒนธรรม, 2551.

หนังสือเร่ือง กฎหมายพิเศษที่ใชในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ไดถูกจัดพิมพขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับสิทธิของประชาชนโดยเฉพาะกฎหมาย ซ่ึงมีความเกี่ยวของกับคดีอาญา เนื่องจากในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต คือ จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และส่ีอําเภอในจังหวัดสงขลา คือ อําเภอนาทวี อําเภอจะนะ อําเภอเทพา และอําเภอสะบายอย มีการบังคับใชกฎหมายพิเศษหลายฉบับ และในอนาคตจะมีการประกาศใชพระราชบัญญัติความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2550 เพิ่มเติมขึ้นอีก ซ่ึงกฎหมายพิเศษดังกลาวมีบทบัญญัติและระเบียบปฏิบัติที่ใหอํานาจแกเจาพนักงานของรัฐในการปฏิบัติหนาที่ แตกตางไปจากหลักและวิธีการที่ใชในการประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จึงอาจกอใหเกิดความสับสนแกประชาชนที่จะตองถูกบังคับใชเนื่องจากเจาหนาที่ของรัฐอาจจะหยิบกฎหมายฉบับใดมาใชบังคับก็ได หรืออาจจะใชกฎหมายพิเศษหลายฉบับไปพรอม ๆ กันก็ได ดังนั้น จึงไดรวบรวมกฎหมายและภาคผนวกที่เปนระเบียบและคําส่ังเกี่ยวของไว เพื่อสรางความเขาใจระหวางผูใชกฎหมายและถูกบังคับใชกฎหมายและสรางความเชื่อมั่นใหกับประชาชนตอกระบวนการยุติธรรม

2. กฎอัยการศึก. / โดย สํานักประชาสัมพันธ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. กรุงเทพฯ :

สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2550. กฎอัยการศึก หมายถึง กฎหมายซึ่งไดตราขึ้นไวสําหรับประกาศใชเมื่อมีเหตุจําเปนเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยในบานเมือง ในเขตที่ประกาศใชกฎอัยการศึก เจาหนาที่ฝายทหารมีอํานาจหนาที่เหนือเจาหนาที่ฝายพลเรือน ในสวนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับ ปราบปราม หรือการรักษาความสงบเรียบรอยและศาลทหารมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอยางที่ประกาศระบุไวแทนศาลพลเรือน ปจจุบันประเทศไทยมีการประกาศใชกฎอัยการศึกในหลายพื้นที่โดยเฉพาะในสามจังหวัดชายแดนภาคใต โดยมี

Page 14: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 9

เจตนารมณเพื่อใชเปนเครื่องมือหรือมาตรการทางกฎหมายในการที่จะรองรับอํานาจของเจาหนาที่ฝายทหารที่จะรักษาความมั่นคงของประเทศชาติในสถานการณคับขันและจําเปนซึ่งไมอาจใชหนวยงานของฝายพลเรือน จึงตองใชหนวยงานทหารที่มีสมรรถภาพดีกวาในการแกไขปญหาดังกลาว หนังสือเลมนี้นําเสนอเร่ืองกฎอัยการศึก โดยมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับประวัติความเปนมา ความหมาย เจตนารมณของกฎอัยการศึก การประกาศและการเลิกใชกฎอัยการศึก ผลจากการประกาศใชกฎอัยการศึก ตารางการประกาศใชกฎอัยการศึกในรัชสมัยรัชกาลที่ 9 พ.ศ.2489 ถึงปจจุบัน พรอมทั้งพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พุทธศักราช 2457

3. ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ.2551. / โดย สํานักการประชุม สํานักงานเลขาธิการ

สภาผูแทนราษฎร. กรุงเทพฯ : สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2551.

เนื่องจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 134 กําหนดใหสภาผูแทนราษฎรมีอํานาจตราขอบังคับการประชุม สภาผูแทนราษฎรจึงไดตราขอบังคับฉบับนี้ โดยในการประชุมสภาผูแทนราษฎร ชุดที่ 23 ปที่ 1 สภาผูแทนราษฎรไดตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จํานวน 36 คน เพื่อยกรางขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. .... เมื่อคณะกรรมาธิการยกรางเสร็จแลว จึงเสนอรายงานตอสภาผูแทนราษฎร สภาผูแทนราษฎรไดลงมติรับหลักการแหงรางขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. .... และลงมติตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จํานวน 36 คน ตอมาที่ประชุมไดพิจารณาวาระที่สองและวาระที่สามแลวลงมติเห็นชอบ และขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ.2551 ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลม 125 ตอนพิเศษ 79 ง ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 มีผลใชบังคับแลว

4. คูมือดําเนินการเกี่ยวกับรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญรางพระราชบัญญัติ ญัตติ

และกระทูถาม. / โดย สํานักการประชุม สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2550. ประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดที่ใชในการปกครองประเทศ รูปแบบของการบริหารการปกครองประเทศเปนระบบรัฐสภา ประกอบดวย สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา เพื่อทําหนาที่ดานนิติบัญญัติซ่ึงดําเนินงานของฝายนิติบัญญัตินั้นตองอยูภายใตบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ขอบังคับการประชุมสภา กฎหมาย และระเบียบปฏิบัติตาง ๆ สํานักการประชุมสนฐานะหนวยงานสนับสนุนการดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของที่ประชุมสภาผูแทนราษฎรที่ประชุมรวมกันของรัฐสภา ไดจัดทําหนังสือเลมนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินการใชเปนคูมือเบื้องตนและอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของ

Page 15: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 10

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ทั้งนี้ไดมีการรวบรวมเนื้อหาสาระโดยสังเขปตามกรอบของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และธรรมเนียมประเพณีที่เคยปฏิบัติ

5. คําอธิบายกฎหมายคนเขาเมือง. / โดย พงษนคร นครสันติภาพ. กรุงเทพฯ : วี.พร้ินติ้ง (1991),

2551. ในปจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายตรวจคนเขาเมืองที่มีผลใชบังคับอยู คือ พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ.2522 โดยเริ่มบังคับใชเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ.2522 หนังสือเลมนี้จึงจัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคสําคัญ 3 ประการ คือ 1) เพื่ออธิบายใหเกิดความเขาใจถึงเจตนารมณกฎหมายและขั้นตอน วิธีปฏิบัติที่ใชอยูในปจจุบัน โดยสวนแรกเปนการอธิบายความหมายในเนื้อหาสาระของพระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ.2522 เปนสําคัญ สวนที่สองเปนการอธิบายกฎ ระเบียบ คําส่ังที่ เปนกฎหมายลูกแหงพระราชบัญญัติฉบับนี้ ซ่ึงไดวางกรอบการดําเนินงานในเรื่องตาง ๆ เอาไว 2) เพื่อคนควาเพิ่มเติมตัวบทกฎหมายใหมีความเปนปจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากไดมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายหลายฉบับ โดยเฉพาะในชวงระหวางป พ.ศ.2548-2549 ซ่ึงมีการเปดใชทาอากาศยานสุวรรณภูมิทําใหตองมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายใหสอดคลองกับเทคโนโลยีที่ลํ้าสมัยทางดานระเบียบพิธีการบิน 3) เพื่อสนับสนุนใหผูอานเกิดกรอบแนวคิดในเชิงวิเคราะหปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับการใชกฎหมายวาสอดคลองกับสภาพแวดลอมในปจจุบันหรือไมอยางไร เพราะโดยทั่วไปแลว ความริเร่ิมในการตรากฎหมาย การแกไขกฎหมายมักดําเนินไปโดยฝายผูใช ดังนั้นหากจะยึดถือประชาชนเปนศูนยกลางในการทํางานจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

6. สิทธิผูบริโภค. / โดย สรวิศ ลิมปรังษี. กรุงเทพฯ : ธนาเพลส, 2552.

หนังสือเลมนี้อธิบายถึง สิทธิตาง ๆ อันพึงมีพึงไดของผูบริโภคเพื่อใหผูบริโภคเกิดความเขาใจในสิทธิหนาที่ของตน และสามารถปกปองสิทธิของตนเองได โดยแบงเนื้อหาออกเปน 5 สวน คือ สวนที่ 1 ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย ไดอธิบายถึง ความรับผิดของผูประกอบการ การพิสูจนความเสียหาย ความเสียหายตอตัวสินคาที่ไมปลอดภัย การเจรจาและอายุความ สวนที่ 2 การดําเนินคดีผูบริโภคไดอธิบายถึง คดีผูบริโภค การฟองคดี คาเสียหายเพื่อลงโทษ และวิธีพิจารณาความคดีผูบริโภค สวนที่ 3 ขอสัญญาที่ไมเปนธรรมไดอธิบายถึง ขอสัญญาที่ไมเปนธรรมของสัญญาสําเร็จรูปและสัญญาอื่นที่อยูภายใตบังคับ สวนที่ 4 การคุมครองผูบริโภคในดานสัญญาไดอธิบายถึง ธุรกิจที่ควบคุมสัญญา ขอสัญญาที่จําเปนและที่หามใชในสัญญา ผลของขอสัญญาที่จําเปนและขอสัญญาที่หามใช และสวนที่ 5 การขายตรงและการตลาดแบบตรง ไดอธิบายถึง การคุมครองผูบริโภคในการขายตรงและการตลาดแบบตรง

Page 16: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 11

หนังสือหมวดการศึกษา

(L)

1. การพัฒนาหลักสูตร. / โดย ชวลิต ชูกําแพง. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2551.

การที่จะจัดการการศึกษาใหตอบสนองสังคมและความมุงหมายของชาติจําเปนตองมีหลักสูตร เพราะวาหลักสูตรเปนเครื่องมือที่ถายทอดเจตนารมณหรือเปาประสงคของการศึกษาแหงชาติสูการปฏิบัติ ซ่ึงอาจกลาวไดวา “หลักสูตรคือ หัวใจของการศึกษา” การสรางหลักสูตรตองมีขั้นตอน มีกระบวนการตองอาศัยบุคลากรจํานวนมากในการปฏิบัติงาน และตองพัฒนาอยางเปนระบบ “การพัฒนาหลักสูตร” เลมนี้เปนหนังสือที่วาดวยความรูพื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตร ขอมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาหลักสูตร การแปลงหลักสูตรสูกิจกรรมการเรียนการสอนและการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา การบริหารหลักสูตรนวัตกรรมการเรียนรู การประเมินหลักสูตร พรอมดวยตัวอยางงานวิจัยและพัฒนาหลักสูตร โดยที่ผูเขียนไดพยายามจัดรูปแบบของเนื้อหาใหมีความกระชับชัดเจน และสามารถทําความเขาใจไดงาย

2. การสรางบรรยากาศแหงการเรียนรู สําหรับผูเรียนชาวไทย. / โดย จอหนสัน, คริสโตเฟอร. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2550.

หนังสือเลมนี้เนื้อหาเปนการนําเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพดวยการเสริมจุดแข็งและสกัดจุดออนของการเรียนการสอนแบบเดิมที่ผูเขียนไดอาศัยจากประสบการณที่ไดทําความคุนเคยกับลักษณะการเรียนรูแบบไทย ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับนักเรียน นักศึกษาชาวไทย นอกจากนี้แลวในหนังสือเลมนี้ยังไดกลาวถึง การตีแผการเรียนรูตามจริตของคนไทยที่มองจาก Outside in เกี่ยวกับ

การเรียนรูจากหลาย ๆ มุมมอง ดวยภาษาที่เขาใจงายมีภาพการตูนประกอบเนื้อหา ทั้งยังนําเสนอเปน 2 ภาษาดวยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผูอานสามารถทําความเขาใจเกี่ยวกับการเรียนรูและนําไปออกแบบกลยุทธในการเรียนรูเพื่อสรางประสบการณในการเรียนรูที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ ตรงกับผูเรียนรูในบริบทของไทยไดอยางเหมาะสม

Page 17: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 12

3. ชาตินิยมในแบบเรียนไทย. / โดย สุเนตร ชุตินธรานนท. กรุงเทพฯ : มติชน, 2552.

เนื้อหาในหนังสือชาตินิยมในแบบเรียนไทย เลมนี้เปนการรวบรวมบทความที่เกี่ยวของกับประวัติศาสตรของไทยกับประเทศเพื่อนบาน ประกอบดวย อุษาคเนย : พลวัตการรับรูจากอดีตถึงปจจุบัน

สถานะองคความรูดานอุษาคเนยในสังคมไทย และรวมทั้งบทความพมาในแบบเรียนของไทย ลาวในแบบเรียนของไทย กัมพูชาในแบบเรียนของไทย และมาเลเซียในแบบเรียนของไทย โดยจุดมุงหมายของหนังสือเลมนี้เพื่อใหเห็นถึงปญหาสําคัญในสังคมไทยวาดวยระดับความรู ทัศนคติและความเขาใจที่สังคมไทยมีตอประเทศรอบดานในอุษาคเนย ซ่ึงเปนการสงผานการศึกษาในระบบ อาทิ หลักสูตรการเรียนการสอนและแบบเรียน โดยตัวอยางที่เปนรูปธรรมไดถูกนํามาไวในหนังสือเลมนี้

4. เปดไตมหา’ลัย นอกระบบ. / โดย จุฑา เทียนไทย. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล, 2550.

หนังสือเลมนี้เนื้อหาเปนการกลาวถึง ที่มา เร่ืองราว ประวัติความเปนไปได ตลอดจนการวิพากษขอดีและขอเสียของมหาวิทยาลัยในและนอกระบบอยางเปนหลักการและนาอาน รวมถึงใหผูที่เกี่ยวของไดพิจารณาพรอมกับการเปดยอมรับขอสรุปที่กําลังจะเกิดขึ้นใหมในแวดวงการศึกษา ซ่ึงผูเขียนไดนําเอาประสบการณที่เคยอยูในมหาวิทยาลัยทั้งสองระบบมาเลาสูกันฟง นอกจากนี้ภายในเลมยังประกอบดวย ภาคผนวกที่เปนตัวอยาง เชน ตัวอยางการประเมินผลการปฏิบัติงานและตัวอยางการขึ้นเงินเดือน

Page 18: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 13

หนังสือหมวดดนตรี

(M)

1. วรรณกรรมเพลงเปยโน 1. / โดย ปานใจ จุฬาพันธุ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.

หนังสือเลมนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับบทเพลงที่แตงขึ้นสําหรับเปยโนตั้งแตยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการจนถึงยุคปจจุบัน โดยเนนประวัติและบทประพันธของคีตกวีที่สําคัญในแตละยุค เพื่อที่ผูอานจะไดเห็นพัฒนาการของแนวคิดและลักษณะของบทเพลงที่เกิดขึ้นในเวลาที่ตางกัน ครอบคลุมเนื้อหาตั้งแตพัฒนาการของคียบอรดตั้งแตสมัยกรีกโบราณจนมีพัฒนาการอยางตอเนื่องกลายเปนเปยโนอยางที่เปน ทุกวันนี้ ประวัติและผลงานที่ควรศึกษาของคีตกวีในยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการจนถึงยุคคลาสสิค รวมทั้งตัวอยางผลงานที่นาสนใจและรายละเอียดของเพลงนั้น ๆ มีศัพทบัญญัติทางดนตรีอยูเปนจํานวนมาก

Page 19: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 14

หนังสือหมวดศิลปะ

(N)

1. ประวัติ แนวความคิดและวิธีคนควาวิชาประวัติศาสตรศิลปะไทย. / โดย รุงโรจน ธรรมรุงเรือง. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2551.

หนังสือเลมนี้เนื้อหาสวนใหญปรับปรุงจากเอกสารรายวิชา Survey of Art Historical

Research in Thailand จึงเหมาะกับนักเรียน นักศึกษา และผูอานทั่วไป ซ่ึงการนําเสนอของเนื้อหาภายใน

แบงออกเปน สวนที่ 1 แนวทางการศึกษาประวัติศาสตรศิลปะไทย กลาวถึง คําจํากัดความวิชาประวัติศาสตรศิลปะ แนวทางการศึกษา และวิธีวิจัยประวัติศาสตรศิลปะไทยพรอมกับสรุปประเด็น สวนที่ 2 ขอ (ไม) ยุติในประวัติศาสตรศิลปะไทย : มูลเหตุ กลาวถึง ความไมครบถวนและไมสอดคลองของหลักฐาน อัตวิสัย

และขอจํากัดของนักประวัติศาสตร ศิลปะ พรอมดวยสรุปประเด็น สวนที่ 3 สังเขปแนวความคิดและวิธีวิจัยของนักวิชาการคนสําคัญ กลาวถึง การแบงชวงระยะเวลาของแนวความคิดนักวิชาการคนสําคัญ อาทิ ระยะ ที่ 1 กอน พ.ศ.2480 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ เปนตน สวนที่ 4 พัฒนาการและปญหาการแบงยุคประวัติศาสตรศิลปะไทย กลาวถึง ขอมูลเบื้องตนการแบงยุคประวัติศาสตรศิลปะไทย รวมทั้งการวิเคราะหระบบการแบงยุคสมัยประวัติศาสตร ศิลปะไทย พรอมกับสรุปประเด็น และในสวนที่ 5 สรุปและขอเสนอแนะ

Page 20: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 15

หนังสือหมวดวิทยาศาสตร

(Q)

1. แหลงทองเที่ยวทางธรณีวิทยา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : กรมทรัพยากรธรณี, 2550.

แหลงทองเที่ยวทางธรณีวิทยา เลมนี้เปนหนังสือที่ไดรวบรวมรายละเอียดและความสําคัญของแหลงทองเที่ยวทางธรณีวิทยาในแตละแหง พรอมดวยภาพประกอบและไดจัดเปนแหลงธรรมชาติที่ไดอนุรักษ ซ่ึงมีอยูทุกภาคของประเทศไทย ทั้งยังเปนแหลงใหความรูทางดานวิทยาศาสตรเกี่ยวกับโลก (earth

science) ซ่ึงในรายละเอียดของเนื้อหาไดจําแนกเปนประเภทสําคัญ ๆ ไดแก ประเภทแรกเปนแหลง

ธรรมชาติที่มีการเกิดสัมฤทธิ์กับกระบวนการทางธรณีวิทยา เชน ภูช้ีฟา ผาตั้ง ผาแตม ปาหินงาม ละลุ แพะเมืองผี เกาะตาปู ประเภทที่ 2 เปนแหลงธรรมชาติที่มีความโดดเดนดานลักษณะหินและแหลงซาก ดึกดําบรรพ เชน ถํ้าที่สวยงามตาง ๆ เขาสามรอยยอด เขาชองกระจก หินตา-หินยาย แหลงรอยเทาไดโนเสาร สุสานหอย แหลงซากไดโนเสาร ภูเวียงและภูกุมขาม ประเภทที่ 3 เปนแหลงธรรมชาติที่มีการเกิดสัมพันธกับโครงสรางทางธรณีวิทยา เชน น้ําตกที่สวยงามตาง ๆ พุน้ํารอน น้ําตกรอน เขาพิงกัน เขากระโดด ซ่ึงแหลงทองเที่ยวเหลานี้เปนทรัพยากรธรณีที่สําคัญในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) ที่

เปนรูปแบบการทองเที่ยวแนวใหม

2. 8 โรครายของวัยทํางาน. / โดย ชัญวลี ศรีสุโข. กรุงเทพฯ : มติชน, 2552.

หนังสือ 8 โรครายของวัยทํางาน เลมนี้เขียนขึ้นดวยจากประสบการณความเปนแพทยที่เผชิญดวยตนเองและพบกับคนไขของผูเขียน ทั้งคนควาจากความรูวิชาการที่ทันสมัย หนังสือเลมนี้จึงเปนเสมือนคูมือเรียนรูและปองกันเบื้องตนของ 8 โรครายของวัยทํางาน ไดแก โรคทางเดินปสสาวะอักเสบ โรคริดสีดวงทวารหนัก โรคปวดหัวไมเกรน โรคปวดกลามเนื้อและขอ โรคหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน โรคนิ้วล็อค โรคภูมิแพ และโรคกรดไหลยอนกลับ เพื่อใหคนวัยทํางานตระหนักและเรียนรูเกี่ยวกับโรคภัยกอนที่จะเจ็บปวยหรือผูที่ตองเผชิญกับโรคภัยไขเจ็บนั้นอยูกอน เพื่อใหเกิดกําลังใจและปฏิบัติตัวไดอยางถูกตอง นอกจากนี้แลวผูเขียนยังไดเนนการนําเสนอวิธีปองกันและการดูแลตนเอง รวมทั้งวิธีบริหารรางกายที่สามารถปฏิบัติไดอยางงาย ๆ และเห็นผล

Page 21: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 16

หนังสือหมวดเกษตร

(S)

1. ผลไมและเมนูอรอย. / โดย บังอร สังขมังกร. กรุงเทพฯ : อินเตอรเนชั่นแนล วินเทจ, 2552.

ผลไมและเมนูอรอย เลมนี้รวบรวมจากบทความในนิตยสารโดยจัดหมวดหมูขึ้นใหมตามฤดูกาลของผลไม ซ่ึงเนื้อหาภายในเลมเปนเรื่องราวของผลไมแตละชนิดในทุก ๆ ฤดูกาล บางชนิดอาจเปนผลไมพื้นบานที่แสนธรรมดา ทั้งนี้ในสาระนารูจากผลไมกวา 30 ชนิด ภายในเลมนี้ไดบอกเลาความเปนมา ความเชื่อ รวมทั้งคุณประโยชนที่จะไดรับจากผลไมแตละชนิด ซ่ึงไดจําแนกตามฤดูกาลที่ใหผลผลิต พรอมดวยตํารับอาหารที่จะชวยทวีคูณความอรอยของผลไมที่สามารถจัดทําเปนเมนูไดกวา 70 จาน ที่ผูอานสามารถนําไปปรุงเปนอาหารในครัวเรือน

Page 22: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 17

หนังสือหมวดวิทยานิพนธ

รายงานการวิจัย

1. กฎหมายคุมครองสิ่งบงชีท้างภูมิศาสตรเพื่อการสงเสริมการสงออกและการสรางความเขมแข็ง

ของชุมชนทองถิ่น. / โดย จกัรกฤษณ ควรพจน และ บัณฑูร เศรษฐศิโรตม. กรุงเทพฯ :

สํานักงานงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551. ส่ิงบงชี้ทางภูมิศาสตรมีบทบาทและความสําคัญที่เพิ่มมากขึ้นในธุรกิจการคา การคาระหวางประเทศเกี่ยวกับสินคาหรือผลิตภัณฑที่มีช่ือเสียง อันเนื่องมาจากมีแหลงผลิตในบางพื้นที่ที่มีมูลคาที่สูงมาก พื้นที่บางประเทศหรือบางภูมิภาคไดกลายเปนแหลงกําเนิดของสินคาหรือผลิตภัณฑที่มีช่ือเสียง เนื่องจากพื้นที่นั้นมีลักษณะทางภูมิศาสตร อากาศ หรือสภาพแวดลอมที่เอ้ืออํานวยตอการผลิตสินคาหรือที่ทําใหสินคาประเภทนั้นมีคุณภาพดีกวาสินคาที่ผลิตในที่อ่ืน ชุมชนทองถ่ินไทยมีภูมิปญญาอยูมากมาย ซ่ึงประเทศไทยควรสนับสนุนใหภูมิปญญาเหลานั้นไดรับการรับรองวาเปนสิทธิตามกฎหมายของชุมชนและตองทําใหสินทรัพยทางปญญาดังกลาวมีมูลคาในตลาด ซ่ึงจะทําใหเกิดชองทางสรางรายไดกับชุมชน ดังนั้นสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรจะเปนทั้งเครื่องมือที่รับรองคุณภาพและมาตรฐานสินคาไทยในตลาดโลก และชวยปกปองมิใหมีการนําเอาชื่อเสียงแหลงกําเนิดของสินคาไทยไปแอบอางหาประโยชน กฎหมายคุมครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรมิไดมีเจตนารมณที่จะสงเสริมการสะสมทุนและความมั่งคั่งของปจเจกบุคคลหรือบรรษัท หากแตใหความสําคัญกับการสงเสริมการพัฒนาภูมิปญญาทองถ่ิน และสงเสริมการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนที่ไดสะสมความรูความชํานาญมาเปนเวลายาวนาน

2. ความชุกและปจจัยเสี่ยงของการถูกทารุณกรรม ทอดท้ิงและพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กในจังหวัด

ขอนแกน : ศึกษาในเด็กนักเรียน ผูเล้ียงดู ครูและผูนําชุมชน. / โดย กฤตยา แสวงเจริญ. ขอนแกน : คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2549.

รายงานวิจัยเร่ืองนี้อธิบายถึงความชุกและปจจัยเสี่ยงของการทารุณกรรม ทอดทิ้งและพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กในจังหวัดขอนแกน ศึกษากรณีเด็กนักเรียน ผู เ ล้ียงดู ครูและผูนําชุมชน การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาความชุกและปจจัยเส่ียงของการถูกทารุณกรรมละเลย ทอดทิ้ง และพฤติกรรมเสี่ยงตาง ๆ

Page 23: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 18

ของเด็กนักเรียนในจังหวัดขอนแกนและเปรียบเทียบการรับรูของผูเล้ียงดูทั้งผูปกครอง ครูและผูนําที่มีตอความชุกและปจจัยเสี่ยงและผลกระทบจากการถูกทารุณกรรมละเลยทอดทิ้งตอเด็กและวิธีการจัดการกับปญหาเด็ก ผูเล้ียงดู ครูและผูนําชุมชนในจังหวัดขอนแกน

3. โครงการขอเสนอเพื่อการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมยั่งยืนในบริบทของไทย. / โดย สุธาวัลย เสถียรไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2550.

รายงานการวิจัยเลมนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะหประสบการณการบริหารภาครัฐกับรูปแบบการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมยั่งยืนในตางประเทศ รวมถึงของประเทศไทยและเพื่อสังเคราะห ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมยั่งยืนสําหรับประเทศไทย ผลการศึกษาพบวาในปจจุบันปญหาการปลอยมลพิษกําลังเปนที่สําคัญและสรางผลกระทบตอนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรมและชุมชนบริเวณโดยรอบ อยางไรก็ตามสิ่งที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ ประเทศไทยยังไมไดมีการพัฒนากรอบและแนวทางดานนโยบายเพื่อการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนใหเปนวาระแหงชาติ เมื่อเปรียบเทียบกับประสบการณจากตางประเทศ ดังนั้น จึงควรมีการพัฒนากรอบและแนวทางดานนโยบายเพื่อการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนในระดับนโยบายและกฎหมายดานสิ่งแวดลอมจะตองมีการทบทวนเพื่อใหสามารถตอบสนองตอนโยบายที่มุงไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนได สําหรับในระดับภูมิภาคนอกเหนือไปจากการพัฒนาระดับนโยบาย องคกรกึ่งตุลาการดานสิ่งแวดลอมจะตองถูกตั้งขึ้นโดยกฎหมายเพื่อเขามาทําหนาที่แกไขปญหาความขัดแยงในพื้นที่เขตอุตสาหกรรม สําหรับขอเสนอแนะ คือ ควรนําแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนพื้นฐานสําหรับการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน ควรมียุทธศาสตรและการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน ควรมีกลไกติดตามตรวจสอบในระดับชาติเพื่อการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน ควรมีการพัฒนากลไก มาตรการและเครื่องมือของภาครัฐ เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหเกิดระบบการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน

4. โครงการยุติธรรมชุมชนโดยชุมชนทองถิ่น จังหวัดเชียงใหมและลําพูน. / โดย อรพินท สุวัณณปุระ. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551.

รายงานวิจัยฉบับนี้ เปนการศึกษายุติธรรมชุมชน โดยการมีสวนรวมของชุมชนอยางแทจริง รวมท้ังวิเคราะหและหาขอจํากัดของยุติธรรมชุมชน รวมทั้งรูปแบบการสนับสนุนที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดโครงการวิจัยยุติธรรมชุมชนของสํานักงานคุมประพฤติจังหวัดเชียงใหมและลําพูน วิธีการศึกษาเปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมในรูปแบบของงานวิจัยเพื่อทองถ่ิน เก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณแบบเปนทางการและไมเปนทางการ โดยยุติธรรมชุมชนมีมาตั้งแตอดีตมีเพียงบางชวงบางตอนที่ถูกบดบังดวยกระบวนการจัดการภาครัฐและปจจุบันการจัดการความยุติธรรมโดยภาครัฐประสบปญหา จึงไดเบี่ยงเบนคดี

Page 24: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 19

ออกมาใชกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและเรงพัฒนาความรวมมือของชุมชนเขามามี สวนรวมในการจัดการความยุติธรรม ขณะเดียวกันชุมชนไดพัฒนาการมีสวนรวมขึ้นมาจัดการความยุติธรรมดวยตนเอง ดังนั้น การมีสวนรวมในการอํานวยความยุติธรรมระหวางภาครัฐและภาคประชาชนจึงเปนความตองการของทั้งสองฟากฝงเพื่อใหชุมชนสามารถดูแลรักษาความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชุมชนของตนเอง

5. โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพขององคกรทางการศึกษาดวยการ

จัดการความรู. / โดย เลขา ปยะอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,

2551. งานวิจัยเลมนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารูปแบบและปจจัยแหงความสําเร็จในการจัดการความรูของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่สงผลใหองคกรเหลานี้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในการดําเนินงานตามพันธกิจ เพื่อศึกษาการแพรขยายการจัดการความรูไปสูสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น ๆ รวมทั้งเพื่อเสนอนโยบายและยุทธศาสตรการสงเสริมสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใหใชการจัดการความรูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององคกร ผลการวิจัยพบวารูปแบบการจัดการความรูขององคกรทั้ง 95 แหง แบงออกเปน 3 กลุม คือ กลุมรูปแบบวงจรความรู ซ่ึงมีองคประกอบดานวิสัยทัศนองคกร กระบวนการจัดการความรูและคลังความรูเพื่อการใชและเผยแพร กลุมรูปแบบการจัดการความรูที่ดําเนินการตามตนแบบของสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม (สคส.) และกลุมที่สามเปนรูปแบบผสมผสานแนวคิดกลุมที่หนึ่งและสองเขาดวยกัน สวนปจจัยแหงความสําเร็จที่เห็นเดนชัดจากองคกรที่ปฏิบัติไดดีเลิศ ไดแก ความพรอมและความมุงมั่นของผูบริหารทุกระดับ ความเขมแข็งและความมุงมั่นของทีมแกนนํานักจัดการความรู การเปดใจและการทําความเขาใจเรื่องการจัดการ ความรูของบุคลากร สวนการแพรขยายการจัดการความรูไปสูองคกรอื่นเห็นไดชัดเจนวาเปนการแพรขยายทั้งในระดับบุคคล ระดับองคกร โดยใชการติดตอส่ือสารทุกรูปแบบ รวมทั้งการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบเว็บไซตและบล็อกไซต สวนขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย คือ กําหนดทิศทางของการจัดการความรูในองคกรใหเปนที่เขาใจรวมกันและตรงกัน การทําใหการถายโอนความรูและกระบวนการเรียนรูในองคกรเข็มแข็ง การสรางวัฒนธรรมองคกรแหงการเรียนรูและการแลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดตั้งศูนยการจัดการความรูและการสรางเครือขายระหวางบุคคล นอกจากขอเสนอแนะเชิงนโยบายในระดับทั่วไปสําหรับองคกรทางการศึกษาแลว ยังมีขอเสนอแนะเชิงนโยบายแกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสําหรับสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

Page 25: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 20

6. โครงการเศรษฐศาสตรการเมืองเรื่องวาดวยการปฏิรูปเศรษฐกิจของไทย : การศึกษา

เปรียบเทียบ พ.ศ.2497-2506 กับ พ.ศ.2540-2550. / โดย อภิชาต สถิตนิรามัย. กรุงเทพฯ :

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551. งานวิจัยนี้วาดวยความเขมแข็ง/ความออนแอของรัฐนั้นเปนตัวแปรที่สามารถอธิบายความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจการเมืองไทยไดดี โดยมีความเห็นจากการศึกษาในครั้งนี้วาระดับความเขมแข็งหรือระดับความออนแอของไทยนั้นสามารถอธิบายไดตั้งแตความสําเร็จของการปฏิรูปเศรษฐกิจ ในยุคแรก (2493-2506) กําเนิดของวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรายแรงในป 2540 และความไมสําเร็จของการปฏิรูปเศรษฐกจิในยุคหลัง (2540-2550) กลาวโดยสรุป คือ ความสําเร็จในยุคแรกนี้แยกไมออกจากการที่รัฐไทยถูกปรับเปลี่ยนใหมีความเขมแข็งมากขึ้นในชวงรอยตอระหวางรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงคราม และ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ในขณะที่ความออนตัวของไทยในชวง 2523-2540 นั้นเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ สวนความไมสําเร็จของการปฏิรูปเศรษฐกิจในทศวรรษสุดทายเปนเพราะการปฏิรูปตัวประเทศไทยเองใหเขมแข็งขึ้น นับแตหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ 2535 นั้นไมประสบความสําเร็จ นอกจากนี้แลวงานวิจัยเลมนี้ไดพยามยามดวยวา พลวัตรของไทยในสามยุคขางตนนั้นเปนผลของการเปลี่ยนแปลง/การแตกตัวของพลังทางสังคมกลุมตาง ๆ และการตอสูทางการเมืองของกลุมพลังเหลานี้

7. โครงการสถานการณ ปญหา และอุปสรรคที่เก่ียวของกับความปลอดภัย คุณภาพ ความมั่นคง

และการศึกษาทางดานอาหาร พรอมแนวทางการแกไข. / โดย ประภาพร ขอไพบูลย. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551.

หนวยงานหลักที่มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาหาร คือ กระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงรับผิดชอบในการคุมครองผูบริโภคภายในประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณทําหนาที่ในการควบคุมและดูแลการผลิตขั้นตอน รวมทั้งเปนหนวยงานสนับสนุนการผลิตสินคาทางการเกษตรเพื่อการสงออก นอกจากนี้ยังมีกระทรวงอุตสาหกรรมที่มีหนาที่รับผิดชอบ แตก็ยังไมสามารถคุมครองผูบริโภคไดอยางมีประสิทธิผลที่แทจริง ทั้งนี้ เนื่องจากยังขาดการบูรณาการและการประสานงานเหลานั้น นอกจากนี้ยังขาดนโยบายและยุทธศาสตรเกี่ยวกับความมั่นคงของอาหารทั้งในยามปกติและยามฉุกเฉินที่จะนําพาประเทศใหรอดพนจากวิกฤติตาง ๆ ดังนั้น พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแหงชาติ พ.ศ.2551 จะนําไปสูการจัดตั้งคณะกรรมการอาหารแหงชาติ เพื่อวางนโยบายแหงชาติดานความปลอดภัย ดานอาหาร ความมั่นคงอาหาร คุณภาพอาหารและอาหารศึกษา ดังนั้นจึงไดมีการจัดทําโครงการวิจัยนี้ขึ้น เพื่อเปนขอมูลและแนวทางใหแกคณะกรรมการอาหารแหงชาติที่จะตั้งขึ้นนี้

Page 26: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 21

8. นวัตกรรมและผลงานวิจัยดีเดนในโอกาสครบรอบ 40 ป มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. กรุงเทพฯ : โอ เอส พร้ินติ้งเฮาส, 2551.

หนังสือ นวัตกรรมและผลงานวิจัยดีเดนฯ เลมนี้เนื้อหาเปนการรวบรวมและคัดเลือกผลงาน 40 นวัตกรรมดีเดนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซ่ึงประกอบดวย อนุกรรมการสาขาวิทยาศาสตรภายภาพ วิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อนุกรรมการสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ อนุกรรมการสาขา วิทยาศาสตรชีวภาพ เกษตรศาสตรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อนุกรรมการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตรและสังคมศาสตรประยุกต อาทิ งานวิจัยเร่ือง ผากับวิถีชีวิตชาวไทยมุสลิมในหาจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย โดย ผศ.จุรีรัตน บัวแกว งานวิจัยเร่ือง การศึกษาแรงงานเด็กในงานประมงน้ําลึกและเด็กคัดเลือกปลา จังหวัดปตตานี โดย รศ.มารุต ดําชะอม ฯลฯ เปนตน

9. ปญหาและอุปสรรคการจัดหาประโยชนในที่ราชพัสดุ ศึกษากรณีกฎหมายและแนวทางปฏิบัต ิ

ในสวน ท่ีเก่ียวกับการจัดใหเชา. / โดย วาสิทธิ์ นนทสิน. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย, 2551. รายงานวิจัยฉบับนี้อธิบายถึง ปญหาและอุปสรรคการจัดหาประโยชนในที่ราชพัสดุ ศึกษากรณีกฎหมายและแนวทางปฏิบัติในสวนที่เกี่ยวกับการจัดใหเชา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปญหาการจัดหาประโยชนจากที่ราชพัสดุดวยการจัดใหเชาที่อยูภายใตการบริหารจัดการของกรมธนารักษ ศึกษากฎหมายและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดใหเชาที่ราชพัสดุในปจจุบันที่สงผลกระทบตอการจัดทําประโยชนอยางมีประสิทธิภาพและหาขอสรุปและเสนอแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดหาประโยชนจากที่ราชพัสดุใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปประกอบพิจารณากําหนดนโยบายเกี่ยวกับที่ราชพัสดุใหเกิดประโยชนสูงสุดตอรัฐ โดยแบงเนื้อหาออกเปน บทนํา แนวคิด ที่มาและรูปแบบการจัดหาประโยชนที่ราชพัสดุ กฎหมายและแนวทางปฏิบัติในการจัดใหเชาที่ราชพัสดุปจจุบัน วิเคราะหปญหาการจัดใหเชาที่ราชพัสดุที่ควรปรับปรุง และบทสรุปและขอเสนอแนะ

10. ผลการศึกษาปญหาที่เกิดจากการพัฒนาเขตนิคมอุตสาหกรรม กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรม

มาบตาพุด จังหวัดระยอง. / โดย คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เชียงใหม : คะนึงนิจ

การพิมพ, ม.ป.ป. รายงานวิจัยฉบับนี้เปนการศึกษาถึงปญหาการพัฒนาเขตนิคมอุตสาหกรรม โดยยกตัวอยางกรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหาสองประการ คือ ก) ตองการที่จะชี้ใหเห็นถึงขอจํากัดที่อยูในระบบกฎหมาย ซ่ึงเปนผลกระทบที่เกิดสืบเนื่องมาจากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก และ ข) ตองการที่จะจัดทําขอเสนอตอหนวยงานภาครัฐและภาคประชา

Page 27: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 22

สังคม เพื่อสนับสนุนการเขามามีสวนรวมของประชาชน ชุมชน เพื่อปองกันและแกไขปญหามลพิษที่เกิดจากเขตนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุด แบงเนื้อหาออกเปน 2 สวน คือ บทนํา อธิบายถึง ปญหาดานองคกรและการบริหารงาน ปญหาดานการบังคับใชกฎหมาย แนวทางการปรับปรุงปญหาที่เกิดขึ้น และขอเสนอแนะที่ไดจากการศึกษา และสวนที่ 2 แนวคิดและหลักการรางพระราชบัญญัติคณะกรรมการติดตามและวินิจฉัยช้ีขาดขอพิพาทอันเนื่องมาจากเขตนิคมอุตสาหกรรม พ.ศ. ....

11. พลวัตและการเปลี่ยนแปลงของวรรณกรรมเวียดนามป ค.ศ.1975. / โดย มนธิรา ราโท. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2550.

งานวิจัยเลมนี้มุงวิเคราะหพลวัตและการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในวรรณกรรมเวียดนามหลังป ค.ศ.1975 ปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จของวรรณกรรมยุคโดยเมย (ป ค.ศ.1986-1989) และแนวโนมของพัฒนาการวรรณกรรมเวียดนามในยุคตอมา ทั้งนี้ผูวิจัยเสนอวาวรรณกรรมเวียดนามหลังป ค.ศ.1975 สามารถแบงเปน 3 ชวง ดังนี้ ยุคกอนการประกาศนโยบายปฏิรูปทางเศรษฐกิจ (โดยเมย) ระหวางป ค.ศ.1975-1986 ยุควรรณกรรมโดยเมยระหวางป ค.ศ.1986-1992 และยุคหลังโดยเมยหรือหลังป ค.ศ.1992 พรอมกับปรากฏการณเกิดนักเขียนหนาใหมในวงการวรรณกรรมเวียดนาม ทั้งนี้เปนนาสังเกตวาการศึกษาวรรณกรรมเวียดนามยุคหลังสงครามหรือหลังป ค.ศ.1975 นั้นใหความสําคัญวรรณกรรมในชวงโดยเมย มากเปนพิเศษในขณะที่วรรณกรรมในชวงป 1975-1986 มักถูกมองวาเปนเพียงชวงรอยตอระหวางวรรณกรรมยุคสงครามกับวรรณกรรมโดยเมย ความสําเร็จของวรรณกรรมในยุคโดยเมยและการประเมินวรรณกรรมในยุคกอนนโยบายโดยเมยอยางผิวเผินนั้นไดนํามาซึ่งความเขาใจอันคลาดเคลื่อนวากระบวนการ "เปลี่ยนใหม” หรือ “โดยเมย” ในวรรณกรรมเวียดนามนี้เปนเพียงพลพลอยไดของการปฏิรูปทางเศรษฐกิจและสังคม แตงานวิจัยเลมนี้ผูวิจัยเสนอวากระบวนการเปลี่ยนใหมในวรรณกรรมนั้นเริ่มกอนที่จะมีการประกาศนโยบายการปฏิรูปทางเศรษฐกิจในป ค.ศ.1986 เสียอีก พัฒนาการของวรรณกรรมเวียดนามในยุคโดยเมยจึงไดไดเกิดขึ้นโดยฉับพลัน หากแตมีพื้นฐานมาจากความพยามของผูที่อยูในวรรณกรรมของเวียดนามอันประกอบดวย นักเขียน นักวิจารณและนักวิชาการ

12. พฤติกรรมเสี่ยงและการปองกันในนักเรียนวัยรุนไทยและญี่ปุน. / โดย นวลฉวี ประเสริฐสุข. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยวิทยาลัยศิลปากร, 2551.

งานวิจัยนี้เปนการวิจัยขามวัฒนธรรม (Cross-Cultural Research) ที่มุงศึกษาเปรียบเทียบ

พฤติกรรมเส่ียงของนักเรียนวัยรุนญี่ปุน 6 ดาน ไดแก 1) พฤติกรรมเสี่ยงดานการเรียน 2) พฤติกรรมเสี่ยงดานจริยธรรม 3) พฤติกรรมเสี่ยงดานสิ่งเสพติด 4) พฤติกรรมเสี่ยงดานพฤติกรรมทางเพศ 5) พฤติกรรมเสี่ยงดานความกาวราวรุนแรง 6) พฤติกรรมเสี่ยงดานสุขอนามัยและศึกษาการดําเนินการปองกันพฤติกรรม

Page 28: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 23

เสี่ยงในนักเรียนวัยรุนของไทยและญี่ปุน ผลการวิจัยพบวา นักเรียนวัยรุนไทยมีพฤติกรรมเสี่ยงดานการเรียนอยูในระดับปานกลาง สวนดานจริยธรรม ส่ิงเสพติด พฤติกรรมทางเพศ ความกาวราวรุนแรง สุขอนมัยและพฤติกรรมเสี่ยง โดยรวมอยูในระดับนอย ในขณะที่นักเรียนวัยรุนญี่ปุนมีพฤติกรรมเสี่ยงดานการเรียน จริยธรรมอยูในระดับปานกลาง สวนดานสิ่งเสพติด พฤติกรรมทางเพศ ความกาวราวรุนแรง สุขอนามัยและพฤติกรรมเสี่ยงอยูในระดับนอย ผูวิจัยมีขอเสนอแนะใหปองกันพฤติกรรมเส่ียงในวัยรุน โดยโรงเรียนดําเนินงานในลักษณะการปองกันเบื้องตนและการปองกันระดับสองดวยการจัดกิจกรรมหรือโครงการที่สงเสริม พัฒนา ชวยเหลือและแกไขปญหาใหกับนักเรียนเพื่อปองกันไมใหนักเรียนปกติเกิดพฤติกรรมเสี่ยง และทําใหนักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงกลับมาเปนนักเรียนกลุมปกติตามที่โรงเรียนและสังคมตองการตอไป

13. มาตรการปองกันการทุจริตแนวใหม ศึกษากรณี “การทุจริตนโยบายและผลประโยชน

ทับซอน”. / โดย สําเรียง เมฆเกรียงไกร. กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2551. รายงานวิจัยฉบับนี้อธิบายถึงมาตรการปองกันการทุจริตแนวใหม ศึกษากรณี “การทุจริตเชิงนโยบายและผลประโยชนทับซอน” ซ่ึงมุงศึกษาถึงปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ของมาตรการปองกันการทุจริตคอรรัปชั่นที่ผานมาขององคกรตาง ๆ ในประเทศไทย และมาตรการในการปองกันการทุจริตแนวใหมในการหามาตรการแกไขปญหาการทุจริตคอรรัปชั่นเชิงนโยบายและผลประโยชนทับซอน โดยการศึกษาตัวอยางจากประเทศที่มีประสิทธิภาพดานการปองกันและปราบปรามการทุจริต และมีวัฒนธรรมใกลเคียงกับประเทศไทย ไดแก เขตการปกครองพิเศษฮองกงและประเทศสิงคโปร เพื่อนํามาเปนแนวทางในการพัฒนาการรูปแบบ วิธีการในการปองกันการทุจริตคอรรัปชั่นของประเทศไทยใหมีความเปนสากล แบงเนื้อหาออกเปน บทนํา การทุจริตคอรรัปชั่นเชิงนโยบายและผลประโยชนทับซอน : ศึกษาปญหาและ

อุปสรรคในการปองกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศไทย การทุจริตเชิงนโยบายและผลประโยชนทับซอน : ศึกษาการปองกันและปราบปรามการทุจริตของตางประเทศ แนวทางในการพัฒนามาตรการใน

การปองกันการทุจริตแนวใหมเพื่อแกไขปญหาการทุจริตเชิงนโยบายและผลประโยชนทับซอน สรุปความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากการประชุมกลุมยอยตามโครงการศึกษาวิจัยเร่ืองมาตรการการปองกันการทุจริตแนวใหม ศึกษากรณี “การทุจริตเชิงนโยบายและผลประโยชนทับซอน” สรุปและขอเสนอแนะ

Page 29: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 24

14. มายาคติและความรุนแรงของภาพแสดงแทน “ชาวเขา” ในแบบเรียนบทเพลง และภาพยนตร. / โดย สุนทร สุขสราญจิต. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2551.

งานวิจัยนี้พยายามทําความเขาใจกระบวนการสรางภาพแสดงแทน “ชาวเขา” ในสื่อสารมวลชน 3 กลุม อันไดแก แบบเรียนชั้นประถมในฐานะตัวแทนของรัฐ ภาพยนตรในฐานะตัวแทนของชนชั้นกลางและบทเพลงปกาเกอะญอ ในฐานะตัวแทนของชาวเขา โดยการวิเคราะหภาพแสดงแทนชาวเขาในแตละส่ือจะพิจารณาถึงเทคนิคกลไกในการสรางนัยยะ และการเกี่ยวโยงกับประเด็นทางสังคม การเมืองและวัฒนธรรมในบริบทยุคตาง ๆ ของสังคมไทย ประกอบกับสังคมโลกแลวนํามาเปรียบเทียบกันวาภาพชาวเขาในแตละส่ือและในแตละยุคนั้นมีความสืบเนื่องและขัดแยงกันอยางไรบาง ทั้งนี้จะอาศัยมโนทัศน วาดวยการสรางภาพแสดงแทนมายาคติรุนแรง ตลอดจนการวิเคราะหวรรณกรรม เชิงโครงสรางนิยมเปนตัวชวยในการอธิบาย

15. รายงานผลการศึกษาเพื่อจัดทําขอเสนอในการปรับปรุงแกไขกฎหมายที่เปนอุปสรรคตอการ

สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมในเขตมาบตาพุดและจังหวัดระยอง. / โดย คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2550.

หนังสือเลมนี้เปนการรายงานผลการศึกษาเพื่อจัดทําขอเสนอในการปรับปรุงแกไขกฎหมายที่เปนอุปสรรคตอการสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมในเขตมาบตาพุดและจังหวัดระยอง การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุ ประสงคเพื่อตองการที่จะผลักดันใหเกิดการสรางระบบการบริหารจัดการเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ที่มีกฎหมายรับรองไวอยางชัดเจน ทั้งนี้เพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ซ่ึงเปนผลกระทบโดยตรงอันเนื่องมาจากการพัฒนาพื้นที่ใหเปนเขตนิคมอุตสาหกรรม ซ่ึงในปจจุบันยังไมมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและสามารถใหความเปนธรรมแกประชาชนผูไดรับผลกระทบไดอยางแทจริง แบงเนื้อหาเปน 4 สวน คือ สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับพัฒนาการพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด สวนที่ 2 แนวคิดที่ใชในการศึกษา สวนที่ 3 กรณีศึกษาเกี่ยวกับปญหาจากภาครัฐ ปญหาที่เกิดกับภาคประชาชนและปญหาผลกระทบทางสิ่งแวดลอมของประชาชนจากการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบ ตาพุด และสวนที่ 4 บทสรุป

Page 30: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 25

หนังสือหมวดสิ่งพิมพ

รัฐบาล

1. รายงานประจําป 2550 กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม. / โดย กระทรวงยุติธรรม กรมบังคับคดี. กรุงเทพฯ : กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม, ม.ป.ป.

รายงานประจําป 2550 ของกรมบังคับคดี ฉบับนี้เนื้อหาเปนการสรุปผลการดําเนินงานในรอบป 2550 ของหนวยงานโดยมีวัตถุประสงคใหบุคคลทั่วไปไดรับทราบถึง บทบาท ภารกิจที่รับผิดชอบ โดยรายละเอียดของเนื้อหาในเลมนี้ประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร รายนามและภาพของผูบริหาร ผังการแบงสวนราชการ รวมทั้งอัตรากําลังของบุคลากรภายในหนวยงานป 2550 พรอมดวยรายงานสถิติคดีของกรมบังคับคดี คํารับรองการปฏิบัติราชการ ผลการดําเนินงาน ตลอดจนงบประมาณของหนวยงาน น อกจากนี้ยังมีบทความพิเศษ ไดแก โครงการกรมบังคับคดีสัญจรของวัดรวมเฉลิม พระเกียรติฯ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) รองขัดทรัพยโดยทุจริต...ผิดกฎหมายหลาย

กระทง การประชุมองคการเจาพนักงานผูปฏิบัติงานดานคดีลมละลายระหวางประเทศ (IAIR) การดูงาน

ตลาดหลักทรัพยและการบังคับคดีกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) พรอมกันนี้ยังไดรวบรวมผล

การดําเนินงานที่ผานมาในรอบป ตลอดจนขอมูลสถิติตาง ๆ เพื่อนําไปใชในการวิเคราะหหรืออางอิงเพื่อเปนประโยชนตอหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน

2. รายงานประจําป 2550 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. / โดย กระทรวงทรัพยากร

ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, ม.ป.ป.

รายงานประจําป 2550 ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ฉบับนี้เนื้อหาเปนการสรุปผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมาของหนวยงาน โดยมีวัตถุประสงคในการจัดทําเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธถึงบทบาท ภารกิจและอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อใหสาธารณชนทั่วไปและบุคคลในหนวยงานไดรับทราบและสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนในการศึกษา คนควา อางอิง โดยที่รายละเอียดของเนื้อหาภายในเลมนี้สามารถแบงออกไดเปน 4 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวมวาดวย ขอมูลพื้นฐานงบประมาณป 2550 และผลการใชจายงบประมาณป 2550

Page 31: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 26

สวนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการวาดวยผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการป 2550 ผลการปฏิบัติราชการภายใตยุทธศาสตรกระทรวงประจําป 2550 สวนที่ 3 รายงานการเงินวาดวยงบแสดงฐานะทางการเงิน งบแสดงรายไดและคาใชจาย สวนที่ 4 ผลงานสําคัญอื่นวาดวยกิจกรรมสําคัญ ตาง ๆ ในรอบป 2550

3. รายงานประจําป 2550 บรรษัทตลาดรองสินเชื่อท่ีอยูอาศัย. / โดย บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู อาศัย. กรุงเทพฯ : บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย, ม.ป.ป.

รายงานประจําป 2550 ของบรรษัทตลาดรองสินเชื่อท่ีอยูอาศัย ฉบับนี้เนื้อหาเปนการสรุปผลการดําเนินงานในรอบป 2550 ของหนวยงานโดยมีวัตถุประสงคใหบุคคลทั่วไปไดทราบถึงบทบาท ภารกิจ อํานาจหนาที่ ตลอดจนเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธ โดยในรายละเอียดของเนื้อหา ประกอบดวย โครงสรางองคกร ความเปนมา พันธกิจ และวิสัยทัศน รวมทั้งผลการดําเนินงานป 2550 พรอมดวยบทวิเคราะห ปจจัยและอิทธิพลหลักที่มีผลตอการดําเนินงานในอนาคต การควบคุมและตรวจสอบภายใน รวมถึงแผนวิสาหกิจ การบริหารสารสนเทศ การกํากับดูแล การบริหารความเสี่ยง ตลอดจนรายงานของผูสอบบัญชีและรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้ยังมีภาพและรายนามของคณะกรรมการ พรอมประวัติโดยสังเขป

4. รายงานประจําป 2551 กรมการปกครอง. / โดย กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง. กรุงเทพฯ :

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2552. รายงานประจําป 2551 ของกรมการปกครอง ฉบับนี้เนื้อหาเปนการรวบรวมผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของหนวยงาน โดยจัดทําขึ้นตามแนวทางการจัดทํารายงานการดําเนินงานของรัฐตอสาธารณชนตามมาตรา 16 แหงพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ที่กําหนดใหสวนราชการตองจัดทําแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการและเมื่อส้ินปงบประมาณใหสวนราชการจัดทํารายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติราชการประจําปเสนอตอคณะรัฐมนตรี ซ่ึงเนื้อหาภายในเลมนี้ประกอบดวย สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวมของกรมการปกครองวาดวยขอมูลพ้ืนฐานของหนวยงานและภาพรวมของงบประมาณรายจายตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป 2551 สวนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของหนวยงานวาดวย ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการที่สอดคลองกับผลผลิตตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป 2551 และแผนปฏิบัติราชการ 4 ป รวมถึงผลการปฏิบัติราชการที่สําคัญภายใตแผนปฏิบัติราชการประจําปของกรมการปกครอง สวนที่ 3 รายงานการเงินป 2551 วาดวยงบฐานะทางการเงิน งบรายไดและคาใชจาย รายงานรายไดแผนดินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน

Page 32: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 27

5. รายงานประจําป 2551 กรมการศาสนา. / โดย กระทรวงวัฒนธรรม กรมการศาสนา. กรุงเทพฯ :

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, 2552. เนื้อหาภายในเปนการนําเสนอขอมูลการดําเนินงานของกรมการศาสนาประจําปงบประมาณ 2551 โดยแบงออกเปน 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 เปนขอมูลภาพรวมของหนวยงาน ประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ อํานาจหนาที่ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงคในการดําเนินงาน แนวทางการดําเนินงานโครงสรางของหนวยงาน กรอบอัตรากําลัง งบประมาณ พรอมกับทําเนียบผูบริหารหนวยงาน สวนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการประกอบดวย ผลสัมฤทธ์ิของการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ และผลการปฏิบัติราชการภายใตแผนการปฏิบัติราชการของกรมการศาสนาประจําปงบประมาณ พ.ศ.2551 สวนที่ 3 รายงานการเงินของกรมการศาสนา ประกอบดวย งบแสดงฐานะทางการเงิน ตนทุนการผลิตและกิจกรรมที่ดําเนินการในป 2551

6. รายงานประจําป 2551 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. / โดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. กรุงเทพฯ : กรมทรัพยากรทางทะเลและ

ชายฝง, 2552. รายงานประจําป 2551 ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ฉบับนี้มีวัตถุประสงคในการจัดทําเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธถึงบทบาทและอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อใหสาธารณชนทั่วไปและบุคคลในหนวยงานไดรับทราบและสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนในการศึกษา คนควา อางอิง ซ่ึงในเนื้อหาเปนการรายงานผลการดําเนินงานของหนวยงานในรอบปที่ผานมา โดยแบงรายละเอียดไดดังนี้ สวนที่ 1 เปนภาพรวมของหนวยงานวาดวยแผนยุทธศาสตรหรือแผนกลยุทธของหนวยงานและขอมูลพื้นฐานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง สวนที่ 2 เปนผลการปฏิบัติราชการวาดวย ผลของการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการและผลการปฏิบัติราชการภายใตแผนปฏิบัติราชการ สวนที่ 3 เปนรายงานการเงินของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง วาดวยงบแสดงฐานะการเงินของกรมฯ งบรายไดและคาใชจายและหมายเหตุประกอบงบการเงิน สวนที่ 4 เปนผลงานสําคัญในรอบปงบประมาณ 2551 ประกอบดวย งานดานตางประเทศ รวมถึงโครงการตาง ๆ ของหนวยงาน และในสวนที่ 5 เปนภาพรวมกิจกรรม นอกจากนี้ยังประกอบดวย รายนามพรอมดวยภาพของผูบริหารหนวยงาน

Page 33: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 28

7. รายงานประจําป 2551 ราชบัณฑิตยสถาน. / โดย ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ :

ราชบัณฑิตยสถาน, 2552. รายงานประจําป 2551 ของราชบัญญัติสถาน ฉบับนี้เปนการนําเสนอผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมาของหนวยงาน โดยในเนื้อหากลาวถึง ขอมูลในภาพรวมของหนวยงาน ซ่ึงประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร ทําเนียบผูบริหาร แผนภูมิการแบงสวนราชการ ประวัติความเปนมา หนาที่ สํานักงานในราชบัณฑิตยสถาน การบริหารราชการ อัตรากําลัง ทําเนียบนามและภาพของผูบริหารภายในหนวยงาน รวมถึงกิจกรรมในรอบป 2551 นอกจากนี้ยังมีภาคผนวกซึ่งประกอบดวย ทําเนียบนามราชบัณฑิตยสถาน ภาคีสมาชิก ขาราชการและลูกจาง คณะกรรมการหนวยงานพิเศษและคณะกรรมการวิชาการคณะตาง ๆ ตลอดจนคณะกรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพัฒนา พรอมดวยกิจกรรมพิเศษของราชบัณฑิตยสถานในปงบประมาณ 2551

8. รายงานประจําป 2551 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. / โดย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, 2552. รายงานประจําป 2551 ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ฉบับนี้เปนการรวบรวมพรอมดวยการรายงานผลการดําเนินงานของหนวยงานในรอบปที่ผานมา เพื่อเปนการเผยแพรและประชาสัมพันธถึงบทบาทอํานาจหนาที่ที่รับผิดชอบของหนวยงาน โดยเนื้อหาภายในเลมประกอบดวย รายนามและภาพประกอบของคณะกรรมการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย รวมทั้งรายนามอดีตผูวาการ คณะผูบริหาร ผูเช่ียวชาญพิเศษ คณะกรรมการตรวจสอบ พรอมดวยรูปภาพ ทั้งนี้ยังประกอบดวย ผลงานเดนของหนวยงานในรอบป 2551 วาดวยการวิจัยและพัฒนา การถายทอดเทคโนโลยี การบริการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การพัฒนาองคกร การกํากับดูแลที่ดีขององคกร วว. ตลอดจนผลการดําเนินงานและการวิเคราะหฐานะทางการเงิน พรอมดวยรายชื่อของเอกสารทางวิชาการที่หนวยงานจัดพิมพและผลงานที่ตีพิมพในระดับนานาชาติ

9. รายงานประจําป 2551 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). / โดย สํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2552.

รายงานประจําป 2551 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เลมนี้เนื้อหาเปนการรายงานผลการดําเนินงานของหนวยงานในรอบปที่ผานมา ซ่ึงรายละเอียดของเนื้อหาเปนการกลาวถึง นโยบายและการบริหารจัดการงานวิจัยแบบ สกว. โครงสรางการบริหารงาน ยุทธศาสตรการบริหารจัดการงานวิจัย

Page 34: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 29

นวัตกรรมบริหารงานวิจัยป 2551 และรวมถึง 24 ผลงานวิจัยเดนของหนวยงานในรอบปที่ผานมา นอกจากนี้ยังไดกลาวถึง ผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของฝาย เชน การสนับสนุนดานวิจัยและพัฒนา การสรางและพัฒนากําลังคนดานวิจัย ตลอดจนผลการประเมินการดําเนินงานของ สกว. ในรอบปที่ผานมา โดย TRIS

พรอมดวยขอมูลผลผลิต ซ่ึงเปนการสรุปภาพรวมการสนับสนุนโครงการปงบประมาณ 2551 ผลการดําเนินงานภายใตตัวช้ีวัดตามนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ นักวิจัยกับรางวัลเกียรติยศ พรอมรายชื่อส่ิงพิมพที่ผลิตโดยหนวยงาน

10. รายงานประจําป 2551 สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค. / โดย สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค

สํานักนายกรัฐมนตรี, 2552. รายงานประจําป 2551 ของสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ฉบับนี้เนื้อหาเปนการสรุปผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมาของหนวยงาน โดยมีวัตถุประสงคในการจัดทําเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธถึงบทบาท ภารกิจ และอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อใหสาธารณชนทั่วไปและบุคคลในหนวยงานไดรับทราบและสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนในการศึกษา คนควา อางอิง โดยที่รายละเอียดของเนื้อหาภายในเลมสามารถแบงออกไดเปน 3 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 กลาวถึงขอสรุปในภาพรวมของสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภควาดวย อํานาจหนาที่ การแบงสวนราชการ แผนภูมิองคกรตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545 วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร เปาประสงค และแผนภูมิองคกรคุมครองผูบริโภค สวนที่ 2 กลาวถึง รายงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2551 รวมถึงการรายงานผลการดําเนินงานคุมครองผูบริโภค วาดวยการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ การดําเนินการงานคุมครองผูบริโภคของสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค การพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายดานการคุมครองผูบริโภค การดําเนินงานตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พรอมดวยตัวอยางการดําเนินการแกไขปญหาใหแกผูบริโภค สวนที่ 3 กลาวถึงรายงานการเงินของสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2511 วาดวยงบแสดงฐานะการเงิน งบรายได คาใชจาย ผลการวิเคราะหแนวนอน ตลอดจนหมายเหตุประกอบงบการเงิน นอกจากนี้ในภาคผนวกจะเปนผลการดําเนินคดีตามมติคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2551

Page 35: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 30

11. รายงานประจําป 2550 สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. / โดย สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัด

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, ม.ป.ป. รายงานประจําป 2550 ของสํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ฉบับนี้วัตถุประสงคในการจัดทําเพื่อเปนการประชาสัมพันธและเผยแพรผลการดําเนินงานของหนวยงานในรอบปที่ผานมา โดยแบงเนื้อหาในการนําเสนอ ไดแก สวนที่ 1 เปนขอมูลภาพรวมของหนวยงาน ประกอบดวย ขอมูลพื้นฐาน วิสัยทัศนและพันธกิจ เปาหมายการใหบริการและกลยุทธของหนวยงานประจําป 2550 พรอมดวยงบประมาณรายจายและผลการใชจายงบประมาณประจําป พ.ศ.2550 สวนที่ 2 เปนผลการปฏิบัติราชการประกอบดวย ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการป 2550 และผลการปฏิบัติราชการภายใตกลยุทธของสํานักงานปลัดฯ ป 2550 ตามกลยุทธทั้ง 6 สวนที่ 3 เปนการรายงานการเงิน ประกอบดวย รายละเอียดทางสถานะทางการเงิน ตนทุนผลผลิตและกิจกรรม การวิเคราะหทางการเงิน สวนที่ 4 เปนผลงานสําคัญอ่ืน ๆ เชน โครงการสํารวจทรัพยากรทางทะเลและชายฝงโดยใชอากาศยาน การจัดตั้งศูนยอํานวยการประสานงานการปองกันและแกไขภัยพิบัติฉุกเฉิน และเรื่องรองทุกขกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้มีทําเนียบนามผูบริหารสํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

12. ผลการปราบปรามยาเสพติดท่ัวประเทศ ประจําป พ.ศ.2551. / โดย กระทรวงยุติธรรม สํานักงาน

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด. กรุงเทพฯ : สํานักงานปราบปรามยาเสพติด,

2552. ผลการปราบปรามยาเสพติดทั่วประเทศ ประจําป 2551 เลมนี้เนื้อหาเปนการรายงานผลการปราบปรามยาเสพติด รวมถึงสถานการณยาเสพติดภาพรวมในรอบปที่ผานมา เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธใหบุคคลทั่วไปที่สนใจไดรับทราบถึงบทบาทหนาที่ที่ไดรับผิดชอบของหนวยงาน พรอมกับสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนในการศึกษาคนควาอางอิง ซ่ึงการนําเสนอในรายละเอียดของเนื้อหา ประกอบดวย ผลการดําเนินการปราบปรามยาเสพติด เชน การจับกุมคดีรายสําคัญผูตองหาคดียาเสพติดรายใหม ความรวมมือระหวางประเทศ การลักลอบสงยาเสพติดทางพัสดุ/ไปรษณียภัณฑ ตลอดจนการดําเนินคดียาเสพติดชั้นอัยการ-ศาล การยึดทรัพยสินในคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด รวมทั้งสถิติของผูตองขังในคดียาเสพติด

Page 36: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 31

13. รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2551. / โดย ธนาคารแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ธนาคารแหง

ประเทศไทย, 2552. รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2551 ของธนาคารแหงประเทศไทย ฉบับนี้เนื้อหาเปนการสรุปผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมาของหนวยงาน โดยมีวัตถุประสงคในการจัดทําเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธถึงบทบาทและอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อใหสาธารณชนทั่วไปและบุคคลในหนวยงานไดรับทราบและสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนในการศึกษา คนควา อางอิง โดยสามารถแบงรายละเอียดในการนําเสนอของเนื้อหาออกไดดังนี้ สวนที่ 1 ภาคสรุปเปนการสรุปภาวะเศรษฐกิจของไทยตลอดป 2551 ที่ผานมา สวนที่ 2 เกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจป 2551 วาดวยภาคการเกษตร อุตสาหกรรม บริการ การตางประเทศ ภาวะแรงงาน การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน รวมถึงการลงทุนในภาคเอกชน ตลาดทุน สวนที่ 3 มาตรการเศรษฐกิจสําคัญในป 2551 วาดวยมาตรการการเงินในดานตาง ๆ อาทิ อัตราดอกเบี้ย ตลาดการเงิน ระบบการชําระเงิน สินเชื่อ การกํากับและพัฒนาสถาบันการเงิน สวนที่ 4 การดําเนินงานของธนาคารแหงประเทศไทยในป 2551 ประกอบดวย การดําเนินงานเกี่ยวกับเงินสํารองทางการและการพิมพธนบัตร กิจการธนาคาร กิจการในฐานะตัวแทนกระทรวงการคลัง การเปนตัวแทนของประเทศไทยในองคกรและเวทีความรวมมือระหวางประเทศ การดําเนินงานดานกฎหมาย การดําเนินการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ การดําเนินงานของสํานักงานภาค รวมทั้งการวางแผนและงบประมาณ การบริหารความเสี่ยง

Page 37: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

สาระสังเขปหนังสือใหม กรกฎาคม 2552

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ หนา 32

หนังสือหมวดอางอิง

1. จดหมายเหตุประเทศไทย พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : กระทรวงวัฒนธรรม, 2552.

จดหมายเหตุประเทศไทย พุทธศักราช 2551 เลมนี้เปนหนังสือที่บันทึกเหตุการณที่เกี่ยวกับประเทศไทย และเปนการบันทึกเฉพาะวันที่มีเหตุการณสําคัญเกิดขึ้นเทานั้น โดยเรียงลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้นตามเดือนป บันทึกตามขอเท็จจริง ทั้งเหตุการณดานดีงามนาชื่นชมและเหตุการณรายที่เปนพิบัติภัยจากการกระทําของธรรมชาติและการกระทําของมนุษย ทั้งนี้เนื้อหาภายในจะประกอบดวย บทนํา โดย บทนําจะเปนการบันทึกขอมูลจําเพาะที่สําคัญเกี่ยวกับประเทศไทยในหวงปพุทธศักราช 2551 ไดแก ขอมูลจําเพาะเกี่ยวกับชื่อประเทศ ธงชาติไทย ระบอบการปกครอง องคพระประมุข การบริหารประเทศ รายนามนายกรัฐมนตรี เมืองหลวง สถานที่ตั้ง พื้นที่ประเทศ ตัวช้ีวัดที่สําคัญ การปกครองสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถ่ิน สถิติการนับถือศาสนาและสัญลักษณของประเทศไทย เปนตน เหตุการณสําคัญแตละเดือน รายการเหตุการณสําคัญในเดือนนั้น ๆ ซ่ึงจะเปนการเรียงลําดับตามวันที่เกิดเหตุการณกอน-หลัง รายละเอียดจะประกอบดวย วันเดือนป และช่ือเร่ืองโดยท่ีผูอานสามารถทราบไดวาเหตุการณเกี่ยวกับเรื่องอะไร นอกจากนี้ยังมีดัชนีคําคนเหตุการณของจังหวัดตาง ๆ ทายเลมเพื่อสืบคนเหตุการณสําคัญของจังหวัด โดยไดจัดเรียงตามลําดับตัวอักษรของจังหวัด

Page 38: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

ภาคผนวก

[1]

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช

เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชโอรสพระองคเดียวใน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์

พระบรมราชินีนาถ ทรงเปนสยามมกุฎราชกุมารพระองคแรก ในสมัยการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทย

พระราชประวัติ

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ

สยามมกุฎราชกุมาร มีพระนามเดิมวา สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ

เจาฟาวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธํารง

สุบริบาล อภิคุณูประการมหิตตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรรางกูร

กิตติสิริสมบูรณสวางควัฒน บรมขัตติยราชกุมารี เปนพระราช

โอรสพระองคเดียวในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ

พลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

พระราชสมภพ เมื่อวันจันทรที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2495 เวลา

17 นาฬิกา 45 นาที ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ขณะเมื่อทรงพระราชสมภพนั้นศาสตราจารยหมอม

ราชวงศสุมนชาติ สวัสดิกุล ไดบรรยายถึงบรรยากาศกอนเวลาพระราชสมภพ ตราบจนถึงนาทีอันเปนมงคลฤกษ

เสด็จพระราชสมภพวา “....วันนี้ ครึ้มฟาครึ้มฝนตั้งแตเชา ฝนไมไดตกมานาน นายแพทยผูถวายการประสูติเขา

ประจําที่สักครูก็ประสูติพระราชกุมาร เวลา 17 นาฬิกา กับ 44 นาที ในนาทีเดียวกันนั้นเอง ฝนที่แลงมาตลอด

ฤดูกาลก็เร่ิมโปรยปรายละอองลงมาดูคลาย ๆ ฟาก็รูเห็นเปนใจกับการประสูติคร้ังนี้ อารามดีใจสมประสงคของ

Page 39: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

ภาคผนวก

[2]

ดวงใจทุก ๆ ดวง นายแพทยที่ถวายการประสูติ ซ่ึงพรอมที่จะบอกแกที่ประชุม ณ พระที่นั่งอัมพรสถานวา พระราช

โอรส หรือ พระราชธิดา กลาวออกมาดวยเสียงอันตื่นเตนกังวานวา ผูชาย แทนที่จะวา พระราชโอรส ฝนโปรยอยู

ตลอดเวลา แตรสังขดุริยางคเริ่มประโคม ทหารบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีปนใหญทั้งบกและเรือยิงสะเทือน

เล่ือนล่ัน เสียงไชโยโหรองก็ดังอยูสนั่นหวั่นไหว สมใจประชาชนแลว....ดวงใจทุกดวงมีความสุข......”

พระราชสมโภชเดือน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหจัดพระราชพิธีสมโภชเดือนขึ้นพระอูขึ้น ณ พระที่นั่งอัมพร

สถาน พระราชวังดุสิต ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2495 โดยสมเด็จพระวชิรญาณวงศ สมเด็จพระสังฆราชเจาทรง

เปนประธานเจริญพระพุทธมนตในเย็นวันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2495 เชาวันรุงขึ้น (15 กันยายน) จึงมีพิธีสงฆและพิธี

พราหมณในหองพิธี เร่ิมดวยพอถึงพระฤกษ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงจรดพระกรรบิดกริบพระเกศา ทรง

เจิม ทรงผูกดวยพระขวัญ พระสงฆสวดชัยมงคลคาถา พราหมณประกอบพิธีลอยกุง ปลาทอง มะพราวเงิน มะพราว

ทองลงในพระขันสาคร แลวพระสงฆถวายอดิเรกถวายพระพรลา พระมหาราชครูเชิญเสด็จขึ้นพระอูและเหกลอม

เปดศิวาลัยไกรลาศตามประเพณีพิธีของพราหมณ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงวางพระราชภัณฑลงในพระอู

ตามพระราชประเพณีแลว พระมหาราชครูเชิญสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณฯ ขึ้นพระอูแลว พระบรม

วงศานุวงศและขาทูลละอองธุลีพระบาทเวียนเทียนครบรอบตามประเพณี สภาวัฒนธรรมแหงชาติไดจัดขับไมมโหรี

ขับกลอมถวายพระพรในวาระนี้ดวย ในการนี้มีการถายทอดเสียงในพระราชพิธีทางวิทยุไปทั่วประเทศ ตอมาเมื่อ

วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2515 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดมีพระบรมราชโองการประกาศสถาปนา สมเด็จพระ

เจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณ ขึ้นดํารงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร มีพระ

นามาภิไธย ตามจารึกพระสุพรรณบัฏวา

“สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตยสมบูรณสวางควัฒฯ

วรขัตติยราชสันตติวงศ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศสยุพราชวิสุทธิ สยามมกุฎราชกุมาร” ในมงคลวาระนั้น

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไดถวายสัตยปฏิญาณในการพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยา ณ พระ

อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซ่ึงแสดงถึงน้ําพระราชหฤทัยที่ทรงมุงมั่นจะบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อชาติ

บานเมือง และประชาชนชาวไทย เปนที่ซาบซึ้งประทับใจพสกนิกรอยางยิ่ง ดังความวา “ขาพระพุทธเจาขอ

Page 40: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

ภาคผนวก

[3]

พระราชทานกระทําสัตยปฏิญาณสาบานตอประเทศชาติและประชาชนชาวไทย เฉพาะพระพุทธ พระธรรม

พระสงฆ เฉพาะพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรทามกลางสันนิบาตนี้วา ขาพเจาผูเปน สยามมกุฎราชกุมาร จะรักษา

เกียรติยศและอริยศักดิ์ ซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานไวดวยชีวิต จะภักดีตอชาติบานเมือง จะซื่อสัตย

ประชาชน จะปฏิบัติภาระหนาที่ทุกอยาง โดยเต็มกําลังสติปญญา ความสามารถ และโดยความเสียสละเพื่อความ

เจริญสงบสุขและความมั่นคงไพบูลยของประเทศไทย จนตราบเทาชีวิตรางกายจะหาไม”

พระราชภารกิจดานการศึกษา

ทรงสําเร็จการศึกษาขั้นตนจากโรงเรียนจิตรลดา แลวจึงเสด็จฯ ไปทรงศึกษาตอที่โรงเรียนคิงสมีด แควน

ซัสเซกส และโรงเรียนมิลฟลด แควนซอมเมอรเซท ประเทศอังกฤษ จากนั้นทรงไปศึกษาตอที่โรงเรียนคิงสสกูล

ซิดนีย และสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยการทหารดันทรูน แคนเบอรรา ประเทศออสเตรเลีย หลังจากเสด็จกลับ

ประเทศไทย ทรงรับราชการทหารและศึกษาตอที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก รุนที่ 46 เมื่อ พ.ศ.2520 และทรง

ผนวช เมื่อ พ.ศ.2521 จากนั้นทรงศึกษาที่คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รุนที่ 2 เมื่อ พ.ศ.2525

และหลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร จากประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ.2533

พระราชภาระหนาที่ทางราชการ

9 ธันวาคม พ.ศ.2518 ทรงเขารับราชการเปนนายทหารประจํากรมขาวทหารบกกระทรวงกลาโหม

6 ตุลาคม พ.ศ.2521 ทรงดํารงตําแหนงรองผูบังคับกองพันทหารมหาดเล็กรักษาพระองค กรมทหาร

ราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค

28 พฤศจิกายน พ.ศ.2523 ทรงดํารงตําแหนงผูบังคับกองพัน ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค

13 กุมภาพันธ พ.ศ.2527 ทรงดํารงตําแหนงผูบังคับการ กรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค

Page 41: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

ภาคผนวก

[4]

30 กรกฎาคม พ.ศ.2531 ทรงดํารงตําแหนงผูบัญชาการหนวยบัญชาการ ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค

9 มกราคม พ.ศ.2535 ทรงดํารงตําแหนงผูบัญชาการ หนวยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค สํานักผูบัญชาการทหารสูงสุด

4 พฤษภาคม พ.ศ.2537 ทรงปฏิบัติหนาที่ครูการบินเครื่องบินขับไลแบบเอฟ-5 อี/เอฟ

พระยศทางทหาร

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงดํารงตําแหนงพลเอก สามเหลาทัพ คือ

พระยศ พลเอก ของกองทัพบกไทย

พระยศ พลเรือเอก ของกองทัพเรือไทย

พระยศ พลอากาเอก ของกองทัพอากาศไทย

พระราชภารกิจดานการฝกอบรมทางทหาร

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณฯ ทรงอบรมหลักสูตรการขับเครื่องบินขับไลทางยุทธวิธีช้ันสูง จากฝูงบินที่ 425 ฐานบินวิลเลียม มลรัฐแอริโซนา สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ.2523, 2526 และ 2534 ทรงพระปรีชาสามารถขับเครื่องบินหลายรุนดวยพระองคเอง เชน เอฟ-5 เอฟ-16 เฮลิคอปเตอร นอกจากนี้ยังทรงปฏิบัติหนาที่ครูการบินใหกับนักบินของกองทัพอากาศไทย

พระราชภารกิจดานความมั่นคงของประเทศ

ในชวงที่เกิดเหตุการณคุกคามความสงบของประชาชนและความมั่นคงของประเทศไทย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมารไดทรงปฏิบัติพระราชภารกิจดานการทหาร โดยทรงเขารวมปฏิบัติการรบในการตอตานการกอการรายบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย รวมทั้งการคุมกันพื้นที่ในบริเวณรอบคายผูอพยพชาวกัมพูชาที่เขาลาน จังหวัดตราด

Page 42: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

ภาคผนวก

[5]

พระราชภารกิจทางพระศาสนา

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ไดทรงแสดงพระองคเปน พุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2509 กอนเสด็จพระราชดําเนินไปทรงศึกษาตอที่ประเทศอังกฤษ

สําหรับพระราชภารกิจทางดานพระพุทธศาสนานั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคไปปฏิบัติพระราชทางพระพุทธศาสนาอยางสม่ําเสมอ เชน ทรงเสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรณ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา และการถวายผาพระกฐินหลวงตามวัดตาง ๆ เปนตน

ทรงผนวช

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ าฟ ามหาวชิราลงกรณสยามมกุฎราชกุมาร ทรงมีพระราชศรัทธาออกบวชในพระพุทธศาสนา โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดการ พระราชพิธีทรงผนวชสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ณ พัทธสีมาวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2521 โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร) เปนพระราชอุปธยาจารย ไดรับถวายพระสมณนามวา “วชิราลงฺกรโณ” และไดประทับอยู ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดจนทรงลาสิกขาในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2521

อภิเษกสมรส

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเขาพิธิอภิเษกสมรสกับ

หมอมหลวงโสมสวลี กิติยากร (ปจจุบันทรงพระนามวา พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ) เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2520

Page 43: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

ภาคผนวก

[6]

นางสาวศรีรัศมิ์ อัครพงศปรีชา (หรือ หมอมศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา ปจจุบันทรงพระนามวา พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ) เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ พ.ศ.2544

พระราชโอรส-ธิดา

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงมีพระราชธิดา ที่ประสูติแตพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ 1 พระองค คือ

พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา ประสูติเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2521 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต

ทรงมีพระโอรส พระราชธิดา อีก 1 พระองค กับ 4 องค ที่ประสูติแต คุณสุจาริณี วิวัชรวงศ

หมอมเจาจุฑาวัชร มหิดล (ทานอวน) ประสูติ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ.2522 (ปจจุบัน คือ คุณ จุฑาวัชร วิวัชรวงศ)

หมอมเจาวัชรเรศร มหิดล (ทานอน) ประสูติ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.25247 (ปจจุบัน คือ คุณวัชร วิวัชรวงศ)

หมอมเจาจักรีวัชร มหิดล (ทานออง) ประสูติ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ พ.ศ.2526 (ปจจุบัน คือ คุณ จักรี วิวัชรวงศ)

หมอมเจาวัชรวีร มหิดล (ทานอิน) ประสูติ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ.2528 (ปจจุบัน คือ คุณวัชรวีร วิวัชรรวงศ)

หมอมเจาหญิงบุษยน้ําเพชร มหิดล (หรือ หมอมเจาหญิงสิริวัณวรี มหิดล ปจจุบันทรงพระนามวา พระเจาหลานเธอ พระองคเจาสิริวัณณวรีนารีรัตน)

และทรงมีพระราชโอรสที่ประสูติแต พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรัศม พระวรชายาฯ 1 พระองค คือ

พระเจาหลานเธอ พระองคเจาทีปงกรรัศมีโชติ ประสูติเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2549

------------------------------------

Page 44: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

ภาคผนวก

[7]

บรรณานุกรม

คณะกรรมการเผยแพรพระราชกรณียกิจในกรรมการเอกลักษณของชาติ. สมเด็จพระบรมโอรสา ธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารและฐานันดรศักดิ์แหงพระราชวงศของไทย. กรุงเทพฯ :

ม.ป.พ., ม.ป.ป.

จิรภา ออนเรือง. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร,

กรุงเทพฯ : สโมสรไลออนสดุสิต, 2516.

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร. [ออนไลน] เขาถึงจาก

http://th.wikipedia.org/wiki/

Page 45: 2552...กรกฎาคม 2552 กล มงานหองสม ด ส กว านชาการ หน า ก ค าน า สาระส งเขปหน งส อใหม

คณะผูจัดทํา

ที่ปรึกษา

นายจเร พันธุเปรื่อง รองเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

นางวิจิตรา วัชราภรณ ผูอํานวยการสํานักวิชาการ

นางสาวอารีรัตน วิชาชาง ผูอํานวยการกลุมงานหองสมุด จัดทําสาระสังเขป

นางชวนพิชญ รัตนาไพบูลย บรรณารักษ 7 ว.

นางสาววิจิตรา ประยูรวงษ บรรณารักษ 5

นางสาววัชราพร ยอดมิ่ง นิติกร 4

นางสาวรติกร เจือกโวน นิติกร 3 วิเคราะหเลขหมูหนังสือ

นางสาวเบญจลักษณ สุทธิวิไล บรรณารักษ 7 ว.

นางสาวสายฝน ดีงาม บรรณารักษ 7 ว.

นางสาวจําเรียง ประสงคดี บรรณารักษ 5 ออกแบบปก

นางสาววิจิตรา ประยูรวงษ บรรณารักษ 5 จัดพิมพ

นางสาวอรุณทิพย จันทรดิษฐ เจาหนาที่บันทกึขอมูล 6 จัดทํารูปเลม

นางสาวญานิกา เฟองฟุง เจาพนักงานธุรการ 5

นางสารภี ชางพล ี เจาหนาที่หองสมุด 5

นางสาวปรมาภรณ คงสุวรรณ เจาหนาที่ธุรการ 2

พิมพที ่

สํานักการพิมพ : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

แนะนาํหนงัสอืใหม E-mail : [email protected]