การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ...

4
.คมกฤษณ ศิริวงษ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เศรษฐกิจระหวางประเทศ เศรษฐกิจระหวางประเทศ หมายถึง ความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งมี ความสัมพันธกันอยู 3 เรื่อง คือ การคาระหวางประเทศ การเงินระหวางประเทศ และการรวมมือ ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศ หมายถึง การนําสินคาและบริการจากประเทศหนึ่งไปแลกเปลี่ยน กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งลักษณะการแลกเปลี่ยนมีทั้งที่เปนการแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา การแลก เปลี่ยนโดยใชเงินเปนสื่อกลาง และการแลกเปลี่ยนโดยใหสินเชื่อหรือเครดิต การคาระหวางประเทศ นั้นเกิดขึ้นเนื่องจากการที่ประเทศตางๆ มีลักษณะทางกายภาพและทรัพยากรที่มีความสามารถใน การผลิตแตกตางกันนั่นเอง ในการคาระหวางประเทศนั้นจะมีสินคาอยู 2 ชนิด คือ สินคาเขา (Import) คือ สินคาที่นํามาจากตางประเทศเพื่อเขามาจํ าหนาย และสินคาออก (Export) คือ สินคาที่สง ออกไปจํ าหนายตางประเทศ การคาระหวางประเทศกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนี1. ประเทศตางๆ มีสินคาครบตามความตองการ 2. ประเทศตางๆ จะมีการผลิตสินคาแบบการคา หรือมีเศรษฐกิจแบบการคา 3. การผลิตสินคาในประเทศตางๆ จะมีการแขงขันกันทางดานคุณภาพและประสิทธิภาพ 4. กอใหเกิดความรูความชํานาญเฉพาะอยาง แบงงานทําตามความถนัด นโยบายการคาระหวางประเทศ (Trade Policy) หมายถึง แนวทางปฏิบัติทางการคา กับ ประเทศตางๆ มักจะกํ าหนดขึ้นใชเพื่อรักษาไวซึ่งประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบาย การคา ระหวางประเทศแบงออกเปน 2 ประเภท คือ นโยบายการคาเสรี และนโยบายการคาคุมกัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และ เศรษฐกิจระหวางประเทศ

Upload: princess-chulabhorns-college-chiang-rai-thailand

Post on 07-Apr-2017

240 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

เศรษฐกิจระหวางประ

เศรษฐกิจระหวางประเความสัมพันธกันอยู 3 เร่ือง คทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

การคาระหวางประเทศการคาระหวางประเทศ

กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งลักษณะเปลี่ยนโดยใชเงนิเปนสือ่กลาง แน้ันเกดิขึน้เนื่องจากการที่ประเทการผลิตแตกตางกันนั่นเอง ใน(Import) คือ สินคาที่นํ ามาจากตออกไปจ ําหนายตางประเทศ

การคาระหวางประเทศ1. ประเทศตางๆ มีสินค2. ประเทศตางๆ จะมีก3. การผลิตสินคาในปร4. กอใหเกิดความรูควานโยบายการคาระหวาง

ประเทศตางๆ มักจะกํ าหนดขการคา ระหวางประเทศแบงออก

การพัฒนาเศรษฐกิจ และเศรษฐกิจระหวางประเทศ

อ.คมกฤษณ ศิริวงษโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

เทศ

ทศ หมายถึง ความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งมีือ การคาระหวางประเทศ การเงินระหวางประเทศ และการรวมมือ

หมายถึง การนํ าสินคาและบริการจากประเทศหนึ่งไปแลกเปลี่ยนการแลกเปลี่ยนมีทั้งที่เปนการแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา การแลกละการแลกเปลีย่นโดยใหสนิเชือ่หรือเครดติ การคาระหวางประเทศศตางๆ มีลักษณะทางกายภาพและทรัพยากรที่มีความสามารถในการคาระหวางประเทศนั้นจะมีสินคาอยู 2 ชนิด คือ สินคาเขาางประเทศเพือ่เขามาจ ําหนาย และสนิคาออก (Export) คอื สนิคาทีส่ง

กอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนี้าครบตามความตองการารผลิตสินคาแบบการคา หรือมีเศรษฐกิจแบบการคาะเทศตางๆ จะมีการแขงขันกันทางดานคุณภาพและประสิทธิภาพมชํ านาญเฉพาะอยาง แบงงานทํ าตามความถนัดประเทศ (Trade Policy) หมายถึง แนวทางปฏิบัติทางการคา กับึ้นใชเพื่อรักษาไวซึ่งประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายเปน 2 ประเภท คือ นโยบายการคาเสรี และนโยบายการคาคุมกัน

Page 2: การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

1. นโยบายการคาโดยเสรี (Free Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่เปดโอกาสใหมีการสงสินคาจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง ไมมีการกีดกันใดๆ ทางการคา ประเทศที่ใชนโยบายน้ีมักจะใชวิธีการดังนี้

ไมมีการเก็บภาษีคุมกัน เชน ไมมีการตั้งกํ าแพงภาษีสินคาขาเขา หรือไมมีการเก็บคาพรีเมียม เปนตน

ไมใหสิทธิพิเศษทางการคาแกประเทศหนึ่งประเทศใด ไมมีขอจํ ากดัทางการคาใดๆ เชน ไมมีการกํ าหนดโควตาสินคา เปนตน เลือกผลิตเฉพาะสินคาที่ถนัด ซึ่งทํ าใหทุนการผลิตต่ํ า สินคามีคุณภาพ

2. นโยบายการคาคุมกัน (Protective Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่จํ ากัดการนํ าสินคาเขามาแขงขันกับการผลิตในประเทศ นโยบายนี้มีวัตถุประสงคเพื่อคุมครองการผลิตภายในประเทศใหสามารถดํ าเนินการได ประเทศใดที่ใชนโยบายนี้มักจะมีเคร่ืองมือในการคุมกัน คือ การต้ังกํ าแพงภาษี การก ําหนดโควตาสนิคา การหามเขาหรือสงออกของสนิคาบางอยาง การควบคุมการแลกเปลีย่นเงนิตรา และใหเงินอุดหนุน

ปริมาณการคาระหวางประเทศและดุลการคาระหวางประเทศ ปริมาณการคาระหวางประเทศ คือ มูลคารวมของสินคาเขาและสินคาออกในระยะเวลา 1 ป สวนดุลการคาระหวางประเทศ หมายถึง การเปรยีบเทยีบระหวางมลูคาของสนิคาเขากบัมลูคาของสนิคาออก เมือ่เปรียบเทยีบแลวจะมอียู 3 ลกัษณะ ดังนี้

1. ดุลการคาเกินดุล คือ มูลคาของสินคาออกสูงกวามูลคาของสินคาเขา (ไดเปรียบดุลการคา)

2. ดุลการคาขาดดุล คือ มูลคาของสินคาออกตํ่ ากวามูลคาของสินคาเขา (เสียเปรียบดุลการคา)

3. ดุลการคาไดดุล (สมดุล) คือ มูลคาของสินคาออกเทากับมูลคาของสินคาเขาในการศึกษาปริมาณการคาระหวางประเทศ และดุลการคาระหวางประเทศจะตองศึกษา

จากมูลคาของสินคาเขาและมูลคาของสินคาออก

สรุปลักษณะการคาตางประเทศของไทย1. ใชนโยบายการคาคุมกัน เพื่อคุมครองการผลิตในประเทศโดยมีมาตรการที่สํ าคัญ เชน

การตั้งกํ าแพงภาษีสินคาเขา การกํ าหนดโควตาสินคานํ าเขา และการใหเงินอุดหนุนการผลิตหรือสงออก เปนตน

2 ใหเอกชนมีบทบาทในทางการคามากที่สุด โดยรัฐจะเปนผูอํ านวยความสะดวกให แตบางคร้ังรัฐบาลก็อาจทํ าการคากับตางประเทศโดยตรงบาง

Page 3: การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

3. ใชระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเดียว คือ สินคาเขาเปนชนิดเดียวกัน ไมวาจะสงมาจากประเทศใดก็ตาม จะเก็บภาษีศุลกากรในอัตราเดียวกัน

การเงินระหวางประเทศ

การเงินระหวางประเทศ เปนการแสดงความสัมพันธทางดานการเงินระหวางประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งความสัมพันธน้ีสืบเนื่องมาจากการคาขายระหวางประเทศ การกูยืมเงินและการชํ าระหนี้ การลงทุนระหวางประเทศและการชวยเหลือกันระหวางประเทศ

การแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ คือ การนํ าเงินตราสกุลหน่ึงไปแลกเปลี่ยนกับอีกสกุลหน่ึง การแลกเปลี่ยนเงินตราเปนสิ่งที่สํ าคัญในการดํ าเนินธุรกิจระหวางประเทศ การแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ถูกตองนั้นตองแลกที่ธนาคารพาณิชยซึ่งมีการกํ าหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว 2อยาง คือ อัตราซึ้อ (Buying) คือ อัตราที่ธนาคารรับซื้อ (ราคาตํ่ า) และอัตราขาย (Selling) คืออัตราที่ธนาคารขายไป (ราคาสูง) ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนทั้ง 2 ประเภท ธนาคารกลางเปนผูกํ าหนดโดยเทียบคาเงินของตนกับทองคํ า หรือ เงินตราสกุลอ่ืนๆ ภายใตเงื่อนไขที่กองทุนการเงินระหวางประเทศกํ าหนด

ปจจุบันประเทศไทยกํ าหนดการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ เปนแบบ "ลอยตัว"จะใชอุปสงคและอุปทานของเงินตราเปนตัวกํ าหนดอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งขึ้นอยูกับสถาบันการเงินที่ทํ าการ แลกเปลี่ยนเงินตรา

ดลุการช ําระเงนิระหวางประเทศ (Balance of Payment) หมายถงึ รายงานทีแ่สดงถึงยอดรายไดและรายจายที่ประเทศไดรับหรือจายใหแกตางประเทศในระยะเวลา 1ป บัญชีตางๆ ที่ใชแสดงรายงานดุลการชํ าระเงินระหวางประเทศมีอยู 3 บัญชี คือ

1. บัญชีเดินสะพัด เปนบัญชีแสดงรายรับและรายจายเกี่ยวกับสินคาเขาและสินคาออกหรือ ดุลการคารวมทั้งดุลบริการ และดุลบริจาค

2. บัญชีทุนเคล่ือนยาย เปนบัญชีที่แสดงเกี่ยวกับการนํ าเงินทุนไปลงทุนระหวางประเทศ3. บัญชีทุนสํ ารองระหวางประเทศ เปนบัญชีที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของจํ านวนเงิน

สํ ารองระหวางประเทศในแตละปลักษณะของดุลการชํ าระเงินระหวางประเทศ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ1.) ดุลการชํ าระเงินเกินดุล คือ รายรับสูงกวารายจาย (ทํ าใหเงินทุนสํ ารองฯ เพิ่มขึ้น)2.) ดุลการชํ าระเงินขาดดุล คือ รายรับต่ํ ากวารายจาย (ทํ าใหเงินทุนสํ ารองฯ ลดลง)3.) ดุลการชํ าระเงินไดดุล (สมดุล) คือ รายรับเทากับรายจาย

Page 4: การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

องคกรทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

กองทุนการเงินระหวางประเทศ ( International Monetary Fund : IMF ) เปนของสหประชาชาติ สํ านักงานอยูที่กรุงนิวยอรก สหรัฐอเมริกา ต้ังขึ้นมาเพื่อรวมมือกันในดานการเงินระหวางประเทศ รักษาเสถียรภาพของการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ ดูแลใหคํ าแนะนํ าและเสนอความชวยเหลือเพื่อแกปญหาการขาดดุลการชํ าระเงินแกประเทศสมาชิกหรือประเทศที่ประสบปญหาหนี้ตางประเทศ

ธนาคารโลก (World Bank) เปนของสหประชาชาติ สํ านักงานตั้งอยูที่วอชิงตัน ดี.ซี.สหรัฐอเมริกา ต้ังขึ้นมาเพื่อระดมเงินฝากจากสมาชิก และใหสมาชิกกูยืมไปใชในการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจตามโครงตางๆ โดยอัตราดอกเบี้ยต่ํ า และระยะเวลาการชํ าระหนี้ยาวนาน

สหภาพยุโรป ( European Union : EU ) มีสมาชิก 15 ประเทศ คือ เบลเยียม เนเธอรแลนด ลักเซมเบอรก ฝร่ังเศส อิตาลี กรีซ เยอรมนี อังกฤษ เดนมารก สเปน โปรตุเกส ออสเตรีย สวีเดน และฟนแลนด องคกรนี้รวมมือกันเพื่อลดการกีดกันทางการคา การบริการ และการลงทุน โดยการใชเงินสกุลเดียวกัน การเปนยุโรปตลาดเดียว และการเปนเขตการคาเสรี

สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือสมาคมอาเซียน (Association of SouthEast Asia Nations : ASEAN ) มีสมาชิก 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนสอินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว พมา บรูไน และกัมพูชา จุดประสงคของอาเซียนต้ังขึ้นเพื่อสงเสริมความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม ในหมูสมาชิก