ข้อแนะนำการออกแบบสถานีไฟฟ้าย่อย

34
บทที1 เรื่องทั่วไป 1. สถานีไฟฟายอยคืออะไร สถานีไฟฟายอยเปนสถานีกลางซึ่งรับพลังงานจากระบบสายสง เพื่อจายผานสูระบบจําหนาย ประกอบดวย 1.1 การเปลี่ยนแรงดัน 1.2 การตัดตอน 1.3 การควบคุม 1.4 การปองกันระบบ 1.5 มาตรวัดทางไฟฟา 2. หนาที่และจุดประสงคของสถานีไฟฟายอย 2.1 เปนจุดเปลี่ยนระดับแรงดันไฟฟา 2.2 เปนจุดปรับระดับแรงดันในระบบใหคงที2.3 เปนจุดเชื่อมระหวางระบบสายสงกับระบบจายไฟฟา ในการตัดตอนออกและนําเขาสูระบบ 2.4 เปนจุดเชื่อมโยงระบบสื่อสาร 2.5 เปนจุดวัดปริมาณทางไฟฟา 3. การจําแนกชนิดของสถานีไฟฟายอย ( ทั่วไป ) สถานีไฟฟายอยสามารถจําแนกไดหลายแบบ คือ 3.1 Outdoor substation จะประกอบไปดวยอุปกรณภายนอกอาคาร ไดแก circuit breaker lightning arrester potential transformer current transformer disconnecting switch 1

Upload: pithoon-ungnaparat

Post on 03-Jan-2016

2.308 views

Category:

Documents


39 download

DESCRIPTION

basic

TRANSCRIPT

บทที่ 1 เรื่องทั่วไป

1. สถานีไฟฟายอยคืออะไร สถานีไฟฟายอยเปนสถานีกลางซึ่งรับพลังงานจากระบบสายสง เพื่อจายผานสูระบบจําหนาย ประกอบดวย

1.1 การเปลี่ยนแรงดัน 1.2 การตัดตอน 1.3 การควบคุม 1.4 การปองกันระบบ 1.5 มาตรวัดทางไฟฟา

2. หนาท่ีและจุดประสงคของสถานไีฟฟายอย 2.1 เปนจุดเปลี่ยนระดับแรงดันไฟฟา 2.2 เปนจุดปรับระดับแรงดนัในระบบใหคงที่ 2.3 เปนจุดเชือ่มระหวางระบบสายสงกับระบบจายไฟฟา ในการตดัตอนออกและนําเขาสูระบบ 2.4 เปนจุดเชือ่มโยงระบบสื่อสาร 2.5 เปนจุดวัดปริมาณทางไฟฟา 3. การจําแนกชนิดของสถานีไฟฟายอย ( ท่ัวไป ) สถานีไฟฟายอยสามารถจําแนกไดหลายแบบ คือ 3.1 Outdoor substation จะประกอบไปดวยอุปกรณภายนอกอาคาร ไดแก

• circuit breaker • lightning arrester • potential transformer • current transformer • disconnecting switch

1

อุปกรณตางๆจะถูกเชื่อมตอกันทางไฟฟาโดย Tube หรือสายไฟ โดยอุปกรณที่ตอเชื่อมกนัเปนชุดนี้เรียกวา Switchgear ซ่ึงโดยสวนมากฉนวนที่คัน่ระหวางอุปกรณจะเปนอากาศ จึงอาจเรียก Switchgear ลักษณะนีว้า AIS ซ่ึงยอมาจาก Air Insulated Switchgear อุปกรณควบคมุภายในอาคาร ไดแก

• control board • AC DC board • battery and battery charger

ซ่ึงจะตอวงจรไปควบคุมอุปกรณภายนอก แตเราก็สามารถสั่งงานไดโดยตรงที่อุปกรณไดในกรณทีี่เกิดการขัดของขึ้นมา สถานีไฟฟายอยแบบนีใ้ชพืน้ที่ในการติดตั้งมาก แตราคาคากอสรางคอนขางถูก และสามารถจัดวางอุปกรณไดสะดวก ระบายความรอนไดดี ฉะนัน้จึงเหมาะสมใชบริเวณชานเมือง ซ่ึงราคาที่ดินไมแพงมากนัก แตในเมืองใหญซ่ึงราคาที่ดินคอนขางแพง ก็ควรใชแบบ indoor จะเหมาะสมกวา สถานีไฟฟาชนิดภายนอกอาคาร (Outdoor ) ซ่ึงบางครั้งมักจะเรยีกสถานีแบบ Outdoor วาเปนแบบ Conventional จะเลือกใชในกรณีทีม่ีพื้นที่เพยีงพอ เชน ประมาณ 8 ไร ขึ้นไป และไมมีปญหาเรื่องมลภาวะ 3.2 Indoor substation เปนสถานีไฟฟายอยที่เกิดขึ้นเมื่อมีขอจํากัดเรื่องพื้นที่ เชน ราคาที่ดินแพง พื้นที่ที่จะติดตั้งสถานีไฟฟายอยมีขอจํากัดวา จะตองไมอยูหางจากถนนใหญมากนัก และตองอยูบริเวณศูนยกลางโหลด ซ่ึงอาจจะหาพื้นทีใ่นการกอสรางสถานีไฟฟาไดยาก หรืออาจไมเพยีงพอที่จะกอสรางสถานีไฟฟายอยแบบ outdoor ได จึงไดพยายามออกแบบอุปกรณทีก่ินพื้นทีน่อย โดยการดดัแปลงอุปกรณที่อยูภายนอกอาคารมาอยูในอาคาร อุปกรณตาง ๆ ภายใน indoor นี้จะมีขนาดไมใหญโตมากนัก และตองบรรจุในตูมิดชิดมีกาซเฉือ่ยเปนฉนวนระหวางตัวนําและวางอยูภายในอาคาร ยกเวนหมอแปลงที่ใชแบบ oil ไมสามารถตั้งภายในอาคารได เนื่องจากความไมปลอดภัย สถานีไฟฟาชนิดภายในอาคาร (INDOOR) จะเลือกใชในบริเวณเมอืงใหญ ซ่ึงที่ดินมีราคาแพง เชน ในเขตชุมชน นิคมอุตสาหกรรมที่มีมลภาวะสูง GIS ยอมาจาก GAS INSULATED SWITCHGEAR เปน swtichgear ที่ติดตั้งอยูในตูโลหะหรืออะลูมิเนียมปดสนิท ที่มีฉนวนระหวางตวันําเปนกาซ (ปจจุบันใชกาซ SF6) อุปกรณแรงสูงซึ่งรวมทั้ง busbar, circuit breaker, disconnecting switch, CT, PT ถูกรวมกันในทอโลหะหรอือะลูมิเนียมในลักษณะ compact set ซ่ึงบางครั้งเรามักจะเรียกสถานีไฟฟาชนิดภายในอาคาร ( Indoor Type ) ที่ติดตั้ง Switchgear ชนิดนี้ วาเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS

2

3.3 ขอแตกตางระหวางสถานีไฟฟาแบบ GIS กับ Conventional 3.3.1 Life Cycle Cost / Reliability เห็นวา GIS มี life cycle cost และความมั่นคงมากกวา Conventional โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระดับแรงดันระหวาง 200-700 kV. 3.3.2 Location เนื่องจากที่ดินราคาแพง และมีขอจํากัดของขนาดพื้นที่โดยเฉพาะในเมืองใหญ จึงเปนอกีเหตุผลหนึ่งทีต่องเลือก GIS สําหรับทุกระดับแรงดัน 3.3.3 Environment มลภาวะ เชน ฝุน, ฝน, หิมะ และไอเกลือ หรือมลภาวะที่เกิดจากฝมือมนุษย เชน จากโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ก็เปนอีกเหตผุลหนึ่งที่เลือกใช GIS นอกจากนีย้ังมีเหตุผลดานความสวยงาม ทัศนียภาพ ดวย 3.3.4 Technical Consideration เหตุผลดานเทคนิคที่มีผลตอการเลือกใช GIS มีนอย เนื่องจากเมื่อเปรียบเทียบในแงเทคนิคแลวไมไดแตกตางกันนักโดยเฉพาะในพื้นที่ทีก่ําลังพัฒนาระบบ Conventional กลับจะดกีวาในแงการขยายตอเติมหรือ upgrating และสามารถเลือกใชผลิตภัณฑที่แตกตางกันไดดวย 3.3.5 Safety Users เกือบทุกระดับแรงดันเลอืกใชระบบ GIS เนื่องจากเห็นวา Safty กวาระบบ Conventional โดยเฉพาะอยางยิ่ง Users ที่ระดับแรงดันตั้งแต 200 kV ขึ้นไป

3

บทที่ 2 โครงสรางสถานีไฟฟาของ กฟภ.

1. โครงสรางสถานีไฟฟาของ กฟภ. ประกอบดวยโครงสรางใหญๆดังนี ้

1.1 115 kV Switchgear 1.2 Power Transformer 1.3 22 kV หรือ 33 kV Switchgear 1.4 ชุดอุปกรณปองกันระบบ 115 kV และ 22 kV 1.5 ชุดควบคุมระบบ 115 kV และ 22 kV ( CSCS และ Backup ) 1.6 Capacitor Bank 1.7 ชุด AC , DC Board , ชุด Battery Charger , ชุด Battery

2. Block Diagram ของโครงสรางสถานีไฟฟา สายสง

115 kV Switchgear

Power Transfer

22 kV หรือ 33 kV Switchgear

- ชุดควบคุม และ - ชุดปองกัน

Cap Bank

สายจําหนาย โครงสรางของสถานีไฟฟาที่มีสวนสําคัญที่จะทําใหระบบมีความมั่นคงไดอยูทีก่ารออกแบบการจดับัสของ Switchgear ทั้งระบบ 115 kV , 22 kV และ 33 kV วาจะตองการใหระบบมีความมั่นคงขนาดใด ซ่ึงจะทําใหอุปกรณภายใน Switchgear , ชุดควบคุม และ ชุดปองกัน มจีํานวนอุปกรณเปลี่ยนแปลงไปดวย

4

3. รูปแบบและการจัดบัส ส่ิงที่ตองคํานึงถึงในการจัด bus scheme 3.1 Operational flexibility ตองมีความคลองตัวในการปฏิบัติงานตางๆ เชนสามารถสับเปลี่ยนเบรคเกอรใชแทนกันไดในกรณีที่มีความจาํเปนตองจํากดั short circuit level การติดตั้งเบรคเกอรจาํนวนมากก็สามารถแยกจายเพื่อลด short circuit level ได แตไมควรติดตั้งมากเกินไปเปนการไมประหยัด 3.2 System security เมื่อเกิดฟอลตในฟดเดอร หรือในสถานีไฟฟายอย จะตองเลือก busbar scheme ที่ clear ฟอลตโดยเรว็ โดยใหกระทบกระเทือนตอฟดเดอรอ่ืน ๆ นอยที่สุด 3.3 Reliability and availability แตละ bus scheme จะใหความเชื่อถือไดที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับความตองการระดับความเชือ่ถือไดมากนอยเพียงไร 4. ลักษณะการจัดบัส ( Bus Scheme ) ลักษณะการจดับัสมีหลายแบบดวยกัน ในที่นี้จะนําเสนอการจัดบัสเพียง 7 รูปแบบดังนี ้

4.1 บัสเรเดียล ( Radial Bus ) การจัดบัสแบบเรเดยีล ประกอบดวยเมนบัส 1 บัส วงจรตอจากเมนบัสโดยผานเซอรกิตเบรคเกอร, สวิตชใบมีด สวิตชใบมีดทํางานดวยมือหรือทํางานดวยมอเตอรกไ็ด วงจรที่มาตอกับบัสเรเดียลอาจเปนสายสง คาปาซิเตอร หรือหมอแปลงกําลัง สถานีไฟฟาแบบบัสเรเดยีลอาจเรียกเปนชื่ออ่ืนไดวา บัสเดี่ยวหรือบัสตรงก็ได สถานีไฟฟาแบบบัสเรเดียลเปนสถานีที่งายที่สุดในการปฏิบัติงาน มีความยืดหยุนของการทํางานและความนาเชื่อถือตอระบบไฟฟานอยทีสุ่ด ในกรณีเกิดฟอลตที่บัสหรือมีการขัดของของ CB จะมีผลใหไฟดับทั้งวงจร ในกรณีทีต่องการทําการบํารุงรักษาตามวาระหรือตองการถอด CB ตัวหนึ่ง ๆ ออกมา เพื่อทําการซอมแซม วงจรของเซอรกิตเบรคเกอรดังกลาวจะตองหยุดการจายไฟจนกวาภารกิจการงานที่เกี่ยวของจะเสร็จสิ้น สถานีไฟฟาแบบ radial มีขอดีและขอเสีย เมื่อเปรียบเทียบกับการจัดบสัแบบอื่น ๆ ดังนี้

ขอด ี- ราคาถูกที่สุด - ใชพื้นที่ในการติดตั้งนอย - งายในการขยายการจายกําลังไฟฟา - การทํางานของระบบง าย - การจัดทําระบบการปองกันงาย

5

ขอเสีย - ความนาเชื่อถือต่ํา - มีความยืดหยุนในการปฏิบตัิงาน เพื่อการบํารุงรักษาต่ําหรือขาดความคลองตัวในการปฏิบัติงานเพื่อการ

บํารุงรักษา - ถาเกิดฟอลตทีบ่ัสหรือมีการขัดของในการปฏิบัติงานของ CB ตัวใดแลวจะมีผลใหตองดับไฟทั้งสถานี 4.2 บัสเรเดียลแบบแยกสวน (Sectionalized Radial Bus) บัสเรเดียลแบบแยกสวนถูกดัดแปลงมาจากบัสเรเดียล รูปแบบบัสแบบนี้มีบัสเรเดยีล 2 อัน ถูกเชื่อมโยงดวยเซอรกิตเบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอรเชื่อมโยงบัสอาจทํางานอยูในสถานะปดวงจรหรือสถานะเปดวงจรก็ได ทั้งนี้ขึน้อยูกับสถานการณและความตองการใชงาน หากมีการเกิด fault ในบัสใดบัสหนึ่ง หรือมกีารขัดของในการทํางานของ CB ของสายปอนใด การดับไฟก็จะมีการดับไฟเฉพาะบัสที่เกี่ยวของเทานัน้ จะไมมีผลทําใหมีการดับไฟทั้งสถานีแตประการใด การจัดกลุมของวงจรที่จะตอเขากับบัสสวนใดนั้นจะพิจารณาจากเกณฑการทํางานของแตละวงจร เชน กรณีที่มีวงจรจากแหลงจายไฟตนทางเดียวกันสองวงจร หรือวงจรที่จายไฟใหกบัโหลดปลายทางเดียวกันสองวงจร เราจะจัดแยกวงจรแตละคูใหไปอยูตางสวนของบัสเปนตน

ขอด ี

- ตองการพืน้ที่ติดตั้งนอย - ความนาเชื่อถือดีกวาแบบเรเดียล - ความยืดหยุนของการทํางานดีกวาแบบเรเดียล - การขยายการจายไฟฟางายกวาแบบกวาแบบเรเดียล

ขอเสีย

- ราคาแพงกวาแบบเรเดยีล - ความซับซอนมากกวาแบบเรเดียล - ความซับซอนในระบบปองกันมากกวาแบบเรเดียล

6

4.3 บัสเมนและบัสถายโอน (Main and transfer bus) บัสเมนและบสัถายโอน ถูกดัดแปลงมาจากแบบเรเดยีล การจัดบัสแบบนี้ประกอบดวยบัส 2 บัส คือ บัสเมน และบัสถายโอน วงจรทั้งหมดถูกตอกับเมนบัสผาน CB และจะตอกับบัสถายโอนโดยผานสวิตชถายโอนบัสเมนกับบัสถายโอนจะเชื่อมตอกันผานเซอรกติเบรกเกอรถายโอน CB ถายโอนจะทําหนาที่ปองกันวงจรสายปอนใดที่มีการถอดเอา CB ออกไป เพื่อการบํารุงรักษาข้ันตอนการถอดเอา CB ตัวหนึ่ง ๆ ออกไป เพื่อทําการบํารุงรักษานัน้ กระทําโดยการปดวงจรสวิตชใบมีดและปดวงจร CB ถายโอนกอน แลวทําการปดวงจรสวิตชใบมีดถายตอนชุดที่อยูในแนวเดยีวกับ CB ตัวที่ตองการปลดออก ซ่ึงตองนําการปลด CB ตัวนั้น ๆ กอน แลวจึงปลดสวิตชใบมีด 2 ตัว คูเดยีวกันนั้นตามออกมา การจดัวงจรแบบนีไ้ดประโยชนคือ ในขณะทีม่ีการบํารุงรักษา CB ตัวหนึ่ง ๆ ความนาเชื่อถือของระบบจายไฟหรือระบบปองกันจะไมลดลงแตประการใด การจัดบัสแบบนี้ไมตองการสวิตชเชื่อมโยงหรือสวิตชบายพาสแตประการใด

ขอด ี- ตองการพื้นทีต่ิดตั้งนอย - การขยายการจายไฟงาย - ความยืดหยุนของการทํางานมากกวาแบบเรเดียล - เซอรกิตเบรกเกอรแตละตวัสามารถปลดออกมาจากการใชงานได โดยไมตองมีการดบัไฟเลย

ขอเสีย

- ราคาแพงกวาแบบเรเดยีล - ความซับซอนในการทํางานมากกวาแบบเรเดียล - ความซับซอนในระบบปองกันมากกวาแบบเรเดียล - ความนาเชื่อถืออยูระดับปานกลาง

การจัด bus รูปแบบนี้ นยิมใชกับสถานีไฟฟาในระบบจําหนายถึงระดับแรงดัน 161 kV และในบริเวณที่ระบบมีความนาเชือ่ถือดี

7

4.4 บัสคูเซอรกิตเบรกเกอรเดี่ยว (Single breaker Double bus) การจัดบัสแบบบัสคู CB เดี่ยว เปนการดดัแปลงมาจากการจัดบัสเรเดยีลแบบแยกสวน การจดับสัแบบนี้ประกอบดวย main bus 2 บัส เชื่อมตอกันผาน CB 1 ตัวเรียกวา CB ถายโอน วงจรสายปอนแตละวงจรมี CB 1 ตัว และสามารถตอเขากับ main bus ใดกไ็ดโดยการเลือกสวิตชใบมดีชุดที่ตอเขากับ main bus ที่ตองการ การจัด bus แบบนีม้ีประโยชนคอื เราสามารถจัดใหวงจรสายปอนทุกวงจรมาตอเขากับบัสเมนชุดใดชุดหนึ่งในกรณีบัสเมนอกีชุดหนึ่งตองมีการดับไฟ สถานีไฟฟาแบบนี้จะมีขอดีและขอเสียเปรียบเทียบกับการจัดวางบัสแบบอื่น ดงันี้

ขอด ี

- มีความนาเชื่อถือสูงกวาการจัดบัสแบบเรเดียล - มีความยืดหยุนในการทํางานสูงกวาการจดับัสแบบเรเดยีล - งายตอการขยายการจายไฟ

ขอเสีย - ราคาสูงกวาแบบเรเดียล - relay ปองกันมีความซับซอนมากกวาแบบเรเดียล

4.5 บัสวงแหวน (Ring bus) การจัดบัสแบบวงแหวนจะมีความคลายกบัการจัดบัสแบบแยกสวน โดยจุดปลายทั้งสองของบัสแบบแยกสวนเชื่อมกันผาน CB ในรูปแบบนี้หากมี fault ที่บัสหนึ่ง หรือมี fault ที่วงจรสายปอนหนึ่ง จะมีเพียงบัสเดยีวที่ถูกแยกออกไป โดยม ีCB 2 ตัว ที่ตอกบับัสนั้น ๆ เปดวงจร แตถาหากมีการขัดของของ CB ตัวใดตวัหนึ่งแลวจะมีผลทําใหวงจร 2 วงจร กับบัส 2 สวนถูกแยกออกไปจากระบบไฟฟาที่ปกต ิ การจัดบัสแบบวงแหวนจะทําใหสามารถถอด CB ตัวใดตวัหนึ่งออกจากการจายไฟ เพื่อการซอมแซม โดยไมมีการดับไฟกับวงจรใด ๆ เลย สถานีไฟฟาแบบบัสวงแหวนจะมีความนาเชื่อถือสูง และมีความยืดหยุนในการทํางาน จํานวนวงจรที่สามารถนํามาตอกับบัสวงแหวนโดยทั่วไปจํากัดที่สูงสุดไมเกิน 8 วงจร แหลงกําเนิดหรือวงจรเผื่อเลือก

8

(redundant circuit) ไมควรติดตั้งในบัสวงแหวนที่อยูชิดกัน ทั้งนี้เพือ่วาเมื่อมี CB ตัวใดตัวหนึ่งขัดของในการทํางานขณะเกิด fault การทํางานของ CB ในเขตปองกันสํารองอีก 2 ตัว จะไดไมมีผลทําใหมีการตัดแหลงกําเนิด 2 แหลงออกจากวงแหวนพรอมกัน สถานีไฟฟาแบบบัสวงแหวนมีขอดีและขอเสียเมื่อเทียบกับการจัดบัสรูปแบบอื่น ดังนี้

ขอด ี

- มีความนาเชื่อถือสูง - มีความยืดหยุนในการทํางานสูง - งายตอการขยายไปเปนการจดั bus แบบ breaker and one half

ขอเสีย - การออกแบบระบบ relay ปองกันภยัระบบควบคุมมีความซับซอน 4.6 การจัดบัสแบบมีจํานวน breaker 1½ ตัวตอ 1 วงจร ( Breaker and one half ) การจัดบัสแบบนี้มี main bus จํานวน 2 บัส วงจรตาง ๆ ที่อยูระหวาง main bus จะจดัใหมีชุดของวงจรคูหนึ่ง ๆ มาตอรับไฟจาก main bus ทั้งสอง ผาน CB จํานวน 3 ตัวดวยกนั ดังนัน้ จํานวน CB ที่ใชจึงมีเทากับ 1½ ตัวตอ 1 วงจร วงจรสายปอนแตละวงจรตางก็ตอรับไฟจาก CB ประจําหนึ่งตัว สวน CB อีกหนึ่งตัวที่เหลือในแตละชุดมีไวเปน CB สํารอง เผ่ือไวสําหรับการใชงานแทน CB ของสายปอนหนึ่งในสองสายในกรณีทีจ่ําเปน การจัด bus แบบนี้ ในกรณทีี่มี fault ในสายปอนใดสายปอนหนึ่ง ไฟจะดับเฉพาะสายปอนนัน้ ในกรณีที่เกดิ fault ที่ main bus หนึ่ง การรบัและการจายไฟผานสถานียังคงสามารถดําเนินไปไดโดยไมมกีารดับไฟแตประการใด ถาหากมีการขัดของของ CB ที่อยูระหวาง main bus กับสายปอนใด ๆ ที่เกิด fault แลวจําเปนที่จะตองปลดเพียงวงจรขางเคียงของ CB ตัวนัน้ ๆ เทานั้นออกจากการใชงาน แตในกรณีทีข่ณะเกิด fault ในสายปอนและมีการขดัของของ CB ตัวหนึ่ง ๆ ที่อยูระหวางสายปอนสองวงจร (เบรกเกอรตวักลาง) แลวจําเปนที่จะตองปลดวงจรสายปอนทั้งสองออกจากการใชงาน การจัดบัสแบบนี้ทําใหสามารถนํา CB ตัวใดตวัหนึ่งออกจากการใชงานเพื่อการบํารุงรักษาไดโดยไมตองมีการดบัไฟในสายปอนใดเลย ทั้งนี้ไมจําเปนตองมีสวิตชเล่ียงเบรกเกอร ไมจําเปนตองมีสวิตชเชื่อมวงจรสายปอนและสวิตชโอนยาย และไมจําเปนตองใช CB โอนยายและบัสโอนยายแตประการใด

9

ในการปลดสายปอนใดสายปอนหนึ่งออกจากการใชงานบอยครั้ง จะทําการปลดสวติชใบมีดของสายปอนคางไว โดยที่ CB ทุกตัวที่เกี่ยวของกับสายปอนยังคงตออยูในวงจรได ขัน้ตอนในการดําเนินการนั้นคลายคลึงกับในกรณีการจัดบัสแบบวงแหวน โดยมข้ัีนตอนเริ่มตนดวยการเปดวงจร CB คูที่อยูขางเคียงกับสายปอนดงักลาว แลวทาํการปลดสวิตชใบมีดของสายปอน หลังจากนั้นจึงทําการปดวงจร CB กลับเขาไปใหม การจัดบัสแบบมีจํานวน breaker 1½ ตัวตอ 1 วงจร ทําใหสถานีไฟฟามคีวามนาเชื่อถือในการจายไฟมาก และมีความยืดหยุนในการปฏิบัติงานมาก โดยปกติแหลงจายไฟตนกําลังหรือวงจรสํารองจะจัดใหอยูหางกันคั่นดวย CB มากกวา 1 ตัว ทั้งนี้เพื่อใหเมื่อมี CB ตัวใดตวัหนึ่งขัดของจะไมมีผลทําใหมีการตัดแยกแหลงจายตนกาํลังสองแหลงออกไปพรอมกันหรือไมมกีารตัดแยกวงจรสายปอนสองวงจรที่จายโหลดเดียวกันไปพรอมกันทั้งสองวงจร สถานีไฟฟายอยแบบนี้มีขอดีและขอเสียเมื่อเที่ยบกับรูปแบบอื่น ดังนี้

ขอด ี- มีความเชื่อถือไดสูงมาก - มีการทํางานทีย่ืดหยุนมาก - breaker แตละตัวสามารถปลดออกจากการจายไฟโดยไมมีการหยดุจายไฟกับวงจรใด ๆ - ขยายระบบไดงาย

ขอเสีย - ตองการพื้นทีม่าก - คาใชจายสูง - relay ปองกันและวงจรควบคุมมีความซับซอน 4.7 การจัดบัสแบบบัสคู CB คู ( Double Breaker Double Bus ) เปนการจัดวางบัสบารที่มีจํานวน main bus หรือบัสหลักจํานวน 2 ชุด เมนบัสทั้ง 2 มี จํานวน CB เปนคู ๆ ตอออกมาจาก main bus และในบริเวณระหวาง CB แตละคูจะมีวงจรทางเขาหรือวงจรทางออกเพียง 1 วงจร รูปแบบการจดับัสแบบนี้ สําหรับวงจร 1 วงจร จะตองใช CB จํานวน 2 ตัว การจัดวางแบบนี้ หากมีการเกิด fault ในวงจรใดวงจรหนึ่ง เฉพาะวงจรที่เกิด fault จะถูกตัดออกจากการใชงาน และการเกดิ fault ที่บัสใดบัสหนึ่ง จะไมมีผลทําใหมีวงจรใดวงจรหนึ่งตองถูกตัดออกจากการใชงานเลย หากมีการขัดของ CB ตัวใดตัวหนึ่งในการกําจัด fault จะมีผลเพียงใหตองหยุดการจายไฟใหกับวงจรที่ตอกับ CB ตัวนัน้ ๆ เทานั้น

10

การจัดวางบัสแบบนี้ ผูปฏิบัติงานสามารถถอดเอา CB ตัวใดตัวหนึง่ออกจากการใชงาน เพื่อการบํารุงรักษา โดยไมตองมีการดับไฟในวงจรสายปอนใดเลย สวิตชใบมีดในสายปอนมีไวเพื่อใชในกรณีที่ตองการปลดวงจรนั้น ๆ ออกจากการใชงาน โดยยังคงมไีฟเลี้ยงผาน CB ขณะทําการบํารุงรักษาสายปอนนัน้ ๆ อยู ในกรณดีังกลาวสวิตชใบมีดจะถูกปลอยคางไว การจัดวางบัสแบบบัสคูเบรกเกอรคูนี้จดัไดวา เปนการจัดวางทีท่ําใหระบบการจายไฟมีความเชื่อถือไดสูงสุด มีความคลองตัวในการปฏิบัติงานมาก และไมจําเปนตองจัดแยกวงจรของแหลงจายไฟสํารองกับแหลงจายหลักไปอยูหางกนัคืนดวย breaker วงจรสายปอนคูที่จายใหกับวงจรปลายทางก็ไมจําเปนตองจดัแยกวงจรใหอยูหางกนัคั่นดวย breaker วงจรสายปอนคุที่จายใหกับวงจรปลายทางกไ็มจําเปนตงจัดแยกวงจรใหอยูหางกันคั่นดวย breaker เชนเดยีวกัน สถานีไฟฟายอยแบบใชบัสคู CB คู มีขอดีและขอเสียเมือ่เปรียบเทียบกับรูปแบบอื่น ดังนี ้

ขอด ี- มีความเชื่อถือไดสูงมาก - มีความยืดหยุนในการปฏิบตัิงานสูง - แตละ CB สามารถปลดจากการจายไฟ เพือ่บํารุงรักษาซอมแซม โดยไมมีการหยดุจายไฟกับวงจรอืน่ ๆ - ขยายระบบไดงาย

ขอเสีย - คาใชจายสูงมาก - ตองการพื้นทีม่าก - relay ปองกันและวงจรควบคุมมีความซับซอน

11

บทที่ 3 การสํารวจสภาพพื้นที่

1. การสํารวจที่ดินท่ีจะกอสรางสถานไีฟฟา ( ขอมูลดานเทคนิค) 1.1 จุดประสงค เพื่อเก็บขอมูลทางดานกายภาพของบริเวณที่ดิน แบงเปนขอมูลทางไฟฟา ขอมูลสภาพแวดลอม และขอมูลระบบสาธารณูปโภค ( ตามแบบฟอรมการสํารวจขอมูลดานเทคนิค) ทั้งนี้เพื่อนําขอมูลดังกลาวมาใชประกอบการออกแบบวางตําแหนงอาคารควบคุม บานพักพนักงาน ลานสวิตชยารด ถนน รวมทั้งการกําหนดตําแหนงการปกเสา Riser pole ทั้งระบบ 115 เควี และ 22 เควี ไมใหกีดขวางหนาทีด่ินของเอกชนรายอืน่ และกําหนดแนวทอลอด Duct Bank Manhole ไมใหซอนกับระบบสาธารณูปโภคเดิม เชน ทอประปา ทอระบายน้าํ ทอ Gas ฯลฯ 1.2 อุปกรณท่ีใชในการสํารวจไดแก 1.2.1 ตลับเมตร 1.2.2 ลอวัดระยะทาง 1.2.3 กลองถายรูป

1.3 ขั้นตอนในการสํารวจ 1.3.1 เก็บขอมูลทางไฟฟาตามแบบฟอรม FM-กอฟ-ผวฟ-001/00 แผนที่ 1/3 ซ่ึงประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับระบบไฟฟาของกฟผ. และของกฟภ. บริเวณดานหนาทีด่ิน 1.3.2 เก็บขอมูลเกี่ยวกับระบบสาธารณูปโภคตามแบฟอรม FM-กอฟ-ผวฟ-001/00 แผนที่ 2/3 ประกอบดวยขอมูลรายระเอียดของถนน ทอระบายน้ํา ทอประปา ทอ GAS ฯลฯ สําหรับตําแหนงของระบบสาธารณูปโภคใตดิน ควรติดตอหนวยงานที่ดแูลรับผิดชอบถนนบริเวณนัน้ เพื่อจะขอรายระเอียดภาพตัดของถนน ( cross section ) 1.3.3 เก็บขอมูลสภาพแวดลอม ตามแบบฟอรม FM-กอฟ-ผวฟ-001/00 แผนที่ 3/3 ซ่ึงประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับสภาพที่ดินทีจ่ะกอสรางสถานีรวมทั้งสถานีใกลเคียง 1.3.4 เขียนภาพสเกต็ซแสดงรายละเอียดขอมูลที่บันทึกไวตามขอ 1-3 หากตองการรายละเอียดที่ชัดเจน ควรจะถายภาพบริเวณที่ดินดังกลาวดวย

12

2. การวัดคาความตานทานของดนิ 2.1 จุดประสงค เพื่อนําคาความตานทานดินที่วัดไดมาคํานวณออกแบบระบบตอลงดินของสถานีไฟฟา การวัดคาความตานดนิ ( SOIL RESISTANCE ) ที่กฟภ.ไดนาํมาใช คือ วธีิ 4 - POINT METHOD ซ่ึงจะมี Electrode (Probe ) จํานวน 4 หลัก ประกอบดวย Current Probe จํานวน 2 หลัก คือ C1 และ C2 และ Potential Probe จํานวน 2 หลัก คือ P1 และ P2 2.2 อุปกรณท่ีใชในการวดัคาความตานดิน ไดแก 2.2.1 เครื่องวัดคาความตานดิน ผลิตภัณฑ AVO รุน MEGGER DET 2/2 2.2.2 สายวัดจํานวน 4 เสน 2.2.3 Electrode จํานวน 4 ทอน 2.2.4 ตลับเมตร คอนปอนด 2.3 ขั้นตอนการวัดคาความตานทานดิน 2.3.1กําหนดจดุที่จะวัดบนทีด่ิน จํานวน 6 จุด แตละจุดจะแยกวัดตามแนวแกน x และแกน y ดังรูป 2.3.2เร่ิมทําการวัดทีละจดุ โดยกําหนดระยะหางระหวาง Probe และความลึกของ Probe ตามแบบฟอรม FM-กอฟ-ผวฟ-002/00 พรอมกับบันทึกคาที่วัดไดลงในตาราง

13

14

3. การสํารวจที่ดิน 3.1 วัสดุอุปกรณ 3.1.1 กลองวัดมุม ( Theodolite )

3.1.2 กลองระดับ ( Level ) 3.1.3 ไมระดบั ( Staff ) 3.1.4 เทป ( Tape ) 3.1.5 หวงคะแนน ( Pin ) 3.1.6 สมุดสนาม ( Field book ) 3.1.7 หลักขาวแดง ( Pole )

3.2 วิธีการสํารวจ 3.2.1 การสํารวจเบื้องตน • เดินสํารวจดูรอบๆขอบเขตที่ดิน • ตรวจสอบหลกัหมุดทีด่ินวามีครบทุกหมุด และมีหมายเลขตรงกับโฉนดที่ดินหรือไม • กําหนดจุดและเสนสํารวจ • รางรูปที่ดิน • เก็บขอมูลรายละเอียดตางๆ เชน ถนน ขอบถนน ผิวจราจร ส่ิงสาธารณูปโภคตางๆ เชน ทอประปา

สายไฟฟา โทรศัพท ทอระบายน้ําทิ้ง ทอแกส , ส่ิงปลูกสรางและที่ดนิขางเคียง , ทางระบายน้ํา , การระบายน้ําของบริเวณขางเคยีง , ขอมูลน้ําทวม , ขอมูลแผนการขยายถนนดานหนาสถานีในอนาคต และขนาดของทอลอดระบายน้ําใตถนนทางเชือ่ม โดยสอบถามขอมูลไดจากกรมทางหลวง

3.2.2 การสํารวจรังวดัที่ดิน มี 2 วิธี คือ 3.2.2.1 การสํารวจรังวดัดวยโซ ( เทป )

เปนการสํารวจโดยการวัดระยะเปนแนวตรง และจะอยูในรูปของสามเหลี่ยม ถึงที่ดินจะเปนรูปหลายเหล่ียมแตก็ตองอาศัยรูปสามเหลี่ยม เรียกวาการทําสามเหลี่ยมดวยโซ ( เทป ) โดยแบงพื้นที่ออกเปนรูปสามเหลี่ยมหลายๆรูปตอเนื่องกันไป วดัความยาวทกุดานของสามเหลี่ยมทุกๆรูป วิธีนี้เหมาะสําหรับสภาพที่ดินที่ไมมีอุปสรรคมากนักเปนที่โลงแจง สามารถวัดระยะโดยตรงได แลวจดบันทึกลง Field Book

15

3.2.2.2 การสํารวจดวยการทําวงรอบปด เปนการสํารวจโดยการทําโครงขายของหมุดบังคับทางราบไปทั่วบริเวณที่ดิน เพื่อใชหมุดนัน้ในการหาคาพกิัดของหมุดทีด่ิน ประกอบไปดวยการวัดระยะดานของเสนวงรอบและวดัมุมที่อยูระหวางดานของวงรอบ โดยใชกลองวัดมุม ( Theodolite ) เพือ่นําไปคํานวณหาตําแหนงของหมุดวงรอบ คือคาพิกัดฉากของหมุดนั้น ซ่ึงจะนําๆไปหาคาพิกัดฉากของหมุดที่ดินได วิธีนี้เหมาะสําหรับสภาพที่ดินที่มีอุปสรรคมากไมสามารถที่จะวัดระยะในที่ดนิไดโดยตรง

- วัดระยะดานของวงรอบทุกเสนในทีน่ี้ คือ AB, BC, CD, DA ดวยเทปวัดระยะ - วัดมุมภายในของวงรอบดวยกลองวัดมุมไดมุม a, b, c, d - นําคาของดานและมุมมาคาํนวณหาคาพกิัดฉากของหมุดวงรอบจะไดคาที่จุด

A = ( NA, EA ) , B = ( BN, EB ), C = (NC, EC ) , D = ( ND , ED ) - วัดระยะจากหมุดรอบไปยงัหมุดหลักเขตที่ดินที่อยูใกลที่สุด และวดัไดสะดวกทีสุ่ด เชน ไดเสน A-1 , B-2, C-3, D-4 - วัดมุมทีเ่กิดขึ้นทุกๆมุม คือมุม a1, b2, c3 และมุม d4 - นําระยะกับมุมที่ไดมาคํานวณหาคาพกิดัฉากของหมดุที่ดิน โดยอางอิงจากคาพกิัดฉากของหมุดวงรอบ

3.2.3 การสํารวจหาคาระดับที่ดิน มีวิธีการสํารวจดังนี้ คือ - กําหนดระยะหางของจดุทีจ่ะหาคาระดับ โดยแบงพืน้ที่ออกเปนชองตารางกริด โดยใหมีระยะหางกันประมาณ 10-30 เมตร ซ่ึงขึ้นอยูกบัสภาพของดนิ เชน ถาภายในทีด่ินมีความแตกตางของคาระดับกันมากๆ ระยะหางของเสนกริดก็จะนอย จะไดคาความละเอียดของความสูงดีกวาใชระยะหางมากๆ ซ่ึงจะใชกับสภาพที่ดินที่เปนที่ราบเรียบ - สองกลองระดับ ( LEVEL ) ไปยังจุดตางๆ เพื่ออานคาระดับบนไมระดับ ( Staff ) นําไปวางไวตามจดุเสนกริดที่ไดกําหนดไว - บันทึกคาระดับลงในตารางคาระดับ ดงัแสดงขางลางนี้ แลวคํานวณคาระดับเมื่อเทียบกับจุดอางอิง

16

บทที่ 4 การออกแบบงานดานไฟฟา

1. การออกแบบซิงเกิลไลนไดอะแกรม ( Single line diagram ) ดําเนินการดังนี้ 1.1) ศึกษารายละเอยีดรูปแบบการจัดบัสที่จะนํามาออกแบบใหสอดคลองกับแผนงาน พรอมกําหนดรายละเอียดอปุกรณหลักๆ เชน 1.1.1 115 kV Switchgear 1.1.2 Power Transformer 1.1.3 22 kV หรือ 33 kV Switchgear 1.1.4 22 kV หรือ 33 kV Capacitor Bank 1.1.5 Service Transformer 1.1.6 AC. Board 1.1.7 Batteries Charger 1.1.8 DC. Board

1.1.9 115 kV Overhead Line Power Cable 1.1.10 อ่ืนๆ

1.2) กําหนดจํานวน BAY 1.3) กําหนดอุปกรณไฟฟาทีจ่ะตดิตั้งภายในสถานีไฟฟา เขียน single line diagram โดยแสดง อุปกรณ

ไฟฟาตางๆตามรูปแบบการจัดวางอุปกรณภายใน switchyard 1.4) ใสช่ือกํากับสัญลักษณอุปกรณไฟฟาตางๆ ตามรายละเอียดขางลาง

- ช่ือที่ใชกํากบัสัญลักษณตางๆ จะประกอบดวยตัวเลข และตัวอักษรเรียงตามกัน 5 ตัว ดังนี ้

ลําดับที่ 1 ลําดับที่ 2 ลําดับที่ 3 - ลําดับที่ 4 ลําดับที่ 5 ตัวเลขและ/หรือตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร - ตัวเลข ตัวเลข

ลําดับที่ 1 ตัวเลข และ/หรือ ตัวอักษรแสดงถึงตําแหนงของอุปกรณเชน 1

หมายถึง อยู Bay ที่ 1 , B หมายถึง อยูที ่ Bus

17

ลําดับที่ 2 ตัวอักษรแสดงถึงระดับแรงดัน เชน Y หมายถึง High Voltage เชน ระดับแรงดนั 115 kV

ลําดับที่ 3 ตัวอักษรแสดงถึงชนิดอุปกรณ เชน B = Breaker , S = Switch , G = Ground, P = Potential Transformer ( Voltage Transformer ),

C = Current Transformer ลําดับที่ 4 และ 5 ตัวเลข หมายถึง ลําดับของอุปกรณชนิดเดียวกันที่อยูใน bay

นั้นๆ 1.5) รายละเอียดทีต่องการอธิบายเพิ่มเติมลงในแบบ ( ถามี ) 1.6) ขอกําหนดในการเขียนแบบ

1.6.1 กําหนดอุปกรณที่จะติดตั้งเปนเสนทึบ 1.6.2 กําหนดอุปกรณที่จะติดตั้งในอนาคตเปนเสนประ

1.6.3 จัดทําแบบซิงเกิลไลนไดอะแกรมดวยเครือ่งคอมพิวเตอรโปรแกรม Auto Cad และพิมพลงบนกระดาษไข

2. การออกแบบแผนผังท่ัวไป การออกแบบแผนผังทั่วไป คือ การจัดวางตําแหนงของอุปกรณในสถานีไฟฟา พิจารณาสวนประกอบของอุปกรณที่นํามาออกแบบแผนผังทั่วไป 1.8 สายปอน ( Incoming line ) ใหพิจารณาขนาดของตัวนําจากพิกดักระแสใชงานของสถานีไฟฟา รวมถึงการเผื่อไวสําหรับแผนงานในอนาคตดวย ปจจุบนัสถานีไฟฟาของ กฟภ. ใชขนาดสายปอนดังนี ้

- สายทองแดงหุมฉนวน ( เคเบิลใตดิน ) ขนาด 800 ตร.มม. , 500 ตร.มม. ทั้งแบบ Single Conductor และ Double Conductor

- สายอลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตร.มม. ทั้งแบบ Single Conductor และ Double Conductor

1.9 หมอแปลงกําลัง ( Power Transformer ) ขึ้นอยูกับปริมาณของโหลด ขนาดของหมอแปลงกําลังที่กฟภ. ใชมีอยู 2 ขนาด ไดแก 25 MVA และ 50 MVA เปนหมอแปลงชนิด On- Load Tap Changer 1.10 อาคารควบคุม ( Control Building ) 2.4 Cable Trench ใชวางสาย Control และ Power Cable ภายในสถานีไฟฟา ขนาดความกวางพิจารณาตามจํานวนสายไฟ มีอยู 2 แบบ คือ แบบ เอ ( Type A ) เปนแบบที่ไดออกแบบใหมีความแข็งแรงพอไมใหรถผาน ( NOT FOR VEHICLE PASSOVER ) และแบบ บี ( Type B ) เปนแบบที่สามารถใหรถผานได ( FOR VEHICLE PASSOVER )

18

2.5 Duct Bank ใชสําหรับรอยสาย Underground Cable ตอจาก Cable Trench หรือจากอาคารควบคุมไปยังดานนอกสถานีไฟฟา Duct Bank มีอยูหลายขนาดตั้งแตขนาด 1x2 ถึง 4x6 ซ่ึงหมายเลขตัวหนา หมายถึง จํานวนทอในแนวนอน ( row ) และหมายเลขตัวหลัง หมายถึง จํานวนทอในแนวตั้ง ( Column ) 2.6 Manhole เปนอุปกรณบอคอนกรีตสําหรับพักสาย เพือ่สะดวกในการรอยสายเคเบลิใตดินและซอมบํารุง มีอยูหลายแบบขึ้นอยูกับทิศทางและจํานวนสาย ซ่ึง กฟภ. มีแบบมาตรฐาน Manhole อยูหลายแบบสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสม เชน

(1) TYPE 2T-1 (6) TYPE 2T-6 (2) TYPE 2T-2 (7) TYPE 2T-7 (3) TYPE 2T-3 (8) TYPE 2T-8 (4) TYPE 2T-4 (9) TYPE 2C-1 (5) TYPE 2T-5 (9) TYPE 2S-1

2.7 ถนน ขนาดถนนในสถานีไฟฟาเปนสวนที่กอสรางเพื่อการขนสงอุปกรณในการติดตั้ง และบํารุงรักษา ขนาดความกวางของถนนพิจารณาจากขนาดรถที่ใชขนอุปกรณภายในสถานี โดยทั่วไปถนนสายประธานควรกวางไมนอยกวา 6 เมตร ถนนสายรองควรกวางไมนอยกวา 5เมตร 2.8 ร้ัวที่ใชติดตั้งบริเวณสถานีไฟฟามีอยู 3 แบบ ดังนี ้

(1) ร้ัวลวดหนาม ( BARBED WIREFENCE ) -ใชเปนร้ัวกั้นรอบบริเวณพืน้ที่สถานีไฟฟาทางดานขางและดานหลัง

(2) ร้ัวตาขาย ( WIRE MESH FENCE ) -ใชเปนร้ัวกั้นรอบบริเวณพืน้ที่ปฏิบัติงานและติดตั้งอุปกรณไฟฟาไดแกอาคารควบคุม , หมอแปลงกําลัง และลาน Switchyard

(3) ร้ัวแบบตาขายกึ่งปูน ( FENCE A-3 ) -ใชเปนร้ัวกั้นบริเวณเขตสถานีไฟฟาทางดานหนาทางเขาสถานีไฟฟา

2.9 สายจําหนาย ( Outgoing line ) เคเบิลใตดินระบบ 22 kV หรือ 33 kV 2.10 Riser Pole กําหนดตาํแหนงตดิตั้งเสาคอนกรีตบริเวณดานหนาสถานีไฟฟาสําหรับเปนจดุรับไฟจากสายเคเบิลใตดนิ Outgoing Line ระบบ 22 kV หรือ 33 kV ของสถานีไฟฟา 2.11 เสา Antenna 2.11 บานพักพนักงาน แบบ 2 ช้ัน 4 ครอบครัว ขนาด 15.20 x 10.50 เมตร 2.12 LEGEND กําหนดรูปแบบสัญลักษณ/คําอธิบายใน General Plan

19

3. การออกแบบแผนผังฐานราก ( Foundation Layout ) การออกแบบแผนผังฐานรากเปนการออกแบบแสดงตําแหนงทีจ่ะกอสรางฐานรากของอุปกรณและสิ่งปลูกสรางภายใน Switchyard ดังนี้ 3.1 จากแบบแผนผังทั่วไปนําเฉพาะบริเวณที่เปนสวนของ Switchyard มาขยายในสดัสวนที่เหมาะสม เพือ่กําหนดเปนรูปแบบแผนผังฐานราก 3.2 พิจารณาสวนของสิ่งปลูกสรางหรืออุปกรณไฟฟาทีย่ังไมไดแสดงในแบบแผนผังทัว่ไป โดยพิจารณาจาก Single line diagram ซ่ึงเปนสวนทีแ่สดงถึงอุปกรณไฟฟาที่ทีต่ิดตั้งในสถานีไฟฟาและพิจารณาถึงสวนประกอบอื่นๆ ที่ตองมีการกอสรางฐานรากภายใน Switchyard 3.3 พิจารณาจากแบบมาตรฐานของฐานรากตางๆ และจัดทําเปนตารางแสดง Bill of Material ซ่ึงจะแสดงรายการ ( Description ) จํานวน ( QTY ) และแบบมาตรฐานที่อางอิง 3.4 กําหนดตําแหนงฐานรากตางๆลงในแบบ โดยใชแบบ Single line diagram พิจารณาประกอบ และจํานวนจะตองสอดคลองกับ Bill of material ทั้งนี้ระยะหางของฐานรากจะตองพิจารณาถึงขนาดของฐานรากและระยะความปลอดภยั 3.5 กําหนด Lidecate Position of ∅ 3', 5' Drilled 150 mm. Below Grale Level for inlet Rigid Conduit to Cable Trench โดยใชสัญลักษณ � และกําหนดขอความลงในสวนของหมายเหตุ ( Note ) ดวย 3.6 ฐานรากบางรายการอาจจะขึน้อยูกับขนาดของอุปกรณนัน้ ซ่ึงไมมแีบบมาตรฐานรองรับใหระบุเปนเครื่องหมายดอกจัน (*) และอธิบายวิธีดําเนินการในสวนของหมายเหตุ ( Note ) ในแบบดวย 3.7 กําหนด Center Line ( ) และระบุช่ืออุปกรณกํากับฐานรากตางๆ 3.8 กําหนด Legend แสดงรายระเอียดของสัญลักษณ และ Reference Drawing ( ถามี )

4. การออกแบบการเดินสายและระบบแสงสวาง การออกแบบการเดินสายและระบบแสงสวางเปนการแสดงตําแหนงการเดินสายไฟภายใน Switchyard ซ่ึงขึ้นอยูกับผูออกแบบวาจะออกแบบอยางไรใหเหมาะสมถูกตองและสวยงาม แต กฟภ. ใชหลักเกณฑดังนี้ 4.1 การติดตั้ง High Pressure Sodium Lamp ขนาด 1 x 150 w ใหตดิตั้งในแนวรั้วโดยหางจากรัว้ 1 เมตร และมีระยะหางระหวางดวงโคมประมาณ 20-25 เมตร 4.2 การติดตั้ง 400 W MERCURY VAPOUR FLOOD LIGHTING FIXUTRE จะติดตั้งบน TAKE OF STRUCTURE ของ 115 kV Switchgear และของหมอแปลง โดยติดตั้งใหมีจํานวนโคมไฟสามารถสองสวางครอบคลุม 115 kV Switchgear และ Power Transformer

20

4.3 การกําหนดตําแหนงเดินสาย Power Cable ขนาด 2 x 4.0 Sq.mm. ใหพิจารณาจํานวนดวงโคมตอวงจรใหเหมาะสม การวางสาย Power Cable ใหเดินสายเขาหา Cable Trench จุดที่ใกลที่สุดเพื่อไปรับไฟจากตู MCB ในอาคารควบคุม

21

บทที่ 5 การออกแบบระบบการตอลงดิน

1. วัสดุอุปกรณและเครื่องมือท่ีเก่ียวของ

1.1 กระดาษราง/กระดาษไข 1.2 อุปกรณเครื่องเขียน 1.3 เครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณประกอบพรอมโปรแกรม Auto CAD

2. วิธีปฏิบัตงิาน

2.1 ใชแบบแผนผังทั่วไป อางอิงในการออกแบบ 2.2 การออกแบบระบบการตอลงดินเปนการแสดงการวางสายตัวนํา และ Ground Rod ภายใน

Switchyard โดยการคํานวณ ออกแบบ Main Ground Grid (สําหรับสถานีไฟฟา 115 kV.) จากขอมูลตรวจวัด คาความตานทานดิน ดังนี้ 2.2.1 นําขอมูลในแบบฟอรม Soil Resistivity Report (FM-กอฟ-ผวฟ-002) ที่การไฟฟาเขตพื้นที่หนางานไดดําเนินการวัดคาความตานทานดิน (Soil Resistance) บริเวณที่จะ กอสรางสถานีไฟฟาตามจุดตาง ๆ ที่ระบุไวในรูปที่ดิน (การไฟฟาเขตฯ ดําเนินการดวยวิธี 4-point method ที่ระยะหางระหวาง Electrode (probe) ตาง ๆ กัน) โดยนําขอมูล คาความตานทานดินที่วัดไดที่ระยะหางระหวาง Electrode มาหาคาเฉลี่ยเพื่อนําคาที่ได มาคํานวณหาคาSoil Resistinty แลวนําคา Soil Resistivity ที่คํานวณไดที่ระยะระหวาง Electrode ตําแหนงตาง ๆ มาหาคาเฉลี่ยเพื่อใชในการคํานวณ Grounding System ตอไป 2.2.2 กําหนดชวงความลึกจากผิวดิน สําหรับ คํานวณ ออกแบบ Main Ground Grid นํา คาความตานทานของดิน เฉลี่ย ของแตละคาระยะหางระหวาง Electrode มา plot กราฟ โดยใหแกนตั้งเปนคาความตานทานดิน แกนนอนเปนคาระยะหางระหวาง Electrode แลวพิจารณาหาชวงคาระยะหางระหวาง Electrode ที่คาความตานทานดินมีการเปลี่ยนแปลงนอยที่สุด (ชวงกราฟที่เกือบเปนเสนขนานแนวแกนนอนมากที่สุด) ชวงดังกลาวคือชวงคาความลึกที่เหมาะสมที่จะฝง Main Ground Grid ในดิน เลือกระบุคาใดคาหนึ่งในชวงดังกลาว ถาชวงดังกลาวมีคามากกวา 1 เมตร ใหฝง Main Ground Grid ที่ความลึก 1 เมตร 2.2.3 กําหนดคากระแส Single Line to Ground Fault 2.2.3.1 เร่ิมตนใหเลือกใชคา 3-phase interrupting Capacity ของ 115 kV. Circuit Breaker แลวดําเนินการขั้นตอไป โดยไมตองพิจารณาขอ 2.2.3.2

2.2.3.2 พิจารณาวาสถานีไฟฟาที่จะออกแบบมีคากระแสลัดวงจรแบบ Single line to Ground Fault ของระบบมีคาสูงสุดเทาไร โดยใหคํานึงถึงแหลงจายไฟของ

22

กฟผ. และแหลงจายไฟอื่น ๆ ในอนาคตที่จะจายไฟเขาระบบ ซ่ึงเมื่อไดคากระแสลัดวงจรแบบ Single line to Ground Fault ไปใชในการคํานวณ

2.2.4 กําหนดขนาดของ Main Ground Grid กําหนดโดยขอบเขต (Perimeter) ของ Main Ground Grid จะตองอยูนอกแนวรั้ว Switchyard ดานละ 1 เมตร 2.2.5 กําหนดระยะหางระหวาง Conductor ของ Main Ground Grid เร่ิมตนใหกําหนดที่ 10 เมตร ทั้งในแนวตั้ง และแนวนอน (ส้ินสุดขั้นนี้ Computer จะสามารถคํานวณออกมาไดวาจะตองใช Conductor วางเรียงแผไปตามแนวนอน และแกนตั้งอยางละกี่เสน ซ่ึงจะแสดงเปนคา Na,Nb) 2.2.6 กําหนด Duration Time ของ Fault กําหนดที่เวลา 1 วินาที 2.2.7 กําหนดคาความหนาของกรวดหินที่โรยบนผิวดิน (ใชหิน No.2) เร่ิมตนใหกําหนดที่ 0.1 เมตร 2.2.8 กําหนดความยาวและจํานวน Ground Rod (Copper Clad Stell ขนาดเสนผา ศูนยกลาง 16 มม.) เร่ิมตนกําหนด Ground Rod ยาวแทงละ 3 เมตร จํานวน Ground Rod เทากับ 0.2 x Na x Nb เมื่อระบุคา Parameter ตาง ๆ ใน Computer ตามขั้นตอนที่ 1 ถึง 8 แลว Computer จะคํานวณคาดังตอไปนี้ 2.2.8.1 ขนาดพื้นที่หนาตัดต่ําสุดของ Bare Copper Conductor ที่ใชสราง Main Ground Grid หากคาคํานวณไดต่ํากวา 95 SQ mm. ใหใช Bare Copper Conductor ขนาด 95 SQ mm. หากคํานวณไดสูงกวา 95 SQ mm. ใหใช Bare Copper Conductor ที่มีขนาดที่คํานวณไดหรือใหญกวา (ขึ้นอยูกับขนาดของผูผลิต) 2.2.8.2 คาความตานทานของ Main Ground Grid เทียบกับดิน (Rg) หากคาที่คํานวณไดมากกวา 2 โอหม ใหดําเนินการดังนี้ (1) กลับไปขั้นตอนที่ 2.2.2 เพิ่มความลึกของ Main Ground Grid และ/ หรือ (2) กลับไปขั้นตอนที่ 2.2.5 ลดระยะหางระหวาง Conductor ทั้งในแนวแกนตั้ง และแกนนอน แตตองไมต่ํากวา 2.5 เมตร และ/หรือ (3) กลับไปขั้นตอนที่ 2.2.8 เพิ่มความยาวของ Ground Rod เปน 6,9…เมตร เพิ่มจํานวน Ground Rod ทีละ 5 แทง คอย ๆ เพิ่ม,ลด คาตาง ๆ จนกวาผลการคํานวณ Rg จะต่ํากวา 2 โอหม 2.2.8.3 Touch Voltage และ Step Voltage คาสูงสุดที่บุคคลหนัก 50 kg ทนไดในชวง Duration Time 1 วินาที ที่กระแส Fault คาที่เลือกตามขั้นที่ 2.2.3 2.2.9 กําหนดคา Current Division Factor(Sf) กําหนดที่คา 0.8 2.2.9.1คา Ground Potential Rise (GPR) หาก GPR ต่ํากวา Touch Voltage ที่คํานวณได การคํานวณจะเสร็จสิ้นแคนี้ หาก GPR สูงกวา Touch Voltage ใหพิจารณาคา Em, Es ตอไป

23

2.2.9.2คา Em และ Es หาก Em มีคาสูงกวา Touch Voltage และ/หรือ Es มีคาสูงกวา Step Voltage ใหดําเนินการดังนี้ 2.2.9.2.1 กลับไปขั้นที่ 2.2.5 ลดระยะระหวาง Conductor (แตตองไมต่ํากวา 2.5 เมตร)

2.2.9.2.2 กลับไปขั้นที่ 2.2.7 เพิ่มความหนาของชั้นกรวดหิน (แตตองไมเกิน 0.15 เมตร) 2.3 ส่ิงที่ตองดําเนินการในการออกแบบ Main Ground Grid นอกเหนือจากการคํานวณในขั้นตอนการนําขอมูลจากรายการคํานวณมาออกแบบ ใหดําเนินการดังนี้ เพิ่มเติม 2.3.1 เพิ่ม Conductor ดานฝงในสถานีฯ หางจากรั้ว Switchyard 1 เมตร ตลอดแนวรั้วทั้ง 4 ดาน 2.3.2 การวางตําแหนง Ground Rod อยาใหหนาแนนบริเวณกลางสถานีฯ ซ่ึงติดตั้ง Switchgear และพยายามวาง Ground Rod กระจายทั่วทั้งพื้นที่หนาแนนเทา ๆ กัน การวาง Ground Rod ตองออกแบบเนนใหกระจายอยางสม่ําเสมอในบริเวณรอบ ๆ สถานีฯในบริเวณ Swithchyard ที่มีการติดตั้ง Switchgear นั้น ไมจําเปนจะตองติดตั้ง Ground Rod หรือ ติดตั้งประปราย เพื่อวัตถุประสงคในการกระจายกระแสจากจุด Fault ที่ Switchgear ใหกระจายออกไปรอบ ๆ ทั่วสถานีฯ เทา ๆ กันเปนการควบคุมให GPR ที่เกิดขึ้นมีคาเทากันทั้งพื้นที่ของสถานีฯ สามารถลดอันตรายจาก Step Voltage ได 2.3.3 ขอบนอกของ Main Ground Grid จะตองอยูนอกรั้ว Switchyard 1 เมตร ที่มุมทั้ง 4 มุม จะตองติดตั้ง Ground Rod ตามขอบเขตของ Main Ground Grid ใหติดตั้ง Ground Rod ทุก ๆ ระยะ 15 เมตร และรั้ว Switchyard จะตองตอเชื่อมลง Main Ground Grid ทั้งฝงใน และฝงนอกสถานีฯ ทุก ๆ ระยะ 15 เมตร สลับกัน 2.3.4 บริเวณประตูทางเขาสถานีฯ (ทางเขา Swithyard) จะตองพิจารณาเปนพิเศษ จะตองมีการติดตั้ง Conductor เปนลักษณะ Ring รอบ ๆประตูทางเขาหางจากประตู 1 เมตร โดยพิจารณาในลักษณะที่เปนประตูผลักใหเปดเขาตั้งฉากกับแนวรั้ว Conductor จะตองอยูหางปลายสุดของประตู 1 เมตร (ดูแบบมาตรฐานการ Earthing ที่ร้ัวสถานีฯ) 2.3.5 ในกรณีที่คา Soil Restivity มีคาสูง จนไมสามารถใชกระแส Interrupting Capacity คํานวณ Grounding System ไดนั้น ในถนน Concrete ในสถานีฯ จะตองมีการวาง Steel Strip ขนาดอยางต่ํา 20 x 3 mm. ลักษณะเปน Mesh ขนาด 2 x 2 เมตร ตลอดแนวของถนน โดย Steel Mesh ดังกลาว จะตองเชื่อมติดกับเหล็กตะแกรง โครงสรางของถนน (วางบนเหล็กโครงสรางถนน และเชื่อมตอดวยเชื่อมไฟฟา) ทุก ๆ ระยะ 5 เมตร และ Steel Mesh ตองตอเชื่อมลง Main Ground Grid ทุกๆ ระยะ 10 เมตร ตามแนวถนนดวย 2.3.6 ร้ัวและประตูทางเขา (GATE and FENCE) จะตองเชื่อมถึงกันผาน Conductor ขนาด 95 SQ. mm. 2.3.7 จุดเชื่อมทั้งหมดตองเปนแบบ Exothermic Welding ไมใชแบบ Bolt Connection หรือ Clamp เด็ดขาด

24

Block Diagram การออกแบบระบบตอลงดิน STEP 1 STEP 2 STEP 3 STEP 4 STEP 5 STEP 6 STEP 7

Em < Etouch NO AND STEP 8

Es < Estep YES STEP 9

CONDUCTOR SIZE A (mm2)

BODY CURRENT Ig (50 or 70)

TOUCH & STEP CRITERIA Etouch & Esteo

GRID RESISTANCE Rg

GRID CURRENT Ig , Df , Sf , Cp

MODIFY DESIGN D, n, L

MESH & STEP VOLTAGES Em , Es , Ks , Km , Ki ,Kii , Kh

SELECT GROUND D, n, L

GPR Rg , Ig

25

บทที่ 6 การออกแบบงานดานโยธา

1. การจัดทําแผนผังบริเวณที่ดิน นําขอมูลรายละเอียดที่ดินทีไ่ดจากการสํารวจพืน้ที่หนางานมาจัดทําแผนผังบริเวณทีด่ิน โดยรายละเอียดในแบบมีดังนี้ คอื

1.1 รูปขอบเขตที่ดิน สภาพทีด่นิขางเคียงทุกดาน 1.2 คาระดับของที่ดินเมื่อเปรียบเทียบกับจุดอางอิง โดยปกติแลวจะใชคาระดับแรงดนัที่ถนน

ดานหนาที่ดินเปนจุดอางอิง โดยใหมีระดบั 100.000 1.3 ลักษณะและความกวางของถนน เสนทางและหมายเลขทางหลวง 1.4 รูปตัดแสดงคาระดับที่ดิน 1.5 แผนผังสังเขป

2. การออกแบบแผนผงัปรบัปรุงท่ีดิน โดยนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจที่ดินพื้นที่หนางานและแผนผังทั่วไปมาพิจารณาในการออกแบบ โดยตองคํานึงถึงรายละเอียดดังนี้ คือ 2.1 พิจารณาคาระดับที่ดินเทยีบกับคาระดบัถนนบริเวณดานหนาสถานี และคาระดับน้ําทวมสูงสุด เพื่อไมใหเกดิปญหาน้ําทวมขังภายในบริเวณที่ดนิ ซ่ึงระดับความสูงของดินถมขึ้นอยูกับสภาพของที่ดินแตละแหง 2.2 ในกรณีทีท่ําการถมดินภายในบริเวณที่ดิน ใหมีความลาดเอียง ( slope ) ของสันดินถมที่แนวเขตที่ดิน แนวตัง้ : แนวนอน เทากบั 1 : 1.5 ดังแสดงในรูปขางลางนี้ 2.3 ในกรณีทีท่ําการตัดดินภายในบริเวณทีด่ิน ใหมีความลาดเอียง ( slope ) ของสันดินตัด แนวตั้ง : แนวนอน เทากับ 1 : 1.5 โดยที่จะตัดดินที่ระยะ 1.00 เมตร จากแนวเขตที่ดินเขามา ดังแสดงในรูปขางลางนี้ 2.4 ในการถมดินบริเวณถนนทางเขา ใหมีความลาดเอยีง ( slope ) ของสันดินถม แนวตั้ง : แนวนอน เทากับ 1:2 พรอมทั้งวางทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเสนผานศูนยกลางใหเปนไปตามขอกําหนดของกรมทางหลวง สวนจํานวนของทอ ( ความยาวของทอลอด ) ขึ้นอยูกับความสูงต่ําในการถมดินถนนทางเขา

26

3. การออกแบบแผนผังงานโยธาสถานีไฟฟา ใชขอมูลจากการสํารวจ , แผนผังทั่วไป และขอมูลรายละเอียดการเจาะสํารวจถนนและรายละเอียดฐานราก อางอิงในการออกแบบ ในการออกแบบแผนผังงานโยธาของสถานีไฟฟาเปนการออกแบบสวนประกอบตางๆของสถานีไฟฟาทางดานโยธา โดยพิจารณาตามรายละเอียดดังนี ้

3.1 การออกแบบรั้วโดยรอบและประต ู

3.1.1 สําหรับ CONVENTIONAL SUBSTATION ร้ัวดานหนาของสถานีไฟฟาเปนร้ัวตาขายกึ่งปูน ( A-3 ) สําหรับร้ัวดานขางกบัดานหลังโดยทั่วไปเปนร้ัวลวดหนาม ( BARBED WIRE FENCE ) แตถามีถนนสาธารณะหรือสถานที่ราชการก็จะพิจารณาเปนร้ัวตาขายกึ่งปนู และประตเูปนตาขาย 3.2.2 สําหรับ GIS SUBSTATION ร้ัวโดยรอบสถานีเปนร้ัวตาขายกึ่งปูน ( A-3 )

3.2 การออกแบบการระบายน้ํา

3.2.1 วางรางระบายน้ํา คอนกรีตเสริมเหล็กตลอดแนวดานขางและดานหลังสถานี โดยใหรางระบายน้ําอยูหางจากสันดินไมนอยกวา 1 เมตร กําหนดตําแหนงระบายน้ําออกจากสถานีไฟฟา และทิศทางของการระบายน้ํา มี MANHOLE ในตําแหนงทีจ่ะระบายน้ําออกจากสถานีไฟฟาไปยังรางระบายน้ําสาธารณะ โดยเชื่อมตอดวยทอ RC 3.2.2 การระบายน้ําในลาน Switchyard โดยใหรางระบายน้ําอยูขางถนน กําหนดทิศทางของการระบายน้ํา แลวเชื่อมตอกับรางระบายน้ําโดยรอบสถานีไฟฟา 3.2.3 ออกแบบการระบายน้าํฝนจากหลังคาของอาคารควบคุมและบานพักของพนกังาน 3.2.4 ออกแบบการระบายน้าํและน้ํามันจากหมอแปลงเขาสู OIL PIT & SEPARATION TANK และระบายออกจาก OIL PIT & OIL SEPARATION TANK โดยกําหนดใหใชเปนทอเหล็กอาบสังกะสี GPS ∅ 300 mm. 3.2.5 ออกแบบการระบายน้าํจาก CABLE TRENCH โดยกําหนดทิศทางการระบายน้ําและใชทอ PVC PIPE ∅ 150 mm ระบายน้ําออกจาก CABLE TRENCH

3.3 การออกแบบถนน

กําหนดรัศมีความโคงของถนน และการแบง JOINT ถนน ซ่ึงการแบง JOINT ถนนม ี 3.3.1 CONTRACTION JOINT 3.3.2 EXPANSION JOINT 3.3.3 LONGTUDINAL JOINT

27

3.4 การจัดวางอาคารควบคุม , ตําแหนงบานพัก ตําแหนงหมอแปลงและระบบสาธารณูปโภคตางๆ ตามแบบ GENERAL PLAN พรอมทั้งแสดงชนิดของฐานราก

28

บทที่ 7 การออกแบบระบบมาตรวัดและระบบปองกัน

( Metering and Relaying Diagram )

7.1 ในการออกแบบมิเตอรและรีเลยไดอะแกรม มีการกําหนดระบบควบคุมและปองกันแบงตามชนิดของ Bay ดังนี้ 7.1.1 Line protection จัดใหมี Distance Relay (21) เปนอุปกรณปองกันหลัก และ Directional Overcurrent Relay (67) เปนอุปกรณปองกันรอง โดยทํางานรวมกับAutoreclosing Relay (79) และ Synchronizing check Relay (25) และมี CB Failure Check Relay (BF) เปนอุปกรณปองกัน สําหรับ Circuit Breaker 7.1.2 Transformer Protection ดาน High Side (115 kV.) จัดใหมี Transformer Differential Relay (87T) เปนอุปกรณปองกันหลักมี Overcurrent Relay (50/51, 50N/51N) เปนอุปกรณปองกันรอง และมี CB Failure Check Realy (BF) เปนอุปกรณปองกันสําหรับ Circuit Breaker ดาน Low Side (22,33 kV.) จัดใหมี Restricted Earth Fault Relay (87REF) เปนอุปกรณปองกันหลัก . และมี Ground Fault Relay (51G) เปนอุปกรณปองกันรอง และมี CB Failure Check Relay (BF) เปนอุปกรณปองกัน สําหรับ Circuit Breaker 7.1.3 Busbar Protection จัดใหมี Bus Differential Relay (87B) เปนอุปกรณปองกันหลัก โดยทํางานรวมกับ CT Supervision Relay (95B) มีการติดตั้ง Under & Over Voltage Relay (27/59) เปนอุปกรณปองกัน และแสดงสถานะของระดับแรงดัน 7.1.4 22,33 kV. Incoming Feeder, จัดใหมี Overcurrent Relay (50/51,50N/51N) เปนอุปกรณปองกันหลัก และมีการติดตั้ง Under & Over Voltage Relay (27/59) เปนอุปกรณปองกันและแสดงสถานะของระดับแรงดัน และมี CB Failure Check Relay ( BF) เปนอุปกรณปองกัน สําหรับ Circuit Breaker 7.1.5 22,33 kV. Bus Section จัดใหมี Overcurrent Relay (50/51,50N/51N) เปนอุปกรณปองกันหลัก และมีการติดตั้ง Under Frequency Relay (81) ใชสําหรับการ Shedding Load มี CB Failure Check Relay (BF) เปนอุปกรณปองกันสําหรับ Circuit Breaker 7.1.6 22,33 kV. Outgoing Feeder จัดใหมี Overcurrent Relay (50/51,50N/51N) เปนอุปกรณปองกันหลัก โดยทํางานรวมกับ Autoreclosing Relay (79) มี CB Failure Check Relay (BF) เปนอุปกรณปองกันสําหรับ Circuit Breaker 7.1.7 22,33 kV. Capacitor Bank จัดใหมี มี Overcurrent Relay (50/51,50N/51N) เปนอุปกรณปองกันหลักพรอม Power Factor Controller (Q) สําหรับควบคุมการปลด-สับ Capacitor Bank ในแตละ Stage มี CB Failure Check Relay (BF) เปนอุปกรณปองกันสําหรับ Circuit Breaker

29

7.1.8 สําหรับอุปกรณวัดปริมาณทางไฟฟา (Metering) จัดใหมีทุก Bay โดยตอผาน Distributed I/0 Module (DIM) ไปแสดงผลที่ Computer base Substation Control System (CSCS) 7.1.9 เฉพาะระบบ 22 kV. จัดใหมี Arc Detection System เปนอุปกรณปองกัน สําหรับ Switchgear 7.1.10 แสดงรายละเอียด Raito, Burden, Accuracy Class และ Accuracy Limit Factor ของ Instrument Transformer ตามตัวอยางขางลาง 115 KV. VT. RATIO 200 VA/0.5/1.5VF FOR METERING,200 VA/3P/1.5VF FOR PROTECTION

V115/3

115//115/

3

115:

3

000,115

115 KV. CT. RATIO 1200/1000/900/800/ 600/500/400/300/200/100:1/1/1/1 A 20VA/0.5M5 FOR METERING,20VA/5P20 FOR

PROTECTION 22 KV. VT. RATIO 50 VA/0.5/1.9VF FOR METERING ,50 VA/3P/1.9VF FOR PROTECTION 3

1122000

3

110 0

3: / V

22 KV. CT. RATIO 1800/1500/900:1/1/1/1 A - FOR INCOMING BREAKER 20 VA/0.5M5,20VA/5P20,20VA/5P20,20VA/5P20 1800/1500/900:1/1A - FOR TIE BREAKER 20 VA/0.5M5,20VA/5P20 1500/900 :1/1A - FOR NEUTRAL BUSHING CT. 20 VA/5P20, 20 VA/5P20 600/300 :1/1A - FOR OUTGOING 20 VA/0.5M5, 20 VA/5P20 600/300 :1/1A - FOR CAPACITOR BANK 20 VA/0.5M5, 20 VA/5P20

30

7.1.11 แสดงรหัสอุปกรณควบคุมและปองกันตามตัวอยางขางลาง LEGEND

CODE NO. FUNCTION 21 21N

25 27 59

50 50N 51 51N 67 67N

BF 79 81

87B 95 B 87L

DISTANCE RELAY PHASE & GROUND SYNCHRO CHECK RELAY UNDER/OVER VOLTAGE RELAY INST.OC RELAY PHASE & GROUND IDMT.OC RELAY PHASE & GROUND DIRECTIONAL OVERCURRENT RELAY CB.FAIL RELAY AUTO RECLOSING RELAY FREQUENCY RELAY BUS DIFFERENTIAL RELAY C.T. SUPERVISON RELAY FOR 87B LINE DIFFERNTIAL RELAY

87T 87REF

50 51G Q

V METER

DIM

PERCENTAGE DIFF,FOR TP.1,TP.2 DIFF, RESTRIC TED EARTH FAULT RELAY 22 kV. INST,PHASE OC,RELAY FOR ARC DETECTION SYSTEM GROUND FAULT RELAY POWER FACTOR CONTROLLER NUMERICAL VOLTMETER DISTRIBUTED I/0 MODULE (PROVIDED IN CSCS)

31

7.2 ในการออกแบบฟงกช่ันการทํางานของอุปกรณปองกันระบบ 115 kV. ดําเนินการดังนี้ 7.2.1กําหนด Protective Relay Panel โดยแบงตามชนิดของ Bay ตามตัวอยาง ขางลาง

BZP + TPP LRP + TPP

SWIN BZP – BUS ZONE PROTECTION PANEL LRP – LINE RELAY PROTECTION PANEL TPP – TRANSFORMER PROTECTION PANEL

7.2.2 G RACK TYPE PROกําหนดฟงกช่ันการทํางานของอุปกรณปองกันทางดานระบบ 115 kV. โดยแบงตามชนิดของ Relay Panel ดังนี้ (1)Line Relay Protection Panel (LRP) ออกแบบใหมี Distance Relay (21/21N) โดยใหส่ัง Trip CB ดาน 115 kV. ของ Bay Line นั้น ๆ ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Trip and Reclose สําหรับ CB Failure Check Relay (BF) ใหส่ัง Trip CB ดาน 115 kV. ออกทั้งหมด โดยมีคุณลักษณะเปนแบบ Time Delay พรอมใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ (2)Transformer Protection Panel (TPP) ออกแบบใหมี Transformer Differential Relay (87T), Restricted Earth Fault Relay (87REF), Overcurrent Relay (50/51, 50N/51N) และ Ground Fault Relay (51G) โดยใหส่ัง Trip CB ดาน 115 kV. ของ Transformer Bay นั้น ๆ และสั่ง Trip CB ของ Incoming ดาน 22 หรือ 33 kV. ออกโดยผานรีเลยชวย 86T ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Trip and Lockout สําหรับ CB Failure Check Relay (BF) ใหส่ัง Trip CB ดาน 115 kV. ออกทั้งหมด ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Time Delay และใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ (3) Bus Zone Protection Panel (BZP) ออกแบบใหมี Bus Differential Relay (87B) โดยใหส่ัง Trip CB ดาน 115 kV. ออกทั้งหมด โดยผานรีเลยชวย (86B) ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Trip and Lockout และใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ สําหรับ CT Suppervision Relay (95B) ไมมีการ Trip CB ออกจาก Bus แตใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ สําหรับ Under & Over Voltage Relay (27/59) ใหแสดงสถานะของระดับแรงดัน และใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ 7.2.3 แสดงรายละเอียดสัญลักษณของฟงกช่ันการทํางานของอุปกรณตาง ๆ ตามตัวอยางขางลาง

ANNUNCIATOR OPERATED ALARM AND FLAG INDICATED

BREAKER TRIP BREAKER TRIP AND LOCKOUT

32

BREAKER TRIP AND RECLOSE BREAKER TRIPS FOR CB FAILURE (TIME DELAYED) VIA

BUS PROTECTION TRIP RELAY WHEN ENABLED BY LINE OR TRANSFORMER PROTECTION

7.2.4 แสดงคุณสมบัติของอุปกรณตาง ๆ ตามตัวอยางขางลาง

DEVICE CHARACTERISTIC KEY SS – STANDARD SPEED HS – HIGH SPEED ER – ELECTRICAL RESET MR – MANUAL RESET SR – SELF RESET

7.3 การออกแบบฟงกชั่นการทํางานของอุปกรณปองกันทางดานระบบ 22 หรือ 33 kV. จะกําหนดฟงกชั่นการทํางาน โดยแบงตาม Feeder ที่รับหรือจายไฟของตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณปองกัน ดังนี้ 7.3.1 Incoming Feeder ออกแบบใหมี Overcurrent Relay (50/51, 50N/51N) โดยใหส่ัง Trip CB ดาน 22 หรือ 33 kV. ดาน Secondary ของหมอแปลงไฟฟากําลัง สําหรับ CB Failure Check Relay (BF) ใหส่ัง Trip CB ดาน 115 kV. ของ Transformer Bay นั้นๆออก ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Time Delay สําหรับ Instantaneous Phase Overcurrent Relay(50) ที่ใชสําหรับ arc detection system ใหส่ัง Trip CB ดาน 22kV. ที่รับไฟจากดาน Secondary ของหมอแปลงไฟฟากําลังออก ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Trip and Lockout พรอม Trip CB ตําแหนง Sectional Breaker ดาน 22 kV. โดยผานรีเลยชวย (86) สําหรับ Under & Over Voltage Relay (27/59) ใหแสดงสถานะของระดับแรงดัน และใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ 7.3.2 Outgoing Feeder ออกแบบใหมี Overcurrent Relay (50/51, 50N/51N) โดยใหส่ัง Trip CB ดาน 22 หรือ 33 kV. ดาน จายไฟออกของ Feeder นั้น ๆ ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Trip and Reclose สําหรับ CB Failure Relay (BF) ใหส่ัง Trip CB ตําแหนง Sectional Breaker และ CB ตําแหนง Incoming Feeder ที่จายไฟให Bus นั้น ๆ ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Time Delay และใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ 7.3.3 Capacitor Feeder ออกแบบใหมี Overcurrent Relay (50/51, 50N/51N) โดยใหส่ัง Trip CB ดาน 22 หรือ 33 kV. ตําแหนงที่จายไฟให Capacitor Feeder นั้น ๆ สําหรับ CB Failure Check Relay (BF) ใหส่ัง Trip CB ตําแหนง Sectional Breaker และ CB ตําแหนง Incoming Feeder ที่จายไฟ

33

34

ให Capacitor Feeder นั้น ๆ ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Time Delay และใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ 7.3.4 Bus Section ออกแบบใหมี Overcurrent Relay (50/51, 50N/51N) โดยใหส่ัง Trip CB ดาน 22 หรือ 33 kV. ตําแหนง Sectional Breaker สําหรับ CB Failure Check Relay (BF) ใหส่ัง Trip CB ตําแหนง Incoming Feeder ออกทั้งหมด ซ่ึงมีคุณลักษณะเปนแบบ Time Delay และใหมีเสียงและแสงเตือนแสดงเหตุการณที่ผิดปกติ 7.3.5 แสดงรายละเอียดสัญลักษณของฟงกช่ันการทํางานของอุปกรณตาง ๆ ตามตัวอยางขางลาง

ANNUNCIATOR OPERATED ALARM AND FLAG INDICATED

BREAKER TRIP BREAKER TRIP AND LOCKOUT BREAKER TRIP AND RECLOSE BREAKER TRIPS FOR CB FAILURE (TIME DELAYED) VIA

BUS PROTECTION TRIP RELAY WHEN ENABLED BY LINE OR TRANSFORMER PROTECTION

7.3.6 แสดงคุณสมบัติของอุปกรณตาง ๆ ตามตัวอยางขางลาง DEVICE CHARACTERISTIC KEY SS – STANDARD SPEED HS – HIGH SPEED ER – ELECTRICAL RESET MR – MANUAL RESET SR – SELF RESET