6 อย มแบน - silpakorn university · 2010. 5. 5. · ิดีทัสื่...

284
การพัฒนาสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เรื่องมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที6 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร โดย นายธานินทร จันทอง สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2547 ISBN 974-653-888-8 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 11-Oct-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

การพัฒนาสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร

โดยนายธานินทร จันทอง

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2547

ISBN 974-653-888-8ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

A VIDEO DEVELOPMENT OF SCIENCE SUBJECT ON WATER POLLUTIONFOR PRATHOMSUKSA 6 STUDENTS , OMNOI SCHOOL , AMPHOE

KRATHUM BAEN , SAMUT SAKHON PROVINCE

ByTanin Chantong

A Master’s Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the DegreeMASTER OF EDUCATION

Department of Educational Technology Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY2004

ISBN 974-653-888-8

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหสารนิพนธเร่ือง “การพัฒนาสื่อวิดีทัศนวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร” เสนอโดย นายธานินทร จันทอง เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปกษาตามหลักสูตรปหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่ เดือน พ.ศ.

ผูควบคุมสารนิพนธรองศาสตราจารย สมหญิง เจริญจิตรกรรม

คณะกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ

ประธานกรรมการ(รองศาสตราจารย ศิริพงศ พยอมแยม)

/ /

กรรมการ (รองศาสตราจารย สมหญิง เจริญจิตรกรรม) / /

กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดิเรกฤทธิ์ บัวเวช) / /

K43468107 : สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาคําสําคัญ : ส่ือวิดีทัศน / การพัฒนาสื่อวิดีทัศน ธานินทร จันทอง : การพัฒนาสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร (A VIDEO DEVELOPMENT OF SCIENCE SUBJECT ON WATER POLLUTION FOR PRATHOMSUKSA 6 STUDENTS, OMNOI SCHOOL, AMPHOE KRATHUM BAEN, SAMUT SAKHON PROVINCE) อาจารยผูควบคุมสารนิพนธ : รศ. สมหญิง เจริญจิตรกรรม. 272 หนา. ISBN 974-653-888-8

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ตามเกณฑมาตรฐาน 80 2. เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียน และ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยไดจากการสุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 จํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก 1. ส่ือวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 2. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เร่ืองมลพิษทางน้ํา 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอส่ือวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย และการทดสอบคาที ( t- test ) ผลการวิจัยพบวา 1. ส่ือวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ําที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังจากที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ําสูงกวากอนเรียน 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน อยูในระดับมาก

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2547ลายมือช่ือนักศึกษา ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมสารนิพนธ

K43468107 : MAJOR : EDUCATIONAL TECHNOLOGYKEY WORD : VIDEO PROGRAM / A VIDEO DEVELOPMENT TANIN CHANTONG : A VIDEO DEVELOPMENT OF SCIENCE SUBJECT ON WATER POLLUTION FOR PRATHOMSUKSA 6 STUDENTS, OMNOI SCHOOL, AMPHOE KRATHUM BAEN, SAMUT SAKHON PROVINCE. MASTER’S REPORT ADVISOR : ASSO.PROF. SOMYING JAROENJITTAKAM. 272 pp. ISBN 974-653-888-8.

The purposes of this research were of three-fold : 1) to develop the video program of science subject on water pollution for Prathomsuksa 6 Students instruction with the set criterion 80 efficiency, 2) to compare the student’s learning progress before and after using the constructed video program for instruction, and 3) to study student’s satisfaction towards the video program for instruction. The research samples, by simple random sampling , consisted of 30 Prathomsuksa 6 Students from Omnoi School , Amphoe Krathum Baen, Samut Sakhon Province in the first semester , Academic Year 2003. The research instruments consisted of : 1) video program on water pollution for Prathomsuksa 6 Students, 2) learning progress test on water pollution, 3) the student’s satisfaction rating scale towards the video program instruction. The descriptive statistics and t- test were employed for data analysis through percentage , mean , and t –value. The results of this study revealed as follows : 1. The efficiency of constructed video program on water pollution had met the set criterion 80. 2. The student’s learning progress after using the video program on water pollution were higher than those before using it. 3. The student’s satisfaction towards the constructed video program instruction were generally high.

Department of Educational Technology Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2004Student’s signature Master’s Report Advisor’s signature

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดเพราะความเมตตากรุณา การใหความชวยเหลือ แนะนํา การสละเวลาจากทานอาจารยและบุคคลตาง ๆ ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งเปนอยางยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณคณาจารยและผูเกี่ยวของดังตอไปนี้

อาจารยที่ป รึกษาและควบคุมสารนิพนธ ไดแก รองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม

อาจารยประธานกรรมการและอาจารยผูทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบสารนิพนธ ไดแก รองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม และผูชวยศาสตราจารยดิเรกฤทธิ์ บัวเวช

อาจารยผูเรียบเรียงสารนิพนธภาษาอังกฤษ ไดแก ผูชวยศาสตราจารย ดร. ยุทธนา สาริยา รองศาสตราจารยประทิน คลายนาค ผูช วยศาสตราจารยจี รา รัตน ชิร เวทย ผูชวยศาสตราจารยเรวดี ศรีเอี่ยมสะอาด ซ่ึงเปนผูเชี่ยวชาญที่ใหความกรุณาในการตรวจสอบเครื่องมือ ผูชวยศาสตราจารย ดร. มัลลิกา ปญญาคะโป อาจารยกมล ปยภัณฑ อาจารยนฤมล ปภัสสรานนท ซ่ึงเปนผูเชี่ยวชาญที่ใหความกรุณาในการตรวจสอบเนื้อหา

ผูอํานวยการโรงเรียน วัดออมนอย ผูอํานวยการโรงเรียนออมนอยโสภณชนูปถัมถ ผูอํานวยการโรงเรียนวัดศรีสําราญราษฎรบํารุง ตลอดจนคณะครูอาจารยและนักเรียนทุกคนในโรงเรียนที่เปนกลุมตัวอยางในการวิจัย

ขอขอบคุณ คุณจิระศักดิ์ ชูขุนนํา คุณสันติพงษ วชิรานุวงศ คุณเสาวภา สังขทีป กรมควบคุมมลพิษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ที่ไดเสียสละเวลาในการใหขอมูล การตัดตอ เอื้อเฟอภาพบางสวนและวัสดุ อุปกรณในการบันทึกเทปสื่อวิดีทัศนใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ และนอง ๆ ภาคเทคโนโลยีการศึกษาทุกคน ที่ใหกําลังใจ และความหวงใยตลอดมา ขอไดรับการกราบขอบพระคุณมา ณโอกาสนี้ดวย

ขอขอบคุณ คุณจิรพรรณ จันทอง และคุณธนศักดิ์ จันทอง ที่ใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือ หวงใยรวมทั้งเปนกําลังใจเปนคูชีวิตที่ดีและเปนบุตรที่ดีของผูวิจัยเสมอมา

ที่สําคัญงานวิจัยคร้ังนี้จะสําเร็จมิไดหากขาด คุณพอประดิษฐ คุณแมทองประพันธ จันทอง คุณพี่สุรวุฒิ จันทอง คุณพี่อรอนงค อูเวียงคอย คณุพี่เกษม คุณพี่มาลัย คําสุข คุณหมอปญญาแถวเถื่อน และนองๆ ทุกคนที่สละแรงใจ แรงกาย แรงทรัพย ตลอดจนความหวงใยและความปรารถนาดีแกผูวิจัยจนสําเร็จการศึกษาสมปรารถนา ประโยชนและคุณคาอันเกิดจากสารนิพนธฉบับนี้ผูวิจัยขอมอบบูชาแดพระคุณพอ แมและบูรพาจารยทุกคนที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู ทั้งหลายแกผูวิจัย

สารบัญ หนาบทคัดยอภาษาไทย งบทคัดยอภาษาอังกฤษ จกิตติกรรมประกาศ ฉสารบัญตาราง ญสารบัญแผนภูมิ ฏบทที่

1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญ 1

วัตถุประสงคและสมมติฐานของการวิจัย 10ขอบเขตของการวิจัย 10

ขอตกลงเบื้องตน 11 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ 13

หลักสูตร 14ความหมายของหลักสูตร 14

ความสําคัญของหลักสูตร 15องคประกอบของหลักสูตร 17

การพัฒนาหลักสูตร 17 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร 18 พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร 18 กระบวนการพัฒนาหลักสูตร 20

เนื้อหาที่เกี่ยวของ เร่ือง มลพิษทางน้ํา 23 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 23

เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา 34การพัฒนาการใชวิดีทัศนเพื่อการเรียนการสอน 82

ความหมายและคุณคาของวิดีทัศน 82ประเภทของรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา 86รูปแบบรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา 87การใชวิดีทัศนในหองเรียน 90

บทที่ หนาการผลิตรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา 90การประเมินหาประสิทธิภาพของสื่อการสอน 95

งานวิจัยที่เกี่ยวของ 97งานวิจัยภายในประเทศ 97งานวิจัยในตางประเทศ 99

3 วิธีดําเนินการวิจัย 102ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย 102เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 103การสรางเครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 103

การสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง 103การสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศน 104การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 107การสรางแบบสอบถามความพึงพอใจ 109

แบบแผนการวิจัย 111การดําเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล 111การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 112

4 ผลการวิเคราะหขอมูล 116ตอนที่ 1 ผลการสัมภาษณแบบมีโครงสราง 116ตอนที่ 2 การหาประสิทธิภาพของสื่อ 118ตอนที่ 3 การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 120ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน 121

5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 126สรุปผล และอภิปรายผล การวิจัย 128ขอเสนอแนะทั่วไปและเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 131

บรรณานุกรม 133

หนาภาคผนวก 142

ภาคผนวก ก รายช่ือผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ 143ภาคผนวก ข คา IOC ขอคําถาม คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r)

และคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 145ภาคผนวก ค คา IOC ของเนื้อหากับจุดประสงค

คา IOC ของขอคําถามในแบบประเมินสื่อ และคา IOC ขอคําถามในแบบสอบถามความคิดเห็น 166ภาคผนวก ง แบบประเมินสื่อ 171ภาคผนวก จ การเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 175ภาคผนวก ฉ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 177ภาคผนวก ช Print out เปรียบเทียบความกาวหนาทางการเรียน 270

ประวัติผูวิจัย 272

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา1 เกณฑเฉล่ียระดับความพึงพอใจ 110

2 สรุปแนวคิดบทสัมภาษณจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาตอการพัฒนาสื่อวิดีทัศน 116 3 สรุปแนวคิดบทสัมภาษณจากผูเชี่ยวชาญดานสื่อวิดีทัศน 117 4 ผลการทดลองสื่อแบบหนึ่งตอหนึ่ง 118 5 ผลการทดลองสื่อแบบกลุมเล็ก 119 6 ผลการทดลองสื่อภาคสนาม 120 7 คาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 120 8 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 1 121 9 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 2 122

10 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 12311 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 4 12412 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 5 12513 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ตอนที่ 1 14614 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ตอนที่ 2 14715 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ตอนที่ 3 14816 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ตอนที่ 4 14917 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ตอนที่ 5 15018 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ตอนที่ 1 15119 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ตอนที่ 2 15220 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ตอนที่ 3 15321 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ตอนที่ 4 15422 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ตอนที่ 5 15523 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยงตรง ตอนที่ 1 15624 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยงตรง ตอนที่ 2 15825 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยงตรง ตอนที่ 3 16026 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยงตรง ตอนที่ 4 16227 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยงตรง ตอนที่ 5 164

สารบัญตาราง (ตอ)ตารางที่ หนา 28 คา IOC ของเนื้อหากับจุดประสงค 167 29 คา IOC ของขอคําถามในแบบประเมินสื่อ 169 30 คา IOC ของขอคําถามในแบบสอบถามความพึงพอใจ 170 31 การประเมินคุณภาพสื่อวิดีทัศนจากผูเชี่ยวชาญ 172 32 การเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนและคา t-test 176

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที่ หนา1 ประชากรที่ใชในการวิจัย 1032 สรุปขั้นตอนการสรางสื่อวิดีทัศน 1073 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 1094 ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความพึงพอใจ 1105 แสดงการดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล 1126 ลําดับการสอนโดยใชส่ือวิดีทัศน 198

1

บทท่ี 1บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาเมื่อหาสิบปกอนประเทศไทยมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณมากเราเคยมีปาไม

กวางใหญไพศาลเปนพื้นที่มากกวาครึ่งหนึ่งของประเทศ ไมสักของเราเปนไมมีคาซ่ึงทั่วโลกตองการมีสัตวน้ํานานาชนิดจํานวนมาก มีแรธาตุ เชน ดีบุก และวุลแฟลม ทั้งบนบกและในทะเล มีน้ําธรรมชาติอยูในแมน้ําลําคลองทั่วไป น้ําใสสะอาดจน กุง ปลา หอย และเตา อาศัยอยูอยางสบาย ส่ิงที่คอยคํ้าจุนมวลมนุษยชาติและส่ิงมีชีวิตตางๆ ไดดําเนินชีวิตไดเร่ือยมาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ ก็คือทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูมากมายบนพื้นโลกอันไดแก ทรัพยากรดิน น้ํา ปาไม ฯลฯ ซ่ึงรอบๆ ตัวเราลวนแลวแตเปนทรัพยที่ไดจากธรรมชาติทั้งสิ้น มนุษยเราจึงดํารงชีวิตไดอยางมี ความสุขเรื่อยมา เนื่องจากมีทรัพยากรใหใชอยางมากมาย ดังคํากลาวที่วา “เมืองไทยใหญอุดม ดินดีสมเปนนาสวน” ไดแสดงใหเห็นถึงความอุดมสมบูรณของผืนดินและพืชสัตวของประเทศไทย แตนั้นเปน คํากลาวที่จะกลายเปนอดีตไปแลว ดังที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2540 : 20) กลาวไวในแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติฉบับที่ 8 วา “จํานวนประชากรเพิ่มสูงขึ้น การขยายตัวเมือง การพัฒนาทางอุตสาหกรรมและการทองเที่ยว ทําใหตลอดระยะเวลาที่ผานมาไดมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ ดิน น้ํา ปาไม อยางสิ้นเปลือง โดยขาดความระมัดระวังและมิไดสรางขึ้นมาใหมเพื่อทดแทน ทําใหทรัพยากรขาดสมดุลทางธรรมชาติ มีสภาพทรุดโทรม เกิดการขาดแคลนราคาแพง สงผลกระทบตอสภาพแวดลอมใหเกิดวิกฤติ และมีแนวโนมการแยงชิงทรัพยากร ธรรมชาติระหวางกลุมชนตางๆ มากขึ้น ทําใหเกิดความขัดแยงที่นําไปสูความรุนแรงในสังคมอีกดวย” ซ่ึง สอดคลองกับ วสารักษ แกวจินดา (2539 : 1) ไดกลาววา “ยิ่งมนุษยพัฒนาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสูงขึ้น ยิ่งเปนการเรงอัตราการทําลายและเพิ่มความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแกสภาวะแวดลอมมีผลกระทบตอทุกชีวิตไปพรอมๆ กัน เชน อากาศแปรปรวน น้ําทวม ภัยแลงปรากฏการณเรือนกระจก ฯลฯ ที่สําคัญการใชทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณหนึ่ง” นอกจากจะสงผลกระทบตอบริเวณนั้นแลวยังอาจจะสงผลตอพื้นที่ใกลเคียงหรือตอทรัพยากรอื่นๆ ที่มีอยูในบริเวณเดียวกันดวย (สหัทยา วิเศษ 2540 : 1)

ผลกระทบของการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติไดทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ ทําให หนวยงานตางๆ เร่ิมตระหนักในคุณคาของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น ถึงขั้น

2

กําหนดเปนนโยบายการอนุรักษและฟนฟูส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยท่ีประเทศไทยไดเปล่ียนแปลงแนวคิดในการพัฒนาประเทศจากเดิมที่เนนการพัฒนาประเทศใหมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) ถึง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) ซ่ึงในชวง 3 ทศวรรษ (พ.ศ. 2504-2539)ที่ผานมาไดทําใหประเทศไทยประสบปญหาวิกฤติทางดานสิ่งแวดลอมมากมาย ทั้งในเรื่องของความเสื่อมโทรมทางดานนิเวศวิทยา การสูญสิ้นสัตวและพันธุพืชชนิดตางๆ ความเสื่อมโทรมของเนื้อดิน อากาศเปนพิษ และการสะสมของขยะมูลฝอย ทําใหเกิดการแพรหลายของสัตวที่เปนพาหะนําโรคจนเกิดปญหาสุขภาพอนามัยของมนุษย รวมไปถึงการที่กิจกรรมในการดํารงชีวิตของมนุษย ก็เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความเสียหายตอส่ิงแวดลอมเปนอันมาก ความ เสื่อมโทรมทางดานสิ่งแวดลอมที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงความไมเสมอภาคของคนสวนใหญ ของประเทศในการที่จะใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ กอใหเกิดแนวคิด ในการพัฒนาประเทศ ที่หันมาเนนใหคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา หรือเนนการพัฒนาคน ใหมากขึ้น ดังที่ปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) ซ่ึงเชื่อมโยงไปสูแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) ในแนวคิดของการพัฒนาที่ตอเนื่องกัน ทําใหกระแสการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมมีแนวดําเนินการที่ชัดเจน โดยมีความเห็นพองกันวาการที่จะรวมกันอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมนั้นตองเรงดําเนินการ โดยดวนโดยเฉพาะอยางยิ่งคือการมุงเนนที่จะปลูกจิตสํานึก เร่ืองการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมแกนักเรียนที่กําลังเรียนในระดับการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานไปพรอมกับ การเรียนรูตามหลักสูตรและเนนที่การลงมือปฏิบัติอยางตอเนื่อง ดวยมีความเห็นตรงกันวาการใหการศึกษาเรื่องสิ่งแวดลอมแกเยาวชนของชาติในชวงอายุนอยลงเทาใดก็จะปลูกฝงจิตสํานึกเรื่อง การอนุรักษและพัฒนา ส่ิงแวดลอมใหฝงลึกลงไปในจิตใจของเยาวชนไทยและสงผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใหยั่งยืนมากขึ้นเพียงนั้น

จากสภาพการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา รวมทั้งแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมดังกลาวชี้ชัดถึงเวลาที่จะตองมีการปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษาของชาติ โดยเฉพาะหลักสูตรในระดับประถมศึกษา ดวยเหตุดังกลาว กรมวิชาการในฐานะหนวยงานที่รับผิดชอบ จึงไดดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2533) เปนหลักสูตรขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการโดยกรมวิชาการไดติดตามผลและดําเนินการวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักสูตรตลอดมา ผลการศึกษาวิจัย พบวา หลักสูตรที่ใชในปจจุบันนานกวา 10 ป มีขอจํากัดอยูหลายประการ ไมสามารถสงเสริมใหสังคมไทยกาวไปสูสังคมความรูไดทันการณใน เร่ืองสําคัญตอไปนี้

3

1. การกําหนดหลักสูตรจากสวนกลางไมสามารถสะทอนสภาพความตองการที่แทจริงของสถานศึกษาและทองถ่ิน

2. การจัดหลักสูตรและการเรียนรู คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ยังไมสามารถ ผลักดันใหประเทศไทยเปนผูนําดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในภูมิภาค จึงจําเปนตองปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนใหคนไทยมีทักษะ กระบวนการ และเจตคติที่ดีทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี มีความคิดสรางสรรค

3. การนําหลักสูตรไปใชยังไมสามารถสรางพื้นฐานในการคิด สรางวิธีการเรียนรูให คนไทยมีทักษะในการจัดการและทักษะในการดําเนินชีวิต สามารถเผชิญปญหาสังคมและเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. การเรียนรูภาษาตางประเทศยังไมสามารถที่จะทําใหผูเรียนใชภาษาตางประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษในการติดตอส่ือสารและการคนควาหาความรูจากแหลงการเรียนรูที่มีอยู หลากหลายในยุคสารสนเทศ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กําหนดใหบุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองป ที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึง และมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย การจัดการศึกษาอบรมของรัฐตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคกรปกครองทองถ่ิน และชุมชน ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาพุทธศักราช2542ไดกําหนดใหการศึกษาเปนกระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล สังคม โดยการถายทอดความรู การเมือง การอบรม การสืบสานวัฒนธรรม การสรางสรรคความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรู อันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอมสังคมแหงการเรียนรู และปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต การศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข เปดโอกาสใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่องในการจัดทําหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเปนไทย ความเปนพลเมืองที่ดีของชาติ การดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ และใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทําหลักสูตร สาระของหลักสูตรในสวนที่เกี่ยวกับ สภาพปญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

ดวยวิสัยทัศนของรัฐที่เช่ือมั่นนโยบายการศึกษา สรางคน สรางงาน เพื่อชวยกอบกูวิกฤติ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศเปนการสรางชาติใหมั่นคงไดอยางยั่งยืน เชื่อมั่นในนโยบาย การศึกษาในการสรางชาติ ปรับโครงสรางและระบบการศึกษา ใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

4

บูรณาการในการปฏิรูปการเรียนรู กระทรวงศึกษาธิการ โดยอาศัยอํานาจตามความในบทเฉพาะกาล มาตรา 74 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 เห็นสมควรใหมีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลาวคือ เปนหลักสูตรแกนกลาง ที่มีโครงสราง หลักสูตร ยืดหยุน กําหนดจุดมุงหมายซ่ึงถือเปนมาตรฐานการเรียนรู ในภาพรวมสิบสองป สาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรูแตละกลุมสาระ และมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เปนชวงชั้นละ 3 ป จัดเฉพาะสวนที่จําเปนสําหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเปนไทย ความเปนพลเมืองดีของชาติ การดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ ใหสถานศึกษาจัดทําสารใน รายละเอียดเปนรายปหรือรายภาค ใหสอดคลองกับสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน รวมถึงจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด ความสนใจของผูเรียนแตละกลุมเปาหมาย

ดวยความสําคัญและความจําเปนที่ตองเรงปลูกฝงความรูเร่ืองสิ่งแวดลอมอยางเรงดวนดังที่ กลาวมา ทําใหมีการกําหนดเรื่องนี้ไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ในหมวด 4 หนาที่ของชนชาวไทย มาตรา 69 ตอนหนึ่ง วา... บุคคลมีหนาที่อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และ ส่ิงแวดลอมทั้งนี้ตามที่กฎหมายกําหนด นอกจากนี้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ก็ไดกลาวถึงเรื่องนี้ไวใน หมวด 4 มาตรา 23 ความวา การจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญ ทั้งดานความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และการบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษาซึ่งในมาตราที่ (2) ระบุวาสถานศึกษาตองจัดการเรียนรูใหนักเรียนมีความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและประสบการณเรื่องการจัดการ การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางยั่งยืน ซ่ึงสอดคลองและเชื่อมโยงไปถึง มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินภายนอก : ระดับการศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542 : 18) ที่ไดมีการกําหนดเรื่องของการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมไวในมาตรฐานดานผูเรียน มาตรฐานที่ 3 ความวา ผูเรียนมีจิตสํานึกที่เห็นแกประโยชนสวนรวม อนุรักษและ พัฒนาสิ่งแวดลอมโดยมีตัวบงชี้ที่สําคัญ คือ

1. รูคุณคาของสิ่งแวดลอมและตระหนักถึงผลกระทบตอตนเอง และสังคมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม

2. ปฏิบัติตนใหเปนประโยชนตอสวนรวมและมีสวนรวมอนุรักษส่ิงแวดลอม3. ใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคาทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงที่อยูตามธรรมชาติ ซ่ึงไดแก อากาศ น้ํา ดิน แรธาตุ

ปาไม สัตวปา พลังงานความรอน พลังงานแสงแดดและอื่นๆ มนุษยไดใชทรัพยากรในการดํารง

5

ชีวิตนับตั้งแตเกิดจนกระทั่งตาย ทรัพยากรธรรมชาติจึงเปนประโยชนและมีความสําคัญอยางยิ่งตอ มวลมนุษย

ส่ิงแวดลอม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่อยูรอบตัวมนุษยทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่เปนรูปธรรม (จับตองและมองเห็นได) และนามธรรม (วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เปนปจจัยในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปจจัยหนึ่งจะมีสวนเสริมสรางหรือทําลายอีกสวนหนึ่งอยางหลีกเล่ียงมิได ส่ิงแวดลอมเปนวงจรและวัฏจักรที่เกี่ยวของกันไปทั้งระบบ อยางไรก็ดี ส่ิงแวดลอมอาจแยกออกเปนลักษณะกวางๆ ได 2 สวนคือ

- ส่ิงแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา ดิน น้ํา อากาศ ฯลฯ- ส่ิงแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น เชน ชุมชน เมือง ส่ิงกอสราง โบราณสถาน ศิลปกรรม

ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ฯลฯจะเห็นไดวาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของกับมนุษยอยาง

แนบแนน ในอดีตปญหาเรื่องความสมดุลของธรรมชาติตามระบบนิเวศนยังไมเกิดขึ้นมากนัก ทั้งนี้เนื่องจาก ผูคนในยุคตนๆ นั้น มีชีวิตอยูใตอิทธิพลของธรรมชาติ ความเปลี่ยนแปลงทางดาน ธรรมชาติและสภาวะแวดลอมเปนไปอยางคอยเปนคอยไปจึงอยูในวิสัยที่ธรรมชาติสามารถปรับดุลของตัวเองได ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและปญหาสิ่งแวดลอมที่รุนแรงจึงยังไมปรากฏ แตอยางไรก็ตาม จากการที่ความเจริญทางดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมขยายตัวมากขึ้น มนุษยขวนขวายหาความสุขสบายมากขึ้น มีการใชทรัพยากรธรรมชาติมากยิ่งขึ้น และเกือบทุกประเทศ ตางก็มุงพัฒนาทางดานเศรษฐกิจกันอยางจริงจัง ปญหาทางดานสิ่งแวดลอมจึงปรากฏใหเห็นบาง แตก็ยังพอที่จะอยูในวิสัยและสภาพที่รับได

กาลเวลาผานมาจนกระทั่งถึงระยะเมื่อไมกี่สิบปมานี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งทศวรรษที่ผานมา (ระยะสิบป) ซ่ึงเรียกวา “ทศวรรษแหงการพัฒนา” นั้น ปรากฏวาไดเกิดมีปญหารุนแรงทางดาน ส่ิงแวดลอมขึ้นในบางสวนของโลกและปญหาดังกลาวนี้ก็มีลักษณะคลายคลึงกันในทุกประเทศ ทั้งที่พัฒนาแลวและกําลังพัฒนา เชน ปญหาทางดานภาวะมลพิษที่เกี่ยวกับน้ํา อากาศ ดินและ สารเคมีตางๆ ฯลฯ

เมื่อผลจากการเรงรัดพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ปรากฏวา ในหลายกรณีกอใหเกิดความเสื่อมโทรมในดานคุณภาพสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น นักพัฒนาและ นักวางแผนที่มีเหตุผลก็เร่ิมตระหนักวาการเรงรัดนําเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใชใหมากที่สุด เพื่อเรงและเนนความจริงทางดานวัตถุนั้นอาจไมสามารถสรางคุณภาพที่ดีของชีวิต ความสุข ความสะดวกสบายใหแกชีวิตดังที่มุงหมายไวได ทั้งนี้ก็ดวยเหตุผลที่วามนุษยอาจจะมีความสะดวกสบาย

6

มากขึ้นแตก็ตองเสี่ยงกับภัยจากมลพิษ ในอากาศ ในน้ํา ในอาหาร และความเสื่อมโทรม ทางดาน สุขภาพจิต เปนตน

พระบาทสมเด็จพระเจ าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเปนบิดาแหงการอนุ รักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม พระองคทรงเปนผูกอตั้งโครงการในพระราชดําริหลาย โครงการที่เกี่ยวกับน้ํา เชน โครงการแกมลิงปองกันน้ําทวม โครงการปลูกหญาแฝกเพื่อลดความ รุนแรงของน้ํา และปองกันการชะลางพังทลายของหนาดินเปนตน เพราะพระองคเล็งเห็นความสําคัญของน้ําและในโอกาสนี้พระองคทรงมีพระราชดํารัสพระราชทานแกคณะบุคคลตางๆ ที่ เขาเฝาถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิตาลัย วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2532 ความวา

“...เมืองไทยนี้อีกหนอยแลงไมเหลือ ไมมีน้ําเหลือ คือ ตองไปซื้อน้ําจากตางประเทศ ซ่ึงก็อาจเปนไปได แตวาเชื่อวาไมไดเปนอยางนั้น เพราะวาถาคํานวณดูน้ําในประเทศไทยที่ไหลเวียนอยูอยางนั้นยังมีอยู เพียงแตตองบริหารใหดี ถาบริหารใหดีแลวมีเหลือเฟอ” และ “แมจะไปซื้อน้ําจากตางประเทศก็กลายมาเปนน้ําเนาหมด เพราะวาเอามาใชโดยไมระมัดระวัง ถาเรามีน้ําแลวก็มาใชอยางระมัดระวังขอหนึ่ง และควบคุมน้ําที่เสียไปอยางดีอีกขอหนึ่งก็อยูได” (กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม 2535 : 24)

น้ําหรือแหลงน้ํามีความจําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิตไมวาจะเปนมนุษย สัตว หรือพืช ในการ ดํารงชีพ โดยเฉพาะมนุษยนั้น แหลงน้ํามีความสําคัญอยางยิ่งตอชีวิตประจําวัน ทั้งดานการอุปโภค บริโภค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรมและคมนาคม ซ่ึงในอดีตน้ําหรือแหลงน้ําไมวาจะเปนน้ําผิวดิน ใตดิน ชายฝง และน้ําทะเล จะไมเนาเสียหรือเกิดภาวะมลพิษ เพราะธรรมชาติสามารถปรับสภาพความสมดุลและฟนฟูตัวเองไดระดับหนึ่ง ทําใหเกิดการหมุนเวียนแมจะมีการปนเปอนจากสารหรือมลสาร แตก็มีปริมาณไมมากจึงสามารถนํากลับมาใชใหมไดอยางเหมาะสม แตเมื่อมีความเจริญเติบโตของสังคมจนเกิดเปนชุมชน มีการพัฒนาดานอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและพาณิชยกรรม ทําใหธรรมชาติไมสามารถปรับเปลี่ยนหมุนเวียนตัวเองไดทัน ปญหาน้ําเสียจึงเกิด จนทําใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศนและการใชประโยชนจากแหลงน้ํา (กรมสงเสริมคุณภาพ ส่ิงแวดลอม 2535 : 5)

ส่ิงสําคัญที่จะชวยใหทุกคนเห็นคุณคาของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่เหลือนอยเต็มทีในขณะนี้ คือ การศึกษา ซ่ึงจะเปนสิ่งชวยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนไปในทางที่คาดหวัง (ประเวศ วะสี 2534 : 81) แตทวาระบบโรงเรียนไดสรางรั้วปองกันตัวเอง ออกจากชุมชนและสังคม วิธีการเรียนการสอนมุงเนนการถายทอดเนื้อหาวิชามากกวาการเรียนรูจากสภาพที่เปนจริง (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542 : 67) การใหความรูแกผูเรียนนั้นไดจากครู

7

ซ่ึงครูจะเปนตัวกลางนําความรูแบบตะวันตก หรือจากสวนกลางที่กล่ันกรองมาจากนักวิชาการมากมาย มาถายทอดสูผูเรียน โดยนักวิชาการเหลานั้นไดสรางหลักสูตรเนื้อหาวิชาที่ไมสอดคลองกับสภาพของทองถ่ินเทาที่ควร ทําใหความรูที่ไดรับไมสอดคลองกับสภาวะแวดลอมหรือในทองถ่ินที่ตนอยูอาศัย กระแสพัฒนาที่ไมไดอยูบนพื้นฐานของสภาพความเปนจริง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2542 : 20) ไดระบุไวในแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติฉบับที่ 8 วา “การพัฒนาที่มีเปาหมายความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพื่อความมั่นคงของประเทศเพียงอยางเดียว ละเลยการพัฒนาทางสังคม วัฒนธรรม และส่ิงแวดลอมใหลาหลังตามเศรษฐกิจไมทัน ยอมมิใชการพัฒนาที่จีรังยั่งยืนอีกตอไป” และศักดิ์ดา ชูศรี (2539 : 11) กลาววา “การถายทอดกระบวนการหรือความรูไปยังผูเรียน หากมีแตการบรรยายแลวใหผูเรียนไดคิดตาม ก็อาจจะทําใหการสื่อสารไมตรงกันทําใหเกิดความเขาใจที่คลาดเคลื่อน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีส่ือกลางเขามาชวยในการเรียนการสอน เพราะสื่อการสอนชวยทําใหผูเรียนไดเขาใจเนื้อหาไดงายและเร็วขึ้น นอกจากนั้นสื่อยังชวยเสริมสรางการเรียนรู ซ่ึงอาจเปนไดทั้งสื่อบุคคล วัตถุหรือตลอดจนกิจกรรมตางๆ ส่ือการสอนเปนตัวกลางใหผูเรียนรับรูในสิ่งที่ถายทอดและทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู (วนิดา สุขขี 2540 : 22) และเปรื่อง กุมุท (2519 : 51) กลาวถึงการรับรูวา “การสัมผัสทางจักษุประสาทใหผลทางการรับรูมากที่สุดและความรูจะคงทนไดนานที่สุดถึงรอยละ 75 และรองลงมาคือโสตประสาทใหผลการรับรูและอยูคงทนถึง รอยละ13 ” ซ่ึงสอดคลองกับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2540 : 237) ที่กลาววา “ทางดานเทคโนโลยีการศึกษายอมรับวาเสียงและภาพมีความสําคัญจนถึงกับใหเปนสื่อการสอน โดยยกยองให “โสตทัศน” เปนสื่อการสอนที่ผานชองทางของการไดยิน (โสตะ) และผานชองทางการเห็น (ทัศนะ)

วิดีทัศนเปนสื่อที่สามารถเสนอไดทั้งภาพและเสียงรวมกันอีกทั้งใหภาพที่เคล่ือนไหว สอาด ทิพยมงคล (2534 : 16) กลาววา การพัฒนาคุณภาพของประชากรใหไดผลอยางรวดเร็วและประหยัด วิดีทัศนเปนสื่อที่มีบทบาทมากในการใหการศึกษาแกประชากรอยางทั่วถึง เพราะสามารถถายทอดความรูไดทุกรูปแบบ ตั้งแตความรูจากงายไปหากระบวนการที่ซับซอนได เปนเครื่องมือที่สามารถสอนไดเหมือนกับการสอนโดยครูโดยตรง ซ่ึงสอดคลองกับทัศนีย นาครักษ (2540 : 32) วิดีทัศนเปนสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพ สามารถใชประกอบการสอนหรือสอนแทนครูในเรื่องตางๆ ไดในบางโอกาส เชน ใชเปนสื่อหลักหรือเปนสื่อเสริมในการสอน ชวยแกปญหาการขาดแคลนครู ที่มีความสามารถเฉพาะดานดวยรายการวิดีทัศน เปนสื่อที่เขาถึงผูชมไดอยางกวางขวางและมีความนิยมกันแพรหลาย มีการปรับปรุงรูปแบบของรายการใหเหมาะสมกับการนํามาใชในวงการศึกษา เพื่อสงเสริมการดํารงชีวิตที่ดี เพิ่มพูนความรูขาวสารใหประชาชนทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน แนวทางปฏิบัติตางๆ ถาไดมีการเผยแพรโดยใชวิดีทัศนจะใหผลดีกวาวิธีการอื่นๆ

8

(เสาวนีย สิกขาบัณฑิต 2528 : 274) รายการวิดีทัศนเปนสื่อที่มีอิทธิพลสําคัญตอเยาวชน เพราะรายการวิดีทัศนสามารถเขาถึงตัวผูเรียนโดยไปถึงแหลงที่อยู ใหสัมผัสทั้งประสาทหูและประสาทตา สามารถเราอารมณโนมนาว ชักจูงและแนะนําได (ภูษิต อานมณี 2541 : 4) นอกจากนี้เยาวชนจะรับเอา เจตคติและรูปแบบความประพฤติ ใหมๆ ที่ ได เห็นจากรายการวิดีทัศน เข าไป เลียนแบบพฤติกรรมนั้น เพราะเขายังไมสามารถที่จะแบงแยกไดวา พฤติกรรมใดที่ควรจะสังเกตและเลียนแบบได หรือ พฤติกรรมใดไมควรเลียนแบบ (Bandura 1977 : 39-40) สวนศศิธร พวงผกา (2535 : บทคัดยอ) ไดศึกษาความคิดเห็นของกลุมผูผลิตรายการและนักเรียนชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับรายการโทรทัศนสําหรับเด็ก พบวา “กลุมผูผลิตรายการมีความคิดเห็นวารายการโทรทัศนสําหรับเด็กนั้นควรมีเนื้อหาเกี่ยวกับการอนุรักษ ส่ิงแวดลอมมากที่สุด สวนนักเรียนชั้นประถมศึกษา มีความคิดเห็นวา รายการโทรทัศนสําหรับเด็ก ควรมีเนื้อหาเกี่ยวกับการอนุรักษส่ิงแวดลอม โดยรายการหนึ่งไมควรยาวเกิน 2 ช่ังโมง นอกจากนี้ ยรรยง สุขเกษม (2539 : 26) กลาววา “รายการสารคดีเปนการนําเสนอเรื่องราวของความเปนจริงหรือสรางสรรคขึ้นใหมอยางเหมาะสม สามารถที่จะขยายเปนความรูความเขาใจของมนุษย ช้ีใหเห็นถึงปญหารวมทั้งวิธีการแกไขอยางจริงจัง สามารถโนมนาวจิตใจผูคนในดานความรูสึกตอปญหาสิ่งแวดลอมไดเปนอยางดี ดังนั้นการเผยแพรขาวสารจากรายการสารคดีทางโทรทัศนดานการอนุรักษส่ิงแวดลอม จึงชวยพัฒนาสังคมในการอนุรักษส่ิงแวดลอมอีกทางหนึ่ง” และสุกัญญา คงเทพ (2540 :82) ไดศึกษารูปแบบการนําเสนอรายการสารคดีทางโทรทัศนแบบเต็มรูปแบบกับแบบกึ่งสารคดีกึ่งพูดคนเดียว พบวารูปแบบการนําเสนอสารคดีทางโทรทัศนที่มีภาพสอดคลองกับเนื้อหาของสารคดีดําเนินทั้งเรื่องอยางตอเนื่องทําใหผูชมที่ชมรายการทางโทรทัศนดังกลาวเกิดความตอเนื่องในการรับชมรายการโดยตลอดมากกวารูปแบบการนําเสนอรายการสารคดีทาง โทรทัศนแบบกึ่งสารคดีกึ่งพูดคนเดียว ซ่ึงเปนวิธีการนําเสนอโดยมีภาพสอดคลองกับเนื้อหาของสารคดีสลับกับภาพเสริมของพิธีกรเปนชวงๆ ตลอดเรื่องทําใหผูชมขาดความตอเนื่องในการ รับรู ส่ิงนั้นๆ และเพื่อเปนการใช ส่ือการสอนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช (2536 ก : 144) ไดแบงวิธีการใชส่ือการสอนตามลักษณะหนาที่ของรายการได 3 หนาที่ คือ รายการที่ทําหนาที่สอนทั้งหมดรายการ ทําหนาที่เสริมการสอน และรายการทําหนาที่สอนเนื้อหาหลัก คือ รายการที่ทําหนาที่สอนในเนื้อหาสําคัญของหัวขอการสอนโดยในชั้นเรียนจะมีครูทําหนาที่แนะนํารายการชี้ใหเห็นความสัมพันธของรายการกับหัวขอที่เรียนใหทําแบบฝกหัดและอธิบายขยายความเพิ่มความเขาใจใหกับนักเรียนในวิชาวิทยาศาสตร และ วาสนา ชาวหา (2533 : 203) ไดกลาววา “การนํารายการวิดีทัศนมาใชในการเรียนการสอนควรใชประกอบการสอนของ

9

ครูเทานั้น ไมควรนํามาใชแทนการสอนของครูทั้งหมด โดยครูมีหนาที่ ช้ีแจงและชวยเหลือในสิ่งตางๆ”

ดังนั้นวิธีการที่จะพัฒนาและเพิ่มคุณภาพในการศึกษาใหสูงขึ้นโดยการนําเทคโนโลยีทางการศึกษาสมัยใหมมาประยุกตใช ไดแก ส่ือประเภทตางๆ เชน วิทยุ โทรทัศน คอมพิวเตอร สไลด บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอนและเครื่องชวยสอนอื่นๆ เปนตน การสรางสิ่งแวดลอมที่จะให ประสบการณแกผูเรียนรับรูดวยการดู การฟง และทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดดียิ่งขึ้น ในการรับรูของมนุษยนั้นเกิดดวยการเห็นรอยละ75 การฟงรอยละ13 การสัมผัสจับตองรอยละ 6 การชิมรอยละ 3 การไดกล่ินรอยละ3 ดังนั้นสื่อโทรทัศนจึงเปนสื่อที่มีผลรวมของการรับรูไดถึงรอยละ88 คือ การเห็น และการฟง โทรทัศนจึงนับเปนสื่อที่มีประสิทธิภาพอีกชนิดหนึ่ง ที่สามารถรับรูไดในปจจุบัน (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2534 : 223) โทรทัศนเปนสื่อที่สามารถนํารูปธรรมมาประกอบการสอนไดสะดวกรวดเร็ว ชวยใหผูเรียนไดรับความรูที่ทันสมัย และทันตอเหตุการณที่เกิดขึ้นหรือเรื่องราวท่ีอยูไกลๆ มาชมได และยังสามารถชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณเปนรูปธรรม ใหทั้งภาพ เสียง และตัวอักษรประกอบได ผูสอนสามารถอธิบายประกอบชวยใหผูเรียนเรียนรูไดเขาใจและเร็วขึ้นสามารถเขาใจบทเรียนไดงายกวาสื่ออ่ืนๆ ทั้งยังเปนส่ือที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัวที่เหมาะสมที่สุด และเปนเครื่องมือชวยสอนที่มีคุณคาสูงตอการศึกษาโทรทัศนเปนสิ่ง เราใจในการเรียนรูสําหรับนักเรียนไดทุกชั้นเกือบทุกวิชา

จากสภาพปญหาและความตองการดังกลาว บทเรียนวิดีทัศนเปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่สามารถชวยใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนไดอยางนาเชื่อถือได เมื่อพิจารณาจากหลักการของบทเรียนวิดีทัศนแลว ผูเรียนจะไดเห็นภาพในเนื้อหาที่เรียนไดอยางกวางขวาง ทั้งที่เปนภาพเคลื่อนไหวตอเนื่องและการใชเทคนิคแทรกภาพในลักษณะตางๆ ไดยินเสียงประกอบที่สมจริง มีคําถาม คําตอบ และเสียงดนตรีประกอบที่นาสนใจ วิดีทัศนนับเปนสื่อที่ใชในการเรียนการสอน ชนิดหนึ่ง ที่วงการศึกษาใหความสนใจ ทั้งยังชวยใหครูดําเนินการสอนที่มีประสิทธิภาพเทาเทียมกันในมาตรฐานเดียวกัน และยังทําใหประหยัดเวลาในการเตรียมการสอนทําใหการสอนเรื่องนั้นๆ บรรลุวัตถุประสงคเดียวกัน ดวยวิธีเดียวกันและชวยใหการเรียนการสอนบรรลุจุดมุงหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูวิจัยพิจารณาแลวเห็นวาการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนวิดีทัศน

การสอนนั้นสามารถทําใหผูเรียนมีการสนองตอบตอบทเรียน หรือการตอบคําถามที่ปรากฏอยูตลอดบทเรียนแลวยังสามารถใชเรียนไดทั้งที่เปนรายบุคคล เปนกลุมเล็ก กลุมใหญ หรือหลายๆ กลุม พรอมกันไดตามความตองการ และแมแตจะใชเรียนสักกี่คร้ังก็ได โดยท่ีคุณภาพของบทเรียนยังคงเดิมอยูเสมอ และสามารถชวยแกปญหาการขาดแคลนครู บุคลากร วัสดุ อุปกรณ และ ขอมูลความรูไดโดยจริง ในการสรางบทเรียนวิดีทัศนการสอนขึ้นมา นอกจากเปนประโยชน

10

โดยตรงตอผูเรียนและผูสอนแลวยังเปนประโยชนตอบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจเกี่ยวกับบทเรียน วิดีทัศนการสอนดวย

วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อพัฒนาสื่อวิดีทัศนวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปที่ 6 ใหไดประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 802. เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษา ปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศนวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียน จากสื่อวิดีทัศน

เร่ืองมลพิษทางน้ํา

สมมติฐานการวิจัย1. ส่ือวิดีทัศนที่พัฒนาขึ้น เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 802. ผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน วิชา

วิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ําสูงกวากอนเรียนจากสื่อวิดีทัศน3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ือง

มลพิษทางน้ําอยูในระดับมาก

ขอบเขตการวิจัย1. ประชากร กลุมประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่

6 ปการศึกษา 2546 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร2. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่กําลังเรียน

ในปการศึกษา 2546 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 30 คน 3. ตัวแปรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก

3.1 ตัวแปรอิสระคือการสอนดวยส่ือวิดีทัศนวิชาวิทยาศาสตร เรื่องมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

3.2 ตัวแปรตาม คือ3.2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองมลพิษทางน้ํา

11

3.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียน เร่ืองมลพิษทางน้ําจากสื่อวิดีทัศน

4. เนื้อหาแบงออกเปน 5 ตอน ตามลําดับดังนี้ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไรตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสียตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอมตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัดตอนที่ 5 แนวพระราชดําริการบําบัดน้ําเสีย

5. ระยะเวลา ในการทดลอง ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 ใชเวลาในการทดลอง วันละ 1 ช่ัวโมง เปนระยะเวลา 5 ช่ัวโมง

ขอตกลงเบื้องตน1. เนื้อหาของสื่อวิดีทัศน ผูวิจัยสรางขึ้นเองโดยใชหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช

2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และหลักสูตรขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา โดยแบงเนื้อหา ออกเปน 5 ตอน คือ

ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริการบําบัดน้ําเสีย

2. การสอนโดยใชส่ือวิดีทัศน หมายถึง การสอนเรื่องมลพิษทางน้ํา โดยผูสอนจะทํา หนาที่ในการใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนและผูสอนจะกลาวนําเขาสูบทเรียน จากนั้นดําเนินการเรียนการสอนระหวางเรียน โดยผูเรียนเรียนเนื้อหาวิชาจากสื่อวิดีทัศน พรอมทั้งใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนทุกๆ คร้ังภายหลังการเรียนจบ

3. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากสื่อวิดีทัศนวิชาวิทยาศาสตร เรื่องมลพิษทางน้ํา หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ไดจากการทําแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เพื่อที่จะวัดความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใชและการวิเคราะห โดยแบงเปน 2 ชวงๆ ละประมาณ 70 ขอ

4. เกณฑประสิทธิภาพ 80 ของสื่อวิดีทัศนหมายถึง ส่ือวิดีทัศนที่ผูวิจัยสรางขึ้นแลวนําไปหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน

12

เกณฑ 80 หมายถึง คาคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน (Posttest) ของการทํา แบบทดสอบของผูเรียนทุกคนโดยนําคะแนนที่ไดมาคํานวณหาคารอยละ (คาเฉลี่ยไปเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานตั้งแต 80 ขึ้นไป)

5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความคิดเห็นในดานความพึงพอใจที่มีตอส่ือวิดีทัศนของตัวอยางที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา

13

บทท่ี 2เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควาการวิจัย เร่ืองการพัฒนาสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ไดแบงหัวขอดังตอไปนี้ 1. หลักสูตร

1.1 ความหมายของหลักสูตร 1.2 ความสําคัญของหลักสูตร 1.3 องคประกอบของหลักสูตร

2. การพัฒนาหลักสูตร2.1 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร2.2 พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร2.3 กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

3. เอกสารที่เกี่ยวของกับวิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา3.1 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544

3.2 วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา4. การพัฒนาการใชวิดีทัศนเพื่อการเรียนการสอน

4.1 ความหมายและคุณคาของวิดีทัศน 4.2 ประเภทของรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา 4.3 รูปแบบรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา 4.4 การใชวิดีทัศนในหองเรียน 4.5 การผลิตรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา 4.6 การหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน

5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ5.1 งานวิจัยในประเทศ5.2 งานวิจัยตางประเทศ

14

1. หลักสูตร หลักสูตรเปนหัวใจของการศึกษาเพราะหลักสูตรเปนตัวกําหนดทิศทางใหเห็นวา การจัดการศึกษาของประเทศที่จัดใหกับเยาวชนนั้นเนนหนักไปในทิศทางใด ซ่ึงเปนผลโดยตรงตอ ผูเรียน สังคม และประเทศชาติ นอกจากนี้หลักสูตรเปนตัวนําในการที่จะใหเกิดความรู การ ถายทอด วัฒนธรรม การเสริมสรางทักษะ การปลูกฝงเจตคติ คานิยม และการเสริมสรางความเจริญเติบโต ใหแกผูเรียนไดพัฒนาในทุกๆ ดาน

1.1 ความหมายของหลักสูตร“หลักสูตร” หรือ “CURRICULUM” เปนคําที่มีความยืดหยุนมากและในปจจุบัน

นักการศึกษาไดใหความหมายหรือนิยามของหลักสูตรแตกตางกันตามความเชื่อ ความเขาใจและตามบริบท ในการมองหลักสูตรนั้นถาใครมองสวนใดก็จะเห็นเฉพาะสวนนั้น และเมื่อมองหลายๆ สวน หลายๆ มุม ก็จะทําใหเห็นภาพแตกตางกันออกไป แตอยางไรก็ตามแนวคิดเกี่ยวกับ ความหมายของหลักสูตรสามารถจําแนกใหเห็นจุดเดนที่แตกตางกันตามกลุมแนวคิด ดังนี้

1. หลักสูตร คือ กิจกรรมการเรียนการสอน ผูใหความหมายในแนวนี้คือ แกวตา คณะวรรณ (2521 : 18) กลาววา หลักสูตร คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุงจะอบรมฝกฝน ใหผูเรียนเปนไปตามเปาหมาย ซ่ึงสอดคลองกับ ยุทธศักดิ์ ฮมเสน (2535 : 18) กลาววาหลักสูตร คือ กิจกรรมการเรียนการสอนตางๆ ที่เตรียมไวและจัดใหแกผูเรียนโดยโรงเรียนหรือระบบโรงเรียน

2. หลักสูตร คือ ส่ิงที่คาดหมายหรือมุงหวังจะใหเด็กไดรับ ผูใหความหมายนี้ คือ สงัด อุทรานันท (2532 : 12) กลาววาหลักสูตร คือ การตัดสินใจที่จะดําเนินการเรียนการสอน ซ่ึงจะเกี่ยวกับการจัดลําดับของเนื้อหา การคัดเลือกเนื้อหาสาระที่เหมาะสมสําหรับนํามาใชสอนและ การเลือกวัสดอุุปกรณ รวมทั้งกฎเกณฑในการจัดกลุมเพื่อใหการสอนเปนไปอยางไดผลใหมากที่สุด 3. หลักสูตร คือการเรียนหรือวิธีการที่จะนําเด็กไปสูจุดหมายปลายทางผูให ความหมายนี้ คือสงัด อุทรานันท (2532 :16) กลาววา หลักสูตรประกอบดวยส่ือกลางของการเรียนการสอนที่ โรงเรียนจัดขึ้นเพื่อใหโอกาสแกนักเรียนไดรับประสบการณ ซ่ึงจะนําไปสูผลผลิตทางการเรียนที่พึง ปรารถนา สําหรับสื่อกลางนั้นรวมถึงการเรียนในหองเรียน โครงการแนะแนว การบริการสุขภาพ การอยูคายพักแรม การศึกษาในหองสมุด และกิจกรรมนอกหลักสูตร หรือการเรียนนอกหองเรียน

4. หลักสูตรคือ ขอผูกพันระหวางนักเรียนกับครูและส่ิงแวดลอมทางการเรียนกลาวคือ เมื่อนักเรียนเขามาในโรงเรียนหรือสถานศึกษา นักเรียนตองปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือกฎระเบียบตางๆ ใหครบถวนจนถึงจบการศึกษา ผูใหความหมายในแนวนี้คือ สงัด อุทรานันท (2532 :13-14) กลาววาหลักสูตรเปนขอผูกพันระหวางผูเรียนกับสิ่งแวดลอมในแงตางๆ ซ่ึงเตรียมการไวใน

15

ทิศทางของโรงเรียน ซ่ึงขอผูกพันนี้จะหมายถึงส่ิงที่ผูเรียนไดพบเห็นจะตองทําหรือเขาไปมี สวนรวมเกี่ยวของ ไดแก ขอผูกพันที่นักเรียนมีไวกับครู เพื่อนรวมชั้น บุคคลอื่นๆ หรือ เนื้อหาวิชา ความคิดเห็นและสัญลักษณตางๆ

5. หลักสูตร คือ กระบวนการปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนครู และส่ิงแวดลอมทางการเรียนผูใหความหมายในแนวนี้คือ ศราวุธ สังขวรรณะ (2536 : 21) กลาววา หลักสูตรอางอิงถึง กิจกรรมที่จําเปนอยางยิ่งที่จะกอใหเกิดความคิดสรางสรรค ส่ิงนี้คือ การวางแผน การมีปฏิสัมพันธระหวางครู นักเรียน และชุมชน นอกจากนี้ สงัด อุทรานันท (2532 : 15) กลาววา ปฏิสัมพันธ หมายถึง ความสัมพันธที่เกิดขึ้นพรอมๆ กันระหวางผูเรียน ผูสอน เนื้อหาสาระไมใชเกิดขึ้นทีละ ขั้นตอน คือมีการกระทําเกิดขึ้นกอนแลวจึงมีการตอบสนองกลับคืนมา

6. หลักสูตร คือ โครงการ แผนแนวทางหรือขอกําหนดในการจัดการศึกษา ผูให ความหมายในแนวนี้คือ กิตติมา ปรีดีดิลก(2532 : 92) กลาววา หลักสูตร คือ โครงการศึกษาของ ผูสอนโดยกําหนดความมุงหมายของการศึกษา เนื้อหาความรู และประสบการณที่จะจัดใหกับ ผูเรียน กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล ซ่ึงสอดคลองกับ ธํารง บัวศรี (2532 : 7) กลาววาหลักสูตร คือแผนที่ไดออกแบบจัดทําเพื่อแสดงถึงจุดมุงหมาย การจัดเนื้อหาสาระ กิจกรรมและมวลประสบการณในแตละโปรแกรมการศึกษา เพื่อใหผูเรียนมีพัฒนาการในดานตางๆ ตาม จุดหมายที่กําหนด นอกจากนี้ แรมสมร อยูสถาพร (2534 : 4) ไดแสดงทัศนะวา หลักสูตร หมายถึง โครงการศึกษาที่จะจัดขึ้นสําหรับนักเรียนประถมศึกษาโดยมุงสรางนักเรียนใหเปนผูมีความรู คุณธรรม จริยธรรม และทัศนคติที่ดีตอตนเอง ตอผูอ่ืน ตอสังคมและตอประเทศชาติ และใหมี ทักษะที่จําเปนในการดํารงชีวิตตามสภาพสังคมในขณะนั้นๆ

จากความหมายของหลักสูตรที่นักการศึกษากลาวมาทั้งหมดนั้น สรุปไดวา หลักสูตรหมายถึงขอกําหนดที่เปนแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เจตคติ และการปฏิบัติไปในทางที่พึงประสงค เปนแผนงาน หรือโครงการ ที่จะประมวลกิจกรรม และประสบการณทั้งหมดที่มีอยูทั้งในและนอกหลักสูตร

1.2 ความสําคัญของหลักสูตรเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาหลักสูตรเปนสิ่งสําคัญและจําเปนอยางยิ่งในการจัด

การศึกษา เพราะหลักสูตรเปนเครื่องมือบงชี้ถึงแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน หลักสูตรเปนสื่อกลางของการศึกษาที่จะนําไปสูการพัฒนาความเจริญเติบโตใหแกผูเรียนตามจุดหมายของการศึกษา โดยสนองตอบตามวุฒิภาวะของผูเรียนสามารถพัฒนาในทุกระดับของวัย ซ่ึงสอดคลองกับความคิดของ เซเลอรและอเล็กซานเดอร (Saylor and Alexander 1974 :78) กลาววา หลักสูตรเปนเสมือนแผนภูมิการเดินทางและตารางที่ยืดหยุนไดในการดําเนินการศึกษา หลักสูตรจะ

16

ถูกสรางขึ้น โดยผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหาวิชาการบริหารโรงเรียนและวิชาตางๆ ทางดานการศึกษาระดับชั้นตางๆ รวมกัน นอกจากนี้หลักสูตรเปนที่รวมของวิชาและประสบการณทั้งมวลพรอมกับแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อตอบสนองความตองการของชุมชนดังนั้นถาไมมีหลักสูตร การที่จะใหการศึกษาแกเยาวชนและประชากรของชาติยอมกระทําไมได ทั้งนี้เพราะวาหลักสูตรเปนเครื่องมือที่ถายทอดเจตนารมณหรือจุดหมายทางการศึกษาของชาติลงไปสูการปฏิบัติ สําหรับ สันต ธรรมบํารุง (2527 : 9-10) ไดกลาวถึงความสําคัญของหลักสูตรไว 9 ประการดังนี้

1. หลักสูตรเปนแผนปฏิบัติงานหรือเครื่องมือช้ีแนวทางปฏิบัติงานของครูเพราะหลักสูตรจะกําหนดจุดหมาย เนื้อหาสาระการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล ไวเปนแนวทาง

2. หลักสูตรเปนขอกําหนดแผนการสอนอันเปนสวนรวมของประเทศ เพื่อนําไปสูจุดหมายตามแผนการศึกษาของชาติ

3. หลักสูตรเปนเอกสารทางราชการ เปนขอบัญญัติของทางราชการ เพื่อใหบุคคลที่ เกี่ยวของตองปฏิบัติตาม

4. หลักสูตรเปนมาตรฐานการศึกษา เพื่อควบคุมการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาระดับตางๆ และยังเปนเกณฑมาตรฐานอยางหนึ่งในการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ ฯลฯ ของการศึกษาของรัฐใหแกสถานศึกษาอีกดวย

5. หลักสูตรเปนแผนการดําเนินงานของผูบริหารการศึกษาที่จะอํานวยความสะดวก และควบคุมดูแลติดตามผลใหเปนไปตามนโยบายการจัดการศึกษาของรัฐบาลดวย

6. หลักสูตรจะกําหนดแนวทางในการสงเสริมความเจริญงอกงาม และพัฒนาการของเด็กตามจุดหมายของการศึกษา

7. หลักสูตรจะกําหนดลักษณะและรูปรางของสังคมในอนาคตไววาจะเปนไปในรูปใด

8. หลักสูตรจะกําหนดแนวทางใหความรู ทักษะ ความสามารถ ความประพฤติที่จะเปนประโยชนตอสังคมอันเปนการพัฒนากําลังคนซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่ไดผล

9. หลักสูตรจะเปนสิ่งบงชี้ ถึงความเจริญของประเทศเพราะการศึกษาเปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ และประเทศใดจัดการศึกษาโดยมีหลักสูตรที่เหมาะสมทันสมัย มีประสิทธิภาพทันตอเหตุการณและการเปลี่ยนแปลงยอมไดกําลังคนที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

ดังนั้น หลักสูตร คือ หัวใจของการศึกษาเพราะถาปราศจากหลักสูตรแลวการศึกษายอมดําเนินไปไมได (ธํารง บัวศรี 2532 : 8-9) ซ่ึงสอดคลองกับความคิดของ แรมสมร อยูสถาพร

17

(2534 : 4) ที่กลาววา หลักสูตรเปนหัวใจสําคัญของการจัดการศึกษาถือเปนแมแบบที่เปนตัวช้ีนํา สูความสําเร็จและเปนตัวกําหนดทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหลักสูตรที่ดีจึงตอง สอดคลองกับนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ตลอดจนลักษณะความตองการของผูเรียนเพื่อสนองตอบความตองการดานกําลัง ของประเทศสามารถทําใหผูเรียนมีความรู ความสามารถ และทักษะที่จําเปนในการดํารงชีวิต

1.3 องคประกอบของหลักสูตรในการสรางหลักสูตรขึ้นมานั้นองคประกอบของหลักสูตรเปนส่ิงจําเปนอยางยิ่งที่

จะแสดงถึงลักษณะ โครงสราง รูปแบบของหลักสูตรวาเปนไปในลักษณะใด ในเรื่องนี้กรมวิชาการ (ม.ป.ป. : 8-9) ไดเสนอองคประกอบของหลักสูตรไว 8 ประการ คือ 1. หลักการ 2. จุดหมาย 3. โครงสราง 4. จุดประสงคของรายวิชา 5. เนื้อหา 6. ส่ือการเรียน 7. วิธีสอน 8. การประเมินผล สอดคลองกับแนวคิดของ ธํารง บัวศรี (2532 : 7-8) ที่กลาวเนนวาหลักสูตรควรประกอบดวย 1. จุดมุงหมายของหลักสูตร 2. จุดประสงคของการเรียนการสอน 3. เนื้อหาสาระและประสบการณ 4. วัสดุอุปกรณและส่ือการเรียนการสอน 5. การประเมินผล นอกจากนี้ สงัด อุทรานันท (2532 : 235-241) ไดกลาวถึงองคประกอบของหลักสูตรไววาควรประกอบดวย 2 สวนใหญ คือ 1. สวนประกอบที่จําเปนสําหรับหลักสูตร ซ่ึงประกอบดวยจุดมุงหมาย เนื้อหาสาระ ประสบการณเรียนรู และการประเมินผล 2. สวนประกอบอื่นที่นาจะบรรจุไวในหลักสูตร ไดแก เหตุผลและความจําเปนของหลักสูตร การเสนอแนะแนวทางในการจัดการเรียนการสอน การเสนอแนะ การใชส่ือการเรียนการสอน การเสนอแนะเกี่ยวกับการชวยเหลือและสงเสริมนักเรียน

จากที่กลาวมาสรุปไดวาหลักสูตรโดยทั่วไปจะประกอบดวย 8 องคประกอบ คือ หลักการ จุดประสงค โครงสราง เนื้อหาวิชา กระบวนการเรียนการสอน ส่ือการเรียน การสอน และ การประเมินผล

2. การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตรเปนกระบวนการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูทุกประเภท เพื่อ

ใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามความมุงหมายและจุดประสงคที่กําหนดไว และเปนการวางแผนการประเมินผลใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียนวาจะไดบรรลุตามความมุงหมาย และจุดประสงคจริงหรือไม เพื่อผูมีหนาที่รับผิดชอบจะไดรูและคิดอานแกไข ปรับปรุงตอไป ดังนั้น หลักสูตรที่ดีและเหมาะสมจะตองมีการพัฒนาอยูเสมอเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของกาลเวลา สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการปกครองของประเทศ ตลอดจนความกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยีตางๆ

18

2.1 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรในอดีตนักพัฒนาหลักสูตรจะใหความสําคัญเกี่ยวกับ เปาหมาย เนื้อหา และวิธี

การสอนของหลักสูตร โดยไมคอยสนใจหรือคํานึงถึงผูเรียนวาจะมีความรูสึกหรือมีผลกระทบอยางไร ปกตินักพัฒนาหลักสูตรจะ กําหนดจุดมุงหมายใหเกิดประโยชนแกผูเรียนเปนสําคัญ และเนื้อหาสาระตลอดทั้งกระบวนการเรียนการสอนก็จะตองเปนเรื่องของครูที่จะตองคิดหามาโดยเฉพาะครูมักจะคิดหาเนื้อเร่ืองและวิธีการเรียนการสอนที่ครูคิดวาดีและเหมาะสมกับผูเรียนมากกวาที่จะคิดวาส่ิงที่จะเรียนและวิธีการเรียนการสอนนั้นผูเรียนจะคิดอยางไรและมีความตองการอยางไร แตในปจจุบันแนวคิดนี้ไดเปลี่ยนแปลงไปจึงเปนหนาที่ของนักพัฒนาหลักสูตรที่จะตองหาแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรใหมีความถูกตองชัดเจนและเปนประโยชนกับผูเรียนมากที่สุด อุทัย ธรรมเตโช (2531 : 20) ไดกลาววา การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การปรับและการขยายหลักสูตรระดับชาติ ซ่ึงเปนหลักสูตรกลางใหเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพทองถ่ิน โรงเรียน และชั้นเรียน สําหรับเซเลอรและอเล็กซานเดอร (Saylor and Alexander 1974 : 7) ไดใหความหมายของการพัฒนาหลักสูตรใน 2 ลักษณะ คือ1 สรางหลักสูตร หมายถึง การสรางรายวิชาในการจัดการเรียนการสอนขึ้นมาใหมโดยไมมีหลักสูตรเดิมเปนพื้นฐาน 2 การปรับปรุงหลักสูตร คือ การดําเนินการจัดทําหลักสูตรที่มีอยูแลวใหเหมาะสมยิ่งขึ้น ซ่ึงสอดคลองกับ สงัด อุทรานันท (2532 : 16) ที่เนนวาการพัฒนาหลักสูตรเปนการทําหลักสูตรที่มีอยูแลวใหดีขึ้นหรือสมบูรณยิ่งขึ้นและการสรางหลักสูตรขึ้นมาใหมโดยไมมีหลักสูตรเดิมเปนพื้นฐานอยูเลย ในทํานองเดียวกัน ยุทธศักดิ์ ฮมเสน (2535 : 25) ไดเสนอวาการพัฒนาหลักสูตรหมายถึง การสราง การเปลี่ยนแปลง หรือการปรับปรุงแผนประสบการณเรียนรูทั้งหลาย ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรนั้นมีส่ิงผลักดันที่สําคัญ คือ เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง

จากที่กลาวมาสรุปไดวา การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การสรางหลักสูตรขึ้นมาใหมหรือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรที่มีอยู เพื่อใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและความตองการของผูเรียน 2.2 พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร

การพัฒนาหลักสูตรเปนกระบวนการที่สลับซับซอนและเกี่ยวของกับคนสวนมากจึงตองมีการวางแผนอยางรอบคอบดวยการศึกษาขอมูลและความจําเปนพื้นฐานของการพัฒนาหลักสูตรในหลายๆ ดานกอนที่จะเริ่มงานโดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับตัวผูเรียน เกี่ยวของกับสังคมและเกี่ยวของกับการเรียนรู ขอมูลและความจําเปนเหลานี้จะเปนพื้นฐานเบื้องตนในการกําหนดจุดมุงหมายของหลักสูตร การเลือกเนื้อหาวิชา ประสบการณการเรียนรู เพื่อชวยใหผูเรียนมีพัฒนาการตามจุดมุงหมายของหลักสูตรพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรพอที่จะแยกรายละเอียดดังนี้

19

1. การเปลี่ยนแปลงของสังคม สังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ผูพัฒนาหลักสูตร จะตองวิเคราะหและทําความเขาใจกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมอยูตลอดเวลา ส่ิงที่จะตองวิเคราะหและทําความเขาใจก็คือ ปญหาภาวะทางเศรษฐกิจตกต่ํา ปญหาความยากจน ปญหาการเพิ่มของประชากร ปญหาสาธารณสุข ปญหาคนวางงาน ปญหาการขยายตัวอยางรวดเร็วทางอุตสาหกรรมและอื่นๆ ปญหาเหลานี้ผูพัฒนาหลักสูตรจะตองศึกษาอยางละเอียด เพื่อจัดทําหลักสูตรใหสอดคลองกับภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

2. การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ ในการพัฒนาหลักสูตรควรพิจารณาปญหาในดานการขาดแคลนปจจัยการผลิตดานวัตถุและการขาดแคลนผูมีความสามารถ ทั้งทางดานวิชาการและวิชาชีพในสาขาตางๆ จะตองมีการวางแผนพิจารณาเตรียมกําลังคนใหพอเหมาะและสอดคลองกับความตองการกําลังคนของประเทศในดานตางๆ ทั้งวิชาการและวิชาชีพเพื่อขจัดความสูญเปลาและการวางงาน ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรปญหาในดานเศรษฐกิจจึงเปนปญหาหนึ่งที่จะตองคํานึงถึงและจัดหลักสูตรใหเหมาะสมกับกําลังคนที่ชาติตองการโดยกําหนดหลักสูตรใหสอดคลองกับนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ

3. การเมืองและการปกครอง ผูพัฒนาหลักสูตรควรจะไดพิจารณาระบบการเมืองและ การปกครองของประเทศในปจจุบัน และใชหลักสูตรในการพัฒนาการเมืองและการปกครองในอนาคต โดยกําหนดเนื้อหาของหลักสูตรใหเนนเกี่ยวกับ สิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบที่พึงมีตอสังคมและประเทศชาติ หลักสูตรการปกครองจะชวยกระตุนเตือนใหเกิดความรับผิดชอบตอการปกครองในอนาคต

4. แนวความคิดและผลการศึกษาคนควาทางดานจิตวิทยา ความรูทางดานจิตวิทยา มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาหลักสูตรมากและเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาในการจัดการศึกษาจะมุงสงเสริมพัฒนาการของผูเรียน ในดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา เพื่อใหเยาวชนเปนพลเมืองดีมีคุณภาพ ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรจะตองอาศัยความรูในดานจิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการเรียนรู เพื่อนํามากําหนดเนื้อหาสาระประสบการณและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความพรอมและความสามารถในการเรียนรูของผูเรียน ในแตละวัยตลอดจนการจัดลําดับบทเรียนใหสอดคลองกับพัฒนาการทางดานสติปญญาของผูเรียนดวย นอกจากนั้นผูพัฒนาหลักสูตรจะตองศึกษาผลงานทางดานจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับพัฒนาการของผูเรียนในดานตางๆ ส่ิงเหลานี้เปนขอมูลที่สําคัญที่จะนํามาพิจารณาประกอบในการกําหนดจุดมุงหมาย เลือกเนื้อหา และประสบการณตลอดจนการจัดการเรียนการสอน

5. ความกาวหนาทางวิทยาการ เทคโนโลยี บทบาทของสถาบันการศึกษาและส่ือสารมวลชน ปจจุบันนี้วิทยาการตางๆ ไดกาวหนาไปอยางรวดเร็วมากโดยเฉพาะอยางยิ่งทางดาน

20

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในขณะเดียวกันก็ไดมีการนําเอาเทคโนโลยีใหมๆ มาใชในวงการศึกษามากขึ้น เชน โทรทัศน วีดิโอเทป สไลด ฟลมสตริฟ คอมพิวเตอร ฯลฯ ทําใหการเรียนรูในดานวิชาการตางๆ เปนไปอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ขณะเดียวกันความรูก็มิไดจํากัดวงอยูเฉพาะแตภายในโรงเรียนหรือสถาบันเทานั้น แตสามารถแพรหลายไปไดทั่วดวยการใชเทคโนโลยีและส่ือการสอนหรือส่ือสารมวลชนในรูปแบบตางๆ ทําใหมีผูสนใจทางวิชาการมากขึ้น บทบาทของโรงเรียนและสถาบันก็เปลี่ยนแปลงไปโดยจะตองรับผิดชอบและจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนมี ความรูทางดานวิชาการและรูจักสภาพสังคมสิ่งแวดลอมในชีวิตประจําวัน และจะตองจัดโปรแกรมการเรียนการสอนอยูในวงกวางใหสนองความตองการของสังคมปจจุบัน ดังนั้น การพัฒนาหลักสูตรจะตองคํานึงถึงความกาวหนาทางดานวิทยาการและเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อนํามาพิจารณาในการกําหนดจุดมุงหมาย เลือกเนื้อหาวิชา ประสบการณ และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และจะตองใหความสนใจกับงานวิจัยคนควาใหมๆ แนวความคิดใหมๆโดยเลือกสรรสิ่งที่มีประโยชนตอผูเรียนใหเหมาะกับความตองการของวัย ความสามารถ และภูมิหลังของผูเรียน เพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพ ทักษะ เจตคติ ประสบการณ และสามารถนํามาใชในชีวิตประจําวันได นอกจากนี้ความรูสมัยใหมและความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหมๆ ควรจะไดเพิ่มเติมไวในหลักสูตรในทุกครั้งที่มีการพัฒนาหลักสูตร เพื่อที่ผูเรียนจะไดตามทันตอการเปลี่ยนแปลงและความกาวหนาของโลกในปจจุบัน (กาญจนา คุณารักษ 2535 : 293-295)

2.3 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรในการดําเนินงานใดๆ จําเปนตองมีขั้นตอนการทํางาน การพัฒนาหลักสูตร ก็เชน

เดียวกัน ถาตองการใหงานสําเร็จลุลวงดวยดีและมีประสิทธิภาพจําเปนตองอาศัยกระบวนการ ที่จัดลําดับขั้นตอนของการดําเนินงานไวตอเนื่องกันอยางมีระเบียบแบบแผน มีเหตุผล และมีความเปนไปได เร่ืองนี้ ไทเลอร (Tyler 1960 : 1) ไดเสนอกระบวนการพัฒนาหลักสูตรโดยการ ตั้งคําถามเพื่อเปนแนวทางดําเนินการไว 4 ขอ คือ 1) มีจุดมุงหมายทางการศึกษาอะไรบางที่โรงเรียนจะตองคํานึงถึงและปลูกฝงใหกับผูเรียน 2) มีมวลประสบการณทางการศึกษาอะไรบางที่สามารถสนองความตองการของผูเรียนและสอดคลองกับจุดมุงหมายที่กําหนดขึ้น 3) จะจัดประสบการณ ทางการศึกษาเหลานั้นใหมีประสิทธิภาพดีอยางไร 4) จะพิจารณาไดอยางไรวา จุดมุงหมายที่ กําหนดขึ้นไดบรรลุแลว แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอรนั้น มุงใหความสําคัญเกี่ยวกับ จุดมุงหมายการจัดมวลประสบการณ ประสิทธิภาพของประสบการณและการประเมินผลตามจุดมุงหมายการศึกษาที่กําหนดไว แนวคิดนี้ไดรับความนิยมอยางแพรหลายในวงการศึกษา และการพัฒนาหลักสูตร รวมทั้งมีอิทธิพลตอแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรในระยะตอมา ทาบา (Taba 1962 : 28) ไดกําหนดขั้นตอนกระบวนการพัฒนาหลักสูตรไว 8 ขั้นตอน ดังนี้ คือ

21

1. สํารวจใหทราบความตองการและความจําเปนตางๆ เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดจุดมุงหมาย

2. การตั้งจุดหมายของการศึกษาโดยใชขอมูลที่ไดจากการสํารวจ เพื่อใหจุดหมาย สอดคลองตามสังคมตองการ 3. คัดเลือกเนื้อหาวิชาความรูที่ตองการนํามาสอน เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามความตองการและความจําเปนของสังคม โดยคัดเลือกเนื้อหาใหตรงกับความตองการของสังคม

4. จัดลําดับขั้นตอนของเนื้อหา แกไขเนื้อหาวิชาความรูที่เลือกมาไดโดยการจัดลําดับเนื้อหาใหพิจารณาความยากงายของสาระวิชาวาอะไรควรเรียนกอนหรือหลัง

5. คัดเลือกประสบการณการเรียนรูตางๆ ที่จะทําใหเนื้อหาวิชา และกระบวนการเรียนรูสมบูรณยิ่งขึ้น ซ่ึงคงประสบการณดังกลาวจะตองสอดคลองกับจุดหมายที่ตั้งไว

6. จัดลําดับขั้นของประสบการณเรียน แกไขปรับปรุงประสบการณตางๆ ที่จะนํามาเสริมการเรียนรู โดยพิจารณาวาประสบการณใดจะใหกับผูเรียนกอนหรือหลัง

7. ประเมินผลเนื้อหาวิชาหรือประสบการณวาไดทําใหเกิดการเรียนรู ตามที่ไดตั้ง จุดมุงหมายไวหรือไม และพิจารณาวาจะใชวิธีการประเมินผลอยางไร มีอะไรบางที่จะนํามาชวยในการประเมิน

8. ตรวจสอบความคงที่และความเหมาะในแตละขั้น เพื่อดูวาเนื้อหาที่จัดขึ้นสอดคลองกับจุดหมายหรือไม กิจกรรมการเรียนที่จัดขึ้นเปดโอกาสใหผูเรียนพัฒนาไปตามความสอดคลองของเนื้อหาหรือไม มีความเหมาะสมเพียงใด ชวยใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ตามจุดหมายหรือไม

กลาวไดวาแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรของทาบานั้นตั้งอยูบนฐานความคิดของไทเลอร ทั้งหมดเพียงแตทาบาไดเพิ่มรายละเอียดและจําแนกขั้นตอนเพื่อใหสะดวกตอการปฏิบัติมากขึ้น นอกจากนี้ สงัด อุทรานันท (2532 : 38-43) ก็เปนบุคคลหนึ่งที่ไดใชแนวคิดของไทเลอรเปน พื้นฐานในการกําหนดขั้นตอนของการพัฒนาหลักสูตร 7 ขั้นตอนดังนี้

1. การกําหนดขอมูลพื้นฐาน เปนกระบวนการที่มีความสําคัญและเปนขั้นตอนแรกของการพัฒนาหลักสูตรเพื่อใหทราบถึงสภาพปญหาความตองการของสังคมและผูเรียนซ่ึงจะชวยใหสามารถจัดหลักสูตรใหสนองความตองการและสามารถแกไขปญหาตางๆ ได

2. การกําหนดจุดหมายของหลักสูตร เปนขั้นตอนที่กระทําหลังจากไดวิเคราะหและ ไดทราบถึงสภาพปญหาตลอดจนความตองการตางๆ การกําหนดจุดมุงหมายของหลักสูตรนั้นเปนการมุงแกปญหาและสนองความตองการที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล

22

3. การคัดเลือกจัดเนื้อหาสาระและประสบการณการเรียนที่จะนํามาจัดไวในหลักสูตร จะตองผานการพิจารณากลั่นกรองถึงความเหมาะสมและสอดคลองกับจุดหมายของหลักสูตรที่กําหนดไว 4. การกําหนดมาตรการวัดและประเมินผลขั้นนี้มุงที่จะหาเกณฑมาตรฐานเพื่อใชในการวัดและประเมินผลวาจะวัดและประเมินผลอะไรบางจึงจะสอดคลองกับเจตนารมณหรือจุดหมายของหลักสูตร

5. การทดลองใชหลักสูตรขั้นตอนนี้มุงศึกษาหาจุดออนหรือขอบกพรองตางๆ ของ หลักสูตรหลังจากไดมีการรางหลักสูตรเสร็จแลวทั้งนี้เพื่อหาวิธีการแกไขและปรับปรุงหลักสูตรใหดียิ่งขึ้น

6. การประเมินผลการใชหลักสูตร หลังจากไดมีการยกรางหลักสูตรหรือไดทําการทดลองใชหลักสูตรแลวก็ควรที่จะประเมินผลจากการใชวาเปนอยางไร มีสวนไหนที่ควรจะไดรับ การแกไขปรับปรุงบาง ถามีจุดออนหรือไมเหมาะสมตรงไหนก็จะตองปรับปรุงใหเปนที่เหมาะสมกอนนําออกไปใชจริงตอไป

7. การปรับปรุงแกไขหลักสูตรกอนนําไปใช หลังจากที่ไดมีการตรวจสอบและ ประเมินผลเบื้องตนแลวหากพบวาหลักสูตรมีขอบกพรองจะตองปรับปรุงแกไขใหมีความเหมาะสม ถูกตองหรือเหมาะสมกอนที่จะนําหลักสูตรไปใชในสถานการณจริง ทั้งนี้เพื่อใหการใชหลักสูตรบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไว

สวนจีระพันธุ พูลพัฒน (2532 : 99-100) ไดเสนอกระบวนการพัฒนาหลักสูตรไว 7 ขั้นตอน คือ

1. วิเคราะหขอมูลพื้นฐาน 2. กําหนดจุดหมายตามขอ 1

3 . คัด เลือกและจัดเนื้อหาวิชาใหตรงกับจุดมุ งหมายที่ตองการคัดเ ลือกประสบการณ

4. กําหนดมาตรการการวัดและประเมินผล 5. การนําหลักสูตรไปใช นําไปปฏิบัติจริงในการเรียนการสอน 6. ประเมินผลการใชหลักสูตร 7. ทําการปรับปรุงและพัฒนาตลอดเวลา

จากแนวคิดดังกลาวสรุปไดวา การจัดทําหรือการพัฒนาหลักสูตรนั้นมีงานที่จะตองทํา คือ ตองพิจารณากําหนดเปาหมายเบื้องตนของหลักสูตรวาหลักสูตรที่จัดทํานั้นมีเปาหมายเพื่ออะไร ทั้งโดยสวนรวมและสวนยอยของหลักสูตรอยางชัดเจน หลังจากนั้นจึงเลือกเนื้อหา

23

กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการประเมินผล และกําหนดรูปแบบในการนําหลักสูตรไปใชในโรงเรียน ซ่ึงการดําเนินการจะตองเปนไปอยางตอเนื่องจึงจะทําใหการพัฒนาหลักสูตรดําเนินไปอยางครบถวนและเกิดผลดีนั่นคือ ไดหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ

3. เนื้อหาท่ีเก่ียวของกับวิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา3.1 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กําหนดหลักการของหลักสูตร เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนไปตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาชาติ จึงกําหนดหลักการไวดังนี้

1. เปนการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มุงเนนความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล

2. เปนการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนจะไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและเทาเทียมกันโดยสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

3. สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาและเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุดสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

4. เปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดาน สาระ เวลา และการจัดการเรียนรู5. เปนหลักสูตรที่จัดการศึกษาไดทุกรูปแบบครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายสามารถ

เทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนดจุดมุงหมายที่มุงพัฒนาคนไทยใหเปน

มนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดจุดหมายซึ่งเปนมาตรฐานการเรียนรูใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงคดังตอไปนี้

1. เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมอันพึงประสงค 2. มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการเขียน และรักการคนควา 3. มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํางานไดเหมาะสมกับสถานการณ

24

4. มีทักษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญญา และทักษะในการดําเนินชีวิต 5. รักการออกกําลังกาย ดูแลตนเองใหมีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี 6. มีประสิทธิภาพในการผลิตและบริโภค มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาเปนผูบริโภค 7. เขาใจในประวัติศาสตรของชาติไทย ภูมิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองดี ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

8. มีจิตสํานึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม

9. รักประเทศชาติและทองถ่ิน มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามใหสังคม เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปตาม หลักการ จุดมุงหมายและมาตรฐานการเรียนรู ที่กําหนดไวใหสถานศึกษาและผูเกี่ยวของมีแนวปฏิบัติในการจัดหลักสูตรสถานศึกษา จึงไดกําหนดโครงสรางของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานดังนี้

1. ระดับชวงชั้นกําหนดหลักสูตรเปน 4 ชวงชั้น ตามระดับพัฒนาการของผูเรียนดังนี้ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – 3ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 - 6ชวงชั้นที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 - 3

ชวงชั้นที่ 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 2. สาระการเรียนรู

กําหนดสาระการเรียนรูตามหลักสูตรซ่ึงประกอบไปดวยองคความรูทักษะ หรือ กระบวนการเรียนรูและคุณลักษณะหรือคานิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรียนเปน 8 กลุมดังนี้

2.1 ภาษาไทย2.2 คณิตศาสตร2.3 วิทยาศาสตร2.4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา2.6 ศิลปะ2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี

25

2.8 ภาษาตางประเทศ สาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุมนี้เปนพื้นฐานที่สําคัญที่ผูเรียนทุกคนตองเรียนรู โดยอาจจัดเปน 2 กลุม คือ กลุมแรก ประกอบดวย ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เปนสาระการเรียนรูที่สถานศึกษาใชเปนหลักในการจัดการเรียนการสอน เพื่อสรางพื้นฐานการคิด และเปนกลยุทธในการแกปญหาและวิกฤติของชาติ กลุมที่ 2 ประกอบดวย สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาตางประเทศ เปนสาระการเรียนรูที่เสริมสรางความเปนมนุษยและสรางศักยภาพในการคิดการทํางานอยางสรางสรรค

เร่ืองสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูไวในสาระการเรียนรูกลุมตางๆ โดยเฉพาะ กลุมวิทยาศาสตร กลุมสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสุขศึกษาและพลศึกษา

ภาษาตางประเทศ กําหนดใหเรียนภาษาอังกฤษทุกชวงชั้น สวนภาษาตางประเทศอื่นๆ สามารถเลือกจัดการเรียนรูไดตามความเหมาะสม

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดสาระการเรียนรูในแตละกลุมไวเฉพาะสวนที่จําเปนในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกคนเทานั้น สําหรับสวนที่ตอบสนองความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละคนนั้น สถานศึกษาสามารถกําหนดเพิ่มขึ้นไดให สอดคลองและสนองตอบศักยภาพของผูเรียนแตละคน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนกิจกรรมที่จัดใหผูเรียนไดพัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพมุงเนนเพิ่มเติมจากกิจกรรมที่ไดจัดใหการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม การเขารวมและปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสมรวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุขกับกิจกรรมที่เลือกดวยตนเองตามความถนัดและความสนใจอยางแทจริง การพัฒนาที่สําคัญ ไดแก การพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยใหครบทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม โดยอาจจัดเปนแนวทางหนึ่งที่สนองนโยบายในการสรางเยาวชนของชาติใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพเพื่อพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยที่สมบูรณ ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม ซึ่งสถานศึกษาจะตองดําเนินการอยางมีเปาหมาย มีรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม กิจกรรมพัฒนาผูเรียนแบงเปน 2 ลักษณะ คือ

1. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล สามารถคนพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ การเรียนรูเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพที่ดี ซ่ึงผูสอนทุกคนตองทําหนาที่แนะแนวใหคําปรึกษา ดานชีวิต การศึกษาตอ และการพัฒนาตนเองสูโลกอาชีพและการมีงานทํา

26

2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่ผูเรียนเปนผูปฏิบัติดวยตนเองอยางครบวงจรตั้งแต ศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินผล และปรับปรุงการทํางาน โดยเนนการทํางานรวมกันเปนกลุม เชน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน เปนตน

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดมาตรฐานการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุม ที่เปนขอกําหนดคุณภาพผูเรียนดานความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมของแตละกลุม เพื่อใชเปนจุดมุงหมายในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค ซ่ึงกําหนดเปน 2 ลักษณะ คือ

1. มาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เมื่อผูเรียนเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เมื่อผูเรียนเรียนจบในแตละชวงชั้น คือ ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 และ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และ 6 มาตรฐานการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดไวเฉพาะมาตรฐานการเรียนรูที่จําเปนสําหรับการพัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกคนเทานั้น สําหรับมาตรฐานการเรียนรูที่สอดคลองกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตลอดจนมาตรฐานการเรียนรูที่เขมขึ้นตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหสถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติมได

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนดเวลาเรียนในการจัดการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนไวดังนี้

ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – 3 มีเวลาเรียนประมาณปละ 800 – 1,000 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละ 4 – 5 ช่ัวโมง

ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 – 6 มีเวลาเรียนประมาณปละ 800 – 1,000 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละ 4 – 5 ช่ัวโมง

ชวงชั้นที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3 มีเวลาเรียนประมาณปละ1,000 –1,200 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละ 5 – 6 ช่ัวโมง

ชวงชั้นที่ 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 มีเวลาเรียนประมาณปละ1,000 –1,200 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละไมนอยกวา 6 ช่ัวโมง

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนหลักสูตรที่กําหนดมาตรฐานการเรียนรู ในการพัฒนาผูเรียนตั้งแตช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สําหรับผูเรียนทุกคน ทุกกลุม เปาหมายสามารถปรับใชไดกับการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สามารถนําไปใชจัดการเรียนรูในสถานศึกษานั้น

27

กําหนดโครงสรางที่เปนสาระการเรียนรู จํานวนเวลาอยางกวางๆ มาตรฐานการเรียนรูที่แสดงคุณภาพผูเรียนเมื่อเรียนจบ 12 ป และเมื่อจบการเรียนรูแตละชวงชั้นของสาระการเรียนรูแตละกลุม สถานศึกษาตองนําโครงสรางดังกลาวนี้ ไปจัดทําเปนหลักสูตรสถานศึกษา โดยคํานึงถึงสภาพปญหา ความพรอม เอกลักษณ ภูมิปญญาทองถ่ิน และคุณลักษณะอันพึงประสงค ทั้งนี้สถานศึกษาตองจัดทํารายวิชาในแตละกลุมใหครบถวนตามมาตรฐานที่กําหนด นอกจากนี้สถานศึกษาสามารถจัดทําสาระการเรียนรูเพิ่มเติมเปนหนวยการเรียนรูรายวิชาใหมๆ รายวิชาที่มีความเขมขึ้นอยางหลากหลาย ใหผูเรียนไดเลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจ ความตองการ และความแตกตางระหวางบุคคล โดยเลือกสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุมในชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ชวงช้ันที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3 และชวงชั้นที่ 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 และจัดทํามาตรฐานการเรียนรูของสาระการเรียนรู หรือรายวิชานั้นๆ ดวย สถานศึกษาตองจัดสาระการเรียนรูใหครบทั้ง 8 กลุมในทุกชั้น ใหเหมาะสมกับธรรมชาติการเรียนรูและระดับพัฒนาการของผูเรียน โดยในชวงการศึกษาภาคบังคับ คือช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จัดหลักสูตรเปนรายปและช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 จัดเปนหนวยกิต

ชวงชั้นที่ 1 และ2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – 3 และปที่ 4 – 6 การศึกษาระดับนี้ เปนชวงแรกของการศึกษาภาคบังคับ หลักสูตรที่จัดขึ้นมุงเนนใหผูเรียนพัฒนาคุณภาพชีวิต กระบวนการเรียนรูทางสังคมทักษะพื้นฐาน ดานการอาน การเขียน การคิดคํานวณ การคิดวิเคราะห การติดตอส่ือสาร และพื้นฐานความเปนมนุษย เนนการบูรณาการอยางสมดุลย ทั้งในดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคมและวัฒนธรรม

การจัดเวลาเรียนใหสถานศึกษาจัดเวลาเรียนใหยืดหยุนไดตามความเหมาะสมในแตละชั้นป ทั้งการจัดเวลาเรียนในสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม และรายวิชาที่สถานศึกษาจัดทําเพิ่มเติม รวมทั้ง ตองจัดใหมีเวลาสําหรับกิจกรรมพัฒนาผูเรียนทุกภาคเรียนตามความเหมาะสม

ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – 3 ใหสถานศึกษาจัดเวลาเรียนเปนรายป โดยมี เวลาเรียนวันละประมาณ 4 – 5 ช่ัวโมง ชวงชั้นนี้เปนชวงชั้นแรกของการศึกษาขั้นพื้นฐาน เด็กจําเปนตองพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จําเปน เพื่อชวยใหสามารถเรียนสาระการเรียนรูกลุมอ่ืนๆ ไดรวดเร็วขึ้น ทักษะเหลานี้ ไดแก ภาษาไทยดานการอาน การเขียน และการคิดคํานวณ จึงควรใชเวลาประมาณรอยละ 50 ของเวลาเรียนทั้งหมดในแตละสัปดาห สวนเวลาที่เหลือก็ใชสอนใหครบทุกกลุมสาระการเรียนรูซ่ึงรวมทั้งกิจกรรมพัฒนาผูเรียนดวย

ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ใหสถานศึกษาจัดเวลาเรียนเปนรายป โดยมีเวลาเรียนวันละประมาณ 4 –5 ช่ัวโมง การจัดเวลาเรียนในกลุมภาษาไทยและคณิตศาสตร

28

อาจใชเวลาลดลงเหลือประมาณรอยละ 40 ของเวลาเรียนในแตละสัปดาห โดยใชเวลากับกลุมวิทยาศาสตรมากขึ้น สําหรับการเรียนภาษาไทยและคณิตศาสตร แมเวลาเรียนจะลดลงยังคงตองฝกฝนทบทวนอยูเปนประจําเพื่อพัฒนาทักษะขั้นพื้นฐานในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้นสถานศึกษาจะมีเวลาเพียงพอใหเด็กมีโอกาสเลน ทํากิจกรรมพัฒนาผูเรียนและปฏิบัติงานตางๆ โดยตองจัดเวลาเรียนในกลุมสาระ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนประมาณรอยละ 20 สวนเวลาที่เหลือ สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมอื่นๆ ไดตามความเหมาะสม

สาระและมาตรฐานการเรียนรูหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑใน

การกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปนสําหรับเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพ สําหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรูตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน สถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมได สาระและมาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีรายละเอียดดังตอไปนี้

สาระและมาตรฐานการเรียนรู วิชาวิทยาศาสตรสาระที่ 1 : ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 : เขาใจหนวยพื้นที่ของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

มาตรฐาน ว 1.2 : เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลตอมนุษยและส่ิงแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดลอมมาตรฐาน ว 2.1 : เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถ่ิน ความสัมพันธระหวาง

ส่ิงแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางๆ ในระบบนิเวศน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 2.2 : เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถ่ิน ประเทศ และโลก นําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในทองถ่ินอยางยั่งยืน

29

สาระที่ 3 : สสารและสมบัติของสารมาตรฐาน ว 3.1 : เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสาร

กับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 3.2 : เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 : เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม

มาตรฐาน ว 4.2 : เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 5 : พลังงานมาตรฐาน ว 5.1 : เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การ

เปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและส่ิงแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกมาตรฐาน ว 6.1 : เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก

ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตรส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 7 : ดาราศาสตรและอวกาศมาตรฐาน ว 7.1 : เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี ปฏิสัมพันธ

ภายในระบบสุริยะและผลตอส่ิงมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตรส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 7.2 : เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

30

สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 : ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการ

สืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปธรรมที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

การจัดหลักสูตรสถานศึกษา1. หลักสูตรสถานศึกษา

สถานศึกษาเปนแหลงของการแสวงหาความรู สถานศึกษาจึงตองมีหลักสูตรของตนเอง คือ หลักสูตรสถานศึกษา ประกอบดวย การเรียนรูทั้งมวลและประสบการณอ่ืนๆ ที่สถานศึกษาแตละแหงวางแผนเพื่อพัฒนาผูเรียน โดยจะตองจัดทําสาระการเรียนรู ทั้งรายวิชาที่เปนพื้นฐานและรายวิชาที่ตองการเรียนเพิ่มเติม เปนรายปหรือรายภาค จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนทุกภาคเรียนและกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค จากการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงเปนสวนประกอบที่สําคัญของการจัดหลักสูตรสถานศึกษา

2. จุดมุงหมายของหลักสูตรสถานศึกษาสถานศึกษาจะตองทํางานรวมกับครอบครัวและชุมชน ทองถ่ิน วัด หนวยงาน

และสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในทองถ่ิน เพื่อใหเกิดผลตามจุดมุงหมายของหลักสูตร 2 ประการ ซ่ึงจุดมุงหมายทั้ง 2 ประการนี้ใหแนวทางที่สําคัญ ซ่ึงสถานศึกษาตองพัฒนาหลักสูตร ภายในบริบทและแนวทางนั้นๆ ดังนี้

2.1 หลักสูตรสถานศึกษาควรพัฒนาใหเด็กเกิดความสนุกและความเพลิดเพลินในการเรียนรู เปรียบเสมือนเปนวิธีสรางกําลังใจและเราใจใหเกิดความกาวหนาแกผูเรียนใหไดมากที่สุด มีความรูสูงสุดสําหรับผูเรียนทุกคน ควรสรางความเขมแข็ง ความสนใจและประสบการณใหผูเรียนและพัฒนาความมั่นใจใหเรียนและทํางานอยางเปนอิสระและรวมใจกันควรใหผูเรียนมีทักษะการเรียนรูสําคัญๆ ในการอานออกเขียนได คิดเลขเปน ไดขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีส่ือสาร สงเสริมจิตใจที่อยากรูอยากเห็น และมีกระบวนการคิดอยางมีเหตุผล

2.2 หลักสูตรสถานศึกษาควรสงเสริมการพัฒนาดนจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะพัฒนาหลักการในการจําแนกระหวางถูกและผิด เขาใจและศรัทธาในความเชื่อของตน ความเชื่อและวัฒนธรรมที่แตกตางกัน วามีอิทธิพลตอตัวบุคคลและสังคม หลักสูตรสถานศึกษาตองพัฒนาหลักคุณธรรมและความคิดอิสระของผูเรียน และชวยใหเปนพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สามารถชวยพัฒนาสังคมใหเปนธรรมขึ้น มีความเสมอภาค ควรพัฒนาความตระหนัก เขาใจ และยอมรับสภาพแวดลอมที่ตนดํารงชีวิตอยู ยึดมั่นในขอตกลงรวมกัน ตอ

31

การพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับสวนตน ระดับทองถ่ิน ระดับชาติและระดับโลก หลักสูตรสถานศึกษาควรสรางใหผูเรียนมีความพรอมในการเปนผูบริโภคที่ตัดสินใจแบบมีขอมูล และเปนอิสระและเขาใจในความรับผิดชอบ

3. การสรางหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรจะตองสนองตอบตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ และ

เปลี่ยนไปตามธรรมชาติของการศึกษา ผูสอนตองปรับปรุงกระบวนการสอนและประเมิน กระบวนการสอนของตน เพื่อสนองตอบตอความตองการของผูเรียนที่เปลี่ยนแปลง และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การศึกษาจะเจริญกาวหนายิ่งขึ้น ถา หลักสูตรมีการปรับปรุงใหเปนไปตามความตองการและความจําเปนตลอดเวลา สถานศึกษาควรดําเนินการจัดทําหลักสูตรดังนี้

3.1 การกําหนดวิสัยทัศนสถานศึกษาจําเปนตองกําหนดวิสัยทัศนเพื่อมองอนาคตวา โลกและสังคม

รอบๆจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไร และสถานศึกษาจะตองปรับตัวปรับหลักสูตรอยางไรจึงจะพัฒนาผูเรียนใหเหมาะสมกับยุคสมัย ในการสรางหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาตองมีวิสัยทัศน ซ่ึงทําไดโดยอาศัยความรวมมือของชุมชน พอแมผูปกครอง ครูอาจารย ผูเรียน ภาคธุรกิจ ภาครัฐในชุมชนรวมกันกับคณะกรรมการสถานศึกษา แสดงความประสงคอันสูงสงหรือวิสัยทัศนที่ปรารถนาใหสถานศึกษาเปนสถาบันพัฒนาผูเรียน ที่มีพันธกิจหรือภาระหนาที่รวมกันในการกําหนดงานหลักที่สําคัญๆ ของสถานศึกษา พรอมดวยเปาหมาย มาตรฐาน แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ และการติดตามผล ตลอดจนจัดทํารายงาน แจงสาธารณชน และสงผลยอนกลับใหสถานศึกษาเพื่อการปฏิบัติงานที่เหมาะสมตามหลักสูตรของสถานศึกษา และมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของชาติที่กําหนดไว

กระบวนการสรางวิสัยทัศน โดยอาศัยบุคคลตางๆ เขาไปมีสวนรวมนี้ เปนกระบวนการที่มีพลังผลักดันใหแผนกลยุทธที่สถานศึกษาสรางขึ้นดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพและมีทิศทาง กอใหเกิดเจตคติในทางสรางสรรคที่ดีงามแกสังคมของสถานศึกษา มีระบบและหนวยสนับสนุนในการปฏิบัติงานเกิดขึ้นอยางเปนเครือขายเพียบพรอม เชน ระบบคุณภาพ ระบบหลักสูตร สาระการเรียนรู การเรียนการสอน ส่ือการเรียนรู การวัดและประเมินผล การติดตามการรายงาน ฐานขอมูลการเรียนรู การวิจัยแบบมีสวนรวม มีระบบสนับสนุนครูอาจารย เปนตน กระบวนการสรางวิสัยทัศนดวยวิธีการดังกลาวนี้ จะนําไปสูการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการกําหนดสาระการเรียนรู หรือหัวขอเร่ืองในทองถ่ินสนองตอบความตองการของชุมชน

32

3.2 การจัดหลักสูตรสถานศึกษาจากวิสัยทัศน เปาหมาย และมาตรฐานการเรียนรูที่สถานศึกษาไดกําหนด

ไว สถานศึกษาจะตองจัดทําสาระการเรียนรูจากชวงชั้นใหเปนรายปหรือรายภาค พรอมกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังไวใหชัดเจน เพื่อใหครูทุกคน คือ ครูผูสอนและครูสนับสนุน ไดนําไปออกแบบการเรียนการสอน การบูรณาการ โครงการรวม เวลาเรียน การมอบหมายงาน โครงงาน แฟมผลงาน หรือการบาน ที่มีการวางแผนรวมกันทั้งสถานศึกษาเปนหลักสูตรสถานศึกษาที่ครอบคลุมภาระงาน การจัดการศึกษาทุกดานของสถานศึกษา

3.3 การกําหนดสาระการเรียนรูและผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาค สถานศึกษานํามาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นของกลุมสาระตางๆ จากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิเคราะห และกําหนดสาระการเรียนรู และผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนรายป หรือรายภาค ทั้งนี้ตองพยายามกําหนดใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวตามเปาหมายและวิสัยทัศนของสถานศึกษาดวย พิจารณากําหนดวิธีการจัดการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล พรอมทั้งการพิจารณาภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงการเรียนรูในทองถ่ินและสามารถกําหนดในลักษณะผสมผสานบูรณาการ จัดเปนชุดการเรียนแบบยึดหัวขอเรื่อง หรือการจัดเปนโครงงานได

3.4 การออกแบบการเรียนการสอนจากสาระการเรียนรูและผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาค สถาน

ศึกษาตองมอบหมายใหผูสอนทุกคนออกแบบการเรียนการสอน โดยคาดหวังผูเรียนควรจะสามารถทําอะไรได เชน ชวงชั้นที่ 1 ซ่ึงมีช้ันประถมศึกษาปที่ 1- 3 นั้น ผูเรียนจะเรียนรูสาระเรื่องที่กําหนดไดในระดับใด ซ่ึงการออกแบบการเรียนรูจะตองใหผูเรียนพัฒนา ไดทั้งดานความรู ความคิด ทักษะและเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตรและสังคม

3.5 การกําหนดเวลาเรียนและจํานวนหนวยกิตในการจัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปนั้น สถานศึกษาตองตระหนักถึงความ

จําเปนที่จะตองจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหผูเรียนไดเรียนรูในทุกกลุมสาระการเรียนรู โดยเนนให ผูเรียนมีทักษะในดานการอาน การเขียน การคิดเลข การคิดวิเคราะห และการใชคอมพิวเตอร ดวยวิธีการสอนที่ยึดหัวขอเรื่องจากกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หรือสังคมศึกษาเปนหลักตามความเหมาะสมของทองถ่ิน บูรณาการการเรียนรูดวยกลุมสาระตางๆ เขากับหัวขอเร่ืองที่จะเรียนอยางสมดุล เชน ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – 3 และชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ควรกําหนดเวลาสําหรับการเรียนตามสาระการเรียนรูรายป ใหเหมาะสมและสอดคลองกับความ จําเปนในการสอน เพื่อเนนทักษะพื้นฐานโดยเฉพาะชวงชั้นที่ 1 ซ่ึงจะตองจัดใหผูเรียนเรียนอยางสนุกสนานเพลิดเพลิน ซ่ึงในแตละคาบเวลาเรียนไมควรใชเวลายาวเกินความสนใจของผูเรียน

33

นอกจากผูสอนจะจัดใหเปนกิจกรรม สําหรับชวงชั้นที่ 2 ผูเรียนซ่ึงไดผานการเรียนการเลนเปนกลุมมาแลว ในชวงชั้นนี้จึงมุงเนนใหผูเรียนทํางานเปนทีม การสอนตามหัวขอเรื่องเปนเรื่องสําคัญ หัวขอเร่ืองขนาดใหญสามารถจัดทําเปนหัวขอยอย ทําใหผูเรียนรับผิดชอบไปศึกษาคนควาตามหัวขอยอยเหลานี้ เปนการสรางความรูของตนเองและใชกระบวนการวิจัยควบคูกับการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และนําผลงานมาแสดงทําใหผูเรียนทุกคนไดเรียนรูผลงานของกันและกันในรูปแฟมสะสมผลงาน

3.6 แนวทางการจัดหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อใหการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาดําเนินไปไดดวยดี บรรลุตามที่

คาดหวังจึงกําหนดแนวทางการดําเนินงานดังนี้3.6.1 การจัดทําสาระของหลักสูตร

1. กําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาค2. กําหนดสาระการเรียนรูรายปหรือรายภาค3. กําหนดเวลาเรียนหรือจํานวนหนวยกิต4. จัดทําคําอธิบายรายวิชา5. จัดทําหนวยการเรียนรู

6. จัดทําแผนการจัดการเรียนรู 3.6.2 การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนเขารวมกิจกรรมใหเหมาะสมกับ วัย วุฒภิาวะ และความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียนโดยคํานึงถึงส่ิงตอไปนี้

1. จัดกิจกรรมตางๆ เพื่อเกื้อกูลสงเสริมการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู

2. จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดตามธรรมชาติ ความสามารถ ความตองการของผูเรียนและชุมชน

3 . จัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝงและสร างจิตสํานึกในการทําประโยชนตอสังคม

4. จัดกิจกรรมประเภทบริการดานตางๆ ฝกการทํางานที่เปนประโยชนตอตนเองและสวนรวม 5. ประเมินผลการจัดกิจกรรมอยางเปนระบบ โดยใหถือวาเปนเกณฑประเมินผลการผานชวงชั้นเรียน

34

3.6.3 การกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคสถานศึกษาตองรวมกับชุมชน กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค

เพื่อเปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่สถานศึกษาจะกําหนดเปนคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น สามารถกําหนดขึ้นไดตามความตองการโดยใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความจําเปนที่จะตองมีการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยมดังกลาวใหแกผูเรียนเพิ่มจากที่กําหนดไวในกลุมสาระการเรียนรูตางๆ สวนแนวทางการวัดและประเมินผลดานคุณลักษณะอันพึงประสงคใหเปนไปตามที่สถานศึกษากําหนด

3.6.4 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีรูปแบบ

และวิธีการ ที่หลากหลายเพื่อใหสอดคลองกับความถนัด ความสนใจ และความตองการของผูเรียนโดยใหผูสอนนํากระบวนการวิจัยมาผสมผสานหรือบูรณาการใชในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนา คุณภาพของผูเรียนและใหผูเรียนเกิดการเรียนรู สามารถใชกระบวนการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรูโดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ เร่ิมตั้งแตการวิเคราะหปญหา การวางแผนแกปญหาหรือพัฒนาการดําเนินการแกปญหา หรือพัฒนาการเก็บขอมูล การสรุปผลการแกปญหา หรือพัฒนาการรายงานผลการเรียนรู และการนําผลการวิจัยไปประยุกตใช

4. การกํากับ ติดตาม ประเมินและรายงาน การกํากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาเปนกระบวนการที่เปนกลไกหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษาใหเปนไปตามที่มาตรฐานกําหนด โดยตองมีการดําเนินการที่เปนระบบเครือขายครอบคลุมทั้งหนวยงานภายในและภายนอกกระทรวง ตั้งแตระดับชาติ เขตพื้นที่ และสถานศึกษา ในรูปแบบของคณะกรรมการที่มาจากบุคคลทุกระดับและทุกอาชีพ ในการกําหนด ดูแลและประเมินผล ตองมีการรายงานผลจากทุกระดับใหทุกฝายรวมทั้งประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อคนหาแนวทางรวมกันพัฒนาคุณภาพตอไป เพื่อใหการจัดการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพอยางแทจริง ตองมีการประเมินผลการจัดการศึกษาทั้งระดับชาติ เขตพื้นที่ และสถานศึกษา

3.2 วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีหนวยการเรียนแบงเปน 5 หัวขอยอย เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง / วัน ใชเวลาเรียนทั้งส้ิน 5 ช่ัวโมง (หัวขอละ 1 ช่ัวโมง) โดยมีรายละเอียดดังนี้

3.2.1 วิชาวิทยาศาสตรมีเนื้อหาท่ีเก่ียวของกับมลพิษทางน้ํา ดังนี้คูมือความรูเบื้องตนมลภาวะเปนพิษความหมายของสิ่งแวดลอม

35

“ส่ิงแวดลอม คือ ทุกส่ิงทุกอยางที่อยูรอบตัวมนุษยทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิตทั้งที่เปนรูปธรรม (จับตองและมองเห็นได) และนามธรรม (วัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เปนปจจัยในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปจจัยหนึ่งจะมีสวนเสริมสรางหรือทําลายอีกสวนหนึ่งอยางหลีกเล่ียงมิได ส่ิงแวดลอมเปนวงจรและวัฏจักรที่เกี่ยวของกันไปทั้งระบบ” อยางไรก็ดี ส่ิงแวดลอมอาจแยกออกเปนลักษณะกวางๆ ได 2 สวน คือ

1. ส่ิงแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา ดิน น้ํา อากาศ ทรัพยากรทุกประเภท 2. ส่ิงแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น เชน ชุมชน เมืองส่ิง กอสราง โบราณสถาน ศิลปกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ฯลฯ เปนตน

จากความหมายของคําวา “ส่ิงแวดลอม” ดังกลาวขางตนจะเห็นไดวามนุษยมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางแนบแนน ในอดีตปญหาเรื่องความสมดุลยของธรรมชาติตามระบบนิเวศนยังไมเกิดขึ้นมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากผูคนในยุคตนๆ นั้น มีชีวิตอยูภายใตอิทธิพลของธรรมชาติ ความเปลี่ยนแปลงทางดานธรรมชาติ และสภาวะแวดลอมเปนไปอยางคอยเปนคอยไปจึงอยูในวิสัยที่ธรรมชาติสามารถปรับดุลของตัวเองได ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและปญหา ส่ิงแวดลอมที่รุนแรงจึงยังไมปรากฏแตอยางไรก็ตามจากการที่ความเจริญทางดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมขยายตัวมากขึ้น มนุษยขวนขวายหาความสุขสบายมากขึ้น มีการใชทรัพยากร ธรรมชาติมากยิ่งขึ้น และเกือบทุกประเทศตางก็มุงพัฒนาทางดานเศรษฐกิจกันอยาง จริงจัง ปญหาทางดานสิ่งแวดลอมจึงปรากฏใหเห็นบาง แตก็ยังพอที่จะอยูในวิสัยและสภาพที่รับได

กาลเวลาผานมาจนกระทั่งถึงระยะเมื่อไมกี่สิบปมานี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งในทศวรรษที่ผานมา (ระยะสิบป) ซ่ึงเรียกวา “ทศวรรษแหงการพัฒนา” นั้น ปรากฏวาไดเกิดมีปญหารุนแรงทางดานสิ่งแวดลอมขึ้นในบางสวนของโลกและปญหาดังกลาวนี้ก็มีลักษณะคลายคลึงกัน ในทุกประเทศทั้งที่พัฒนาแลวและกําลังพัฒนา เชน ปญหาทางดานภาวะมลพิษที่เกี่ยวกับน้ํา อากาศ ดินและสารเคมีตางๆ ปญหาทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมสลายและหมดสิ้นไปอยางรวดเร็ว เชน น้ํามัน แรธาตุ ปาไม พืช สัตว ทั้งที่เปนอาหารและที่ควรจะอนุรักษไวเพื่อการศึกษา เปนตน

ความหมายของมลพิษสิ่งแวดลอมมลพิษหรือมลภาวะมาจากคําวา Pollute หมายถึง สถานการณของสภาพ

แวดลอมที่ไมนาพึงพอใจหรือสถานการณที่อาจกอใหเกิดอันตรายหรือความเสียหายขึ้นได ซ่ึงไดแกกระบวนการตางๆ ที่มนุษยกระทําทั้งโดยตั้งใจและไมตั้งใจ ปลอยของเสียที่ไมพึงปรารถนาเขาไปสะสมในบรรยากาศ พื้นดินและในน้ํา มีผลใหสภาพธรรมชาติเสื่อมโทรมลง

36

มลพิษสิ่งแวดลอม (Environmental Pollute) คือ ส่ิงแวดลอมที่ทําใหสุขภาพทางรางกาย จิตใจและสังคมเลวลง เกิดการเจ็บปวย เกิดความไมพึงพอใจ ส้ินหวัง หวาดหวั่น วิตกกังวล หรือไมมีความมั่นคงปลอดภัย ส่ิงที่ทําใหเกิดผลกระทบเหลานี้อาจเกิดขึ้นทางน้ําดื่ม น้ําใช ผลิตผลทางเกษตร หรือสภาวะแวดลอมทั้งทางธรรมชาติและเทคโนโลยีอ่ืนๆ เปนตน

สาเหตุท่ีทําใหสิ่งแวดลอมเปนพิษ ในยุคปจจุบันนี้ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในสาขา

วิชาการตางๆ ไดอํานวยความสะดวกแกชีวิตความเปนอยูของมนุษยโลกมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันอันตรายที่มีตอมนุษยในดานสุขภาพอนามัยอันเนื่องจากความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอมไดทวีมากขึ้น เชน น้ําเสีย อากาศเปนพิษ ดินเสื่อมคุณภาพ กองขยะ และเศษเหลือตางๆ ที่ทับถมมากขึ้นทุกวันการพัฒนาความเจริญกาวหนาดานวิทยาการสมัยใหม มีทั้งคุณและโทษในเวลาเดียวกัน การพัฒนากับการอนุรักษส่ิงแวดลอมควรจะเดินคูกันไปจึงจะเปนผลดีตอการอยูรอดของมวลมนุษย สาเหตุที่ทําใหส่ิงแวดลอมเปนพิษคือ

1. จํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เมื่อมนุษยอยูรวมกันมากๆ ปญหาเรื่องของเสียเชน ขยะมูลฝอย น้ําโสโครก อากาศเสีย และเมื่อประชากรเพิ่มขึ้นในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติมีอยูอยางจํากัด เชน น้ํา ดิน มนุษยก็ตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอด เอาชนะธรรมชาติทุกวิถีทาง คิดสรางสิ่งอ่ืนๆ ขึ้นทดแทน ทําใหเสียสมดุลแหงธรรมชาติกอใหเกิดสภาวะส่ิงแวดลอมเปนพิษ

2. ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตร มนุษยประดิษฐเครื่องทุนแรงมาชวย เชน รถยนต เครื่องบิน เครื่องจักร เครื่องยนต ส่ิงประดิษฐเหลานี้ใชน้ํามันเชื้อเพลิง มีผลทําใหอากาศเปนพิษที่รายแรงตอมนุษยและสัตว

3. ผลของการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม เชน สรางโรงงานอุตสาหกรรม ปลอยน้ําเสียลงในแมน้ําลําคลองทําใหน้ําเนาเสีย เปนตน

4. การขยายของตัวเมือง เมืองหรือชุมชนเปนสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น และมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ การขยายตัวอยางรวดเร็วของเมืองและขาดการวางแผนและผังเมืองที่ดี ทําใหเกิดปญหาตามมาหลายอยาง เชน การใชที่ดินอยางไมมีระเบียบแบบแผน ปญหาการจราจร การขาดแคลนทางดานสาธารณูปโภคและการบริการโดยทั่วไป รวมทั้งสถานที่พักผอนหยอนใจ ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงสภาพความเสื่อมโทรมทั้งทางดานคุณภาพสังคม และคุณภาพของชีวิตของคนในเมืองที่เลวรายลงทุกขณะ

37

5. การใชยาปราบศัตรูพืช การใชยาปราบศัตรูพืชที่มีอานุภาพมากเปนผลทําใหเกิดการทําลายวัฏจักรอาหารในธรรมชาติ และยังทําใหสารพิษเหลานั้นตกคางอยูในน้ํา ในดิน และวกกลับ เขาสูรางกายมนุษยในที่สุด จึงตองพิจารณาการใชสารพิษพวกนี้ใหมาก วิธีการควบคุมศัตรูพืชมีหลายวิธี เชน การทําการเกษตรแบบใหม การดัดแปลงธรรมชาติและวิธีอ่ืนๆ อีกหลายวิธี รวมทั้งวิธีทางชีวภาพ ซ่ึงไมกอใหเกิดปญหาตอส่ิงแวดลอม หรือการทําการเกษตรแบบธรรมชาติ เพื่อลดปริมาณการใชยาฆาแมลง

มลพิษทางน้ํา น้ําเปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งในการดํารงชีวิตของมนุษยและส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ

ในขณะเดียวกันน้ําก็เปนทรัพยากรธรรมชาติที่จําเปนตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขั้นพื้นฐาน เชน เพื่อการชลประทาน การประมง การสาธารณูปโภค การอุตสาหกรรม การพลังงาน การคมนาคม และการพักผอนหยอนใจ นอกจากนี้น้ํายังเปนที่รองรับน้ําเสียจากชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากน้ําสามารถใชประโยชนในกิจกรรมตางๆ ไดมากมาย จึงกอใหเกิดปญหาขัดแยงระหวางผูใชน้ําอยูเสมอ เพราะคุณภาพของน้ําที่เหมาะสมสําหรับการใชประโยชนในกิจกรรมตางๆ นั้นแตกตางกัน และปริมาณของน้ํามีไมเพียงพอที่จะสนองความตองการของผูใชน้ําไดอยางทั่วถึง ทําใหเกิดความขาดแคลนหรือความเสื่อมโทรมของคุณภาพน้ําจนถึงขั้นน้ําเสียขึ้นได

มลพิษทางน้ําหรือน้ําเสีย หมายถึง น้ําที่เสื่อมคุณภาพหรือน้ําที่มีคุณสมบัติเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากมีส่ิงแปลกปลอมที่ไมพึงปรารถมาปนเปอน ทําใหเกิดความเสียหายตอการใชประโยชน

มลพิษทางน้ําอาจจําแนกไดเปน1. น้ําเนา ไดแก น้ําที่มีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ําต่ํา มีสีดําคล้ํา และ

อาจสงกลิ่นเหม็น น้ําประเภทนี้เปนอันตรายตอการบริโภค การประมง และทําใหแหลงน้ําสูญเสียคุณคาทางดานการพักผอนหยอนใจ

2. น้ําเปนพิษ ไดแก น้ําที่มีสารเปนพิษเจือปนอยูในระดับที่อาจเปนอันตรายตอชีวิตมนุษยและสัตวน้ํา เชน สารประกอบของปรอท ตะกั่ว สารหนู แคดเมียม ฯลฯ

3. น้ําที่มีเชื้อโรค ไดแก น้ําที่มีเชื้อบักเตรี ไวรัส ฯลฯ เปนเชื้ออหิวาหตกโรค เชื้อบิด เชื้อไขไทฟอยดเจือปนอยู เปนตน

4. น้ําขุนขน ไดแก น้ําที่มีตะกอนและทรายเจือปนอยูเปนจํานวนมาก จนเปนอันตรายตอสัตวน้ํา และเปนอุปสรรคตอการใชประโยชนของมนุษย

5. น้ํารอน ไดแก น้ําที่ไดรับการถายเทความรอนจากน้ําทิ้ง จนมีอุณหภูมิสูงกวาที่ควรจะเปนตามธรรมชาติ สวนใหญเกิดจากการระบายน้ําหลอเย็น จากโรงงาน

38

อุตสาหกรรมลงสูแหลงน้ําซ่ึงจะมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตและการแพรพันธุของสัตวน้ําและสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ

6. น้ําที่มีกัมมันตภาพรังสี ไดแก น้ําที่มีสารกัมมันตรังสีเจือปนในระดับที่เปนอันตรายตอมนุษย

7. น้ํากรอย ไดแก น้ําจืดที่เสื่อมคุณภาพเนื่องจากการละลายของเกลือในดิน หรือน้ําทะเลไหลหรือซึมเขาเจือปน

8. น้ําที่มีคราบน้ํามัน ไดแก น้ําที่มีน้ํามันหรือไขมันเจือปนอยูมากสาเหตุการเนาเสียของแหลงน้ํา

ความเสื่อมโทรมของคุณภาพน้ํามีสาเหตุจากการระบายน้ําทิ้งจากกิจกรรมตางๆ โดยไมมีการบําบัด หรือปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้งกอนระบายลงสูแหลงน้ํา

ปกติแหลงน้ําธรรมชาติสามารถรักษาสมดุลยไมใหเกิดปญหาน้ําเนาเสียไดจุลินทรียที่อาศัยอยูในน้ําจะทําการยอยสลายส่ิงสกปรกที่ปนเปอน โดยอาศัยออกซิเจนที่ละลายในน้ําเปนแหลงพลังงานในการสันดาป ที่เกิดปญหาน้ําเนาเสียในปจจุบันเปนผลมาจากแหลงน้ําไดรับการปนเปอนจากสิ่งสกปรกมากเกินความสามารถที่ธรรมชาติจะรักษาสมดุลยไวได

น้ําทิ้งที่กอใหเกิดปญหาน้ําเสียมีแหลงสําคัญ ดังนี้1. โรงงานอุตสาหกรรม ไดแก น้ําเปนพิษ น้ํารอนที่เกิดจากกระบวนการ

ผลิตตางๆ และการใชในโรงงานอุตสาหกรรม 2. ชุมชน ไดแก น้ําทิ้งจากอาคารบานเรือน รานคา ตลาด โรงแรม

3. การเกษตรกรรม ไดแก น้ําที่ระบายออกจากบริเวณที่มีการเกษตรกรรมสวนใหญจะมีสารประกอบทางเคมีที่ชะลางมาจากผิวดิน ไดแก ปุยเคมี ปุยอินทรีย และวัตถุมีพิษที่ใชในการเกษตรกรรม

4. ฟารมปศุสัตว ไดแก การเลี้ยงหมู ไก กระบือ และบอปลา เศษอาหารที่เหลือ และมูลสัตวที่ระบายลงสูแหลงน้ํา

5. กิจกรรมเหมืองแร ซ่ึงมีความขุนขนและมีความเปนกรดเปนดาง จนอาจเปนอันตรายตอสัตวน้ํา และรางกายของมนุษย

ปญหาจากมลพิษทางน้ําเมื่อแหลงน้ําเกิดปญหาเนาเสียผลกระทบที่ติดตามมากอใหเกิดปญหาหลาย

ประการ ดังนี้1. การเกษตรกรรม น้ําเสียบางประเภทนอกจากจะเปนอันตรายตอพืช

และสัตวโดยตรง แลวอาจกอใหเกิดปญหาการตกคางสะสมอยูบนพื้นดินที่ทําเกษตรกรรมดวย

39

2. การสาธารณสุข น้ําเสียเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยของประชาชน โรคระบาดหลายชนิด เชน อหิวาหตกโรค ไทฟอยด บิด เกิดจากน้ําสกปรกเปนพาหะ นอกจากนี้โลหะหนักและสารเปนพิษตางๆ ที่ปนเปอนในน้ําจะเปนอันตรายตอสัตวน้ําและมนุษยทั้งทางตรงและทางออม

3. การผลิตน้ําเพื่อบริโภคอุปโภค เมื่อแหลงน้ําเกิดการเนาเสียคาใชจายในการผลิต เพื่อใหไดน้ําที่มีคุณภาพไดตามเกณฑมาตรฐานของการใชตองเพิ่มมากขึ้น

4. การประมง เมื่อแหลงน้ําเสื่อมคุณภาพลงจะมีผลตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา ทั้งนี้อาจทําใหสัตวน้ําตายโดยทันที หรือลดจํานวนลง เนื่องจากไมสามารถดํารงชีวิตและแพรพันธุได และเปนอันตรายตอมนุษยเมื่อนําสัตวน้ําจากแหลงน้ํานั้นมาบริโภค

5. ความสวยงามและการพักผอนหยอนใจ แมน้ํา ลําธาร ชายทะเล และแหลงน้ําอ่ืนๆ ที่สวยงาม เมื่อเกิดความสกปรกเนาเสียก็จะสงผลกระทบตอการทองเที่ยว และการพักผอนหยอนใจของมนุษยในที่สุด

6. สรางเหตุรําคาญ แหลงน้ําเนาเสีย นอกจากเกิดความไมนาดูแลวอาจกอใหเกิดปญหากลิ่นเหม็นรบกวนสรางความรําคาญได

การอนุรักษน้ําใหสะอาดผลกระทบจากแหลงน้ําเนาเสียยอมกอใหเกิดผลเสียแกทุกคน ดังนั้นเรา

ตองชวยกันอนุรักษแหลงน้ําใหสะอาดสวยงามอยูเสมอไดโดย1. ไมทิ้งขยะมูลฝอยลงในแหลงน้ํา2. ลดการใชสารเปนพิษทางการเกษตร เชน ปุยเคมี ยาฆาแมลง3. ปรับปรุงวิธีทางเกษตรกรรมเพื่อลดปริมาณตะกอนและสารเปนพิษที่

ไหลลงสูแหลงน้ํา4. ชวยการสอดสองดูแลการปลอยน้ําเนาเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม

และชุมชนตางๆ5. เผยแพรประชาสัมพันธเกี่ยวกับมลพิษทางน้ําการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมตามแนวพระราชดําริ (รักษน้ํา)สภาพน้ําในประเทศไทยท่ีมาของน้ําประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนและอยูเหนือเสนศูนยสูตรเล็กนอย มีลม

มรสุมตะวันตกเฉียงใตพัดผาน ชวยทําใหเกิดฝนและปริมาณฝนเหลานี้เองที่เปนตนกําเนิดของน้ํา

40

ของแมน้ําลําธารในประเทศไทย แตถาเปนประเทศในเขตหนาวและเขตอบอุน ตนกําเนิดของน้ํามักมาจากหิมะที่ละลายหรือบางประเทศก็มาจากฝน ซ่ึงเกิดขึ้นในชวงสั้นๆ เทานั้น

น้ําฝนที่ตกลงมาในชวงแรกๆ จะซึมลงไปในดินและเมื่อดินซึมซับไวมากพอหรือมีสภาพชุมน้ําแลว สวนที่เหลือก็จะไหลเจิ่งนองบนผิวดินจากที่สูงสูที่ต่ําลงแมน้ําลําคลองไปจนถึงทองทะเล นอกจากนี้ปริมาณน้ําฝนอีกสวนหนึ่งยังมีตนไมชวยดูดซับไวดวย

ชวงที่เปนฤดูฝนในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางจะอยูระหวางเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคม รวมระยะเวลาประมาณ 6 เดือน แตชวงที่มีปริมาณฝนตกมากที่สุดอยูระหวางเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม สวนภาคใตจะเริ่มมีฝนตกหนักราวเดือนตุลาคมไปจนถึงเดือนมกราคม ลักษณะแผนดินที่ยื่นไปในทะเลของภาคใตและมีชายฝงทั้งสองดาน ทําใหเปนภาคที่มีฝนตกเกือบตลอดป

เนื่องจากแตละปมีปริมาณฝนตกไมเทากัน บางปตกมากทําใหเกิดปญหาน้ําทวม บางปมีปริมาณฝนนอยก็ทําใหเกิดปญหาขาดแคลนน้ํา โดยเฉพาะในฤดูทํานาซึ่งตองการน้ํามากจนสรางความเสียหายดานผลผลิตมหาศาล

อยางไรก็ดีประเทศไทยมีชวงฤดูแลงที่ยาวนานพอๆ กับฤดูฝน หากไมมีการกักเก็บน้ําไวใช หรือใชแตน้ําจากแมน้ําลําธาร ประชาชนก็จะไดรับความเดือดรอน การสรางแหลงกักเก็บน้ําไมวาจะเปน สระ บอ ฝาย อางเก็บน้ําขนาดเล็กหรืออางเก็บน้ําขนาดใหญ จึงเปนเร่ืองจําเปนเพื่อใหมีน้ําใชตลอดป ทั้งเพื่ออุปโภค บริโภค เพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรม

ปญหาเกี่ยวกับน้ําหากพิจารณาจากสภาพทั่วๆ ไปแลวประเทศไทยและคนไทยไมนาจะ

ประสบปญหาเรื่องน้ํา เพราะอยูในเขตที่มีฝนตกชุกแตปรากฏวาปญหาใหญที่ยังไมสามารถแกไขไดนอกจากบรรเทาลงก็คือ ปญหาน้ํานอย ปญหาน้ํามากและปญหาน้ําเสีย

ปญหาน้ํานอย คือ ขาดแคลนน้ําหรือภัยแลง ปญหาน้ํามาก คือ น้ําทวมซ่ึงเปนเรื่องธรรมชาติบวกกับการกระทําของ

มนุษย ปญหาน้ําเสียนั้นสวนมากมาจากมนุษย ปญหาน้ํานอยหรือขาดแคลนน้ํา ปญหาน้ํานอยไมไดเกิดขึ้นเฉพาะฤดูแลงเทานั้น ในฤดูฝนที่ฝนตกปริมาณ

นอยและทิ้งชวงนานๆ ก็ทําใหเกิดปญหาน้ํานอยหรือขาดแคลนน้ําไดเชนกัน แตเทาที่ผานมาปญหาขาดแคลนน้ําที่ทําใหประชาชนเดือดรอนทั่วหนากันคือชวงฤดูแลง

41

การขาดแคลนน้ําเกิดจากธรรมชาติเปนหลักก็จริง แตสาเหตุจากมนุษยก็มีสวนสําคัญไมนอย โดยเฉพาะการเพิ่มจํานวนประชากร การทําลายแหลงน้ําธรรมชาติ เชน คู คลอง หนอง บึง ไมวาจะเปนการบุกรุกใชเปนที่อยูอาศัย ใชเพาะปลูกหรือปลอยปละละเลยใหแหลงน้ําตื้นเขิน

การขาดแคลนน้ําที่เกิดจากมนุษยอีกดานหนึ่งคือ การทําลายปาไม ซ่ึงเปนที่ดูดซับหรือชะลอน้ําฝนใหคอยๆ ซึมลงไปเก็บกักไวในดินกลายเปนแหลงน้ําที่ไหลลงสูลําน้ําลําธารเมื่อฝนหยุดตกทําใหมีน้ําไหลในฤดูแลง

การใชน้ําอยางฟุมเฟอยเพราะเห็นวายังมีน้ําใหใชหรือสามารถจายคาน้ําได เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดปญหาขาดแคลนน้ําเร็วขึ้น

อีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดปญหาขาดแคลนน้ําคือ ภาวะฝนทิ้งชวงในชวงฤดูฝน มักเกิดขึ้นราวเดือนกรกฎาคม ซ่ึงเปนชวงที่ตนขาวกําลังเริ่มปกดํา และตนขาวยังเล็ก เมื่อขาดแคลนน้ําทําใหตนขาวแหงตายสรางความเสียหาย โดยปกติจะพบในหลายทองที่และปรากฏเปนประจําเกือบทุกป

ภูมิภาคที่มักประสบปญหาขาดแคลนน้ํารุนแรงทุกป คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากแหลงน้ําธรรมชาติมีนอย ปาไมถูกทําลายมากและมีลักษณะดินไมอุมน้ําทําใหน้ําระเหยเร็ว รวมทั้งแหลงกักเก็บน้ํามีไมเพียงพอทําใหปริมาณน้ําที่เก็บไดมีจํานวนนอย

การแกไขปญหาการขาดแคลนน้ํา เมื่อทุกคนเขาใจถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาขาดแคลนน้ําแลว หากชวยกัน

รวมใจกันเชื่อวาในปตอไปจะลดความรุนแรงได คือ มีน้ําใชมากขึ้นหรือเดือดรอนกันนอยลง สาเหตุที่เกิดจากธรรมชาติคือ ฝนตกนอยหรือฝนทิ้งชวงนั้น บางพื้นที่

สามารถทําฝนเทียมได พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงใหความสําคัญแกเร่ืองนี้มาก เนื่องจากเปนการแกปญหาเฉพาะหนาที่จะชวยบรรเทาความเดือดรอนของประชาชนไดอยางดี

ส่ิงที่สามารถแกไขหรือชวยกันไดในหมูประชาชน เยาวชน ก็คือ ตองชวยกันดูแลแหลงน้ําธรรมชาติซ่ึงเปนสมบัติของทุกคนใหมีสภาพใชการได ถาตื้นเขินก็พยายามชวยกันขุดลอก โดยไมจําเปนตองรอความชวยเหลือจากหนวยงานราชการ

อีกทางหนึ่งที่ทําไดทันทีก็คือ การสรางแหลงน้ําในพื้นที่ของตนไมวาจะเปนบอ หรือสระ ซ่ึงจะชวยบรรเทาปญหาไดในชวงฤดูแลงและยังสามารถใชประโยชนทางการเกษตรไดดวย

42

เมื่อเห็นวาการลดลงของปาไมหรือการทําลายปาไมคือ การทําลายแหลงน้ําอีกทางหนึ่ง ประชาชนทุกคนคงไมสามารถไปขัดขวางสกัดกั้นผูตัดไมได แตสามารถรองเรียนหนวยงานของรัฐหรือไมเปนผูตัดไมนั้นเสียเอง

การใชน้ําอยางประหยัดชวยลดปญหาขาดแคลนน้ําไดเชนกัน ไมวาจะเปนในเขตชุมชนเมืองหรือพื้นที่ที่มีระบบชลประทาน เพราะนอกจากสรางนิสัยที่ดีใหตัวเองและลูกหลานแลว ยังแสดงความมีน้ําใจเผื่อแผเพื่อนรวมชาติอีกดวย

ปญหาน้ํามากหรือน้ําทวม น้ํานอยก็ทําใหเราเดือดรอนน้ํามากก็ทําใหเราเดือดรอนเชนกัน ตัวอยาง

จากหลายปที่ผานมาซึ่งเกิดปญหาน้ําทวมใหญ โดยเฉพาะเมื่อป พ.ศ.2538 พบวามีปริมาณน้ําทวมสูงสุดในรอบ 40 ป

ปญหาน้ํามากเกินไปหรือน้ําทวม นอกจากมีสาเหตุมาจากปริมาณฝนตกมากผิดปกติแลว ยังมีสาเหตุใกลเคียงกับปญหาน้ํานอยคือ พื้นที่รองรับน้ําตามธรรมชาติมีนอย ปาไมที่ทําหนาที่ชะลอการไหลของน้ําก็มีนอย รวมทั้งการเพิ่มจํานวนประชากรทําใหหลายพื้นที่ซ่ึงเคยเปนแหลงระบายน้ํากลายเปนที่อยูอาศัย คู คลอง ที่เคยชวยรับน้ําก็ตื้นเขิน สวนอีกสาเหตุหนึ่งที่เกิดขึ้นในบริเวณที่อยูใกลทะเล เชน กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรีและปทุมธานี คือมีน้ําทะเลหนุนสูง ทําใหปริมาณน้ําในแมน้ําเออทวมสูงขึ้น

ทุกภาคของประเทศไทยมีโอกาสเกิดน้ําทวม เชน ภาคเหนือซ่ึงมีสภาพเปนภูเขาสูง และพื้นที่ปาไมลดลง เมื่อเกิดฝนตกหนักติดตอกันหลายๆ วัน ทําใหมีปริมาณน้ําไหลจากที่สูงอยางรวดเร็ว บางครั้งไหลรุนแรงกลายเปนน้ําปาพัดพาหนาดินและตนไมนอยใหญลงมาดวย

สวนน้ําทวมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เนื่องจากพื้นที่ปาไมมีนอย พื้นที่กักเก็บน้ํามีไมมากนัก แหลงน้ําธรรมชาติ เชน แมน้ํา ลําคลอง ก็เปนสายเล็กๆ ปริมาณน้ําที่มากมายมหาศาลจึงสะสมไวบนผิวดิน แมบางสวนจะซึมลงใตดินที่เปนดินรวนปนทราย หรือดินทรายแลวก็ตาม

น้ําทวมในภาคกลางเปนเพราะลักษณะพื้นที่เปนที่ราบลุม ชวงที่มีปริมาณฝนตกหนักติดตอกันหลายวันตองรองรับปริมาณน้ําฝนจํานวนมากแลวยังมีน้ําเหนือไหลลงมาสมทบอีก ทําใหภาคกลางมักประสบปญหาน้ําทวมเปนประจํา นอกจากนี้การขยายตัวของชุมชนในภาคนี้สูงกวาภาคอื่นๆ และมีคนอาศัยอยูหนาแนนทําใหพื้นที่รองรับน้ําแตเดิมกลายเปนที่อยูอาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม เมื่อพื้นที่รับน้ําลดลงปริมาณน้ําทวมจึงสูงผิดปกติและทําความเสียหายรุนแรง ไมเฉพาะแตพื้นที่ทําการเกษตรเทานั้นยังรวมถึงบานเรือนประชาชนดวย

43

ในภาคใตก็มีปญหาน้ําทวมแทบทุกปเพราะเปนพื้นที่ที่ฝนตกชุกอยูแลว พื้นที่รองรับน้ําก็มีไมมาก แหลงกักเก็บน้ําขนาดใหญมีนอย เมื่อเกิดฝนตกหนักน้ําจึงไหลจากที่สูงลงมาทวมที่ลุมแลวไหลลงทะเลอยางรวดเร็ว

การบรรเทาปญหาน้ําทวม ดังไดกลาววาปญหาใหญที่ทําใหเกิดน้ํามากเกินไปหรือน้ําทวมนั้นมาจาก

ธรรมชาติ ผสมกับสาเหตุที่เกิดจากมนุษย ถาปใดปริมาณฝนไมมากไมนอยปญหาน้ําทวมจะไมรุนแรง แตถาปใดปริมาณฝนตกมากจะทําใหเกิดน้ําทวมอยางรุนแรง การปองกันน้ํามากเกินไปหรือน้ําทวมไมสามารถทําไดเหมือนการแกปญหาขาดแคลนน้ํา เชน การสรางแหลงกักเก็บน้ําในพื้นที่ตัวเอง เพราะเมื่อเกิดน้ําทวมใหญจะกระจายไปทั่ว ดังนั้นการปองกันปญหาน้ําทวมจึงตองอาศัยความรวมมือจากทุกคนไมใชหนวยงานของรัฐเพียงฝายเดียว

ในเขตชุมชนเมือง ควรมีการตรวจสอบทอระบายน้ําใหอยูในสภาพใชงานไดดี ถา คู คลอง ตื้นเขินและถูกบุกรุก ตองขุดลอกและโยกยายประชาชนที่บุกรุกออกไป ขณะเดียวกันตองสรางทางระบายน้ําลงสูทะเลใหเร็วที่สุดเทาที่จะทําไดซ่ึงเรื่องนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระราชกระแสรับสั่งใหรัฐบาลเรงจัดการโดยดวนเพื่อแกปญหาน้ําทวมกรุงเทพฯ เมื่อป พ.ศ. 2538 และเกิดเปน โครงการแกมลิงคือ ใหระบายน้ําจากคลองดานตะวันออกและตะวันตกของกรุงเทพฯ ไปกักเก็บไวบริเวณแหลงเก็บน้ําหรือทางน้ําขนาดใหญ จากนั้นจึงคอยๆ ระบายสูทะเลคือ มีลักษณะเหมือนเดิม ซ่ึงมักสะสมอาหารไวที่กระพุงแกมจากนั้นจึงคอยๆ กินนั่นเอง

อีกเรื่องหนึ่งที่รัฐบาลมีโครงการในระยะยาวก็คือ การสรางกําแพงตลอดแนวแมน้ําเจาพระยา จากกรุงเทพฯ ถึงนครสวรรคตามทองที่ตางๆ ที่เหมาะสม เพื่อปองกันปริมาณน้ําจากแมน้ําเจาพระยาลนตลิ่ง และทวมบานเรือนราษฎร

ถาเปนประชาชนทั่วไปคงตองเตรียมปองกันอันตรายจากน้ําทวมมากกวาปองกันน้ําทวม เชน เตรียมวัสดุอุปกรณที่ใชในชวงน้ําทวมไมวาจะเปนเรือและชูชีพ นอกจากนี้บางแหงควรมีการสรางคันดินลอมรอบสวนเพื่อปองกันน้ําจากแมน้ําทะลักเขาสวนในชวงน้ําทะเลหนุนดวย

ปญหาน้ําเสีย น้ําเสียในที่นี้หมายถึง น้ําที่นํามาใชประโยชนไมได ไมวาจะเปนอุปโภค

บริโภค ใชในการเกษตรหรือใชในอุตสาหกรรม น้ําเสียจึงรวมตั้งแตน้ําเนาเสีย น้ําเค็ม และน้ําเปรี้ยว

44

น้ําเสียจะเกิดขึ้นตามชุมชนที่มีคนอยูอาศัยหนาแนน โดยเฉพาะที่อยูอาศัยอยูริมคลองและแมน้ํา ซ่ึงประชาชนจํานวนไมนอยทิ้งน้ําจากการอุปโภคทั้งลางภาชนะสิ่งของ ทําความสะอาดบานเรือนและอาบน้ํารวมทั้งทิ้งขยะซึ่งทําใหน้ําเนาเสียเร็วยิ่งขึ้น

ชุมชนหลายแหงไมเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลเทานั้นแม แตจังหวัดอ่ืนๆ ที่ไมมีระบบบําบัดน้ําเสียกอนปลอยลงทอระบายน้ําลงสูแมน้ํา ทําใหเกิดปญหาน้ําเนาเสียเพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว

น้ําเค็มซ่ึงเกิดจากการทํานาเกลือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และน้ําทะเลหนุนเขามา นอกจากจะใชประโยชนไมไดแลวยังทําลายพืชผลทางการเกษตรดวย เชน พื้นที่นาขาวที่อยูใกลเคียงกับพื้นที่ทํานาเกลือ ที่จังหวัดมหาสารคามและสกลนครไดรับความเสียหายจากน้ําเค็มที่ถูกปลอยสูลําหวยหรือน้ําเค็มที่ซึมลงสูใตดิน สวนน้ําเค็มที่มาจากน้ําทะเลหนุนบริเวณจังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพฯ และนนทบุรีนั้น ทําใหสวนผลไมยืนตนหลายแหงตาย

น้ําเปรี้ยวเปนน้ําอีกประเภทหนึ่ง ซ่ึงมีสภาพเปนกรดมากเกินไปไมเหมาะที่จะนํามาใชอุปโภค บริโภคหรือการเกษตร อุตสาหกรรม แตพื้นที่ที่มีปญหาน้ําเปรี้ยวไมกระจายตัวมากนัก และมักเกิดในพื้นที่ที่สภาพพื้นดินเปนดินเปรี้ยวจัด เชน บางอําเภอของจังหวัดปทุมธานี นครนายก และบางจังหวัดในภาคใต

การปองกันน้ําเสีย ไมวาจะเปน น้ําเปรี้ยว น้ําเค็มหรือน้ําเนาเสียลวนแตปองกันและแกไขได

ทั้งดวยเทคโนโลยีและวิธีธรรมชาติ กรณีน้ําเค็มที่เกิดจากพื้นที่ทํานาเกลือ สามารถปองกันไดโดยไมปลอยน้ํา

ทิ้งลงลําหวย ลําคลอง สวนน้ําเค็มที่เกิดจากน้ําทะเลหนุนนั้นสามารถทําคันดินปองกันลวงหนาได การแกไขน้ําเปรี้ยวก็ตองใชสารเคมีที่มีสภาพเปนดางชวยปรับใหน้ําเปรี้ยว

หรือน้ําที่มีสภาพเปนกรดคอยๆ เปนกลางหรือเปนกรดนอยลง สามารถนํามาใชประโยชนได หรืออาจใชน้ําจืดที่มีมากในฤดูฝนตามธรรมชาติมาชวยเจือจางก็ได

สวนน้ําเนาเสียก็มีวิธีปองกันมากมายซึ่งทุกคนสามารถทําไดโดยเริ่มตั้งแตที่บาน เชน นําน้ําที่ใชซักลางน้ําสุดทายมาใชรดน้ําตนไมรวมทั้งไมทิ้งขยะลงแมน้ําลําคลอง

กรณีที่ชุมชนไมมีระบบบําบัดน้ําเสียควรสราง หรือวางระบบใหม บานเรือนที่สรางใหมก็สามารถติดตั้งถังบําบัดน้ําเสียไวใตดินโดยไมเสียพื้นที่ดวยเชนกัน

น้ําเนาเสียใน คู คลอง สามารถบรรเทาลงได แตถาจะใหกลายเปนน้ําดีถึงขั้นนํามาใชในครัวเรือนยังเปนไปไดยาก การบําบัดน้ําเสียตองใชเทคโนโลยีเขาชวยตั้งแตติดตั้งเครื่องเติมออกซิเจน การปลอยน้ําดีไลน้ําเสีย

45

เครื่องเติมออกซิเจนที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงนําตนแบบมาจาก “หลุก” หรือเครื่องมือวิดน้ําทางภาคเหนือ แลวพัฒนาเปนกังหันชัยพัฒนานั้นสามารถชวยเพิ่มออกซิเจนในน้ําและบรรเทาความเนาเสียของน้ําจนมีส่ิงมีชีวิตบางชนิดสามารถอาศัยอยูในน้ําได ไดนําไปติดตั้งชวยเหลือประชาชนในหลายพื้นที่

“…หลักสําคัญวาตองมีน้ําบริโภค น้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะวาชีวิตอยูที่นั่น ถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ไมมีไฟฟาคนอยูได แตถามีไฟฟาไมมีน้ําคนอยูไมได…” พระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ณ สวนจิตรลดา เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2529

ทรัพยากรสําคัญของเรา เร่ือง น้ํา กําเนิดของน้ําบนโลก

โลกกอกําเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,600 ลานปมาแลว นักวิทยาศาสตรเชื่อวาดาวเคราะห ทั้งหลาย รวมทั้งโลกเกิดขึ้นพรอมกับดวงอาทิตยแตมีขนาดเล็กกวา โลกท่ีกอกําเนิดขึ้นมาใหมๆ มีลักษณะเปนกลุมฝุนและกาซหลายชนิดรอนจัดหมุนวนอยูในอวกาศ

โลกในขณะนั้นยังไมมีน้ําอยูบนพื้นผิวนานหลายรอยลานปหลังจากนั้นเมื่อโลกคอยๆ เย็นลงจนมีอุณหภูมิต่ํากวาไอน้ําเดือด และเปลือกโลกบางสวนแข็งกลายเปนหิน จึงเร่ิมมีไอน้ําเกิดขึ้นแทรกอยูในหิน ไอน้ําที่เกิดขึ้นนี้ลอยสูงขึ้นจากเปลือกโลกเขาไปอยูในบรรยากาศซ่ึงประกอบดวยกาซหลายชนิด และเนื่องจากบรรยากาศของโลกขณะนั้นมีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิที่พื้นผิวไอน้ําที่ลอยข้ึนไปจึงกลั่นตัวเปนละอองน้ํากลายเปนเมฆดําลอยปกคลุมอยูรอบๆ โลก

นานหลายพันปหลังจากนั้น เมฆที่ปกคลุมอยูรอบๆ โลกไดชวยกันปองกันมิใหรังสีจากดวงอาทิตยตกลงสูโลก เปนเหตุใหโลกเย็นตัวลงเร็วขึ้น พื้นผิวของโลกจึงกลายเปนหินแข็งไปทั่ว แตภายในยังรอนจัดอยู

ภายหลังจากนั้นอีกไมนาน เมื่อพื้นผิวของโลกมีอุณหภูมิลดต่ําลงไปอีก ละอองน้ําในกอนเมฆก็รวมตัวกันกลายเปนฝนตกลงมายังพื้นผิวของโลก ในทํานองเดียวกับฝนที่ตกลงสูพื้นดินในปจจุบัน ฝนที่ตกลงมาซ้ําแลวซํ้าเลาทําใหเกิดมีน้ําขังอยูทั่วไปบนพื้นหินซึ่งเปนที่ต่ํา และไดกลายเปนแองน้ํากวางใหญ ในระยะตอมากลายเปนทะเล การรวมตัวของน้ําฝนบนพื้นผิวโลกจนกลายเปนทะเลนี้กินเวลานานถึงพันลานป

พื้นผิวของโลกในระยะเวลานั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มีการแตกแยก เกิดรอยเลื่อนและภูเขาไฟระเบิด ทําใหสภาพของทองทะเลบนโลกยุบต่ําลงในที่บางแหงและยกสูงขึ้นในบางที่เปนเหตุใหเกิดทิวทัศนสวยงามขึ้นทั่วไป

46

วัฏจักรของน้ําน้ําที่มีอยูทุกแหงบนพื้นผิวของโลก เมื่อไดรับความรอนจากดวงอาทิตยจะ

ระเหยเปนไอที่เรามองไมเห็นลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่ออากาศนี้ลอยสูงขึ้นและเย็นลง ไอน้ําก็จะกล่ันตัวเปนละอองน้ําเล็กๆ กลายเปนเมฆที่เราเห็นลอยอยูในทองฟา ละอองน้ําเล็กๆ เหลานี้มารวมตัวกันเปนเม็ดน้ํา เมื่อใหญขึ้นก็จะกลายเปนเม็ดฝนตกลงมายังพื้นดิน การหมุนเวียนเปลี่ยนไปจากน้ําเปนไอน้ําแลวเปลี่ยนกลับเปนหยดน้ํา ตกกลับสูพื้นดินเชนนี้เรียกวา “วัฏจักรของน้ํา”

ทุกๆ วัน น้ําในทะเล ทะเลสาบ และมหาสมุทร ซ่ึงปกคลุมพื้นผิวของโลกอยูมากกวา 70% จะระเหยเปนไอลอยขึ้นไปในอากาศอยูตลอดเวลาอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดเมฆและวกกลับลงมาเปนฝนตกสูพื้นดินไหลซึมลงไปในดินเปนน้ําใตดินและไหลบาไปบนพื้นดินเปนลําธารและแมน้ํา ไหลลงสูทะเลและมหาสมุทรอีก วนเวียนอยูเชนนี้ตลอดเวลา โดยปกติน้ําในบรรยากาศมีอยูประมาณ 0.01% ของน้ําทั้งหมดบนโลกและประมาณ 97% อยูในทะเลและมหาสมุทร

การที่วัฏจักรของน้ํามีการหมุนเวียนอยูระหวาง มหาสมุทร บรรยากาศ และพื้นดินเชนนี้ไดกอใหเกิดคุณประโยชนยิ่งใหญ มีคุณคามหาศาลตอบรรดาสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกเพราะน้ําฝนที่เกิดจากเมฆซึ่งลอยมาจากทะเลและมหาสมุทรทําใหเกิดมีปาตนน้ําและปาไมอ่ืนๆ ขึ้นบนพื้นดิน น้ําจากปาตนน้ําทําใหเกิด ลําธาร และแมน้ํา ลําคลองใหมนุษย สัตว และพืชทุกชนิดใชในการดํารงชีวิตทําใหคงมีชีวิตอยูได จากนั้นน้ําในแมน้ําก็ไหลลงสูทะเลและมหาสมุทร ทําใหเกิดฝนขึ้นมาใหมอีก

อาณาบริเวณบนพื้นผิวของโลกซึ่งมีน้ําอยูดวย ไดแก- ทะเลและมหาสมุทร- ดินและใตดินจนถึงชั้นหิน- บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยรที่อยูติดพื้นดินสูงขึ้นไปประมาณ 7

กิโลเมตรแรกแหลงน้ําธรรมชาติชีวิตทุกชีวิตบนโลกตองการน้ําเพื่อใหคงมีชีวิตอยูได แตเนื่องจากน้ําเปน

ตัวทําละลายที่ดี น้ําในธรรมชาติจึงมักไมเปนน้ําที่บริสุทธิ์แตเปนน้ําที่มีสารอื่นๆ ละลายปนมาดวยเสมอ แหลงน้ําในธรรมชาติบนพื้นผิวโลกที่สําคัญและควรรูจักมี 4 แหลงดวยกันไดแก

47

1. น้ําฝน 2. น้ําแมน้ําลําคลอง 3. น้ําใตดิน 4. น้ําทะเล

เปนเวลานานสองพันปมาแลวที่นักวิทยาศาสตรคิดวาน้ําเปนธาตุชนิดหนึ่งตามที่นักปราชญชาวกรีกชื่อ อริสโตเติล ไดกลาวไวตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 4 แตแลวในป พ.ศ. 2324 คือเมื่อประมาณ 200 ปมานี้เอง นักเคมีชาวอังกฤษชื่อ เฮนรี คาเวนดิช ก็ไดทําการทดลองเกี่ยวกับไฮโดรเจน เขาระเบิดสารผสมของไฮโดรเจนกับอากาศโดยใชประกายไฟฟา ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ไมทําใหน้ําหนักเปลี่ยนแปลง แตทําใหเขาไดพบวามีสารสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น นั่นคือ น้ําบริสุทธิ์ นี่เปนขอเสนอแนะที่ทําใหคิดวา น้ําเปนสารประกอบของไฮโดรเจน ตอมาอีกไมกี่ป ก็มีนักวิทยาศาสตรชาวฝร่ังเศสชื่อ แอนโทนี่ ลาวอยซิเยร ไดแสดงใหเห็นวา น้ําเปนสารประกอบอยางงายของไฮโดรเจนกับออกซิเจน เร่ืองนี้มีการพิสูจนไดโดยการทําอิเล็กโตรลิซิส ซ่ึงทําใหน้ําแตกตัวออกเปนไฮโดรเจนและออกซิเจน

ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดทั้ง คน สัตว และพืช มีน้ําเปนองคประกอบอยูดวย ในรางกายของมนุษยมีน้ําอยูประมาณรอยละ 70 ในพืชบกมีน้ําอยูประมาณรอยละ 50 - 75 ในพืชน้ํามีน้ําอยูประมาณรอยละ 95 - 99

ประมาณสองในสามของรางกายมนุษยเปนน้ํา เซลลทุกเซลลของรางกายมีน้ําประกอบอยูดวย เลือด คือ น้ําและแรธาตุ มีโปรตีนและเซลลเลือดลอยอยูตามที่ตางๆ ในรางกาย เชน รูจมูก ระบบยอยอาหาร และปอดมีน้ําประกอบอยูดวยซ่ึงอาจสังเกตเห็นได สวนผิวหนังนั้นเปนเหมือนถุงกันน้ําใหแกรางกายชวยปองกันไมใหน้ําซึมผานเขาไปในรางกาย

น้ําเปนสารอาหารชนิดหนึ่งที่มนุษยจะขาดไมได ทุกวันเราตองดื่มน้ําประมาณ 2 ลิตร 1 ลิตรเปนน้ําดื่ม สวนอีก 1 ลิตร คือน้ําที่มีอยูในอาหารที่เรารับประทาน ในอาหารทุกชนิดนั้นมีน้ําอยูดวยแมแตอาหารแหง เชน ขาวสุก ขาวเหนียวนึ่ง แปงตางๆ เสนกวยเตี๋ยวที่ลวกแลวก็มีน้ําในเนื้อสัตว ไข ผัก และผลไมทุกชนิดลวนแตมีน้ําอยูดวยทั้งส้ิน ผักและผลไมที่มีน้ํามาก เชน แตงกวา มะเขือเทศ สม แตงโม สับปะรด ฯลฯ

รางกายขับน้ําออกมากับปสสาวะและอุจจาระ ออกเปนเหงื่อและในลมหายใจออก ถารางกายขาดน้ํา เชน ไมไดดื่มน้ําเปนเวลานาน 2 – 3 วัน หรือเกิดทองเดินอยางรุนแรง และไมไดรับการรักษา อาการขาดน้ําอาจทําใหถึงแกความตายได น้ําจึงเปนสารประกอบที่สําคัญและจําเปนสําหรับทุกคน

48

คุณคาและประโยชนของน้ําน้ํามีอยูทุกหนทุกแหง ในรางกายของเรามีน้ําเปนสวนประกอบอยูดวยมาก

ถึง 70 % ทุกวันเราตองดื่มน้ํา อาบน้ํา และใชน้ําในการซักลาง ในอาหารที่เรากินทุกชนิดมีน้ําอยูดวยทั้งส้ิน แมแตในขาวสวย แปง และกวยเตี๋ยวก็มีน้ําในเนื้อสัตว ผักและผลไมทุกชนิดมีน้ําอยูดวยมาก รางกายของคนทุกคน สัตวทุกตัว และพืชทุกชนิดลวนแตตองการน้ําทั้งส้ิน นอกจากนั้นน้ํายังเปนส่ิงจําเปนในการเพาะปลูกและการอุตสาหกรรมอีกดวย ถาบนโลกนี้ไมมีน้ํา เราก็จะอยูไมได ทุกชีวิตจะตองตาย

ถาถามวา เมื่อทุกคนทุกชีวิตบนโลกตองใชน้ําวันละมากๆ จะมีน้ําเพียงพอใหเราดื่มกินและใชในสหัสวรรษใหมหรือไม คําตอบก็คือ ไมแนนอน สําหรับน้ําจืดแมวาทะเลและมหาสมุทรจะปกคลุมพื้นผิวของโลกอยูถึงสามในสี่สวน ซ่ึงทําใหมีน้ําอยูบนโลกเปนปริมาณมากกวาสารอื่นใด แตน้ําในทะเลและมหาสมุทรก็เปนน้ําเค็มที่ใชดื่ม กิน และเพาะปลูกไมได

ปญหาหลักคือ น้ําจืดมีอยูไมมากนัก แตใหประโยชนไดนอยลง เนื่องจากมนุษยทําใหกลายเปนน้ําเสียเพิ่มขึ้นจากกิจกรรมตางๆ

เมื่อเทียบกับดาวเคราะหดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะ โลกของเรามีขนาดกําลังพอดีและมีแรงดึงดูดไอน้ําไวใหคงอยูในบรรยากาศรอบโลก ไมหลุดลอยหายไปในอวกาศจนหมดสิ้น นอกจากนั้นโลกยังอยูหางจากดวงอาทิตยในระยะที่พอเหมาะ ทําใหอุณหภูมิของโลกเปนอุณหภูมิที่น้ําสวนใหญเปนของเหลว ไมเดือด และไมแข็งเปนน้ําแข็งทั่วไปหมด เหมือนบนดาวเคราะหดวงอื่นๆ โลกจึงมีน้ําอยูดวยมากมายและมีอากาศที่เอื้อตอชีวิตหอหุมโลกไว โลกจึงเปนโลกที่งดงามนาอยูเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย สัตว และพืชจํานวนมากมายมหาศาล

น้ํานั้นมีกําลัง เราใชกําลังของน้ําใหเปนประโยชน โดยสรางเขื่อนกั้นแมน้ําไวแลวใชกําลังน้ําไปหมุนกังหันของเครื่องเทอรไบน ทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาผลิตกระแสไฟฟาออกมา โรงไฟฟาที่ใชกําลังน้ําเชนนี้เรียกวา โรงไฟฟาพลังน้ํา เปนโรงไฟฟาที่ไมตองใชเชื้อเพลิงใดๆ ทําใหปลอดสารมลพิษในอากาศ โรงไฟฟาพลังน้ํามีใชอยูทั่วโลก ถาเมื่อใดเชื้อเพลิง เชน ถานหิน หรือน้ํามันหมดไปจากโลก โรงไฟฟาพลังน้ําจะสามารถผลิตไฟฟาตอไปไดไมจบสิ้น

การสรางเขื่อน นอกจากจะใชผลิตกระแสไฟฟาแลวยังทําใหเกิดอางเก็บน้ําเหนือเขื่อน เปนประโยชนมากในการเกษตรเพื่อการปลูกขาว ปลูกพืชไร และในการเลี้ยงสัตว โดยเฉพาะการเลี้ยงปลาน้ําจืด ซ่ึงเปนอาหารสําคัญของเรา

นอกจากนี้น้ํายังมีประโยชนคือ การใชน้ําในการคมนาคม การเดินทางติดตอกัน และขนสงสินคาทางน้ําโดยใชเรือเปนพาหนะ การคมนาคมทางน้ําเปนสิ่งที่ทํากันมาตั้งแตโบราณ ทําไดทั้งในแมน้ําลําคลองและในทะเล

49

จะเห็นไดวา น้ําเปนสิ่งสําคัญและจําเปนอยางยิ่งสําหรับทุกคน แมวาจะมีน้ําอยูบนโลกเปนจํานวนมาก แต 97 % ของน้ําอยูในทะเลและเปนน้ําเค็ม ซ่ึงมนุษยยังนํามาใชประโยชนในการอุปโภคบริโภคไดนอยมาก แหลงน้ําจืดที่เหมาะสําหรับใชจึงมีอยูเปนปริมาณจํากัด ดังนั้นเราจึงตองระมัดระวังในการใชน้ํา รูวิธีเก็บกักน้ําไวใชพยายามรักษาตนน้ําลําธารใหอยูในสภาพอุดมสมบูรณ รูวิธีใชและรักษาน้ําในแมน้ําลําคลองไมใหเนาเสีย ชวยและรวมมือกันปองกันการปนเปอนที่ไม สอดคลองกับการใชน้ํา ปองกันน้ําทวม และใชน้ําบาดาลอยางถูกตอง เราจึงจะมีน้ําใชเพียงพอ ตลอดไป

การอนุรักษน้ําการอนุรักษน้ําคือ การรักษาน้ําตามธรรมชาติไวไดอยางดี เพื่อใหคงมีน้ําใช

ตลอดเวลา หลักของการอนุรักษน้ํา ไดแก การเก็บกักน้ําไวไมปลอยใหแหงหาย หรือเนาเสียการอนุรักษน้ําทําไดดังนี้1. การสรางเขื่อน เขื่อนชวยกักเก็บน้ําในแมน้ําไวไมใหไหลลงทะเลไป

หมด เขื่อนขนาดเล็กเปนประโยชนมากในการเพาะปลูก นอกจากนั้นเขื่อนยังชวยปองกันน้ําที่ลนจากตนน้ํา และไหลมาสูเบื้องลางอยางรวดเร็วและฉับพลัน อันอาจทําใหเกิดอุทกภัยหรือทําใหน้ําทวมมาก เปนอันตรายแกสวนและไรนาได

2. สรางอางเก็บน้ํา ในที่ลุมถาสรางเขื่อนไมไดก็สรางเปนอางเก็บน้ําไว นอกจากใชดื่มและใชชะลางแลว อางเก็บน้ําขนาดใหญยังเปนประโยชนในการเกษตรและเปนที่อยูอาศัยของสัตวน้ําซ่ึงเปนอาหารไดอยางดีอีกดวย

3. รักษาตนน้ําลําธารไว เพื่อใหคงมีน้ําในแมน้ําตลอดป4. ปองกันน้ําในแมน้ําเนาเสีย โรงงานริมแมน้ํา เชน โรงงานน้ําตาล มัก

ปลอยของเสียลงในแมน้ํา ทําใหน้ําเสีย ชาวบานใชน้ําไมได สัตวน้ําตายสิ้น แตละชุมชนตองชวยกันดูแล และรีบดําเนินการใหโรงงานแกไขไมปลอยของเสียลงแมน้ํา

5. ใชน้ําบาดาลอยางถูกตอง การใชน้ําบาดาลมากเกินไป ทําใหน้ําบาดาลหมดไป และอาจทําใหแผนดินทรุดต่ําลง เกิดน้ําทวม จําเปนตองหาทางจัดการใหการใชน้ําบาดาลเปนไปอยางเหมาะสม

6. ไมปลอยใหน้ําร่ัวไหล การปลอยใหน้ําร่ัวไหลโดยเปลาประโยชน เชน เปดกอกน้ําทิ้งไว ทอประปาชํารุดเปนการไมอนุรักษน้ํา

ส่ิงที่ควรทําในการอนุรักษน้ํา1. อนุรักษตนน้ําลําธารไว เพื่อใหมีน้ําในแมน้ําลําคลองตลอดป

50

2. เก็บกักน้ําไวใช โดยการสรางอางเก็บน้ํา ขุดสระน้ํา ขุดลอกหนองบึงธรรมชาติใหลึก เพื่อเก็บกักน้ําไดมากขึ้น สรางฝายปดกั้นทางน้ํา

3. ไมทิ้งขยะลงในแมน้ําลําคลอง 4. ไมใชยาเบื่อปลา ไมดูดทรายจนตลิ่งพัง 5. ไมปลอยใหน้ํามัน ปุย ยาฆาแมลง ยาฆาศัตรูพืชลงในแหลงน้ํา 6. ไมนําสัตวเล้ียงลงในแหลงน้ํา 7. ไมทิ้งขยะลงในทะเล 8. ไมปลอยน้ํารอนลงในแหลงน้ํา 9. ไมซ้ือส่ิงของที่ทํามาจากปะการัง เปลือกหอยทะเล กระดองเตาทะเล 10. ไมทิ้งสมอเรือลงในแนวปะการัง 11. เติมออกซิเจนลงในน้ํา เพื่อบรรเทาความเนาเสีย 12. ระมัดระวังไมใหเกิดไฟปา

ชุดอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมตามแนวพระราชดําริ เร่ือง น้ําเสียสูน้ําดีดวยเทคโนโลยี

1. น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร“...หลักสําคัญ ตองมีน้ําบริโภค น้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะวา

ชีวิตอยูที่นั่น ถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ไมมีไฟฟาคนอยูได ไมมีน้ําคนอยูไมได...” จากกระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอ

ดุลยเดช ที่มีพระราชดําริดังกลาว ไดแสดงใหเห็นวา น้ําเปนปจจัยที่มีความสําคัญยิ่งตอการดํารงชีพของมนุษย ตลอดจนสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย โดยเฉพาะมนุษยตองการใชน้ําเปนปริมาณมากทั้งไวเพื่อดื่มกินและใช เพื่อทําประโยชนในกิจกรรมตางๆ เชน เพาะปลูก เล้ียงสัตว การประมง อุตสาหกรรม ชลประทานและอื่นๆ

ในอดีตประเทศไทยเคยเปนดินแดนที่อุดมสมบูรณ ดังคํากลาวที่วา“ในน้ํามีปลา ในนามีขาว” คนไทยในสมัยนั้นมักจะตั้งบานเรือนอยูบริเวณที่แมน้ําไหลผาน และอาศัยน้ําเพื่อใชดื่มกิน ปลูกพืช เล้ียงสัตว ตลอดจนเปนเสนทางไปมาหาสูซ่ึงกันและกัน

เมื่อ 30 ปที่ผานมา จํานวนประชากรไดเพิ่มมากขึ้น มีการติดตอคาขายและเชื่อมความสัมพันธกับประเทศตางๆ ทําใหการดําเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่ประชาชน สวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชไรและเลี้ยงสัตว ไดกลายมาเปนอาชีพอุตสาหกรรม มีการนําเอาทรัพยากรมาใชกันอยางมากมาย จนทรัพยากรบางอยางรอยหรอหมดสิ้นไป ทรัพยากรบางอยางไมสามารถหามาทดแทนหรือฟนฟูขึ้นมาไดทัน โดยเฉพาะน้ํา น้ําถูกนําไปใช

51

ในกิจกรรมตางๆ แลวก็ถูกปลอยทิ้งระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ น้ําที่ใชแลวเหลานี้จะเปนน้ําเนาหรือน้ําเสีย เนื่องจากมลสารตางๆ ปะปนอยู มลสารนี้มี 2ประเภท คือ สารอินทรีย และสารอนินทรีย

สารอินทรีย เปนสารที่มาจากสิ่งมีชีวิต สัตวหรือพืช ไดแก แปง น้ําตาล โปรตีน และไขมัน ตลอดจนวิตามินตางๆ สวนใหญอยูใน เศษอาหาร ซากพืชหรือซากสัตว ตลอดจนสิ่งปฏิกูลตางๆ เมื่อปะปนมากับน้ําทิ้งแลวระบายลงสูแหลงน้ําในจํานวนมาก จะทําใหจุลินทรียจําพวกแบคทีเรียและเชื้อราที่อยูในน้ําทําการยอยของเสียที่เปนสารอินทรีย โดยใชกาซออกซิเจนชวยในการยอยสลายไปดวย ถาของเสียมีโปรตีนมาก จุลินทรียประเภทที่ใชออกซิเจนจะยอยไมทัน เนื่องจากในน้ําขาดกาซออกซิเจน ก็จะทําใหจุลินทรียพวกนี้ตองตายไปและสงผลใหระยะตอมาจุลินทรียพวกใหมที่ไมตองการกาซออกซิเจนเกิดขึ้น ในระยะตอมาจุลินทรียประเภทนี้จะชวยยอยสลายของเสียที่เหลืออยู การยอยสลายของจุลินทรียประเภทนี้เองที่เปนสาเหตุทําใหน้ําเกิดการเนาเสีย เพราะไดปลอยกาซมีเทน แอมโมเนียและกาซไขเนา ขึ้นมาลอยอยูเหนือผิวน้ํา นอกจากมีฟองอากาศปุดๆ เกิดขึ้นแลว ยังสงกลิ่นเหม็นลอยขึ้นมาบนอากาศ เราจึงเรียกแหลงน้ํานี้วา น้ําเนา น้ําโสโครก

มลสารอีกประเภทหนึ่ง เรียกวา สารอนินทรีย เปนสารที่มาจากวัสดุสังเคราะห เชน พลาสติก โฟม รวมทั้งโลหะหนักที่พบในสารปรอท ทองแดง ตะกั่ว ฯลฯ ตลอดจนสารพิษตางๆ ที่พบในสารฆาแมลง สารปราบศัตรูพืช และสารฆาหญา มลสารเหลานี้ บางอยางไมไดทําใหน้ําเนา แตไมเหมาะที่จะนํามาใชหรือดื่มกิน เนื่องจากมีพิษและเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิต เราจึงเรียกน้ํานี้วา น้ําเสีย หรือน้ํามลพิษ

ภาวะน้ําเนาเสียหรือน้ํามลพิษมีสวนประกอบของมลสารตางๆ ทั้งสารอินทรีย และ สารอนินทรีย ซ่ึงสามารถจําแนกลักษณะของน้ําเสียไดดังนี้

น้ําโสโครก น้ําโสโครกเกิดจากการปลอยทิ้งของเสียจําพวกสารอินทรียที่มีปริมาณ

มากในแหลงน้ํา มีผลใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ําลดลง เกิดการแพรพันธุของวัชพืชชนิดตางๆ ทําใหน้ํามีกล่ินเนาเหม็นและมีสีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม นอกจากนั้นยังเปนแหลงที่อยูของหนอนและตัวออนของแมลงเล็กๆ อีกหลายชนิด

น้ํามลพิษจากการปนเปอนของน้ํามัน น้ํามันและไขมันเปนสารที่มีน้ําหนักเบา มักจะลอยปกคลุมอยูบนผิว

น้ํา เปนตัวขวางกั้นไมใหออกซิเจนจากอากาศแทรกตัวละลายอยูในน้ําไดจึงทําใหปริมาณการ

52

ละลายของออกซิเจนในน้ําลดลงหรือหมดไป ส่ิงมีชีวิตตางๆ ไมสามารถดํารงชีวิตไดจึงตาย หรือยายไปอยูแหลงน้ําอ่ืน

น้ําท้ิงจากการเกษตรสารจําพวกปุยหรือธาตุอาหารพืชมีสวนผสมของธาตุไนโตรเจนและ

ฟอสฟอรัส เพื่อเรงการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนั้นฟอสฟอรัสยังมีสวนประกอบของผงซักลางที่ใชกันตามบาน หากถูกละลายปะปนไปกับน้ําลงสู คู คลอง หนอง บึง ก็จะทําใหพืชน้ําธรรมชาติ เชน สาหราย แพลงคตอน จอก แหน ผักตบชวา และวัชพืชตางๆ เจริญเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําลดลงในเวลากลางคืนเพราะไมมีแสงแดดที่จะทําใหพืชสังเคราะหแสง ประกอบกับในเวลากลางคืนพืชน้ําเหลานั้นจะดูดออกซิเจนในน้ําเพื่อใชดํารงชีวิต ยิ่งระยะเวลาผานไปยาวนานก็ยิ่งทําใหปริมาณออกซิเจนลดนอยลง มีผลกระทบตอพวกสัตวน้ําที่อาศัยอยูในบริเวณนั้น

น้ํามลพิษจากการปนเปอนสารพิษ ผลิตภัณฑเคมีที่ใชเพื่อการเกษตรหรือเพื่อการอุตสาหกรรมจําพวกสารอนินทรีย เชน สารโลหะหนัก สารประกอบทางเคมีตลอดจนสารที่กอใหเกิดกรดและดาง เชน สารปราบศัตรูพืช สารฆาแมลง น้ํายาตางๆ รวมถึง ตะกั่ว ปรอท ทองแดง ฯลฯ เหลานี้เมื่อเจือปนอยูในแหลงน้ํา จะไมทําใหน้ําเนา แตจะทําใหน้ําเปลี่ยนแปลงไป นํามาใชประโยชนอีกไมได จัดเปนน้ําเสีย หรือ น้ําปนเปอนสารพิษ มีอันตรายตอส่ิงมีชีวิตที่อยูอาศัยในบริเวณแหลงน้ํานั้น สัตวและพืชน้ําบางชนิดจะสะสมสารพิษไว เมื่อมนุษยนํามาบริโภคก็อาจเกิดอันตรายถึงตายได

น้ําท้ิงท่ีมาจากแหลงเชื้อโรค น้ําที่มีเชื้อโรคชนิดตางๆ เจือปนอยู เชน น้ําทิ้งจากสถานพยาบาล

น้ําเสียจากกองขยะ และน้ําเสียจากนากุงตางๆ หากระบายลงสู แมน้ํา คลอง หนอง บึง โดยตรง อาจทําใหเกิดการแพรระบาดของเชื้อโรคบางอยาง เมื่อคนนําน้ํามา อุปโภค บริโภค อาจติดโรคได เชน โรคอุจจาระรวง โรคบิด หรือโรคพยาธิ เปนตน

น้ํารอน น้ํารอนที่ระบายลงสูแหลงน้ํา สวนใหญจะเปนน้ําที่ใชหลอเครื่องจักร

ในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ เชน โรงงานผลิตไฟฟาขนาดใหญ โรงงานผลิตทอพลาสติก เปนตน เพราะเครื่องจักรกลที่ทํางานจะรอนมาก จึงตองใชน้ําจากแมน้ําจากแมน้ําหรือลําคลองมาชวยหลอเครื่องจักรใหเย็นลง น้ําที่ใชหลอจึงมีอุณหภูมิสูง เมื่อปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติทันที จะเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิต ทําใหสัตวน้ําตายหรืออาจขยายพันธุตอไปไมได เนื่องจากความรอนบนผิวน้ําจะรอนจนปลาไมสามารถวายน้ํามารับเอาออกซิเจนหายใจได ปลาจึงไมสามารถมีชีวิตอยูได

53

2. แหลงท่ีมาของน้ําเสีย ลักษณะของน้ําเสียที่กลาวมา จะมีความเปนมลพิษหรือความสกปรก

มากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับการนําไปใชประโยชนในกิจกรรมตางๆ สามารถจําแนกแหลงที่ทําใหน้ําเกิดการเนาเสียได ดังนี้

บานเรือนและชุมชน สวนใหญน้ําทิ้งที่ระบายจากบานเรือน ชุมชนหรือน้ําทิ้งจากตัวเมือง

ใหญจะมีความสกปรกที่เปนพวกสารอินทรีย โดยเฉพาะน้ําทิ้งที่ระบายจากภัตตาคาร รานอาหาร จะมีสวนทําใหน้ํา มีความสกปรกมากที่สุด รองลงมาก็เปนน้ําทิ้งที่ระบายจากตลาดสดและบานพักอาศัย ในแตละวัน คนๆ หนึ่ง ทิ้งน้ําเสียที่มีคาสกปรกถึง 30 กรัม ดังนั้นสภาพแหลงน้ําที่รองรับน้ําเสียจึงมีสภาพ เสื่อมโทรมและเนาเสียไปในที่สุด ภาวะเนาเสียของน้ํา อาจสังเกตไดจากสี กล่ิน และความขุนขนของแหลงน้ํา นอกจากนั้นการเกิดสัตวน้ําบางประเภทก็สามารถบงชี้ถึงความรุนแรงของน้ําเสียได ในเขตที่เปนแหลงน้ําเนาเสียจะปรากฏตัวออนของยุงและหนอนปลอง ซ่ึงมักจะอยูกันเปนจํานวนมาก สวนในเขตคืนสภาพ คือ บริเวณแหลงน้ําที่มีการฟอกตัวเอง โดยอาศัยขบวนการทางธรรมชาติ จนเปนน้ําที่มีคุณภาพดีขึ้นจากเดิม จะพบพวกหนอนแดงและแมงดานาอยูกันเปนจํานวนมาก และน้ําที่อยูในแหลงน้ําปกติมักจะมีตัวออนของแมลงปอเข็มและตัวออนของเตาทองอาศัยอยูในแหลงน้ํา และหากเราตองการจะตรวจสอบคุณภาพน้ําทิ้ง เราสามารถทําไดโดยวัดคาออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ํา ถาออกซิเจนมีมากก็แสดงวาน้ํามีคุณภาพอยูในขั้นดี แตถาออกซิเจนในน้ํามีนอยไมเพียงพอกับความตองการของพวกจุลินทรียที่ตองใชเพื่อยอยสลายสารอินทรีย ก็แสดงวาน้ํามีความสกปรกสูงหรือมีคาบีโอดีสูง

โรงงานอุตสาหกรรม ในการผลิตอุตสาหกรรมทุกชนิดไมวาจะเปนอุตสาหกรรมจําพวก

อาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมโลหะ ฟอกหนัง อุตสาหกรรมเคมีจําเปนตองใชน้ําเพื่อลางทําความสะอาดวัตถุดิบหรือใชน้ําเพื่อหลอเย็น ดังนั้นน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมเหลานี้จึงมีทั้งสารอินทรียและสารอนินทรียปะปนกันอยู โดยเฉพาะโรงงานน้ําตาล โรงงานสุราและเครื่องดื่ม น้ําทิ้งจากโรงงานน้ําตาลเพียงโรงเดียวเทียบไดกับน้ําโสโครกจากเมืองเล็กๆ เมืองหนึ่งที่มีประชากรราว 100,000 คน

ดังเหตุการณของน้ําเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ที่ลําน้ําพองเมื่อป พ.ศ. 2535 โรงงานน้ําตาลแหงหนึ่ง เกิดอุบัติเหตุทําถังกักเก็บกากน้ําตาลรั่วไหล ทําใหลําน้ําอีก 2 สาย คือ ลําน้ําชีและมูล ตองไดรับผลกระทบพลอยเนาเสียไปดวย เนื่องจากมีทางน้ําเชื่อมตอถึงกันเหตุการณคร้ังนั้นไดสรางความเดือดรอนใหผูอยูอาศัยในบริเวณนั้นเปนจํานวนมาก

54

ในปจจุบันไดมีการกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากโรงงาน ซ่ึงกําหนดไววาน้ําทิ้งจะตองมีคาความสกปรกหรือคาบีโอดีไมเกิน 20 มิลลิกรัมตอลิตร และของแข็งที่แขวนลอยไมเกิน 30 มิลลิกรัมตอลิตร

สําหรับการวิเคราะหหาปริมาณตกคางของสารพิษปะปน เชน โลหะหนัก หรือสารปรอทในโรงงานอุตสาหกรรม ประเภทโลหะและสารเคมีเราอาจวัดสภาพความเปนพิษไดโดยการทดสอบระยะเวลาที่สามารถฆาปลาที่อยูในน้ํานั้นไดภายใน 24 ช่ัวโมง 48 ช่ัวโมง 72ช่ัวโมงหรือ 96 ช่ัวโมงเปนตน

เกษตรกรรม การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มักใชสารเคมีทั้งปุย ฮอรโมน สาร

กําจัดศัตรูพืช และสารฆาแมลงกันอยางมากเพื่อทําใหไดผลเร็ว สารเคมีเหลานี้มีพิษ เชน สารปราบศัตรูพืชฉีดพนลงไปในไร นา สวนตางๆ บางสวนจะติดอยูตามใบพืช บางสวนจะตกลงสูพื้นดิน เมื่อฝนตกลงมาสารพิษเหลานี้จะถูกชะลางไหลลงสูแหลงน้ํา กอใหเกิดมลพิษทางน้ําที่มีอันตรายใชการไมได สวนสารประกอบของปุยซ่ึงไดแก พวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ถามีการใชกันมากๆ เมื่อถูกชะลางลงสูแหลงน้ําก็ทําใหแหลงน้ํานั้นมีธาตุอาหารเกิดขึ้นมากเปนผลใหวัชพืชน้ํา เชน สาหราย และแพลงคตอน ขยายพันธุกันอยางรวดเร็วจนทําใหออกซิเจนที่ละลายในน้ําลดนอยลงหรือหมดไป เกิดเปนมลพิษทางน้ําได

ขยะมูลฝอยและของเสียที่นํามาทิ้งรวมกันเปนกองขยะ จะมีทั้งสารอินทรียและสารอนินทรียเมื่อกองขยะถูกน้ําชะผาน น้ําจะปนเปอนของเสียในกองขยะ ซ่ึงมีตั้งแตแบคทีเรีย ตัวออนของหนอนพยาธิ สวนมากสารอนินทรียที่เปนโลหะหนัก ไดแก ตะกั่ว ปรอท และสารหนู เปนตน น้ําเสียจากกองขยะจะมีคาความสกปรกสูงถึง 10,000 มิลลิกรัมตอลิตร หากไหลไปปนเปอนในแหลงน้ําธรรมชาติก็จะเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิตในบริเวณนั้นได

3. ผลกระทบของน้ําเสียตอสิ่งแวดลอมหากสภาพแหลงน้ําธรรมชาติ ไมวาจะเปน คู คลอง หนอง บึง ตอง

ประสบกับสภาวะเสื่อมโทรมหรือเนาเสีย จึงจําเปนตองทําการบําบัดหรือปรับปรุงคุณภาพน้ําใหมีความสะอาด สามารถนํามาใชประโยชนไดดวยวิธีตางๆ เชน การกรองน้ํา การกักเก็บน้ําไวใชในภาชนะขนาดใหญ หรือจําเปนตองหาแหลงน้ําธรรมชาติขนาดใหญ ซ่ึงตองใชเงินลงทุนมากเปนภาระของผูใชน้ํา ปญหาน้ําเนาเสียที่อยูในขั้นวิกฤติรุนแรง ไดกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมในหลายๆ ดานดังนี้

55

การขาดแคลนน้ําสะอาดสําหรับดื่มกิน ในแตละปความตองการน้ําของประชากรนับวันจะสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะ

นอกจากจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นแลว การขยายตัวของกิจกรรมตางๆ ก็เพิ่มขึ้นตามไปดวย เมื่อแหลงน้ําธรรมชาติที่เปนน้ําดิบสําหรับผลิตน้ําประปาไดรับการปนเปอนจากมลสารตางๆ ทําใหน้ํามีความสกปรกไมเหมาะที่จะเปนน้ําเพื่อผลิตน้ําประปาได จําเปนตองหาแหลงน้ําดิบใหม หรือใชกระบวนการผลิตใหม เพื่อใหไดน้ําที่มีคุณภาพดีสามารถนําไปใชประโยชนและดื่มกินไดทําใหตองส้ินเปลืองคาใชจายมีผลตอราคา คาน้ําประปาตองมีราคาแพงขึ้น

การเพิ่มตนทุนการผลิตของสินคาอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมจําเปนตองสรางระบบกําจัดหรือบําบัดน้ําเสีย

เพื่อลดความเขมขนของน้ําเสียใหเปนน้ําดีตามมาตรฐานการควบคุมน้ําทิ้งกอนที่จะระบายลงสูแหลงน้ํา ทําใหเจาของกิจการตองเสียคาใชจายเพิ่ม เพื่อซ้ือที่ดิน เครื่องจักรและอุปกรณ ตลอดจนคาติดตั้งและดูแลรักษา จึงตองนํามาบวกเปนราคาตนทุนของสินคา สงผลใหประชาชนผูซ้ือสินคาตองจายเงินซื้อในราคาแพงขึ้น

ความเจ็บปวยดวยโรคท่ีมาจากแหลงน้ํา โรคติดตอรายแรงหลายโรค เชน โรคบิด โรคอุจจาระรวง โรค

อหิวาหตกโรค มักจะระบาดในแหลงชุมชนที่มีปญหาเกี่ยวกับการระบายน้ําโสโครกลงในแหลงน้ํา ทําใหเกิดการเนาเสียไมสามารถนํามาใชประโยชนไดอีก น้ําที่มีการปนเปอนสารพิษและโลหะหนัก ก็ยิ่งเปนอันตรายตอสุขภาพรุนแรงเปนอยางยิ่ง ดังเหตุการณที่เกิดขึ้นทางภาคใตของไทย มีผูคนเจ็บปวยและบางคนอาการหนักเปนจํานวนมาก เนื่องจากไดนําน้ําที่มีสารหนูปะปนอยูมาใชอุปโภคและบริโภคพิษของสารหนูรายแรงมาก ทําใหผูปวยมีผิวดําลงไปเรื่อยๆ ชาวบานทั่วไปเรียกโรคนี้วา “ไขดํา” แตความจริงแลวเปนอาการของโรคมะเร็งที่ผิวหนัง

การทําลายระบบการอยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตในน้ํา เมื่อแหลงน้ําธรรมชาติที่เคยเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต เชน ปู ปลา

หอย กุง รวมถึงพืชน้ําบางชนิด เกิดการเนาเสียเพราะคนทิ้งของเสียที่มีทั้งสารอินทรียและสาร อนินทรียในปริมาณมากลงไป ทําใหส่ิงมีชีวิตในน้ําที่เคยมีการดํารงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกันตองไดรับผลกระทบ สัตวน้ํา เชน ปลาบางชนิดไมสามารถดํารงชีวิตอยูได พากันยายแหลงที่อยูอาศัย บางชนิดอาจสูญพันธุหมดไปเนื่องจากขาดอากาศหายใจ ในทํานองเดียวกัน ถาหากแหลงน้ํานั้นเกิดมีมลพิษเนื่องจากมีการปนเปอนของสารอนินทรีย เชน พวกโลหะ สารเคมีตางๆ ที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม ถาหากมีปริมาณมากอาจทําใหปลาตายไดทันที หรืออาจสะสมไวในตัวปลา

56

ถานําปลาไปบริโภคอาจถึงตายได หรือเจ็บปวยเปนผลเสียตอสุขภาพ และการทําประมงเปนอยางมาก การเปล่ียนแปลงเสนทางสัญจรของน้ํา

แหลงน้ําธรรมชาติ เชน แมน้ํา คู คลอง หนอง บึง มีประโยชนเปนเสนทางคมนาคมทางน้ํา ตลอดจนเปนเสนทางระบายน้ําไหลลงสูพื้นที่ราบลุมหรือทะเล ถาหากตองประสบกับสภาวะเนาเสีย มีการทับถมของซากพืชและการอุดตันของทอน้ําที่มีขยะมูลฝอยและวัชพืชที่ไมตองการเปนจํานวนมากจะกีดขวางทางน้ําไหล ทําใหน้ําระบายไมสะดวก เกิดปญหาน้ําทวมขังเปนเวลานานติดตอกันกลายเปนแหลงน้ําตื้นเขิน เพราะเกิดการตกตะกอนของดินทราย และขยะมูลฝอย ทําใหเปนอุปสรรคตอการระบายน้ําลงสูที่ราบต่ํา เกิดปญหาอุทกภัยในบางพื้นที่ ตองแกไขดวยวิธีการขุดลอกกันอยูเปนประจํา

สภาพแวดลอมไมนาอยู เมื่อแมน้ํา คู คลอง หนอง บึง อยูในสภาพเนาเสีย สกปรกโสโครก

และสงกลิ่นเนาเหม็นรบกวน กลายเปนแหลงเสื่อมโทรม ซ่ึงนอกจากจะสรางความเดือดรอนใหแกผูอยูอาศัยในบริเวณ ใกลเคียงแลว ก็ยังมีผลตอผูคนที่ผานไปมาเมื่อมองเห็นแลวรูสึกไมอยากดู เบื่อหนายสภาพแวดลอมไมอยากอยูอาศัยในบริเวณหรือสถานที่แหงนั้นอีกตอไป

ภาวะน้ําเสียเปนปญหาสําคัญที่เปนภัยอันตรายทั้งตอสุขภาพและเปนผลเสียตอเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงนับวันจะเปนปญหาใหญที่ทวีความรุนแรงตามจํานวนคนที่เพิ่มมากขึ้น ความตองการใชน้ําในการประกอบกิจกรรมตางๆ มีผลทําใหปริมาณน้ําเสียถูกทิ้งลงสูแหลงน้ํามีปริมาณมากขึ้น

4. สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัดวิกฤติการณน้ําเสียที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในปจจุบัน มิใชจําเพาะแต

แมน้ําสายสําคัญ เชน แมน้ําเจาพระยาเทานั้น แหลงน้ําสําคัญในภูมิภาคตางๆ ก็กําลังประสบภาวะมลพิษเชนเดียวกัน เพราะแหลงน้ําทุกหนแหงตองมีสภาพเหมือนกระโถนรองรับน้ําเสียที่ผานการใชจากมนุษย คุณภาพของน้ําจึงเสื่อมลงในทุกๆ ป เชน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แมน้ําพอง แมน้ําชีและแมน้ํามูลเกิดสภาพเนาเสีย เนื่องจากมีโรงงานจํานวนมากปลอยน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ําทําใหแมน้ําทั้ง 3 สายตองไดรับผลกระทบเกิดการเนาเสียเปนอันตรายตอสัตวน้ําบางชนิด ซ่ึงในปจจุบันก็ยังคงมีปญหาน้ําเนาเกิดขึ้นอยูเปนระยะๆ

57

ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม แหลงน้ําในตัวเมืองเนาเสียเปนสวนใหญ จนทําใหแมน้ําปงตองไดรับผลกระทบไปดวย โดยเฉพาะในชวงฤดูแลงปริมาณน้ําฝนที่เจือจางมีนอยจึงทําใหน้ําในแมน้ําปงเกิดการเนาเสีย

ภาคใต ที่ทะเลสาบสงขลาทั้งตอนบนและตอนลางบางสวนเริ่มเนาเพราะน้ําเสียจากนากุงและบานเรือนที่ตั้งอยูในบริเวณใกลเคียง น้ําเสียจึงไมใชเปนปญหาของคนในเมืองใหญๆ อีกตอไป แตประชาชนที่อยูตามชนบทหางไกลก็มีสิทธิ์รับปญหาน้ําเสียดวยกันทั้งนั้นไมวาจะอยูภูมิภาคใดก็ตาม

แหลงที่มาของน้ําเสีย สวนใหญจะมาจากบานเรือนของตนเองยิ่งบริเวณชุมชน เชนตลาดสด ก็ยิ่งมีการทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูลลงสูแหลงน้ําเปนจํานวนมาก ดูจากความสกปรกที่ระบายลงสูแมน้ําสายสําคัญๆ เชน แมน้ําเจาพระยาจะพบวาน้ําทิ้งจากแหลงชุมชนมีความสกปรกของสารอินทรียจําพวกแบคทีเรียจากสิ่งปฏิกูล และมีมากกวาความสกปรกของสาร อนินทรียที่เปนพวกโลหะหนักและสารเคมีที่มาจากน้ําทิ้งโรงงานอุตสาหกรรม เชนเดียวกับแมน้ําสายอื่นๆ ก็มีความสกปรกของสารอินทรียที่มาจากแหลงชุมชนเปนสวนมากเชนกัน

ปญหาน้ําเสียจะตองมีการแกไขทั้งที่ตนเหตุและปลายเหตุ กอนอื่นตองใชน้ําอยางประหยัดเพื่อที่จะทิ้งน้ําเสียใหนอยลง และทุกครั้งที่จะซักลางตองกําจัดเศษสิ่งของไมวาจะเปนเศษอาหาร ไขมัน ออกจากน้ําเสียกอนแลวจึงระบายน้ําลงสูแหลงน้ํา เพื่อไมใหส่ิงเหลานั้นปะปนไปและเกิดการหมักหมมจนทําใหเสียความสกปรกในน้ํา สวนการแกไขที่ปลายเหตุนั้น คือ การบําบัดน้ําเสีย เพื่อทําใหน้ําเสียมีคุณภาพดีกอนที่จะปลอยระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ อาจกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียทําใหน้ํามีความสะอาด ใส กอนทิ้งลงสูแหลงน้ํา เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและยังสามารถนําน้ําที่ผานการบําบัดแลวมาใชไดอีก เชน ไปรดสนามหญา รดตนไม ลางพื้น หรือนําน้ํามาใชหลอความเย็นในโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน การบําบัดน้ําเสียทําไดหลายวิธี เชน วิธีทางชีวภาพ วิธีการทางเคมี หรือวิธีผสมผสานทั้งทางเคมีและชีวภาพก็ได โดยพิจารณาจากลักษณะของน้ําเสียนั้นๆ ตลอดจนความเหมาะสมของพื้นที่และเงินทุนที่จะใชในการกอสรางระบบบําบัด

น้ําเสียที่เปนพวกสารอินทรียที่มาจากแหลงชุมชน วิธีการที่เหมาะสมควรใชกระบวนการทางชีวภาพ ซ่ึงเปนวิธีที่ประหยัด เสียคาใชจายนอย งายตอการดูแลรักษา และมีประสิทธิภาพในการบําบัดสูง สวนการบําบัดน้ําที่ใชกระบวนการทางเคมี มักจะนําไปใชกับน้ําเสียที่มีสวนผสมของโลหะหนักและสารเคมี ซ่ึงสวนใหญจะเปนน้ําเสียที่มาจากแหลงอุตสาหกรรม วัสดุและโลหะ หรืออุตสาหกรรมปโตรเคมี อยางไรก็ตามการบําบัดน้ําเสียอาจทําไดโดยทั้งสองวิธี

58

มาใชรวมกัน ทั้งทางชีวภาพและทางเคมี เปนการบําบัดแบบผสมผสานเพื่อแกไขน้ําเสียใหมีคุณภาพดีขึ้น

ประเทศไทยอยูในภูมิภาคเขตรอนมีแสงแดดตลอดป วิธีการบําบัดน้ําเสียทางชีวภาพหรือผสมผสาน จึงมีความเหมาะสมทั้งสภาพภูมิอากาศและลักษณะของน้ําเสีย ซ่ึงสวนใหญจะเปนน้ําเสียจากแหลงชุมชนที่เปนประเภทสารอินทรีย และนอกจากนั้นการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีนี้ยังเปนวิธีที่ประหยัดคาใชจาย อาศัยกระบวนการทางธรรมชาติ สายลมและแสงแดดชวยทําใหงายตอการบําบัด

5. แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย บนเสนทางของการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อท่ีจะฟนฟูสภาพธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหกลับคืนสูความสมบูรณดังเดิมโดยเฉพาะเรื่องน้ําเสียนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวภูมิพล อดุลยเดชฯ ไดทรงศึกษาและทรงทดลองวิธีการบําบัดน้ําเสียในบริเวณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน ตลอดจนมีการปรับปรุงแกไขดัดแปลงเปนระยะๆ จนไดวิธีที่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง จึงทรงนํามาเปนโครงการตัวอยางเพื่อใหไดรูปแบบที่สามารถนําไปประยุกตใชในการแกไขวิกฤติการณน้ําเนาเสียที่เกิดจากแหลงชุมชน ที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและตามหัวเมืองตางๆ ทรงศึกษาขอมูลอยางละเอียดทั้งในดานกายภาพ ชีวภาพและเคมี ตลอดจนผลกระทบที่จะมีตอเศษฐกิจและสังคมของประเทศดัง พระราชดํารัสตอนหนึ่ง ความวา “...น้ํามีมากในโลก เปนน้ําทะเลสวนใหญซ่ึงจะใชอยางนี้ไมไดแลว นอกจากนั้นเดี๋ยวนี้ที่กําลังมีมากขึ้น ก็คือ น้ําเนา จะตองปองกันไมใหมีน้ําเนา น้ําจะเนาอยูเสมอ แตอยาใหน้ําเนานั้นเปนโทษมากเกินไป ฉะนั้น นี่เปนโครงการหนึ่งที่เราจะตองปฏิบัติ แลวก็ถาไมจัดการโดยเร็วเราจะนอนอยูในน้ําเนา น้ําดีจะไมมีใชแมจะไปซื้อน้ํามาจากตางประเทศก็กลายเปนน้ําเนาหมด เพราะเอามาใชโดยไมระวัง...”

แนวพระราชดําริในการบรรเทาน้ําเนาเสียจึงบังเกิดขึ้น เพราะทรง หวงใยในพสกนิกรที่ตองเผชิญกับน้ําเนาเสีย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระราชดําริแกเจาหนาที่ที่เกี่ยวของรับไปพิจารณาหาลูทางรวมมือกันแกไขและบรรเทาปญหาน้ําเนาเสีย โดยพระราชทานหลักปฏิบัติไววาถาเรามีน้ําแลวนํามาใชอยางระมัดระวังขอหนึ่ง และควบคุมน้ําที่เสียอยางดีอีกขอหนึ่ง ก็อยูไดเพราะวาภูมิประเทศของประเทศไทยยังใหใชคําวา “ยังให” ก็ หมายความวายังเหมาะสมแกการอยูกินในประเทศนี้

สวนวิธีการดําเนินงานนั้นก็ทรงเห็นสมควรทําใหเหมาะสมกับ ธรรมชาติ และถือความประหยัดเปนหลักดวยวิธีการตางๆ คือ - ใชน้ําดีไลน้ําเสีย

59

- การกรองน้ําเสียดวยผักตบชวา - การใชเครื่องกลเติมอากาศ กังหันน้ําชัยพัฒนา - การบําบัดน้ําเสียดวยบอตกตะกอน - การบําบัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติแบบผสมผสาน

ใชน้ําดีไลน้ําเสีย จากสภาพน้ําเนาเสียของแมน้ําเจาพระยาตอนลาง ซ่ึงเปนเขตที่ตั้งของกรุงเทพมหานครไดขยายขอบเขตความเนาเสียไปทั่วพื้นที่ของตัวเมืองรวมไปถึงเขตชานเมือง ลําคลองตางๆ ไมวาจะเปน คลองแสนแสบ คลองมหานาค คลองตัน หรือคลองพระโขนง ตางก็สรางความเดือนรอนแกประชาชนที่อยูอาศัยในบริเวณใกลเคียงเปนอยางยิ่ง การแกไขปญหาน้ําเนาเสียไดเร่ิมในชวง พ.ศ. 2527 โดยการใชน้ําดีมีคุณภาพมาชวยบรรเทาน้ําเนาเสีย ดังกระแสพระราชดํารัสความวา “...การจัดระบบควบคุมระดับน้ําในคลองสายตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดระบบระบายน้ําในกรุงเทพมหานครนั้น สมควรวางระบบใหถูกตองตามสภาพการณและลักษณะภูมิประเทศซึ่งควรแบงออกเปน 2 แผนดวยกัน คือ แผนสําหรับใชในฤดูฝนหรือฤดูน้ํามาก นี้ก็เพื่อประโยชนในการปองกันน้ําทวมและเพื่อบรรเทาอุทกภัยเปนสําคัญ แตแผนการระบายน้ําในฤดูแลงนั้นก็ตองจัดอีกแบบหนึ่งเพื่อกําจัดหรือไลน้ําเสียออกจากคลองดังกลาวเปนหลัก ทั้งสองระบบนี้ควรจะพิจารณาถึงวิธีการระบายน้ํา โดยอาศัยแรงโนมถวงของโลกใหมากที่สุด ทั้งนี้เพื่อประหยัดคาใชจายในการควบคุมระดับน้ําตามลําคลอง เหลานี้...” จากแนวพระราชดํารินี้เอง ไดกอใหเกิดวิธีการบําบัดน้ําเสียดวยวิธี ใชน้ําดีไลน้ําเสีย วิธีการ ก็คือ นําน้ําที่มีคุณภาพดีจากแมน้ําเจาพระยาหรือจากแหลงน้ําภายนอกสงเขาไปในคลองสายตางๆ เชน คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศน หรือคลองบางลําภู ฯลฯ น้ําจะไหลผานกระจายไปตามคลองซอยที่เชื่อมกับแมน้ําเจาพระยาอีกดานหนึ่ง เมื่อน้ําไหลไปตามวงรอบที่กําหนด สูคลองตางๆ นับแตปากคลองที่น้ําไหลเขาจนถึงปลายคลองที่น้ําไหลออกไดอยางเหมาะสม น้ําจึงไหลเวียนไปตามลําคลองไดโดยตลอด ส่ิงโสโครกและน้ําที่เนาใน ลําคลองก็จะถูกพัดพาออกไปทําใหความสกปรกที่อยูในลําคลองตางๆ ไดในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะในชวงฤดูแลงซ่ึงไมตองเสียคาใชจายในการดําเนินการมากนัก การกรองน้ําเสียดวยผักตบชวา โครงการแกไขปญหาน้ําเสียที่ เกิดขึ้นจากแหลงชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร เปนอีกโครงการหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงคิดคนและหาวิธีบําบัด โดยทรงเลือกบึงมักกะสัน แหลงน้ําเสียที่มาจากโรงงานรถไฟมักกะสันซึ่งมีสภาพตื้นเขินและเกิด

60

สภาพน้ําเนาเสียที่รุนแรงเปนที่ศึกษาวิจัยในการบําบัดน้ําเสียโดยวิธีทางธรรมชาติ ดังกระแส พระราชดํารัสความวา “...ผักตบชวานี้ มันแพรไดเร็วก็ตองยกเอาขึ้นมาแลวทําประโยชน ถาไมทําประโยชนผักตบชวาจะแพรเต็มบึง แลวจะเพิ่มส่ิงโสโครกดวยซํ้าเพราะวาผักตบชวานั้นตองโตขึ้นกลายเปนน้ําเนาตอไป แตวาวิธีที่ทํานี้ก็มาแลวก็ตาย แลวก็ลงไปในน้ําใชประโยชนจากผักตบชวา โดยนําขึ้นมาใชเปนปุยก็ได ก็ทําเปนปุยก็เปนจุดประสงคเดิม คือวาของที่ธรรมชาติปลูกแลวมันกินปุย แทนที่จะใหปุยก็เอาปุยที่ผลิตเองไปปลูกใหมัน แลวก็กลับมาหมักเปนปุยเอาไปใชในที่ที่จําเปน ก็เปนกําไรดวย มาทําเปนพืชก็ได คือ เอามาผสมกับแกลบแลวก็อัด แลวก็เผาเหมือนถาน หรือไมงั้นก็เปนอาหารสัตว อันนี่ก็เปนวิธีการทางธรรมชาติ...” บึงมักกะสัน จึงไดรับการปรับปรุงใหเปนแหลงบําบัดน้ําเสียดวยวิธีธรรมชาติโดยใชผักตบชวาเพื่อฟนฟูบึงมักกะสันใหเปนเสมือน “ธรรมชาติของกรุงเทพมหานคร” เปนแหลงเก็บกักและระบายน้ําในฤดูฝนไดอีก การดําเนินงานเริ่มจากการเก็บเกี่ยวผักตบชวาที่อยูในบึงออก และขุดลอกบึงมักกะสันใหมีความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.5 เมตร รวมทั้งปรับปรุงชองทางเขา – ออก ของบึงใหดีขึ้น จากนั้นก็ปลูกผักตบชวาในบึง โดยใชไมไผกั้นเปนระยะๆ เพื่อใหผักตบชวาในบึงเหลานี้ ดูดซับและกรองสิ่งสกปรก รวมทั้งสารพิษและโลหะหนักออกจากน้ําเสียตลอดจนทําการปรับปรุงสภาพแวดลอมของชุมชนใหดีขึ้น จากหลักการดังกลาว เปนหลักการบําบัดน้ําเสียที่ใชกระบวนการทางชีวภาพโดยอาศัยธรรมชาติชวยบําบัด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของการใชซ่ึงอาจเรียกวา “ธรรมชาติดับธรรมชาติ”

การใชเคร่ืองกลเติมอากาศ กังหันน้ําชัยพัฒนา“บึงพระราม 9” บึงขนาดใหญมีพื้นที่ 130 ไร อยูติดกับคลองลาดพราว

บรรจบกับคลองแสนแสบแตกอนมีสภาพเปนที่ลุม มีวัชพืชปกคลุมเปนบางแหง และมีน้ําทวมขังเปนแหลงน้ําเนาเสีย สงกลิ่นเหม็นเปนที่เดือดรอนรําคาญตอชาวบานที่อยูอาศัยในบริเวณนั้น แตเมื่อบึงพระราม 9 เปนโครงการอีกโครงการหนึ่ง ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทาน พระราชดําริใหแกไขดวยวิธีธรรมชาติผสมผสานกับเครื่องกลเติมอากาศ โดยใหหนวยงานที่ เกี่ยวของรวมมือกันดําเนินการจนแลวเสร็จในป พ.ศ. 2532 การทํางานของระบบสระเติมอากาศบึงพระราม 9 เริ่มสูบน้ําเสียจากคลองลาดพราวเขามาในระบบ เมื่อแยกขยะแลวจะไหลเขาสูบอเติมอากาศแบบตีน้ําสัมผัสกับอากาศเดินเครื่องทํางานอยูตลอดเวลาทําหนาที่เติมออกซิเจนลงไปในน้ํา ทําใหออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ํามีปริมาณมากขึ้น

จุลินทรียที่อยูในน้ําเกิดการตื่นตัวชวยยอยสลายสารอินทรียใหมี ประสิทธิภาพสูง จากนั้นจึงปลอยน้ําใหไหลไปยังบอผ่ึงซ่ึงเปนบอดินที่ใชกระบวนการทาง ธรรมชาติ เซลลจุลินทรียที่อยูในน้ํา จะทําใหเกิดการตกตะกอนลงสูกนบอ โดยมีสายลม แสงแดดชวยปรับสภาพน้ํา ที่ผานการบําบัดจากบอนี้จึงมีคุณภาพดีขึ้น จนสามารถปลอยลงสูคลองลาดพราว

61

ดังเดิม ชวยใหน้ําเสียในคลองลาดพราวมีความเจือจาง สภาพน้ํามีคุณภาพดีขึ้น ซ่ึงเปนหลักการของกระบวนการบําบัดน้ําเสียแบบชีวภาพ โดยใช “ธรรมชาติดับธรรมชาติ ”นับเปนประโยชนสูงสุดในการฟนฟูสภาพน้ําบึงพระราม 9 ในวันนี้จึงเปนสถานที่พักผอนหยอนใจของชาวบานที่อยูในบริเวณนั้น

เคร่ืองกลเติมอากาศ “กังหันชัยพัฒนา” เครื่องกังหันชัยพัฒนาเกิดขึ้นดวยน้ําพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ตองการเห็นประชาชนพนทุกขภัยจากมลภาวะทางน้ําที่ยังคงเปนปญหา ซ่ึงนับวันจะทวีความรุนแรง ยิ่งขึ้น แมวาการแกไขในระยะแรกจะสามารถชวยแกปญหาได แตตามคู คลอง ตางๆ ก็ยังสงกล่ินเหม็นรบกวนอยู จึงจําเปนตองนําเครื่องกลเติมอากาศเพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนหรืออากาศลงในน้ําเขาชวยบําบัดน้ําเสียอีกทางหนึ่ง โดยไมตองไปซื้อมาจากตางประเทศ ดวยพระวิริยะอุตสาหะ ทรงคิดคนรูปแบบและวิธีการประดิษฐเครื่องกลเติมอากาศชนิดหนึ่ง เพื่อบรรเทาความเนาเสียของน้ํา เปนเครื่องกลเติมอากาศอยางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพชวยในการบําบัดน้ําเสียไดอยางเหมาะสม

เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ส. 2530 ไดพระราชทานรูปแบบและพระราชดําริแกเจาหนาที่กรมชลประทาน ในการกอสรางและพัฒนาตนแบบเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ําหมุนชาแบบทุนลอย หรือ“กังหันน้ําชัยพัฒนา” ซ่ึงมีใบพัดขับเคลื่อนน้ําและวิดน้ําขึ้นไปสาดกระจายเปนฝอย เพื่อใหน้ําสัมผัสอากาศไดอยางทั่วถึงเปนผลใหออกซิเจนในอากาศสามารถละลายเขาไปในน้ําไดอยางรวดเร็ว และในชวงที่น้ําเสียถูกยกขึ้นมากระจายสัมผัสกับอากาศตกลงไปยังผิวน้ํา จะทําใหเกิดฟองอากาศจมตามลงไป กอใหเกิดการถายเทออกซิเจนอีกสวนหนึ่ง ซ่ึงกังหันน้ํา ชัยพัฒนาแบบนี้จะใชประโยชนไดทั้งการเติมอากาศและการทําใหน้ําไหลไปในทิศทางที่กําหนด การติดตั้งเครื่องกลเติมลมอากาศ “กังหันน้ําชัยพัฒนา” ครั้งแรกพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มี พระบรมราชานุญาตใหใชคลองเมขลา ซ่ึงอยูภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา เปนสถานที่ทดลองบําบัดน้ําเสีย ปรากฏวาเครื่องกังหันน้ําชัยพัฒนาสามารถชวยเพิ่มออกซิเจนใหกับน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพจนเปนที่นิยมแพรหลายและนําไปติดตั้งใชงานตามสถานที่ตางๆ ทั้งในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด จากคุณคาเอนกอนันตของเครื่องกังหันน้ําชัยพัฒนาทําใหกรรมการบริหารสภาวิจัย แหงชาติ ไดมีมติเอกฉันทเห็นสมควรเปนอยางยิ่ง ที่จะทูลเกลาทูลกระหมอมถวายรางวัลงานคิดคนหรือส่ิงประดิษฐ ซ่ึงเปนประโยชนแกประเทศชาติประจําป พ.ศ. 2536 ในระดับรางวัลที่ 1 ซ่ึงเปนสิ่งประดิษฐเครื่องกลเติมอากาศที่ 9 ของโลก ที่ไดรับสิทธิบัตรและเปนครั้งแรกที่ไดมีการจดทะเบียนและออก สิทธิบัตรใหแกราชวงศ

62

การบําบัดน้ําเสียดวยบอตกตะกอน หนองหาร : ระบบบําบัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติ “แบบบึงชีวภาพ” “หนองหาร” เปนหนองน้ําใหญในจังหวัดสกลนครหรือเปนทะเลสาบน้ําจืดที่กวางใหญแหงหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงประสบกับปญหาน้ําเสื่อมโทรม เพราะการระบายน้ําทิ้งจากแหลงชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม และแหลงเกษตรกรรมทั้งที่อยูในตัวเมืองสกลนครและบริเวณรอบๆ หนองหาร สภาพหนองหารจึงเนาเสียจนเกือบเสื่อมสภาพ แหลงน้ําบางแหงตื้นเขิน บางแหงมีวัชพืชข้ึนอยูหนาแนนจนอากาศเขาไมถึง เกิดการสูญสมดุลทางธรรมชาติและเปนที่ระบาดของเชื้อโรค สัตวนําที่อาศัยอยู โดยเฉพาะปลาจะมีพยาธิมากที่สุดกอใหเกิดผลกระทบตอประชาชนที่อยูอาศัยในบริเวณนั้นเปนโรคพยาธิกันอยูเปนจํานวนมาก

ดวยพระวิริยะอุตสาหะที่จะฟนคืนชีวิตธรรมชาติใหกับหนองหารกลับมาสูสภาพบริสุทธิ์อีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระราชดําริใหหนวยงานที่เกี่ยวของรวมกันดําเนินการแกไขปญหาน้ําเนาเสียที่ปลอยลงหนองหาร โดยรวบรวมน้ําเสียจากแหลงชุมชนในตัวเมืองสกลนครใหไหลมาตามทอน้ําทิ้งลงสูสถานีสูบที่บริเวณริมหนองหาร ตําบลธาตุเชิงชุม จากนั้นจึงสูบเขาไปในบอบําบัดผานกระบวนการบําบัดโดยอาศัยธรรมชาติจนน้ํามีคุณภาพดีขึ้นแตยังคงมีตะกอนและธาตุอาหารพืชปะปนอยู จําเปนตองปรับปรุงคุณภาพน้ําขั้นสุดทายอีกครั้ง โดยใชระบบบําบัดน้ําเสียที่สรางขึ้นเลียนแบบบึง ธรรมชาติโดยปลูกพืชน้ํา เชน กก บัว ธูป ฤาษี ไวในบึงที่มีน้ําไมลึกนัก เพื่อใหรากของพืชน้ําทําหนาที่ยึดเกาะของจุลินทรีย และชลอการไหลของน้ํา ทําใหเกิดการตกตะกอนของสารละลาย และเพิ่มออกซิเจนเขาไป ในกระบวนการยอยสลายโดยใชจุลินทรียจนน้ํามีความสะอาด ซ่ึงวัดไดจากคาความสกปรก หรือคา บีโอดี ที่ปรากฏมีเพียง 2 มิลลิกรัมตอลิตรจากเดิมกอนการบําบัดที่มีคาความสกปรกถึง 13 มิลลิกรัมตอลิตร จึงนับไดวาประสิทธิภาพของบอบําบัดชวยใหน้ําเสียมีคุณภาพดีขึ้นเปนที่นาพึงพอใจสามารถปลอยลงสูหนองหารเพื่อนํากลับมาใชประโยชนใหแกประชาชนที่อยูในบริเวณนั้นไดอีก การบําบัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติแบบผสมผสาน แหลมผักเบี้ย : แหลงบําบัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติแบบผสมผสาน “แหลมผักเบี้ย” คือ ช่ือตําบลหนึ่งของอําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี มีพื้นที่อยูติดกับชายฝงทะเลประมาณ 1,135 ไร เปนพื้นที่ชายเลนอีกประมาณ 2,000 ไร สภาพดั้งเดิมของแหลมผักเบี้ยมีความอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรน้ํา แตไดถูกบุกเบิกใหเปนนากุง แตเล้ียงกันไดไมนานก็ประสบกับภาวะการขาดทุน เพราะไมสามารถควบคุมใหน้ําเลี้ยงกุงมีคุณภาพที่เหมาะสมได จึงตองเลิกเลี้ยงกันไป ปลอยใหแหลมผักเบี้ยเปนที่วางเปลาเสื่อมโทรมไมสามารถใชทําประโยชนได

63

เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2533 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล อดุลยเดชฯ ไดพระราชทานพระราชดําริ ใหสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) และกรมชลประทาน รวมกันศึกษาวิธีการแกไขปญหา ส่ิงแวดลอมที่เกี่ยวกับขยะมูลฝอย น้ําเสีย และการรักษาปาชายเลนดวยวิธีทางธรรมชาติ ดังพระราชดําริความวา “โครงการที่จะทํานี้ไมยาก คือวาก็เอาสิ่งเปนพิษออก พวกโลหะตางๆ เอาออก ตอจากนั้น ก็เอามาฟอกใสอากาศ บางทีก็อาจไมตองใสอากาศ แลวก็เอามาเฉลี่ยใสที่บึงหรือเอาน้ําไปใสในทุงหญาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว ไดศึกษามาวาทางใตของออสเตรเลียมีโครงการเอาน้ําโสโครกเขาไปใสคลอง แลวใสทอไปไวใกลทะเล แลวทําสระเปนบอใหญมากเปนพื้นที่หลายรอยไร เขาก็ไปทําใหน้ําสกปรกแลวเทลงทะเล” และนี้เองจึงเปนจุดกําเนิดของโครงการบําบัดน้ําเสียโดยวิธีทาง ธรรมชาติที่ตําบลแหลมผักเบี้ย การดําเนินงานในวิธีแรกเร่ิมจากการนําน้ําเสียจากชุมชนในเขต เทศบาลเมืองใหไหลผานทอมากักรวมกันที่สถานสูบน้ําบานคลองยาง จากนั้นจึงทําการสูบน้ําเสียไปตามทอน้ําเปนระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตรเพื่อนําไปบําบัดที่ตําบลแหลมผักเบี้ย โดยน้ําเสียจะไหลเขาสูบอตกตะกอนกอนเปนอันดับแรก เพื่อตกตะกอนสารแขวนลอยที่มีน้ําหนักใหตกลงสูกนบอทําใหน้ําสวนบนเปนน้ําใสมีของเสียลดนอยลง หลังจากนั้นก็ปลอยน้ําใหไหลลงสูบอบําบัดบอที่หนึ่ง บอที่สองและบอที่สามตามลําดับ ในแตละบอจะมีระยะเวลาเก็บกักน้ําที่นานพอ โดยอาศัยธรรมชาติ สายลม และแสงแดดชวยฟอกน้ําเสียใหมีคุณภาพดีขึ้นเรื่อยๆ จนขั้นสุดทาย น้ําจะไหลเขาสูบอปรับคุณภาพน้ํา เพื่อชวยฟอกน้ําขั้นสุดทายใหเปนน้ําสะอาดยิ่งขึ้นจนเปนน้ําที่มี คุณภาพดีสามารถนํากลับมาใชประโยชนหรือปลอยลงสูทะเลไดตอไป ไมเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา

วิธีที่ 2 เปนการปรับปรุงคุณภาพน้ําเสียแบบใชบึงชีวภาพ โดยสรางบอดินตื้นๆ มีลักษณะเปนสี่เหล่ียมผืนผากักเก็บน้ําเสียในบอ โดยใหมีระดับความลึกประมาณ 15 ถึง 30 เซนติเมตร ภายในบึงปลูกพืชประเภทตนกก ตนออ หญาแฝก ฯลฯ เพื่อชวยดูดซับสิ่งสกปรกที่เปนสารอินทรียและสารอนินทรียใหลดนอยลง เนื่องจากรากและลําตนของพืชเหลานี้จะเปนที่จับเกาะของจุลินทรียซ่ึงจุลินทรียที่จับเกาะรากและลําตนของพืชเหลานี้จะชวยยอยสลายสารอินทรียที่เปนความสกปรกในน้ําเสียใหมีจํานวนของเสียลดนอยลง นอกจากนี้รากของพืชเหลานี้ยังสามารถกรองและเปลี่ยนสภาพของสารพิษบางอยางใหเปนกาซระเหยสูอากาศ น้ําจะมีคุณภาพดีขึ้น วิธีที่ 3 ใชแปลงหญาสําหรับกรองน้ําเสียเปนระบบปรับปรุงคุณภาพน้ํา โดยการนําน้ําเสียที่ผานการบําบัดจากบอตกตะกอนขั้นแรกจนความสกปรกลดเหลือนอยลงมา

64

ปรับปรุงคุณภาพใหน้ําสะอาดยิ่งขึ้นดวยการปลูกหญาไวในแปลงเพื่อชวยกรองสิ่งสกปรกที่มีอยูในน้ํา และยังสามารถนําเอาหญาไปใชเปนประโยชนเพื่อการเลี้ยงสัตวหรืออ่ืนๆ ไดอีก วิธีที่ 4 ใชปาชายเลนชวยปรับปรุงคุณภาพน้ําเปนระดับปรับปรุง คุณภาพน้ําที่ใชปาชายเลนชวยฟอก ดูดซับ และกรองความสกปรกในน้ําเสียเปนการปรับปรุง คุณภาพน้ําขั้นสุดทายกอนปลอยน้ําทิ้งลงสูทะเลจะทําใหน้ํามีคุณภาพดี ไมมีผลกระทบตอระบบนิเวศนชายฝง อีกทั้งยังเปนการฟนฟูสภาพปาชายเลน ใหมีความอุดมสมบูรณเหมือนเดิมไดอีกประการหนึ่ง นอกจากนั้นยังมีวิธีการกําจัดขยะโดยวิธีฝงกลบ และนําเอาขยะที่ยอยสลายดีแลวนําไปใชเปนปุยสําหรับปลูกพืชตอไป โดยเอาขยะที่มาจากเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรีและพื้นที่ใกลเคียง ซ่ึงโดยเฉลี่ยมีประมาณวันละ 40 ตัน จะถูกคัดแยกประเภทโดยขยะที่เปนสาร อนินทรีย เชน พลาสติก เหล็ก โลหะตางๆ เพื่อนําไปใชในกระบวนการนํากลับมาใชใหม สวนขยะที่เปนสารอินทรียจะถูกนําไปฝงกลบโดยใชพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 100 ไร เพื่อใหเกิดการยอยสลายจนกลายเปนปุยแลวจึงนํากลับไปถมพื้นที่ปาชายเลนซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2,000 ไร เพื่อทําการปลูกปาชายเลนใหเปนแหลงเพาะพันธุสัตวน้ําตลอดจนเปนแนวปองกัน หรือแนวกันชนลดแรงกัดเซาะชายฝงไดอีก โครงการแหลมผักเบี้ยจังหวัดเพชรบุรีไดกลายเปนโครงการนํารอง หรือโครงการตนแบบ เพื่อแกไขปญหาสิ่งแวดลอมโดยวิธีการทางธรรมชาติควบคูไปกับการศึกษาวิจัยทางดานสิ่งแวดลอมเศรษฐกิจและสังคม เปนบทพิสูจนในการแกไขสิ่งแวดลอมดวยวิธีเรียบงาย ประหยัดและยังประโยชนสูงสุด อันเปนการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหเกิดความสมดุลและพัฒนาใหเกิดการยั่งยืนตอไป ทั้งนี้และทั้งนั้นเกิดขึ้นดวยวินิจวิจารณญาณอันกวางไกลขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ทรงหวงใยในทุกขสุขของประชาชน และสภาพแวดลอมอยางที่แทจริง

กฎหมายสิ่งแวดลอมสําหรับประชาชน เร่ืองมลพิษทางน้ําน้ําเสียคืออะไรและมีลักษณะอยางไร

1. น้ําเสีย คือน้ําที่มีส่ิงเจือปนตางๆ มากมายจนกระทั่งกลายเปนน้ําที่ไมเปนที่ตองการและนารังเกียจของคนทั่วไป น้ําเสียกอใหเกิดปญหาตางๆ แกแหลงน้ํานั้นๆ เชน ทําใหน้ําเนาเหม็นหรือเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิตตางๆ เปนตน

2. น้ําเสียแบงออกเปน 4 ลักษณะตามสภาพของน้ําเสีย ดังนี้

65

- ลักษณะทางกายภาพ คือ สภาพหรือสภาวะของน้ําที่มองเห็นไดหรือสัมผัสได เชน มีขยะและสิ่งปฏิกูล ความขุน สี กล่ินรส และอุณหภูมิที่ผิดปกติ - ลักษณะทางเคมี คือมีสารประกอบทั้งอนินทรียและอินทรียตางๆ ละลายเจือปนอยูในน้ําทําใหน้ํามีความเปนกรด - ดางเกินปกติ หรือมีโลหะทั้งที่เปนพิษและไมเปนพิษรวมทั้งมี สารอินทรียเกินกวาปกติ - ลักษณะทางชีวภาพ คือ มีการปนเปอนของสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เชน แบคทีเรีย เชื้อไวรัส โปรโตซัวและหนอน อันทําใหเกิดโรคตางๆ ที่มีน้ําเปนสื่อหรือเปนพาหะในคนและสัตว น้ําที่มีลักษณะเชนนี้ก็จัดเปนน้ําเสียเชนกัน

- ลักษณะทางสารกัมมันตภาพรังสี คือมีการปนเปอนของสารกัมมันตภาพรังสีซ่ึงสามารถเขาสูรางกายไดหลายทาง เชน ทางผิวหนัง การหายใจ ฯลฯ ทําใหเปนอันตรายตอรางกายของผูที่ไดรับรังสี น้ําที่มีการปนเปอนสารกัมมันตภาพรังสีดังกลาวก็จัดเปนน้ําเสียเชนกัน ความหมายของ “น้ําเสีย” ในทางกฎหมาย ตามมาตรา 4 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 (พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม 2535) ไดใหคําจํากัดความเกี่ยวของกับน้ําเสียไว 2 ความหมาย ซ่ึงจะตองอธิบายรวมกัน คือ คําวา“ของเสีย” และ“น้ําเสีย” ดังนี้ - ของเสีย หมายความถึงขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล น้ําเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือวัตถุอันตรายอื่นใดซึ่งถูกปลอยทิ้งหรือถูกปลอยออกมาจากแหลงกําเนิดมลพิษ รวมทั้งกาก ตะกอน หรือส่ิงตกคางจากสิ่งเหลานั้น ที่อยูในสภาพของแข็ง ของเหลว และกาซ - น้ําเสีย หมายความถึงของเสียที่อยูในสภาพที่เปนของเหลวรวมทั้ง มลสารที่ปะปนหรือปนเปอนอยูในของเหลวนั้น

ดังนั้น หากพิจารณาในความหมายอยางกวางๆ แลว “น้ําเสีย” คือ ของเสียชนิดหนึ่งที่อยูในสภาพที่เปนของเหลวที่ถูกปลอยทิ้ง หรือถูกปลอยออกมาจากแหลงกําเนิดมลพิษ และมีลักษณะเฉพาะแตกตางกันไปจากของเสียชนิดอื่นๆ ที่อยูภายใตคําจํากัดความเดียวกัน สวนในความหมายที่แคบลง น้ําเสีย ก็คือของเหลวที่มีส่ิงปนเปอนที่ถูกปลอยทิ้งหรือปลอยออกมาจากแหลงกําเนิดมลพิษ เชน น้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือน้ําลางคอกปศุสัตว เปนตน

แหลงท่ีกอใหเกิดมลพิษทางน้ํา น้ําเสีย เกิดไดจาก 3 แหลงใหญๆ คือ 1. น้ําเสียจากชุมชน ไดแก น้ําเสียตางๆ ที่เกิดจากกิจกรรมประจําวันของประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชน รวมทั้งกิจกรรมที่เปนอาชีพดวย ตัวอยางน้ําเสียชุมชน ไดแก น้ําเสียที่

66

เกิดจากการชําระลางสิ่งสกปรกทั้งหลายของประชาชนในบานเรือนที่อยูอาศัย หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด เปนตน ทั้งนี้อาจกลาวไดวาน้ําเสียชุมชนเปนน้ําเสียสาธารณะ ซ่ึงหนวยงานราชการควรเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการบําบัดใหกลายเปนน้ําสะอาดพอเพียงที่จะทิ้งลงแมน้ําลําคลอง หรือแหลงน้ําสาธารณะ 2. น้ําเสียจากอุตสาหกรรม ไดแก น้ําเสียที่เกิดจากกิจกรรมตางๆ ของ โรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท น้ําเสียสวนใหญมักเปนน้ําลางเครื่องจักรอุปกรณจากกระบวนการผลิตตางๆ เชน การลางถังหรือภาชนะที่ใชในกระบวนการผลิต ทําใหน้ําเสียมีส่ิงเจือปนจากวัตถุดิบที่ใชในการผลิตดวยเสมอ จึงกลาวไดวาน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม คือ ของเหลวที่เปนกาก หรือมลสาร หรือส่ิงปฏิกูลจากวัตถุดิบของโรงงาน ซ่ึงอาจเปนผลผลิตจากภาคเกษตรกรรม สัตวน้ํา สารอินทรีย สารเคมี หรือโลหะหนัก ก็ได 3. น้ําเสียจากเกษตรกรรม ไดแก น้ําเสียที่มาจากการทําเกษตรกรรม ซ่ึงอาจแบงเปน 2 ประเภท คือ ประเภทเกษตรกรรมชนิดอยูกับที่ เชน จากฟารมเลี้ยงสัตวตางๆ และประเภทไมมีแหลงกําเนิดแนนอน เชน จากการเพาะปลูกในหลายๆ พื้นที่ซ่ึงมีการใชปุยและสารเคมีทางการเกษตร

ปญหามลพิษทางน้ํา จากรายงานสถานการณและการจัดการปญหามลพิษทางน้ํา ป พ.ศ. 2539 ของกองจัดการคุณภาพน้ํา กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ซ่ึงไดมีการตรวจสอบคุณภาพของน้ําในแหลงน้ําตางๆ โดยแบงตามลักษณะที่ตั้งของแหลงน้ํา ดังนี้ 1. คุณภาพน้ําผิวดิน หมายถึง คุณภาพของน้ําในแหลงน้ําสาธารณะที่อยูภายในแผนดินปรากฏวาคุณภาพน้ําผิวดินที่พบในแมน้ําเจาพระยา และแมน้ําสายหลักทั่วประเทศ มีปริมาณแบคทีเรียและปริมาณความสกปรกในรูปของสารอินทรียปนเปอนอยูในอัตราสวนที่ แตกตางกันคือ

แมน้ําเจาพระยา ซ่ึงไดมีการแบงออกเปน 3 ตอน คือตอนลาง ตอนกลาง และตอนบน พบวาคุณภาพน้ําอยูในเกณฑคอนขางต่ํา พอใชถึงคอนขางต่ํา และพอใชถึงคอนขางดี ตามลําดับ โดยแมน้ําเจาพระยาตอนบนนั้นมีแนวโนมที่จะเสื่อมโทรมลงไปเรื่อยๆ สวนคุณภาพน้ําของแมน้ําสายหลักอื่นๆ ทั้งที่ไหลมารวมกับแมน้ําเจาพระยา และที่ไหลไปลงแหลงน้ําอ่ืน พบวา - คุณภาพน้ําอยูในเกณฑคอนขางต่ํา ไดแก แมน้ําทาจีนตอนลาง และตอนกลาง แมน้ํายม แมน้ําพอง สวนแมน้ํานานนั้นอยูในเกณฑคอนขางต่ําถึงพอใช

67

- คุณภาพน้ําอยูในเกณฑพอใช ไดแก แมน้ําทาจีนตอนบน แมน้ํา ปาสัก แมน้ําแควนอย แมน้ําแควใหญ แมน้ําบางปะกง แมน้ําปราจีนบุรี แมน้ําวัง สวนแมน้ําปงนั้นอยูในเกณฑพอใชไดถึงดี - คุณภาพน้ําอยูในเกณฑคอนขางดี ไดแก แมน้ําแมกลอง แมน้ําตาปแมน้ําปากพนัง - คุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี ไดแก ทะเลสาบสงขลา

2. คณุภาพน้ําทะเลชายฝง ชายฝงตะวันออกของอาวไทย ไดแก เขตพื้นที่จังหวัดชลบุรีถึงจังหวัดตราด คุณภาพน้ําทะเลโดยทั่วไปอยูในระดับพอใชถึงคอนขางดี และมีความสกปรกอยูบาง ในบางพื้นที่ใกลชายฝงที่มีชุมชนอาศัยอยูหนาแนน

ชายฝงตะวันตกของอาวไทย พื้นที่ในบริเวณนี้เปนทั้งแหลงเพาะเลี้ยงชายฝง และแหลงทองเที่ยว คุณภาพน้ําทะเลโดยสวนใหญอยูในระดับพอใชถึงคอนขางดี และมีอยูบางพื้นที่ที่อยูในสภาพเสื่อมโทรม เชน บริเวณปากคลองบางตะบูนและปากคลองบานแหลมจังหวัดเพชรบุรี ชายฝงทะเลอันดามัน พื้นที่สวนใหญเปนแหลงทองเที่ยว คุณภาพ สวนใหญอยูในระดับพอใชถึงคอนขางดี ยกเวนในบริเวณอาวโละดาลัมและอาวตนไทร จังหวัดกระบี่ ซ่ึงคุณภาพน้ําอยูในเกณฑพอใชและมีแนวโนมที่จะเสื่อมโทรมลง

หลักเกณฑและวิธีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ํา มาตรฐานคุณภาพน้ําคือ มาตรฐานทั่วไปที่ทางราชการกําหนดขึ้นเพื่อใชตรวจสอบคุณภาพน้ําในแหลงน้ําแตละแหงวามีความสกปรก หรือพิษภัยมากหรือนอยเพียงใด ในทางปฏิบัติการพิจารณากําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ํา จะใชวิธีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานเฉพาะเรื่องดานน้ํา ขึ้นมาทําหนาที่โดยใชขอมูลจากการศึกษา วิจัย และขอมูลทางวิชาการที่เกี่ยวของ นอกจากนี้อาจเชิญผูประกอบการและองคกรเอกชนเขารวมเปนคณะกรรมการ หรือมาช้ีแจงใหขอคิดเห็นดวย อยางไรก็ตามปญหาอุปสรรคในเรื่องการศึกษาวิจัยและการหาขอยุติทาง วิชาการก็ยังมีอยู เพราะมีขอจํากัดในเรื่องงบประมาณ กําลังคน และเวลา จึงพบวา มาตรฐาน คุณภาพน้ําสวนใหญมักจะใชขอมูลที่อางอิงมาจากคามาตรฐานของตางประเทศมากกวาที่จะมาจากการศึกษาขอมูลพื้นฐานภายในประเทศของเราเอง แตในการนํามาใชก็ไดมีการปรับปรุงให เหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนขีดความสามารถทางเทคนิคของประเทศไทยตามสมควร

68

ทั้งนี้การกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมทั้งการกําหนด มาตรฐานคุณภาพน้ําจะพิจารณาจากหลักเกณฑเพื่อประกอบการตัดสินใจดังนี้

1. หลักเกณฑตางๆ ที่ไดมีการกําหนดไวเปนที่ยอมรับกันอยูแลว 2. ความสามารถทางเทคโนโลยีและความเปนไปไดทางเศรษฐกิจ 3. การคาดคะเนโดยอาศัยหลักวิชาการ 4. ผลการศึกษาวิจัย 5. ผลกระทบตอสุขภาพอนามัย 6. ผลการศึกษาดวยแบบจําลองทางคณิตศาสตรและการศึกษาตามทฤษฎีของความนาจะเปน ดังนั้นเมื่อไดมีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําขึ้นมาแลว ก็ จําเปนตองกําหนดมาตราฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดขึ้นมาใชควบคูกันไปดวย เพื่อดูแลใหคุณภาพน้ําในแหลงน้ําตางๆ ไดมาตรฐาน โดยการควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดเพื่อมิใหมีการปลอยน้ําทิ้งที่มีความสกปรกเกินมาตรฐานที่ทางราชการกําหนดออกมาสูแหลงน้ําสาธารณะ มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดตามกฎหมาย พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 ไดอธิบายความหมายของคําวา มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมและแหลงกําเนิดมลพิษ ไวในมาตรา 4 กลาวคือ มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม หมายความวา คามาตรฐาน คุณภาพน้ํา อากาศ เสียงและสภาวะอื่นๆ ของสิ่งแวดลอม ซ่ึงกําหนดเปนเกณฑทั่วไปสําหรับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม และแหลงกําเนิดมลพิษ หมายความวา ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร ส่ิงกอสราง ยานพาหนะ สถานที่ประกอบกิจการใดๆ หรือส่ิงอ่ืนใดซึ่งเปนแหลงที่มาของมลพิษแตเมื่อพิจารณารวมกับมาตรา 55 ซ่ึงบัญญัติวา ให รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดสําหรับควบคุมการระบายน้ําทิ้ง การปลอยทิ้งอากาศเสีย การปลอยทิ้งของเสียหรือมลพิษอื่นใดจากแหลงกําเนิดออกสูส่ิงแวดลอม เพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหไดมาตรฐานคุณภาพส่ิงแวดลอมตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ ดังนั้นสามารถสรุปไดวา มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด หมายถึงคามาตรฐานคุณภาพของสิ่งแวดลอมซึ่งกําหนดเปนเกณฑทั่วไปใหชุมชนและสถานประกอบการตางๆ ซ่ึงเปนแหลงที่มาของมลพิษตองปฏิบัติตาม เพื่อการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหมีดุลยภาพของธรรมชาติ และสรุปไดวา มาตรฐานควบคุมมลพิษที่เกี่ยวกับน้ําจากแหลงกําเนิดมลพิษ ก็คือ คามาตรฐานคุณภาพน้ําสําหรับควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการตางๆ กอนที่จะปลอยออกสูแมน้ําลําคลอง หรือแหลง

69

น้ําสาธารณะทั้งนี้เพื่อควบคุมมิใหมีการปลอยน้ําทิ้งที่สกปรกเกินกวามาตรฐานคุณภาพน้ําที่ทาง ราชการกําหนด ซ่ึงจะทําให แมน้ํา ลําคลองหรือแหลงน้ําสาธารณะที่รองรับน้ําทิ้งดังกลาวเนาเสีย เปนพิษภัยตอส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู ในน้ํา และเปนอันตรายตอผูใชแหลงน้ํานั้นเพื่อการบริโภคหรือเพื่อกิจกรรมอื่นๆ ในชีวิตประจําวัน หลักการที่ใชในการกําหนดมาตรฐานดังกลาวคือ หลักการควบคุมและ ส่ังการ (Command and Control) กลาวคือใหมีการควบคุมการระบายน้ําทิ้ง รวมทั้งควบคุมแหลงกําเนิดมลพิษบางประเภท ซ่ึงเปนแหลงที่มาอันสําคัญของปญหามลพิษทางน้ําใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้นกวาเดิม เนื่องจากการประกาศมาตรฐานเหลานี้จะเปนการสั่งการใหเจาของ หรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ ที่ถูกประกาศกําหนดขนาดและประเภท มีหนาที่ตามกฏหมายที่จะตองจัดใหมีระบบหรืออุปกรณบําบัดน้ําเสียของตนเองและจะตองทําการบําบัดน้ําเสียใหไดมาตรฐานการระบายน้ําทิ้งตามที่ไดกําหนด ไวดวย การกําหนดมาตรฐานประเภทนี้ มักจะกําหนดโดยใชขีดความสามารถของแหลงกําเนิดมลพิษ เชน การคํานึงถึงความสามารถของผูประกอบการที่จะใชเทคโนโลยีที่ดี เหมาะสมและหาได (Best Available Control Technology) แตมักจะมีปญหาในดานของคาใชจายสําหรับผูประกอบการซึ่งมีความไมเทาเทียมกันในหลายๆ ดาน รวมทั้งยังตองคํานึงดวยวาเทคโนโลยีที่นํามาใชจะตองสามารถนํามาใชไดจริง (Best Practicable Technology) นอกจากนี้ กรมควบคุมมลพิษก็กําลังเริ่มตนเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางการกําหนดมาตรฐานประเภทนี้กับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม เนื่องจากวา การจะกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งให เขมงวดมากนอยเพียงใด ควรจะตองพิจารณาถึงความสามารถ ในการรองรับมลพิษของแหลงน้ํานั้นดวย มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งถูกกําหนดไว 3 แบบ คือ

1. มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากอาคาร เพื่อควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดมลพิษตางๆ และใหหนวยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ นําไปใชเปนมาตรฐานในการปองกันและแกไขปญหามลพิษทางน้ํา

2. มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรม เพื่อควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรม และใหหนวยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ นําไปใชเปนมาตรฐานในการปองกันและแกไขปญหา มลพิษทางน้ํา 3. มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากที่ดินจัดสรร เพื่อควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากที่ดินจัดสรร และใหหนวยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของนําไปใชเปนมาตรฐานในการปองกันและแกไขปญหามลพิษทางน้ํา

70

แหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยน้ําทิ้งตามกฎหมาย มีดังนี้ ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ในเรื่องที่เกี่ยวกับการกําหนดประเภทของอาคาร โรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม ที่ดินจัดสรร เปนแหลงกําเนิด มลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยน้ําเสียลงสูแหลงน้ําสาธารณะหรือออกสูส่ิงแวดลอมไดกําหนดใหส่ิงกอสรางดังตอไปนี้เปนแหลงกําเนิดมลพิษที่ถูกควบคุม 1. อาคารชุดตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด 2. โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม 3. หอพักตามกฎหมายวาดวยหอพัก

4. สถานบริการประเภทสถานอาบน้ํา นวดหรืออบตัว ซ่ึงมีผูใหบริการแกลูกคา ตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ 5. โรงพยาบาลของทางราชการ หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล 6. อาคารโรงเรียนราษฎรตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนราษฎรและ โรงเรียนของทางราชการและอาคารสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนและสถาบันอุดมศึกษาของทางราชการ 7. อาคารที่ทําการของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือองคการระหวางประเทศ และของเอกชน 8. อาคารของศูนยการคาหรือหางสรรพสินคา 9. ตลาดตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข 10. ภัตตาคารหรือรานอาหาร 11. โรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม 12. โครงการที่ดินจัดสรร

เจตนารมณและวัตถุประสงคหลักประการหนึ่งของ พ.ร.บ.ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 คือ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหราชการสวนทองถ่ินมีความเปนอิสระ และสามารถพึ่งตนเองไดในการจัดการแกไขปญหามลพิษ และการจัดการของเสียที่เกิดขึ้นในเขตอํานาจของตนตามหลักการกระจายอํานาจ สําหรับการดําเนินงานดานการจัดการมลพิษทางน้ํานั้น ก็ไดกําหนดใหมีการกอสรางระบบรวบรวมน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสียรวมขึ้น ซ่ึงจะเห็นวาเปนหลักการที่ตรงกันขามกับบรรดากฎหมายตางๆ เพราะกฎหมายสวนใหญยังคงยึดหลักการรวมอํานาจการจัดการไวในราชการสวนกลางอยู

71

ปจจุบันประเทศไทยมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมกระจายอยูทั่วประเทศ ทั้งหมด 22 พื้นที่จํานวน 26 ระบบ (เทศบาล 19 แหง สุขาภิบาล 1 แหง เมืองพัทยา และกรุงเทพมหานคร)

นอกจากนี้ในปจจุบันยังมีระบบบําบัดน้ําเสียสวนกลางของเทศบาลและสุขาภิบาลที่กําลังกอสรางอีก 43 แหง และเปนสวนที่กําลังขยายอีก 3 แหง ไดแก เทศบาลนครขอนแกน เทศบาลนครราชสีมา และเมืองพัทยา ตาม พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 มาตรา 70 กําหนดใหเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. กอสราง ติดตั้ง หรือจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียหรือระบบกําจัด ของเสีย ตามที่พนักงานควบคุมมลพิษกําหนด ทั้งนี้เจาพนักงานควบคุมมลพิษอาจกําหนดใหมี ผูควบคุมการดําเนินงานระบบดังกลาวดวยก็ได 2. แจงตอเจาพนักงานควบคุมมลพิษเพื่อตรวจสอบระบบบําบัดน้ําเสียหรือระบบกําจัดของเสียที่มีอยูกอนแลว หากเจาพนักงานควบคุมมลพิษเห็นวา ระบบดังกลาวไมสามารถบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสียใหเปนไปตามมาตรฐานไดก็อาจกําหนดใหมีการแกไข ปรับปรุงระบบ โดยเจาของหรือผูครอบครองระบบนั้นมีหนาที่ตองปฏิบัติตามที่เจาพนักงานควบคุมมลพิษกําหนด 3. ในเขตที่ทางการจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวม และเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษที่ยังมิไดมี หรือไมประสงคจะมีระบบบําบัดน้ําเสียหรือระบบกําจัดของเสียเปนของตนเองมีหนาที่ตองจัดสงน้ําเสียหรือของเสียไปยังระบบรวมดังกลาว โดยมีหนาที่ตองเสียคาบริการตามกฎหมาย 4. ในทองที่ที่ทางการมิไดจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวม หรือระบบกําจัดของเสียรวม แตมีผูรับจางใหบริการบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสียอยู ใหเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษที่มิไดมีระบบบําบัดน้ําเสียหรือระบบกําจัดของเสียเปนของตนเอง จัดสงน้ําเสียหรือของเสียแกผู รับจางใหบริการบําบัดหรือกําจัดตามที่พนักงานทองถ่ินกําหนดโดย คําแนะนําของเจาพนักงานควบคุมมลพิษ 5. หากไมมีผูรับจางใหบริการในทองที่ที่ทางการมิไดจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสีย หรือกําจัดของเสียรวม เจาพนักงานทองถ่ินโดยคําแนะนําของเจาพนักงานควบคุมมลพิษ อาจกําหนดวิธีการชั่วคราวสําหรับบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสียไดตามที่จําเปน 6. เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ ซ่ึงมีระบบบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสียเปนของตนเอง มีหนาที่เก็บสถิติขอมูลซ่ึงแสดงผลการทํางานของระบบดังกลาว

72

ในแตละวันและจัดทําบันทึกรายละเอียดเปนหลักฐานไวและจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการทํางานของระบบนั้นเสนอตอเจาพนักงานทองถ่ินอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง

แหลงกําเนิดมลพิษท่ีมิไดถูกควบคุมตามกฎหมายจะตองมีหนาท่ีดังตอไปนี้

มาตรา 72 มาตรา 74 และมาตรา 75 ตามลําดับดังตอไปนี้ 1. ในทองที่ที่ทางราชการจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวม หรือระบบกําจัดของเสียรวม จะตองจัดสงน้ําเสียหรือของเสียไปยังระบบบําบัดรวมหรือระบบกําจัดรวม โดยเสียคาบริการตามกฎหมาย เวนแตเรามีระบบบําบัดหรือระบบกําจัดของเสียที่ไดมาตรฐานอยูแลว 2. ในทองที่ที่ทางราชการยังมิไดจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสีย หรือระบบกําจัดของเสียรวม แตมีผูรับจางใหบริการบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสีย จะตองจัดสงน้ําเสียหรือของเสียใหผู รับจางใหบริการทําการบําบัดหรือกําจัดตามที่ เจาพนักงานทองถ่ินกําหนดโดย คําแนะนําของเจาพนักงานควบคุมมลพิษ

3. ในทองที่ที่ไมมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวม และไมมีผูรับจางใหบริการเจาพนักงานทองถ่ินโดยคําแนะนําของเจาพนักงานควบคุมมลพิษ อาจกําหนดวิธีการชั่วคราวสําหรับการบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสีย เชน อาจใหจัดสงไปทําการบําบัดหรือกําจัดโดยระบบ บําบัดน้ําเสียรวมของทางราชการในเขตอื่น หรือใหผูรับจางใหบริการในเขตอ่ืนเขามาเปดบริการในทองถ่ินนั้นเปนการชั่วคราว หรือขนเคลื่อนยายไปทําการบําบัดหรือกําจัดในระบบบําบัดของผูใหบริการที่ตั้งอยูในเขตอื่น เปนตน องคกรท่ีมีหนาท่ีและความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการมลพิษทางน้ํา จากเจตนารมณและวัตถุประสงคหลักของ พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 คือเพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหราชการสวนทองถ่ินมีความเปนอิสระ และสามารถพึ่งตนเองไดในการจัดการแกไขปญหามลพิษ และการจัดการของเสียที่เกิดขึ้นในเขตอํานาจของตนตามหลักการกระจายอํานาจ ซ่ึงในการดําเนินงานดานการจัดการมลพิษทางน้ํานั้น ก็ไดกําหนดใหมีการออกระเบียบบริหารราชการสวนทองถ่ินใหมีการกอสรางระบบรวบรวมและระบบบําบัดน้ําเสียรวมขึ้น ซ่ึงหนวยงานราชการสวนทองถ่ินจะมีอํานาจดานการกอสรางและดําเนินงานระบบบําบัด สวนทางกรมควบคุมมลพิษมีหนาที่ ในการติดตาม ตรวจสอบ ควบคุม และประเมินผลการดําเนินงานของทองถ่ิน กรมควบคุมมลพิษ ไดจัดทําโครงการจัดการคุณภาพน้ําและจัดทําแผนปฏิบัติการในพื้นที่ลุมน้ําทั่วประเทศ เพื่อประโยชนในการวางแผนปฏิบัติการจัดการคุณภาพน้ําการ

73

ฟนฟูคุณภาพน้ําในแหลงน้ํา และการแกไขปญหามลพิษทางน้ําจากแหลงกําเนิดมลพิษตางๆ ตามลําดับความสําคัญ โครงการตางๆ ที่ไดมีการดําเนินการแลว มีดังนี้ 1. โครงการจัดการคุณภาพน้ําและจัดทําแผนปฏิบัติการในพื้นที่ลุมน้ําภาคกลาง 2. โครงการจัดการคุณภาพน้ําและจัดทําแผนปฏิบัติการในพื้นที่ลุมน้ําภาคตะวันออก 3. โครงการจัดการคุณภาพน้ําและจัดทําแผนปฏิบัติการในพื้นที่ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. โครงการจัดการคุณภาพน้ําและจัดทําแผนปฏิบัติการในพื้นที่ลุมน้ําภาคใตและชายฝงทะเล 5. โครงการจัดการคุณภาพน้ําและจัดทําแผนปฏิบัติการในพื้นที่ลุมน้ําภาคเหนือ 6. โครงการสํารวจและจัดหาขอมูลพื้นฐานแหลงกําเนิดมลพิษ และจัดทําแผนปฏิบัติการฟนฟูคุณภาพแหลงน้ําบริเวณชายฝงทะเลในอาวไทยและฝงทะเลอันดามัน นโยบายของทางราชการในการลดมลพิษทางน้ํามีดังนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม โดยกรมควบคุมมลพิษไดกําหนดนโยบายลดและขจัดมลพิษทางน้ํา ป พ.ศ. 2540-2559 มี 4 ประการ ดังนี้ 1. เรงรัดฟนฟูคุณภาพน้ําในแหลงน้ําสําคัญทั้งประเทศ 2. ลดและควบคุมมลพิษทางน้ํา อันเนื่องมาจากกิจกรรมของชุมชน เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม 3. ผูกอมลพิษทางน้ําตองมีสวนรับผิดชอบคาใชจายในการจัดการมลพิษทางน้ํา 4. สงเสริมและสนับสนุนใหภาคเอกชนมีสวนรวมลงทุน และจัดการแกไขปญหาน้ําเสีย

แนวทางในการจัดการมลพิษทางน้ํามีดังนี้ 1. แนวทางดานการจัดการ - ใหมีการควบคุมมลพิษทางน้ําของชุมชนใน 25 ลุมน้ําทั่วประเทศ โดยจัดลําดับความสําคัญพรอมทั้งกําหนดมาตรการตางๆ และจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อใหมีผลในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม

74

- จัดทําแผนปฏิบัติการฉุกเฉินและแผนปองกันอุบัติภัยเพื่อปองกันและแกไขอันตรายอันเกิดจากการแพรกระจายของมลพิษและสภาวะแวดลอมเปนพิษ ที่มีผลกระทบตอคุณภาพน้ําและแหลงน้ํา - ควบคุมการใชประโยชนที่ดิน มิใหลวงลํ้าลําน้ําในบริเวณสองฝงแมน้ํา ลําคลอง บึง ทะเลสาบ อางเก็บน้ํา เกาะ และชายฝงทะเลอยางเขมงวด - กระจายอํานาจ หนาที่ ความรับผิดชอบ และเสริมสรางสมรรถนะแกเจาหนาที่ระดับจังหวัดและทองถ่ิน เพื่อใหการควบคุมน้ําเสียจากแหลงกําเนิด รวมทั้งการควบคุมมลพิษทางน้ําในระดับจังหวัด และระดับทองถ่ินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ - ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพน้ําในแหลงน้ํา และการจัดการมลพิษทางน้ําจากแหลงกําเนิดมลพิษอยางตอเนื่องเปนระบบ โดยใหมีการรวมมือและประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ - เสริมสรางกลไกและสมรรถนะขององคกร เพื่อเอ้ืออํานวยตอการควบคุมน้ําเสียและของเสียจากแหลงกําเนิดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการใชมาตรการทางเศรษฐกิจและสังคมควบคูกับมาตรการทางกฎหมาย - กําหนดใหแหลงน้ําดิบเพื่อการประปาและพื้นที่ที่มีปญหามลพิษทางน้ํารุนแรงเปนเขตควบคุมมลพิษรวมทั้งจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อควบคุมและฟนฟูคุณภาพน้ําใหเหมาะสมกับการใชประโยชน - สนับสนุนการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมสําหรับอุตสาหกรรมประเภทที่มีมลพิษทางน้ํา รวมทั้งกําหนดมาตรการควบคุมและขจัดการแพรกระจายของมลพิษทางน้ําอยางรัดกุม - จัดเตรียมที่ดินที่เหมาะสมสําหรับใชในการบําบัดน้ําเสียในระยะยาวรวมทั้งกําหนดพื้นที่ที่สงวนไว เพื่อการบําบัดน้ําเสียจากชุมชนรวมไวในผังเมือง 2. แนวทางดานการลงทุน - จัดใหมีระบบรวบรวมและบําบัดน้ําเสียรวมสําหรับชุมชนในระดับเทศบาล และสุขาภิบาลทั่วประเทศ โดยสนับสนุนใหเอกชนเขามามีสวนรวมในการลงทุน - สงเสริมและสนับสนุนการลงทุนของสวนราชการทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจและเอกชนในการกอสรางระบบรวบรวมและบําบัดน้ําเสียรวม โดยการจัดสรรงบประมาณสมทบกองทุนสิ่งแวดลอมเพิ่มมากขึ้นตามความตองการ

75

- เรงรัดใหมีการนํามาตรการการจัดเก็บคาบริการบําบัดน้ําเสียไปสูการปฏิบัติอยางจริงจังและตอเนื่อง โดยมอบหมายใหสวนราชการทองถ่ิน หรือองคกรที่มีหนาที่โดยตรงเปนผูดําเนินการ

3. แนวทางดานกฎหมาย นอกจาก พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 แลวเรายังมีกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมและจัดการมลพิษทางน้ํา ดังนี้ 1. พระราชบัญญัติรักษาคลอง ร.ศ. 121 มาตรา 6 หามมิใหมีการเททิ้งหยากเยื่อฝุนฝอยหรือส่ิงโสโครกลงในคลอง หรือทางน้ํา ลําคู ที่ไหลลงคลองได ผูใดฝาฝนมีโทษปรับไมเกิน 20 บาท หรือจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือทั้งจํา ทั้งปรับ มาตรา 7 หามมิใหมีการทําใหคลอง และฝงคลอง หรือถนนหลวงเสียหาย ผูใดฝาฝนมีโทษปรับไมเกิน 20 บาท หรือจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือทั้งจําทั้งปรับ 2. พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 มาตรา 28 หามมิใหมีการทิ้งมูลฝอย ซากสัตว ซากพืช เถาถาน หรือส่ิงปฏิกูลลงในทางน้ําชลประทานหรือทําใหน้ําเปนอันตรายแกการเพาะปลูกหรือบริโภครวมทั้งหามมิใหมีการปลอยน้ําซ่ึงทําใหเกิดพิษแกธรรมชาติ หรือสารเคมีเปนพิษลงในทางน้ํา มาตรา 37 ผูใดฝาฝนมาตรา 28 วรรคหนึ่ง มีโทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกิน2,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผูใดฝาฝน มาตรา 28 วรรคสอง มีโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 3. พระราชบัญญัติเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ. 2456 แกไขใหมโดย พระราชบัญญัติเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535

มาตรา 119 หามมิใหมีการเททิ้ง หิน กรวด ทราย ดิน โคลน ส่ิงของปฏิกูลใดๆ รวมทั้งน้ํามัน และเคมีภัณฑลงในแมน้ํา ลําคลอง บึง อางเก็บน้ํา ทะเลสาบ ที่ประชาชนใชรวมกันหรือทะเลภายในนานน้ําไทยอันจะเปนเหตุใหเกิดความตื้นเขินตกตะกอนหรือสกปรก นอกจากจะไดรับอนุญาตจากเจาทา ผูใดฝาฝน ตองถูกลงโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท และตองชดใชเงินคาใชจายที่ตองใชในการขจัดสิ่งเหลานี้ดวย มาตรา 119 ทวิ หามมิใหมีการเททิ้ง น้ํามัน และเคมีภัณฑหรือส่ิงใดๆ ลงในแมน้ํา ลําคลอง บึง อางเก็บน้ําหรือทะเลสาบที่ประชาชนใชรวมกันหรือทะเลภายใน นานน้ําไทย

76

อันเปนเหตุใหเกิดเปนพิษตอส่ิงแวดลอม หรือเปนอันตรายตอการเดินเรือ ผูใดฝาฝน ตองถูกลงโทษจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกิน 60,000 บาท และตองชดใชเงินคาใชจายที่ตองใชในการแกไขส่ิงเหลานี้ดวย

4. พระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526มาตรา 14 หามเทหรือทิ้งส่ิงใดๆ หรือระบาย หรือทําใหน้ํา

โสโครก ลงในคลองประปา คลองรับน้ํา หรือคลองขังน้ํามาตรา 15 หามทิ้งซากสัตวขยะมูลฝอย หรือส่ิงปฏิกูล ลงในเขต

คลองประปา คลองรับน้ํา คลองขังน้ํา ผูใดฝาฝนตามมาตรา 14 และมาตรา 15 มีโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับไมเกิน 2,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 16 หามซักผา ลางสิ่งใด หรืออาบน้ําในเขตคลองประปา มาตรา 17 หามเพาะปลูกพืชในเขตคลองประปา คลองรับน้ํา หรือเขตหวงหาม

ผูใดฝาฝน มาตรา 16 มโีทษปรับไมเกิน 1,000 บาท ผูใดฝาฝน มาตรา 17 มีโทษปรับไมเกิน 2,000 บาท 5. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ไดระบุบอเกิดของเหตุอันอาจกอใหเกิดความเดือดรอนแกผูอยูอาศัยในบริเวณใกลเคียงหรือผูที่ตองประสบกับเหตุนั้น ที่เกี่ยวกับน้ําไวในมาตรา 25 อนุมาตรา 1 และ 3 ดังนี้ (1) แหลงน้ํา ทางระบายน้ํา ที่อาบน้ํา สวม หรือที่ใสมูลหรือเถาหรือสถานที่อ่ืนที่อยูในทําเลไมเหมาะสม สกปรก มีการสะสมหรือหมักหมมสิ่งของ มีการเททิ้ง ส่ิงใดเปนเหตุใหมีกล่ินเหม็นหรือละอองสารเปนพิษ หรือเปนหรือนาจะเปนที่เพาะพันธุพาหะโรค หรือกอใหเกิดความเสื่อมหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ (3) อาคารอันเปนที่อยูอาศัยของคน หรือสัตว โรงงานหรือสถานประกอบการใดไมมีการระบายอากาศ การระบายน้ํา การกําจัดขยะมูลฝอย หรือส่ิงอ่ืนจนทําใหเปนอันตรายตอสุขภาพ มาตรา 26 ไดใหอํานาจเจาพนักงานทองถ่ินมีอํานาจหามผูหนึ่ง ผูใดมิใหกอเหตุรําคาญรวมทั้งระงับเหตุรําคาญดวย โดยมีอํานาจออกคําสั่งเพื่อระงับ กําจัด และ ควบคุมเหตุรําคาญได

77

มาตรา 27 กรณีที่มีเหตุรําคาญเกิดขึ้นในที่สาธารณะ เจาพนักงานทองถ่ิน มีอํานาจในการออกคําส่ังใหบุคคลที่เปนตนเหตุหรือเกี่ยวของระงับหรือปองกันการเกิด เหตุรําคาญนั้นโดยบุคคลที่เปนตนเหตุหรือเกี่ยวของตองเปนผูเสียคาใชจายสําหรับการจัดการนั้น มาตรา 28 กรณีที่มีเหตุรําคาญเกิดขึ้นในที่เอกชน เจาพนักงาน ทองถ่ิน มีอํานาจในการออกคําส่ังใหเจาของหรือผูครอบครองสถานที่นั้น ระงับหรือปองกันการเกิดเหตุรําคาญนั้นโดยบุคคล ที่เปนตนเหตุหรือเกี่ยวของตองเปนผูเสียคาใชจายสําหรับการจัดการนั้นและมีอํานาจออกคําส่ังมิใหบุคคลใดใชสถานที่นั้นทั้งหมดหรือบางสวนได 6. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ไดกําหนดใหโรงงานทุกประเภทตองปฏิบัติตามในเรื่องดังตอไปนี้ มาตรา 8 (5) กําหนดมาตรฐานและวิธีการควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษ หรือส่ิงใดๆ ที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมซ่ึงเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงาน มาตรา 45 ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (5) หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฎกระทรวงดังกลาว ตองระวางโทษปรับไมเกิน 200,000 บาท 7. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 237 ผูที่เอาสิ่งที่อาจเปนอันตรายตอสุขภาพ เจือลงในแหลงน้ําที่จัดไวใหประชาชนบริโภค มีโทษจําคุกตั้งแต 6 เดือน ถึง 10 ปและปรับตั้งแต 1,000 ถึง 20,000 บาท มาตรา 375 ผูที่ทําใหทอระบายน้ําสาธารณะขัดของ มีโทษปรับไมเกิน 500 บาท มาตรา 380 ผูที่ทําใหแหลงน้ําที่ใชในการบริโภคสกปรก มีโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน 1,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

นอกจากนี้ ทางกรมควบคุมมลพิษยังไดกําหนดแนวทางกฎหมายไวดังนี้

- กําหนดและปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําสําคัญ และมาตรฐานน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดตางๆ ใหเหมาะสมและทันตอเหตุการณ

- กําหนดและปรับปรุงประเภทและขนาดของแหลงกําเนิดน้ําเสีย หรือกิจกรรมที่ตองควบคุมการปลอยน้ําเสีย รวมทั้งกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขตางๆ เพื่อควบคุมและติดตาม ตรวจสอบการระบายน้ําเสียอยางตอเนื่อง

78

- เสริมสรางสมรรถภาพทางวิชาการ อุปกรณ เครื่องมือและกฎหมาย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามกฎหมายของเจาหนาที่ในระดับทองถ่ิน - ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของเพื่อใหเอื้ออํานวยตอการแกไขปญหามลพิษทางน้ําตลอดจนเรงรัดออกกฎระเบียบ ขอบังคับตางๆ เพื่อใหการลดและควบคุมมลพิษทางน้ําเปนไปตามเปาหมาย 4. แนวทางดานการสงเสริม - สนับสนุนและรวมมือกับภาคเอกชนและองคกรตางๆ ในการรณรงคและประชาสัมพันธ ใหประชาชนและผูประกอบกิจการ มีความรู ความเขาใจ และมีสวนรวมรับผิดชอบในการจัดการคุณภาพน้ํา และควบคุมน้ําเสียจากแหลงกําเนิด - สนับสนุนใหมีการศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาและสงเสริมเทคโนโลยีการจัดการคุณภาพน้ํา และการควบคุมน้ําเสียจากแหลงกําเนิดใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสนับสนุนใหนําผลการวิจัยไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม - ใหมีการลดภาษีอากรสําหรับการนําเขาเครื่องจักร อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใช วัสดุ เพื่อการบําบัดน้ําเสียใหมากขึ้น เพื่อใหเกิดแรงจูงใจและความรวมมือในการจัดการน้ําเสีย ระบบบําบัดน้ําเสียมีการทํางานดังตอไปนี้ 1. การบําบัดเบื้องตน เปนการบําบัดน้ําเสียกอนที่จะสงเขาไปยังระบบบําบัดหลัก โดยวัดอัตราการไหลของน้ําเสียเพื่อประกอบการประเมินประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสีย และการกรองเอาเศษขยะรวมทั้งดักกรวดทรายออกจากน้ําเสีย เพื่อมิใหเปนอันตรายตอระบบบําบัดหลักและยังชวยใหบําบัดไดดีขึ้น 2. การบําบัดหลัก เปนขั้นตอนที่จะตองทําการลดความสกปรกของน้ําใหไดตามมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิด กระบวนการบําบัดมักใชกระบวนการบําบัดทางชีวภาพ เชน ระบบบําบัดแบบบอผ่ึง ระบบบําบัดแบบบอเติมอากาศ ระบบบําบัดแบบเล้ียงตะกอนเรง และระบบจานหมุนชีวภาพ เปนตน 3. การบําบัดขั้นสุดทาย เปนการฆาเชื้อโรคดวยสารเคมี เชน คลอรีน ซ่ึงโดยปกติแลวอาจไมตองทําเวนแตวาในชวงเวลานั้นมีการระบาดของเชื้อโรคหรือน้ําเสียที่ทําการบําบัดเปนน้ําเสียจากโรงพยาบาล

ในบานเรือนหรืออาคารตองมีระบบบําบัดน้ําเสียเพื่อทําการบําบัดน้ําทิ้งจากกิจกรรมตางๆ ภายในอาคารบานเรือน เชน น้ําทิ้งจากหองครัว น้ําทิ้งจากหองน้ํา อางลางหนา

79

หองสวม เปนตน กอนที่จะปลอยออกสูทอระบายน้ําสาธารณะ ระบบบําบัดน้ําเสียสําหรับอาคาร และบานเรือนมีหลายประเภทที่สําคัญๆ มีดังนี้ - ตะแกรงดักขยะ (Screening)

- บอดักไขมัน (Grease and Oil Interceptor Tank) - บอเกรอะ (Septic Tank) - บอซึม (Cesspool) ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะ ตะแกรงดักขยะและบอดักไขมันเทานั้น ซ่ึงเปนระบบบําบัดอยางงายๆ ที่สามารถทําเองไวใชในอาคารบานเรือนได สวนบอเกราะและบอซึมนั้น หนาที่ ในการทําสวนใหญจะเปนของผูรับเหมากอสรางมากกวา หรือซ้ือสําเร็จรูป (Septic Tank)จากทางรานคาที่ขายสินคาประเภทสุขภัณฑ

1. ตะแกรงดักขยะโดยปกติน้ําทิ้งจากอาคารใหญ มักจะมีเศษขยะหรือตะกอนไหลปะปน

มาดวยเสมอ ตะแกรงดักขยะจึงมีความสําคัญมากในการแยกตะกอน หรือเศษขยะตางๆ ออกจาก น้ําทิ้งในขั้นแรกสุดกอนที่จะปลอยน้ําลงสูทอระบายน้ําทิ้งสาธารณะ ตะแกรงดักขยะมีอยูดวยกันหลายชนิด ไดแก แบบเอียงอยูนิ่ง แบบเอียงชนิดหมุน แบบเคลื่อนที่ แบบใชแรงหนีศูนยกลาง เปนตน สําหรับอาคารทั่วไปสวนใหญใชแบบเอียงอยูนิ่ง เนื่องจากไมยุงยากในการกอสรางมากนัก โดยรายละเอียดตะแกรงดักขยะทั่วไป คือ

- มุมเอียงของตะแกรงเทากับ 30 – 40 องศา จากแนวดิ่ง - ความเร็วของน้ําทิ้งที่ไหลบนรางระบายน้ํากอนที่จะเขาสูตะแกรง เทากับ 0.5 – 1.0 เมตร /วินาที - ขนาดชองตะแกรงจะมีตั้งแต 0.02 – 155 มิลลิเมตร ขึ้นอยูกับลักษณะของน้ําทิ้งวามีขนาดตะกอนหรือขยะเล็กใหญขนาดไหน สวนน้ําทิ้งจากบานเรือน มักไมคอยมีเศษขยะหรือตะกอนใหญมากนักสวนใหญจะเปนเศษอาหารจากอางลางจานในครัว เศษผงและคราบตางๆ จากอางลางหนาใน หองน้ํา เปนตน จึงไมมีความจําเปนที่จะตองมีตะแกรงดักขยะในบานเรือน เพียงแตพยายามอยาทิ้งเศษอาหารหรือตะกอนลงในอาง มิฉะนั้นทอน้ําทิ้งในบานจะตันเสียเอง

2. บอดักไขมัน โดยทั่วไปไขมันและน้ํามันจะพบมากในน้ําทิ้งจากหองครัว จึงจําเปนตองมีบอดักไขมันเพื่อ ทําการแยกไขมันออกจากน้ําทิ้งกอน เพราะไขมันและน้ํามันนี้ มีสวนทําใหทอระบายน้ําทิ้งอุดตันเร็วขึ้นเพราะมันมีความหนืดสูงและอาจจะแข็งตัวไดถาอากาศเย็นหรืออยูใน

80

ชวงฤดูหนาว นอกจากนี้พวกไขมันจะไปทําใหระบบบําบัดน้ําเสียมีประสิทธิภาพลดลง และทําใหเครื่องจักรกลตางๆ ในระบบบําบัดชํารุดไดงาย โดยปกติควรใหน้ําทิ้งที่เขาสูบอดักไขมันถูกกักเก็บอยูนานกวา 30 นาที แตไมควรนานเกินไป เพราะจะทําใหเกิดกลิ่นเหม็นได ปญหาที่ เกิดจากการกําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษทางน้ําตาม พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 ไดแก

1. ปญหาการมีมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดของหลายหนวยงานโดยที่มีกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวของกับการจัดการปญหามลพิษทางน้ํา ทําใหมีหลายหนวยงานที่เกี่ยวของกับการกําหนดมาตรฐานการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดมลพิษ เชน กรมชลประทานและกรมประมง (กระทรวงเกษตรและสหกรณ) กรมเจาทา (กระทรวงคมนาคม) กรมโยธาธิการและคณะกรรมการควบคุมการจัดสรรที่ดิน (กระทรวงมหาดไทย) กรมควบคุมมลพิษ (กระทรวงวิทยาศาสตรฯ) กรมทรัพยากรธรณี และกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กระทรวง อุตสาหกรรม) ซ่ึงแตละหนวยงานก็จะกําหนดมาตรฐานไมเหมือนกัน อยางไรก็ตามในกรณีที่มีความขัดแยงกันระหวางมาตรฐานการควบคุม มลพิษจากแหลงกําเนิดตาม พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 กับมาตรฐานที่ออกตามกฎหมายอื่น ผูราง พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 ก็ไดคํานึงถึงปญหานี้ไวลวงหนาแลวโดยไดบัญญัติมาตรา 56 ไววาหากมาตรฐานตามกฎหมายอื่นที่มีความเขมงวดมากกวามาตรฐานตามกฎหมายฉบับนี้ ใหใชมาตรฐานอื่นมีผลใชบังคับตอไปได แตหากวามาตรฐานอื่นมีความเขมงวดนอยกวา มาตรฐานตามกฎหมายสิ่งแวดลอมนี้ใหหนวยงานตามกฎหมายอื่นแกไขมาตรฐานดังกลาวใหเปนไปตามมาตรฐานของกฎหมายสิ่งแวดลอม หากไมดําเนินการเชนนั้นไดใหเสนอเรื่องดังกลาวตอคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติเพื่อชี้ขาด และใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามคําชี้ขาดนั้น แมจะไดมีการคาดการณไวลวงหนาวาจะเกิดปญหาในทางปฏิบัติและไดมีบทบัญญัติมาตรา 56 ดังกลาวเพื่ออุดชองวางแลวก็ตาม แตขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นก็ยังมีปญหาเกิดขึ้นอยูอีก เพราะเมื่อมีการขัดแยงระหวางมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดตาม พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 กับมาตรฐานตามกฎหมายอื่น และยังมิไดมีการแกไขมาตรฐานตามกฎหมายอ่ืน หรือคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ยังไมไดวินิจฉัยช้ีขาดขอขัดแยงนั้น ผลทางกฎหมายก็คือ เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษทางน้ํามีหนาที่ตองปฏิบัติตามมาตรฐานทั้งหมดของทุกหนวยงาน ทําใหเกิดปญหาแกผูที่ตองปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งที่เปนโรงงานหรือแหลงกําเนิดมลพิษอื่น เพราะจะตองติดตอกับหลายหนวยงานแลวยังตองปฏิบัติตามมาตรฐานของหนวยงานเหลานั้นทั้งหมดอีกดวย ซ่ึงเปนตนเหตุของความลาชาโดยไมจําเปนและบางครั้งก็มีการใชอํานาจหนาที่ในทางมิชอบของเจาหนาที่หลายหนวยงาน

81

2. ปญหาการฝาฝนมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดพ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 มิไดกําหนดโทษทางอาญาสําหรับ

เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ ในกรณีที่ผูนั้นมีเครื่องบําบัดน้ําเสียหรือของเสียของตน แตน้ําทิ้งหรือของเสียที่ระบายออกสูส่ิงแวดลอมนั้นไมเปนไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดตามที่ไดกําหนดไว จะมีก็แตเพียงบทบัญญัติมาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 92 เกี่ยวกับคาปรับ ในกรณีที่หลีกเหล่ียงไมจัดสงน้ําเสียหรือของเสียไปทําการบําบัดโดยระบบบําบัดรวมของทางราชการหรือลักลอบใชบริการระบบบําบัดน้ําเสียรวม หรือระบบกําจัดของเสียรวมหรือลักลอบปลอยน้ําเสียหรือของเสียออกสูส่ิงแวดลอม โดยไมยอมเดินเครื่องระบบบําบัดน้ําเสียหรือระบบกําจัดของเสียของตน ซ่ึงทําใหผูนั้นไมตองรับโทษทางอาญาแตประการใด เวนแตวาการกระทําของผูนั้นจะมีความผิดตามกฎหมายอื่น เชน น้ําทิ้งที่ปลอยออกมาไมไดมาตรฐานที่กําหนดตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ผูนั้นก็จะไดรับโทษตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติโรงงานดังกลาว แตอยางไรก็ดี ยังมีแหลงกําเนิดมลพิษอื่นอีกมาก ที่มิไดอยูในบังคับของพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ดวยเหตุนี้ อาจทําใหการบังคับใหเปนไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิดตาม พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 เปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพมากนัก

3. ปญหาความสัมพันธระหวางมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งกับมาตรฐานคุณภาพน้ํา

การกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้ง ควรจะไปกันไดกับมาตรฐานคุณภาพน้ํา กลาวคือ หากกําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําใดไวอยางเขมงวดแลว มาตรฐานการระบายน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ําก็ควรจะเขมงวดไปดวยในทางกลับกัน หากกําหนด มาตรฐานคุณภาพน้ําไวไมเขมงวดมากนัก มาตรฐานการระบายน้ําทิ้งสําหรับแหลงน้ํานั้นก็ไมควรจะเขมงวดดวยเชนกัน อยางนี้เรียกวามาตรฐานที่ไปกันไดหรือสัมพันธกัน เพราะฉะนั้นหาก มาตรฐาน 2 อยางนี้ ไมสัมพันธกันแลวปญหาก็จะตามมามากมาย ตัวอยางเชนถาแหลงน้ําใดมีความสามารถในการรองรับน้ําเสียหรือมลพิษไดมากและสามารถฟนฟูไดอยางรวดเร็ว ซ่ึงก็หมายความวาแหลงน้ํานั้นยังมีคุณภาพดีอยูตามมาตรฐานคุณภาพน้ํา จึงไมเขมงวดมากนักสําหรับการปลอยน้ําเสียลงไป แตเจาพนักงานกลับกําหนดมาตรฐานการระบายน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ํานี้ไวอยางเขมงวดทําให ผูประกอบการหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษตางๆ ตองเสียคาใชจายในการบําบัดน้ําเสียมากเกินความจําเปน อันเปนผลใหตนทุนในการผลิตสินคาและบริการของผูประกอบการนั้นสูงขึ้นตามไปดวย ซ่ึงผลเสียก็จะตกสูผูบริโภคในที่สุด เพราะผูประกอบการก็จะบวกคาใชจายนี้เขาไปในราคาสินคา ในทํานองเดียวกัน ถาแหลงน้ําใดเสื่อมโทรมแตมาตรฐานกลับไมเขมงวดก็จะยิ่งทําใหแหลงน้ํานั้นเสื่อมโทรมยิ่งขึ้นจนอาจจะยากที่จะเยียวยาตอไป

82

ดวยเหตุนี้มาตรฐานการระบายน้ําทิ้ งจึงไมจําเปนตองเปน มาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ โดยควรจะขึ้นอยูกับคุณภาพของแหลงน้ํานั้นๆ ดังที่กลาวขางตน ซ่ึงตาม พ.ร.บ. ส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 ก็ไดเปดโอกาสใหมีการกําหนดมาตรฐานการระบายน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ํา โดยคํานึงถึงความสามารถในการรองรับมลพิษได แตในทางปฏิบัติที่ผานมาผูที่เกี่ยวของในการกําหนดมาตรฐาน มิไดมีการปรับเปลี่ยนมาตรฐานดังกลาวตามสภาพของแหลงรองรับน้ําทิ้งแตอยางใด

จะเห็นไดวา ปญหาทั้ง 3 ขอที่กลาวมาขางตน ขอที่สําคัญที่สุดก็คือขอ 3 รองลงมาคือขอ 2 และขอ 1 ตามลําดับ เหตุที่เปนเชนนี้ก็เพราะวาถาหากมาตรฐานทั้ง 2 มาตรฐานนี้ไมสัมพันธกันดังที่กลาวโดยเฉพาะอยางยิ่งการกําหนดมาตรฐานการระบายน้ําทิ้งที่เขมงวดเกินไป ผูประกอบการหรือเจาของโรงงานบางแหงก็ไมอยากผลักภาระใหผูบริโภค โดยการขึ้นราคาสินคาเนื่องจากตนทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากคาใชจายในการบําบัดน้ําเสีย ซ่ึงอาจสงผลกระทบตอยอดขายสินคาได หรือทางผูประกอบการไมสามารถหาเทคโนโลยีการบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมที่จะทําใหไดมาตรฐานทั้งหมดได (Best Available Control Technology) ก็จะทําใหเกิดการละเมิดหรือฝาฝนมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงก็เปนลูกโซเกิดปญหาตามขอ 2 นั่นเอง เทานั้นยังไมพอปญหาที่ตามมาอีกก็คือ เมื่อมีการฝาฝนก็จะตองมีการเอาผิดตามกฎหมาย เชน มีการเปรียบเทียบปรับ ตรงจุดนี้เองที่อาจจะเปนชองทางในการประพฤติปฏิบัติในทางมิชอบของเจาพนักงานไดและก็จะเกิดปญหาใน ขอ 1 ตามมา คือเมื่อมาตรฐานนี้สามารถกอใหเกิดประโยชนแกผูเกี่ยวของไดหนวยงานนั้นๆ ก็ตองการที่จะรักษาผลประโยชนของตนเองโดยพยายามที่จะคงมาตรฐานของตนไวใหได และพยายามที่จะชี้วา มาตรฐานของตนมีสิทธิและอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย

4. การพัฒนาการใชวิดีทัศนเพื่อการเรียนการสอน4.1 ความหมายและคุณคาของวิดีทัศน

วิดีทัศน เดิมรูจักกันแพรหลายทั่วไปกับคําวา เทปโทรทัศน แถบบันทึกภาพ ภาพทัศน หรือที่เรามักเรียกทับศัพทจากภาษาตางประเทศวา วีดิโอ (Video) และใชกันอยาง แพรหลายมาโดยตลอดป พ.ศ. 2530 คณะกรรมการบัญญัติศัพทวิทยาศาสตรแหงราชบัณฑิตยสถาน เห็นวา คําในภาษาตางประเทศวา “Video” เปนเครื่องใชไฟฟาประเภทเดียวกับ “Television” ซ่ึงมีศัพทบัญญัติวา “โทรทัศน” แลว จึงสมควรบัญญัติคําวา Video ขึ้นใชเปนชื่อทางการในภาษาไทยดวยศัพทที่จะบัญญัติ ก็ควรมีคําวา “ทัศน” ประกอบอยูดวยเพ่ือใหเขาชุดกัน คณะกรรมการบัญญัติศัพทวิทยาศาสตร สรุปไดเปน “วิดีทัศน”

83

ประทิน คลายนาค (2541 : 36) กลาววา คําวา “วิดีทัศน” ตามความหมายทางเทคนิค จะหมายถึงการสงผานสัญญาณอิเล็กทรอนิคสของภาพและเสียง จากกลองหรือเครื่องบันทึกเทป วิดีทัศน ที่เราเรียกวา เครื่อง VTR ไปยังจอโทรทัศนหรือมอนิเตอร โดยไมจําเปนตองแพรภาพออกอากาศ กลาวอยางงายที่สุด วิดีทัศนก็คือ การใชกลองอิเล็กทรอนิคสถายภาพเคลื่อนไหวพรอมกับเสียงแลวสงเปนสัญญาณไฟฟาออกไปที่จอโทรทัศนนั่นเอง แตปจจุบันวิดีทัศน มีความหมายกวางมากจะรวมไปถึงเครื่องมือและอุปกรณโทรทัศนที่ใชกันตามบาน ตามสถาบันและหนวยงานตางๆ ทั้งยังรวมไปถึงอุปกรณตามสถานีวิทยุโทรทัศนอีกดวยเชนกัน เทปวิดีทัศน เครื่องบันทึกเทปวิดีทัศน กลอง โทรทัศน และเครื่องตัดตอ

นภาภรณ อัจฉริยะกุล และพิไลพรรณ ปุกหุต (2529 : 48) ไดกลาวถึงความหมายของวิดีทัศนวา วิดีทัศน หรือเรียกกันทั่วไปวา วิดีโอ (Video) ตามพจนานุกรมเวบเตอร อานวา “วิดีโอ” ภาษาลาติน แปลวา “ฉันเห็น” (I see) คําวา “วิดีโอ” นี้ ศัพทนุกรมสื่อสารมวลชนของคณะวารสารศาสตรและสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ใหความหมายวาสวนที่มองเห็น (Visual) หรือสวนที่เปนภาพ (Picture, image) ในรายการวิทยุโทรทัศนหรือจากการ ฉายภาพหรือภาพยนตร ซ่ึงแตกตางจากสวนของเสียง (Audio)

วาสนา ชาวหา (2533 : 202) กลาววา เทปโทรทัศน สามารถบันทึกไดทั้งภาพและเสียงพรอมกัน หลังการบันทึกสัญญาณแลวสามารถฉายดูไดทันที โดยไมตองผานกระบวนการลางเหมือนฟลมภาพยนตร และยังสามารถลบสัญญาณเดิมและบันทึกใหมไดหลายครั้ง เชนเดียวกับ การบันทึกเสียง เนื้อเทปและวัสดุที่เคลือบผิวเสนเทปคลายกันกับเทปบันทึกเสียง ดังนั้นการบันทึกสัญญาณภาพและเสียงลงเทป จึงอยูในรูปของสัญญาณแมเหล็กไฟฟาเชนเดียวกับเทปบันทึกเสียง สุพิทย กาญจนพันธ (2541 : 267 –268) กลาววา Video หรือวิดีทัศน เปนคําที่เรียกอุปกรณในระบบสื่อสารใชในการสรางสงและรับสารสนเทศเชิงทัศนาการ Video Tape เปนแถบบันทึกวิดีทัศน หมายถึง แถบแมเหล็กซึ่งใชบันทึกสัญญาณวิดีทัศนและสัญญาณเสียง

กิดานันท มลิทอง (2543 : 198) กลาววา ราชบัณฑิตยสถาน จะเรียกวาวิดีทัศน โดยแบงวัสดุ คือ แถบวิดีทัศน และอุปกรณเครื่องเลนวิดีทัศน แถบวีดิทัศนเปนวัสดุที่สามารถใชบันทึกภาพและเสียงไวไดพรอมกันในรูปแถบเทป ในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟา และสามารถลบแลวบันทึกใหมไดและแถบวิดีทัศน ทําดวยสารโพลีเอสเตอร บุญเที่ยง จุยเจริญ (2534 : 180) ไดนิยามความหมายของคํา วิดีทัศน หรือแถบ วิดีทัศน หมายถึงวัสดุที่บันทึกภาพหรือเก็บสัญญาณภาพ หรือขอมูลอ่ืนใดที่ตองการไวในรูปเสนแรงแมเหล็ก มีลักษณะคลายกับแถบบันทึกเสียงนั่นเอง เนื้อแถบวิดีทัศนทําดวยสาร Polyester บางแตเหนียว แข็งแรง ไมยืด ดานลางฉาบดวยสาร Antristatic Carbon เพื่อปองกันไฟฟาสถิตยที่จะเกิด

84

ขึ้น บนแถบเนื้อวิดีทัศน เชน เฟอรัสออกไซด โครเมียมออกไซด เหล็กออกไซด (Metal oxide) เปนตน เพื่อทําหนาที่เปนสัญญาณแมเหล็กไฟฟาที่ไดรับมาจากหัวแมเหล็กดานบนนี้จะถูกบรรจุไวในลอหรือในตลับอีกทอดหนึ่ง

สมบูรณ สงวนญาติ (2534 : 233) ไดใหคําจํากัดความของเทปวิดีทัศน (Video Tape) ไวในอีกทัศนะหนึ่งวา เทปวิดีทัศนสามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวลงในเสนเทปบันทึกภาพในรูปของสนามแมเหล็กโดยถายภาพทางโทรทัศน เปล่ียนภาพเปนสัญญาณทางไฟฟาแลวนําสัญญาณทางไฟฟาบันทึกไวในรูปของสนามแมเหล็กบนเสนเทปโดยใชเครื่องเทปบันทึกภาพ (Video Tape Recorder) เมื่อตองการจะดูภาพ เครื่องบันทึกภาพจะสามารถนําเอาภาพที่เก็บไวในรูปของสนามแมเหล็กบนเสนเทป เปลี่ยนกลับมาเปนสัญญาณทางไฟฟาสงตอไปยังเครื่องรับ โทรทัศนหรือมอนิเตอร จะเกิดภาพเคลื่อนไหวปรากฏบนจอเครื่องรับไดเปนภาพเคลื่อนไหว มีสีสวยงดงามเหมือนธรรมชาติ

จากความหมายที่ผูเชี่ยวชาญไดใหไวขางตน สรุปไดวา วีดิทัศน หมายถึง วัสดุที่ทําการบันทึกหรือเก็บสัญญาณภาพและสัญญาณเสียงไวในรูปเสนแรงแมเหล็กที่ทําใหเกิดภาพ เคล่ือนไหวปรากฏบนจอเครื่องรับไดเปนภาพเคลื่อนไหวที่มีความสวยงามเหมือนธรรมชาติ ทําให ผูดูเกิดการรับรูและเรียนรูได

คุณคาของวิดีทัศนวิดีทัศนไดเขามามีบทบาทในวงการสื่อ สถาบันการศึกษาตางๆ ไดใหมีความสนใจ

และนําวิดีทัศนมาใชมากขึ้นจึงนับวา วิดีทัศนการสอนมีคุณคาตอการศึกษาอยางยิ่ง พินิต วัณโณ (2524 :11) ไดกลาวถึงคุณคาของวิดีทัศนการสอนไว ดังนี้ 1. เปนเครื่องมือที่เขาถึงคนหมูมากไดพรอมๆ กันโดยสะดวกและประหยัด 2. เปนการผสมผสานที่ดีที่สุดระหวางวิทยุกับวิดีทัศน 3. เปนเครื่องมือที่เอาชนะอุปสรรคของการเรียนรูหลายประการ เพราะวิดีทัศน สามารถเสนอความคิด สรางทัศนคติ ใหขาวสารโดยที่ผูรับไมจําเปนตองมีความสามารถทางภาษาอยางสูงหรือตองอยูในเหตุการณดวย 4. เปนการขยายความสามารถสวนตัวของครูที่เกงๆ หรือผูที่มีความเชี่ยวชาญดานใด ดานหนึ่งโดยเฉพาะใหถึงผูรับไดมากๆ 5. มีความเปนปจจุบันทันดวน ทําใหผูรับสนใจมาก ยอมกอใหเกิดการเรียนรูสูง 6. สามารถนําอุปกรณอ่ืนๆ เชน ของจริง รูปภาพ ภาพยนตร ฯลฯ มาใชรวมกับเทป วิดีทัศนไดสะดวก และการใชอุปกรณหลายอยางรวมกันนี้ ผูเรียนยอมเกิดการเรียนรูไดดี

85

7. การวิจัยพบวา วิดีทัศนใชสอนหลักการ ความคิดรวบยอดและกฎเกณฑไดดีที่สุด

เกสินี โชติกเสถียร (2523 : 181) ไดกลาววาการนําวิดีทัศนมาใชในวงการศึกษายอมกอ ใหเกิดประโยชน ดังนี้ 1. สามารถที่จะนําการสอนของครู ซ่ึงอาจเปนการสอนหรือการสาธิต กลับมาฉายซํ้าใหนักเรียนดูไดหลายครั้ง 2. สามารถบันทึกรายการสอน เพื่อนํากลับมาใชกับชั้นเรียนหลายชั้น โดยไมตองเตรียมการสอนใหม ทําใหทุนแรงผูสอน

3. การบันทึกการสอนไวในเทปบันทึกภาพ สามารถที่จะเผยแพรหรือแลกเปลี่ยนรายการระหวางสถาบันการศึกษาไดทั้งในและนอกประเทศ

4. การบันทึกภาพการเรียนการสอนของครูในชั้นเรียน หรือกิจกรรมตางๆ ของนักเรียนและนํามาเปดทบทวนเพื่อวิเคราะหและประเมินผล จะไดปรับปรุงหรือเปรียบเทียบอันจะนํามาซึ่งการสอนที่ดีขึ้น

กิดานันท มลิทอง (2543 : 201) ไดกลาวถึงการใชวิดีทัศนเพื่อใหความรูในการศึกษาและใชในการสอนโดยตรงเปนการใหความสะดวกทั้งผูสอนและผูเรียน ทั้งนี้สามารถสงการสอนไปยังผูเรียนที่หางไกลได ผูสอนสามารถบันทึกการสอนของตนไวใชสอนไดอีก หรือจะขอยืมวิดีทัศนจากแหลงอื่นมาใชสอนในหองเรียน สามารถเลือกดูภาพที่ตองการโดยบังคับแถบเทปใหเล่ือนเดินหนา ถอยหลัง ดูภาพชาหรือหยุดดูเฉพาะภาพได แตภาพที่หยุดดูจะไมคมชัดเทาที่ควร ในเครื่องเลนบางชนิดยังปรับภาพใหขยายเพื่อดูไดใหญชัดเจนยิ่งขึ้น การบันทึกวิดีทัศนเพื่อใชเปน บทเรียนสามารถทําไดในหองสตูดิโอหรือภาพในหองปฎิบัติการ จุดเดนของวิดีทัศนและขอดีที่ใช วิดีทัศนในการเรียนการสอนจนสามารถตัดตอสวนที่ ไมตองการหรือเพิ่มเติมสวนใหมลงไปไดและสรุปเปนขอๆ ไดดังนี้

1. สามารถใชไดในสภาพการณที่ผูเรียนมีจํานวนมากและผูสอนมีจํานวนจํากัด ทั้งนี้เพราะสามารถแพรภาพและเสียงไปตามหองเรียนตางๆ และผูเรียนที่อยูตามบานได

2. เปนสื่อการสอนที่สามารถนําสื่อหลายอยางมาใชรวมกันไดโดยสะดวกใน รูปแบบของสื่อประสมเพื่อใหเกิดการเรียนรูที่สมบูรณ

3. เปนสื่อที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนไดโดยเชิญผูเชี่ยวชาญหรือผูที่มีความสามารถพิเศษในแตละแขนงวิชามาเปนผูสอนทางโทรทัศนได สามารถสาธิตไดอยางชัดเจน เพื่อใหผูเรียนเห็นสิ่งที่ตองการเนนไดโดยใชเทคนิคการถายภาพใกล (close - up) เพื่อขยายภาพหรือวัสดุใหผูเรียนเห็นทั่วถึงกันอยางชัดเจนชวยปรับปรุง เทคนิคการสอนของครูประจํา

86

และครูฝกสอน เปนสื่อที่สามารถนํารูปธรรมมาประกอบการสอนไดสะดวกรวดเร็ว ชวยใหผูเรียนไดรับความรูที่ทันสมัย วิดีทัศนการสอน จึงจัดวาเปนส่ือที่มีบทบาทและมีคุณคาตอการศึกษาอยางยิ่ง สามารถพัฒนาคุณภาพของผูเรียนในดานการเรียนรู ทั้งนี้เพราะวิดีทัศนเปนสื่อที่หาไดงาย ประหยัด สามารถเสนอเรื่องราวและทักษะการปฏิบัติไดเปนอยางดี

4.2 ประเภทของรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา วิภา อุตมฉันท (2538 : 5) กลาววา วิดีทัศนจัดเปนสื่อที่นํามาชวยสอน และชวยเสริมใหผูเรียนเพิ่มพูนประสบการณใหกวางขวาง ดังนี้ 1. ประสบการณในมิติแหงความเปนจริง (Reality) 2. ประสบการณในมิติแหงกาลเวลา (Time) 3. ประสบการณในมิติของสถานที่ (Space) กลาวไดวาวิดีทัศนชวยขยายโลกของผูเรียนใหกวางขวางขึ้นโดยผานประสบการณทางออม (Indirect Experience) ในที่สุดจะนําพาผูเรียนไปสูประสบการณทางตรง (Direct Experience) วสันต อติศัพท (2533 : 14) แบงขอบเขตของรายการวิดีทัศนออกไดเปน 2 ประเภทตามลักษณะของรายการ ไดแก 1. รายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา (Education Television : ETV) รายการประเภทนี้ มุงสงเสริมการใหความรูทั่วๆ ไปในดานตางๆ แกผูชม เชน สารคดี ดนตรี วรรณกรรม ภาษา วิทยาศาสตร เกษตรกรรม ฯลฯ 2. รายการวิดีทัศนเพื่อการสอน (Instructional Television : ITV) รายการประเภทนี้เนนในเรื่องของการเรียนการสอนแกผูชมบางกลุมโดยตรง ใชไดทั้งการสอนเนื้อหาทั้งหมดเปนหลักและการสอนเสริม มักจะเปนรายการที่ครอบคลุมกระบวนการเรียนการสอนที่สมบูรณตั้งแต วางวัตถุประสงค กระบวนการเรียนการสอน และการวัดผล ใชไดทั้งภายในสถานศึกษาโดยตรง หรือการศึกษาระบบเปด เชน รายการโทรทัศนของมหาวิทยาลัยรามคําแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิดีทัศนเพื่อการศึกษาเปนสื่อการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง ซ่ึงมีบทบาทมากในปจจุบันไดมีนักวิชาการไดใหความหมายไวหลายทานดวยกัน คือ

ไพโรจน ตีรณธนากุลและคณะ (2528 : 3) ไดแบงรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษาเปน 2 แบบ คือ

87

1. วิดีทัศนเพื่อการเรียนการสอนโดยตรง (Instructional Television – ITV) สามารถใชแทนครูในกรณีที่ครูไมเพียงพอ หรือมีผูเรียนจํานวนมาก หรือเปนการออกอากาศไปยังที่ไกลๆ นอกจากนั้นยังสามารถใชสอนควบคูกับครูเพื่อแสดงเรื่องราว ซ่ึงดีกวาการอธิบายหรือการสาธิตของครู รวมทั้งบางชวงที่จําเปนตองนําประสบการณภายนอกเขามาเสริมบทเรียน 2. วิดีทัศนเพื่อการศึกษาทั่วไป (Educational Television – ETV) ใชเพื่อเสริมความรูทั่วไปของบทเรียนหรือการเรียนเพื่อความรอบรู กิดานันท มลิทอง (2543 : 197) ไดกลาวถึงรายการโทรทัศนในขณะนี้ แบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ 1. รายการโทรทัศนเพื่อการคา (Commercial Television : CTV) เปนรายการเพื่อ ความบันเทิงและธุรกิจโฆษณา 2. รายการโทรทัศนเพื่อการศึกษา (Educational Television : ETV) เปนรายการเพื่อใหความรูทั่วไปในดานตางๆ เชน ความรูทางวิชาการ ประเพณีขาวสาร วัฒนธรรม ศาสนา ส่ิงแวดลอม ฯลฯ โดยไมจํากัดความรูของผูชมหรือเจาะจงเฉพาะบุคคลกลุมใดกลุมหนึ่ง เปนการใหความรูแกบุคคลทั่วไป 3. รายการโทรทัศนการสอน (Instructional Television : ITV) เปนรายการที่จัดขึ้นตามหลักสูตรทั้งการศึกษาในระบบและนอกระบบโรงเรียนเพื่อเสนอบทเรียนแกผูเรียนกลุมใดกลุมหนึ่งโดยเฉพาะ ผูเรียนอาจจะเรียนอยูในสถานศึกษาหรือเรียนอยูที่บานก็ไดในรูปแบบของการศึกษาทางไกล โทรทัศนการสอนนี้รวมการแพรภาพและเสียงทั้งในระบบวงจรเปดและระบบวงจรปด เชน การสอนของโรงเรียนวังไกลกังวลที่แพรสัญญาณทางสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม หรือการเรียนในหองเรียนโดยใชรายการการศึกษาและการสอนที่บันทึกไวใน วิดีทัศนเพื่อใหผูเรียนชมแลวบรรลุถึงจุดมุงหมายในการเรียน

4.3 รูปแบบรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา วิธีการดําเนินการเสนอรายการวิดีทัศนมีหลายรูปแบบ การเลือกรูปแบบแลวแต จุดประสงคของการทํารายการ การเลือกรูปแบบรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษาจะชวยเสริมรายการใหนาสนใจ มากยิ่งขึ้น รูปแบบรายการวิดีทัศนมีการนําเสนอหลากหลาย ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ (2523 : 731-736) ไดกลาวเกี่ยวกับรูปแบบวิดีทัศนวา รูปแบบ (Format) หมายถึง วิธีการและลีลาการเสนอเนื้อหาสาระและสิ่งที่อยูในรายการวิดีทัศน จําแนกรูปแบบไดหลายวิธีตามประเภทของรายการวิดีทัศน โดยเลือกเสนอรูปแบบที่ใชกันมาก 12 รูปแบบ ไดแก 1. รูปแบบพูดคนเดียว (Monoloque) เปนรายการที่มีผูปรากฏตัวพูดคุยกับผูชมเพียงคนเดียว สวนมากจะมีภาพประกอบเพื่อมิใหเห็นหนาผูพูดอยูตลอดเวลา

88

2. รูปแบบสนทนา (Dialoque) เปนรายการที่มีคนพูดคุยกันสองคน ทั้งสองคนมีผูถามและคูสนทนาแสดงความคิดเห็นประเด็นที่นําเสนอทั้งคูแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การสนทนาจะมีคน 2 – 3 คน ก็ได 3. รูปแบบอภิปราย (Discussion) เปนรายการที่ผูดําเนินการอภิปรายหนึ่งคนปอนประเด็นคําถามใหผูรวมอภิปรายตั้งแต 2 คนขึ้นไปแตไมควรเกิน 4 คน ผูอภิปรายแตละคนจะแสดงความคิดเห็นของตนเองตอประเด็นตางๆ 4. รูปแบบสัมภาษณ (Interview) เปนรายการที่มีผูสัมภาษณและผูถูกสัมภาษณ คือ วิทยากรมาสนทนากันโดยผูดําเนินการสัมภาษณจะสัมภาษณเกี่ยวกับเรื่องที่ตองการใหผูถูกสัมภาษณเลาใหฟง 5. รูปแบบเกมหรือตอบปญหา (Quiz Programme) เปนรายการที่จัดใหมีการ แขงขันระหวางคนหรือกลุมของผูที่มารวมรายการดวยการเลนเกมหรือตอบปญหา 6. รูปแบบสารคดี (Documentary Programme) เปนรายการที่เสนอเนื้อหาดวยภาพและเสียงบรรยายตลอดรายการโดยไมมีพิธีการ ซ่ึงแบงออกเปน 2 ประเภท 6.1 สารคดีเต็มรูป เปนการดําเนินเรื่องดวยภาพเนื้อหาตลอดรายการ 6.2 กึ่งสารคดีกึ่งพูดคนเดียว (Semi Documentary) เปนรายการที่มีผูดําเนินรายการทําหนาที่เดินเรื่องพูดคุยกับผูชมและใหเสียงบรรยายตลอดรายการ นอกนั้นเปนภาพแสดงเร่ืองราวหรือกระบวนการตามธรรมชาติ 7. รูปแบบละคร (Drama) เปนรายการที่เสนอเรื่องราวตางๆ ดวยการจําลอง สถานการณเปนละครมีการกําหนดผูแสดงจัดสรางฉาก การแตงตัวและแตงหนาใหสมจริงสมจัง และใชเทคนิคการละครเพื่อเสนอเรื่องราวใหเหมือนจริงมากที่สุด ในดานการศึกษาละครโทรทัศนอาจจําลองสถานการณชีวิตของคนในสังคม เพื่อสนองความรูในเชิงจิตวิทยา สังคมวิทยา การเมืองและการปกครอง 8. รูปแบบสารละคร (Docu – Drama) เปนรายการที่ผสมผสานรูปแบบสารคดีเขากับรูปแบบละครหรือการนําละครมาประกอบรายการที่เสนอเนื้อหาบางสวน มิใชเปนละครทั้ง รายการเพื่อใหการศึกษาความรูและแนวคิด 9. รูปแบบสาธิตและการทดลอง (Demonstration) เปนรายการที่เสนอวิธีการทําอะไรสักอยาง เพื่อใหผูชมไดแนวทางที่จะนําไปใชทําจริง 10. รูปแบบเพลงและดนตรี (Song and Music) มี 3 ลักษณะ คือ

- มีดนตรีนักรองมาแสดงสด- ใหนักเรียนมารองควบคูไปกับเสียงดนตรีที่บันทึกมาแลว

89

- ใหนักเรียนและนักดนตรีมาแสดง แตใชเสียงที่บันทึกมาแลว 11. รูปแบบการถายทอดสด (Live Programme) เปนรายการที่ถายทอดเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงในขณะนั้น 12. รูปแบบนิตยสาร (Magazine Programme) เปนรายการที่เสนอรายการหลายประเด็น หลายรสและหลายรูปแบบในรายการเดียวกัน เกศินี โชติเสถียร (2523 :131) กลาวถึงรูปแบบรายการที่ผลิตขึ้นเพื่อการศึกษา อาจจําแนกเปน 3 กลุมใหญๆ คือ 1. รูปแบบรายการผลิตขึ้นเพื่อสอน (Teaching Format) เปนกลุมรายการที่ใชเพื่อ การเรียนการสอนตามหลักสูตร รูปแบบรายการมีบทบาทในเชิงสอนมากกวาจูงใจ การผลิตรายการจะงายกวาแบบอื่นๆ 2. รูปแบบรายการเพื่อการเรียน (Learning Format) เปนกลุมรายการที่มุงใชเพื่อการเรียนการสอนตามหลักสูตรแบบกลุมแรกก็ได หรืออาจใชเพื่อการศึกษาทั่วไปก็ได แตเปน รายการที่ตองสรางแรงจูงใจแกผูชมมากขึ้นตองใหผูชมสนใจอยากติดตาม โดยผูชมไมมีความรูสึก วารายการที่ผลิตมุงมาสอนตน แตกลับรูสึกวาเปนรายการดีมีประโยชน นาเรียน นารู และเต็มใจชมโดยตลอดการผลิตรายการในรูปแบบนี้ตองการความประณีตและเทคนิควิธีที่มีประสิทธิภาพสูง 3. รูปแบบรายการเพื่อเผยแพรขาวสาร (Information Format) เปนกลุมรายการที่มุงใชเปนสื่อสนเทศแกประชาชนทั่วไป เพื่อสนองความสนใจใครรู เพื่อความทันตอเหตุการณและสามารถปรับตัวเองเขากับความเจริญกาวหนาของสังคมไดอยางถูกตองและเหมาะสม รายการใน รูปแบบนี้ตองสรางแรงจูงใจใหแกผูชมมากที่สุด การผลิตจําตองประณีตและใชเทคนิค วิธีที่มี ประสิทธิภาพสูงสุดดวย มิฉะนั้นผูชมจะหันไปหารายการวิทยุโทรทัศนประเภทบันเทิงโดยงาย การนําสิ่งที่จําเปนมาแยกแยะใหเห็นถึงสาเหตุและสรุปใหได คนวิเคราะหตองเกงและจูงใจกลุม เปาหมายไดจึงนาสนใจ วิธีการนี้ใชไดดีมากในรายการโทรทัศนการศึกษาแตควรจะเปนสวนหนึ่งของรายการมากกวาทําทั้งรายการ

ทั้งนี้โดยสรุปแลวผูกําหนดรูปแบบรายการที่แทจริงควรเปนกลุมเปาหมาย รายการวิดีทัศนการศึกษาสามารถระบุกลุมเปาหมายไดชัดเจนวาคือใครมีสถานการณอยางไรและมี วัตถุประสงคในการชมเพื่ออะไร ในการกําหนดรูปแบบรายการยอมมีความยุงยากนอยกวารายการทั่วไป รูปแบบรายการที่นาสนใจในการกําหนดเพื่อใชในการศึกษา คือรูปแบบละคร เพราะลักษณะการใหการศึกษาอยางละครเปนการใหการศึกษาอยางมีชีวิต การเรียนรูทางปญญา ผสมกับความบันเทิงจะทําใหเกิดการเรียนรูที่ดีและไดนาน

90

4.4 การใชวีดิทัศนในหองเรียนคาเบิ้ล ราลฟ (Ralph 1970 : 91 – 93) ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับการติดตั้งเครื่องรับ

วิดีทัศนไว โดยแบงเปนสวนตางๆ ดังนี้1. ระยะการชมวิดีทัศน สําหรับจอภาพขนาด 21 นิ้ว และ 23 นิ้วนั้น ผูที่นั่งชมใน

สวนหนาสุดควรนั่งหางจากจอภาพประมาณ 20 ฟุต 2. ความสูงของจอภาพ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวาผูเรียนนั่งชมโดยใชเกาอ้ีหรือโตะเรียน ในกรณีที่ผูชมนั่งชมภาพโดยใชเกาอ้ีนั้น ความสูงของจอภาพโดยวัดจากพื้นหองไปถึงจอภาพ ควรมีความสูง 7 ฟุตจากสายตาผูชมถึงจอภาพควรมีความสูงประมาณ 3 ฟุต และชวงหางระหวางแถวของผูชมหางกันประมาณ 3 ฟุต และในกรณีที่ผูชมนั่งชมภาพโดยใชโตะเรียนนั้น ความสูงของจอภาพโดยวัดจากพื้นหองไปถึงจอภาพควรมีความสูง 5 ฟุต 6 นิ้ว จากสายตาผูชมถึงจอภาพควรมีความสูงประมาณ 1 ฟุต 6 นิ้วและชวงหางระหวางแถวของผูชมหางกันประมาณ 5 ฟุต 3. มุมของการชมภาพ จะใชระดับสายตาของผูชมเปนศูนยกลางไปยังจอภาพในแนวราบนั้นควรเปนมุม 30 องศา 4. ขนาดของหองเรียน หากความกวางของหอง 25 ฟุตและความยาว 30 ฟุต ทําการจัดตั้งเครื่องรับวิดีทัศนไวบริเวณมุมหองสวนหนา ผูชมที่นั่งสวนขางหองควรทํามุมจากระดับสายตาไปถึงจอภาพประมาณ 45 องศา เชนเดียวกับผลรวมของทั้งสองขางตองไดประมาณ 90 องศา ที่สําคัญควรติดตั้งเครื่องรับวีดิทัศนไวหนาหองเรียนดานเดียวกับหนาตางหรือหลังเขาหาแสงเพื่อกันมิใหแสงจากหนาตางสองไปที่จอเครื่องรับและสะทอนเขาตาผูชม ทําใหผูชมเห็นแสงสะทอนจากจอแทนการเห็นภาพ ดังนั้นการนําวิดีทัศนมาใชในหองเรียนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ส่ิงสําคัญประการหนึ่งที่ควรคํานึงถึงก็คือ การติดตั้งเครื่องรับวีดิทัศนภายในหองเรียนเพื่อลดอุปสรรคในการสื่อสารแกผูเรียน

4.5 การผลิตรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษาในการผลิตรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษาใหมีคุณภาพนั้นสิ่งสําคัญที่ควรคํานึงก็คือ

จะตองมีการเตรียมการที่รอบคอบกอนที่ทําการผลิตเทปวิดีทัศนจริงเพื่อจะไดเทปวิดีทัศนทีมี ประสิทธิภาพ สอดคลองกับ พินิต วัณโณ (2524 : 19 –20) ไดกลาวไววา ขบวนการผลิตบทเรียน วิดีทัศนตามหลักสูตรนั้นจะตองรวมมือกันอยางใกลชิดระหวางฝายผลิตหรือฝายเทคนิคกับฝาย หลักสูตรหรือวิชาการ ในขั้นตนหรือการวางแผนงานนั้น ทางฝายหลักสูตรจะตองวิเคราะหและกําหนดสิ่งตอไปนี้

91

1. กําหนดจุดมุงหมายที่แนนอนของบทเรียนที่จะทําใหชัดเจนวา เมื่อนักเรียนเรียนจบแลว นักเรียนจะไดอะไรหรือทําอะไรบางตามเปาหมาย

2. กําหนดเนื้อหาวิชาของบทเรียนวาครอบคลุมสิ่งใดและจะตอบสนอง จุดมุงหมายของบทเรียนเพียงใดและจะเรียบเรียงเนื้อหาวิชาในลักษณะใด จึงพรอมที่จะถายทอดออกมาเปนภาพและเสียงหรือรายการบนจอโทรทัศนได

3. วิเคราะหผูเรียนในกลุมและวัยที่จะเปนผูรับบทเรียนวิดีทัศน เชน วัย ความสามารถ ความรูพิเศษ ความสนใจ พื้นฐานทางวัฒนธรรมและอื่นๆ อันเปนประโยชนตอการผลิตบทเรียนใหเหมาะสม

4. การเลือก ครูจะตองทําอยางพิถีพิถัน โดยปกติเรามักจะเลือกครูที่สอนเกง แตก็ตองระวังในเรื่องนี้ เพราะครูที่สอนเกงนั้นบางครั้งอาจสอนไดไมดีเทากับการสอนหนาหอง นอกจากนั้นบุคลิกลักษณะของครูตองเหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาที่สอนดวย การคัดเลือกครูที่จะสอนบทเรียนทางเทปวิดีทัศน จึงเปนสิ่งสําคัญยิ่ง เมื่อกําหนด จุดมุงหมาย เนื้อหา ผูเรียน และ คัดเลือกครูผูสอนแลวจะตองดําเนินการตอไปนี้

1. กําหนดขั้นตอนของการสอน 2. จัดเตรียมอุปกรณสําหรับบทเรียนใหครบถวน

3. เตรียมเอกสารสําหรับบทเรียนในการเขียนบทวิดีทัศนจะตองมีการตรวจสอบความถูกตองและแนนอน เพื่อ

สะดวกในการผลิตรายการจริง และความถูกตองในเชิงวิชาการ เพื่อใหไดบทเรียนวิดีทัศนที่มี คุณภาพดี ควรมีการซอมสอนเสียกอน เมื่อมั่นใจแลวจึงคอยบันทึกเทปวิดีทัศน และเมื่อบันทึกเสร็จควรจะประเมินผล เพื่อแกไขในสวนที่บกพรอง จากนั้นจึงนําไปทดสอบประสิทธิภาพใน สถานการณเรียนของผูเรียน เปนการทดสอบภาคสนามเพื่อประเมินวา บทเรียนที่ผลิตขึ้นนั้นมี คุณภาพเพียงใดจากนั้นจึงเก็บบทเรียนไวเปนตนฉบับสําหรับการบันทึกซ้ํา (Duplicate) เปนเทป วิดีทัศน (Video Tape) สําหรับถายทอดตอไป

วิธีการเขียนบทถายทําวิดีทัศน การเขียนบทถายทําวิดีทัศน เปนการชี้แจงขั้นตอนการผลิตวิดีทัศนในรายละเอียด

ทั้งสวนภาพ (Video) และเสียง (Audio) ซ่ึงขั้นนี้เปนขั้นที่ตองใชการสรางจินตนาการและ ประสบการณของผูเขียนบทเปนอยางมาก ชิน คลายปาน (2528 : 31) ไดเสนอขั้นตอนในการเขียนบทถายทําวิดีทัศนไว ดังนี้

1. รวบรวมขอมูลและทรัพยากรที่จะนํามาทํารายการ2. คัดเลือกเนื้อหาใหตรงตามวัตถุประสงคของรายการ

92

3. กําหนดรายละเอียดในบทวีดิทัศนตามความสามารถของอุปกรณที่มีอยูรวมทั้งงบประมาณและเจาหนาที่ที่จะทําการถายทํา

4. ผูเขียนบทจะตองมีความรูสึกวาผูชมตองการอะไรและจะตองสนองตอบ อยางไร

5. ความตอเนื่องของเนื้อหาเปนสิ่งจําเปนที่ทําใหผูชมคอยติดตามรายการ6. ภาพและคําบรรยาย จะตองมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน

7. ขอความที่ใชเขียนบทถายทําวิดีทัศนจะตองใชประโยคงายๆ ส้ันๆ แตส่ือ ความหมายไดดีและเขียนใหอานงาย

8. แทรกขอคิดเห็นเพื่อใหผูชมมีสวนรวม9. บทวิดีทัศนจะตองดึงดูดความสนใจและดึงดูดใจใหผูชมติดตามรายการการวางแผนและขั้นตอนการผลิตรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา

ในการผลิตเทปวิดีทัศนเพื่อการศึกษานั้น ควรจะไดทําการผลิตอยางมีระบบเริ่มจากขั้นตอนการผลิตรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษา จําเปนตองอาศัยความรวมมือระหวางฝายผลิตหรือฝายเทคนิคกับฝายวิชาการ และตองปฏิบัติตามขั้นตอนจึงจะประสบผลสําเร็จดังที่มุงหวังไว ดังที่ ไพโรจน ตีรณธนากุล และคณะ (2528 : 76-78) และธวัชชัย สันคติประภา (2528 : 13-19) ไดเสนอขั้นตอนการผลิตรายการวิดีทัศนไว 13 ขั้นตอน ดังนี้

1. การวางแผน (Planning) เปนขั้นที่ผูผลิตรายการจะตองคํานึงถึงปจจัยตางๆ ในการผลิตรายการ เชน เนื้อหา เวลา คาใชจาย ผูรวมงาน และสิ่งตอไปนี้ดวย 1.1 กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายในการผลิตใหชัดเจน 1.2 กําหนดหัวเร่ืองใหกระชับรัดกุม 1.3 กําหนดบุคคลเปาหมายวาเปนใครบาง 1.4 มีการประชุมรวมกันของเจาหนาที่ฝายตางๆ ทั้งนี้เพื่อความเขาใจรวมกันในวัตถุประสงค และเปาหมายของรายการเทปวิดีทัศนคร้ังนี้ นอกจากนี้เจาหนาที่ทุกคนจะตองทราบถึงหนาที่รับผิดชอบของตนอยางชัดเจน

1.5 กําหนดตารางการดําเนินงานวา ในแตละขั้นตอนใชเวลาเทาใด เชน ใชเวลาในการผลิตรายการนี้กี่วัน เร่ิมตนและสิ้นสุดเมื่อใด รายการนี้จะใหนําเสนอเมื่อใด

2. รวบรวมเอกสารและงานการวิจัย (Collection of Materials and Research) ในขั้นนี้เปนขั้นที่ผูผลิตรายการรวบรวมตํารา เอกสาร รายงานการวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของและอาจเปนภาพยนตร สไลดที่เกี่ยวของกับเนื้อหา เพื่อนํามาประกอบในการผลิตเทปวิดีทัศนชุดดังกลาวได

93

3. คัดเลือกเอกสารชุดตางๆ (Selection of Material) ตําราเอกสาร รายงานการวิจัยตางๆ ตลอดจนภาพยนตรและสไลดที่รวบรวมมาจากขั้นที่ 2 แลวนั้น ในขั้นนี้จะเปนขั้นนําเอกสารตางๆ ดังกลาวมาคัดเลือกเอาเฉพาะที่เกี่ยวของและจําเปนจะตองใชในการเขียนบท สวนที่ไม เกี่ยวของก็แยกไวตางหาก แตอยางไรก็ไมควรทิ้งไป หรือสงคืน ควรเก็บไวกอน หากมีความจําเปนตองใชจะไดสามารถหยิบใชไดทันที

4. การเขียนบทรายการเทปวิดีทัศน (Scenario Writing) บท (Scenario) หรือที่เรียก ส้ันๆ วา Script นั้น หมายถึง เอกสารที่เขียนขึ้นเพื่อใชในการถายทําวิดีทัศน ซ่ึงประกอบดวย ถอยคํา ลักษณะและบทบาทของภาพและเสียง โดยทั้งสามสวนนี้ จะแสดงความสัมพันธซ่ึงกันและกัน เอกสารตางๆ ตลอดจนภาพยนตรหรือสไลด ที่ไดรับการคัดเลือกมานี้ ผูเขียนจะนําส่ิงเหลานี้มากําหนดเปนภาพและเสียง เปนเรื่องราวตามที่ไดกําหนดไวในวัตถุประสงค

ดังนั้นการเขียนบทถายทําวิดีทัศน จึงเปนการชี้แจงขั้นตอนการผลิตวิดีทัศนในรายละเอียด ทั้งสวนภาพ (Video) และเสียง (Audio) ซ่ึงขั้นนี้เปนขั้นที่ตองใชการสรางจินตนาการและประสบการณของผูเขียนบทเปนอยางมาก

5. การเตรียมการเพื่อบันทึกรายการเทปวิดีทัศน (Preparation for Recording) ในขั้นนี้เปนขั้นที่เราตองเตรียมเพื่อการบันทึกภาพ ตามตารางที่ไดกําหนดไว วัสดุและอุปกรณจะใช มีอะไรบาง ใครเปนผูรับผิดชอบบาง และจะถายทําที่ไหน จะถายทําในหองสตูดิโอ (Studio) หรือนอกสถานที่ หากมีการถายทํานอกสถานที่ ก็ควรจะมีผูไปดูสถานที่ที่จะถายทํา และนัดแนะกับผูที่เกี่ยวของในการแสดงประกอบฉาก หรือมีหนาที่เกี่ยวของในการดําเนินงาน วัสดุอุปกรณที่จะตองใชในการผลิต รายการเทปวิดีทัศนซ่ึงจะตองตระเตรียม ไดแก

1. กลองวีดิทัศน (Video camera) 2. เครื่องบันทึกเทปวีดิทัศน (Video Tape Recorder) 3. เทปวีดิทัศน (Video Tape) 4. เครื่องบันทึกเสียง (Tape Recorder) 5. อุปกรณแสงไฟ (Lighting Equipment) 6. เทปเสียง (Audio Tape) 7. จอโทรทัศน (T.V. Monitor) 8. ไมโครโฟน (Microphone)

9. ขาตั้งกลอง (Tripod)10. สายและที่ตอตางๆ (Cables and connections)

94

6. การเตรียมการเกี่ยวกับศิลปกรรม (Art Work) ในการผลิตรายการเทปวิดีทัศนจําเปนตองมีงานเกี่ยวกับศิลปกรรม เชน ช่ือเรื่อง ช่ือผูรวมผลิตรายการ ภาพวาด วัสดุกราฟก แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ ตลอดจนสิ่งประกอบฉากตางๆ

7. การเตรียมอุปกรณและวัสดุสําหรับใชในการสาธิต (Equipment and Material for Demonstration) ในกรณีที่มีการสาธิตหรือมีการใชวัสดุอุปกรณแสดงในเนื้อหานั้น ผูผลิตควรคํานึงวามีวัสดุอุปกรณอะไรบาง ที่ตองใชประกอบการสาธิต จะหาวัสดุอุปกรณเหลานั้นไดมาจาก ที่ไหนบาง ควรเตรียมวัสดุอุปกรณเหลานั้นใหเรียบรอยกอนที่จะดําเนินการถายทํา

8. การบันทึกภาพ (Video Recording) เมื่อทําส่ิงทุกอยางเรียบรอยแลว ก็ถึงเวลาที่ตองบันทึกภาพตางๆ ตามเนื้อหาในบทวิดีทัศน

9. การตัดตอ (Editing) หลังจากที่บันทึกภาพไดตามตองการแลว ใหนําภาพตางๆ มาตัดตอเปนเรื่องราวตามที่ไดเขียน Script ไว โดยใชเครื่องตัดตอภาพ (Editing Machine)

10. การบันทึกเสียง (Sound Recording) ในขั้นนี้เปนขั้นที่เสียงตางๆ จะถูกบันทึก เขาไปในเทปวิดีทัศนตามบทนั้น เชน เสียงคําบรรยาย ดนตรีประกอบ และเสียงอ่ืนๆ

11. การทดลองฉาย (Preview) เมื่อเทปวิดีทัศนไดถูกตัดตอและบันทึกเสียงตางๆ ตามบทที่กําหนดไวแลว เราก็นําเทปวิดีทัศนดังกลาวมาเสนอรายการ โดยใหผูรวมรายการฝายตางๆ ไดชม พรอมกันทั้งนี้เพื่อเปนการตรวจสอบ และวิจารณอีกครั้งหนึ่งเพื่อปรับปรุงแกไขขอบกพรอง

12. การนําไปใช (Utilization of program) เมื่อเทปวิดีทัศนดังกลาวไดเสนอใหบุคคลที่ เกี่ยวของ ตลอดจนกลุมตัวอยางของบุคคลเปาหมายชม และแกไขเรียบรอยแลว เราก็นําเอาเทปวิดีทัศนดังกลาวไปเสนอกับกลุมเปาหมายซึ่งอาจจะเปนการนําเสนอในหองเรียนหรือหอง อบรม

13. การประเมินผล (Evaluation) เมื่อฉายเทปวิดีทัศนดังกลาวแลว ก็ควรมีการประเมินเพื่อทําใหทราบวา กลุมเปาหมายมีความเขาใจในเนื้อหาหรือไม อยางไร นอกจากนั้นกลุมเปาหมายมีความคิดอยางไรเกี่ยวกับการถายทํา การแสดง การสาธิต (ถามี) การดําเนินเนื้อหา การ ตัดตอ ศิลปกรรม ดนตรี และเสียงประกอบ ซ่ึงผลจากการประเมินนี้ ผูผลิตก็สามารถนําไปใช ปรับปรุงรายการเทปวิดีทัศนและอาจใชเปนแนวทางในการผลิตเทปวิดีทัศนในเรื่องอื่นๆ ตอไป

ดังนั้นพอสรุปไดวา การผลิตรายการวิดีทัศน ควรจะมีการผลิตอยางมีระบบเปนลําดับขั้นตอน ซ่ึงบางขั้นตอนก็จําเปนตองอาศัยฝายอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของในสวนที่มีความจําเปน จึงพอที่จะสรุปขั้นตอนการผลิตรายการไวดังนี้

1. ขั้นวางแผน (Planing) เปนขั้นที่ตองคํานึงถึงปจจัยในดานตางๆ เชน การกําหนดวัตถุประสงค เนื้อหา เวลา คาใชจาย และผูรวมงาน

95

2. ขั้นรวบรวมเอกสารและงานวิจัย (Collection of Materials and Research) เปนขั้นรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อนํามาประกอบในการผลิต

3. ขั้นเขียนบทรายการเทปวิดีทัศน (Scenario Writer) เปนขั้นที่เขียนบทเทป วิดีทัศนเพื่อถายทําจริงใหตรงกับจุดมุงหมาย มีการชี้แจงขั้นตอนการผลิตที่ละเอียดทุกๆ สวน

4. ขั้นเตรียมการบันทึก (Preparation for Video and Sound Recording) เปนขั้นเตรียมการบันทึกตามที่ไดเตรียมไวตามตารางที่กําหนด

5. ขั้นบันทึกภาพและเสียง (Video and Sound Recording) เปนขั้นที่บันทึกภาพและเสียง ใหเปนไปตามบทเทปวิดีทัศน

6. ขั้นตัดตอ (Editing) เปนขั้นนําสัญญาณภาพและเสียงเขามาตัดตอ เพื่อใหตรงกับจุดมุงหมายที่วางไว 7. ขั้นทดลองฉาย (Preview) เปนขั้นที่นําเทปวิดีทัศนมาเสนอใหฝายตางๆ ชมพรอมๆ กันเพื่อตรวจสอบและวิจารณ

8. ขั้นพัฒนา (Develop) เปนขั้นที่นําผลจากการทดลองฉายมาปรับปรุงพัฒนาใหมี ประสิทธิภาพ

9. ขั้นนําไปใช (Utilization of Program) เปนขั้นที่นําผลผลิตไปใชกับกลุม เปาหมาย

10. ขั้นประเมินผล (Evaluation) เปนขั้นที่ตองทําการประเมินทุกขั้นตอนของการผลิตและการนําไปใชกับกลุมเปาหมาย

4.6 การประเมินหาประสิทธิภาพของสื่อการสอน การหาประสิทธิภาพของสื่อการสอน มีวิธีการทดสอบตามขั้นตอนของ ชัยยงค พรหมวงศ (2521 : 139) ดังนี้

1. การทดสอบประสิทธิภาพแบบหนึ่งตอหนึ่ง 1 : 1 นําส่ือการสอนไปทดลองใชกับนักเรียน 3 คน โดยทดลองกับนักเรียนที่มีระดับการเรียนรู เกง ปานกลาง และออน โดยสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของของผูเรียนระหวางเรียน สัมภาษณหรือใหผูเรียนเขียนวิจารณส่ือการสอนนั้น เพื่อปรับปรุงและพัฒนาสื่อ ในขั้นนี้ E จะมีคาประมาณ 60

2. การทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุมเล็ก 1 : 10 ลักษณะกลุมยอย นําส่ือการสอนไปใชกับนักเรียน 9 คน โดยทดลองกับนักเรียนที่มีระดับการเรียนรูแบบคละผูเรียนกลุมเกง ปานกลาง ออน นําส่ือการสอนไปปรับปรุง และพัฒนา ในขั้นนี้ E จะมีคาประมาณ 70

3. การทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุมใหญ 1 : 100 หรือภาคสนาม นําส่ือการสอนไปทดลองใชกับนักเรียนหนึ่งหองเรียนประมาณ 20 – 40 คน คํานวณหาประสิทธิภาพแลวทํา

96

การปรับปรุงนําผลการทดสอบผลลัพธที่ไดกับเกณฑที่ตั้งไว หากต่ํากวาเกณฑไมเกิน 2.5% ให ยอมรับได หากแตกตางมากตองปรับปรุงใหม ทางการเรียนตามเกณฑมาตรฐานในขั้นนี้ E จะไดคาประมาณ 80

การพัฒนาชุดการสอนนั้นผูวิจัยจะใชวิธีการหาประสิทธิภาพของสื่อการสอน ดวยสูตร E ดังนี้

E =

สัญลักษณของสูตรการคํานวณหาคาประสิทธิภาพของรายการวิดีทัศน มีความหมายดังนี้

E แทน ประสิทธิภาพของสื่อรายการวิดีทัศนในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูเรียน

ΣX แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน (Post - Test) N แทน จํานวนนักเรียน A แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน (Post - Test)

ในกรณีหาประสิทธิภาพรายการวิดีทัศนที่สรางขึ้น ไมถึงเกณฑที่กําหนดเนื่องจากตัวแปรที่ควบคุมไมได เชน สภาพหองเรียน ความพรอมของผูเรียน ความชํานาญในการใชรายการ วิดีทัศนของครู ส่ิงเหลานี้อาจอนุโลมใหมีระดับประสิทธิภาพของรายการวิดีทัศนไดต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไวประมาณรอยละ 2.5 – 5 นั่นคือประสิทธิภาพของรายการวิดีทัศนไมควรต่ํากวา รอยละ 5 โดยปกติและจะกําหนดไวที่ รอยละ 2.5 เชน เราตั้งเกณฑประสิทธิภาพไว 80 เมื่อทดลองกับกลุมใหญหรือภาคสนามแลว รายการวิดีทัศนนี้มีประสิทธิภาพ 77.50 เราก็สามารถยอมรับไดวารายการ วิดีทัศนที่สรางขึ้นมานั้นมีประสิทธิภาพ การตั้งเกณฑนิยมตั้งไว 90 สําหรับเนื้อหาวิชาที่เปนความจําและไมต่ํากวา 80 ในเนื้อหาวิชาทักษะ สําหรับการศึกษาครั้งนี้กําหนดเกณฑไวที่ 80

การยอมรับประสิทธิภาพของรายการวิดทัศนที่สรางขึ้น ชัยยงค พรหมวงศ (2521 : 52) เสนอไว 3 ระดับ คือ

1. “สูงกวาเกณฑ” เมื่อหาประสิทธิภาพของรายการวิดีทัศนสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว มีคาเกินรอยละ 2.5 ขึ้นไป

100XAN

x∑

97

2. “เทาเกณฑ” เมื่อหาประสิทธิภาพของรายการวิดีทัศนเทากันหรือ “สูงกวาเกณฑ” ที่ตั้งไวไมเกินรอยละ 2.5

3. “ต่ํากวาเกณฑ” มื่อหาประสิทธิภาพของรายการวิดีทัศนต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไว แตไมต่ํากวารอยละ 2.5 “ถือวายังมีประสิทธิภาพที่ยอมรับได”

5. งานวิจัยที่เก่ียวของ 5.1 งานวิจัยภายในประเทศ นับแต ป พ.ศ. 2511 เปนตนมาไดมีนักการศึกษา และนักเทคโนโลยีทางการศึกษาหลายทานไดทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับรายการวิดีทัศนเพื่อการศึกษาเปนจํานวนมากพอสมควร ทั้งงานวิจัยในรูปแบบของการสํารวจความตองการ ทัศนคติ ความคิดเห็นเกี่ยวกับการผลิตรายการวิดีทัศน เทปวิดีทัศน ทั้งในรูปแบบการดําเนินรายการ เนื้อหา ระยะเวลาในการนําเสนอ ฯลฯ ที่เหมาะสมกับการนําไปใชในวงการการศึกษา โดยทําการสํารวจทั้งจากนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ครูผูปฏิบัติการสอน นักเรียน กลุมผูชมรายการที่เปนกลุมเปาหมาย และงานวิจัยในเชิงทดลองประสิทธิภาพของรายการโทรทัศน วิดีทัศนที่ผลิตขึ้นมาวาสงผลใหผูชม ผูเรียนที่เปนกลุมเปาหมายเกิดการพัฒนาคุณลักษณะตางๆ ที่เปนเปาหมายอยางไรและมีการพัฒนาเทคนิครูปแบบใหมๆ ในการผลิตรายการ เพื่อใหรายการโทรทัศน วิดีทัศนที่มีความเหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน มีงานวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศที่แสดงถึงความตองการและความสําเร็จของการจัดการเรียนการสอนที่ใชเทปวิดีทัศนเปนสื่อ ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนนั้นไมวาจะเปนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทัศนคติตอการเรียนการสอน ความคงทนในการเรียนรูและการหาประสิทธิภาพของส่ือวิดีทัศน อาทิ เชน

ธาริณี วีระสกุลทัศน (2528) ไดทําการวิจัยเร่ือง การใชวิดีโอเทปเพื่อการสอนซอมเสริมวิชาวิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพ เร่ืองรังสีที่มองไมเห็น โดยทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2527 โรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม จํานวน 30 คน ผลการวิจัยปรากฏวา คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนซอมเสริมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิต และการสอนซอมเสริมโดยใชวีดิทัศนไดผลดีกวาการสอนซอมเสริมตามปกติ

ไพศาล ชวยหนู (2528) ไดสรุปผลการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้น ม.2 โดยใชวิดีโอเทปสาธิตการทดลองกับนักเรียนทดลองจริง ผลการวิจัยปรากฏวา นักเรียนที่เรียนทางวิดีโอเทป สาธิตการทดลองใหผลสูงกวาการเรียนโดยการทดลองจริง

98

สุภักดิ์ วิศวธีรานนท (2529) ไดสรุปผลการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนซอมเสริมวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม โดยใชบทเรียนวิดีโอเทปแบบโปรแกรมสอนกับการสอนกับครูปกติ ผลการวิจัยปรากฏวากลุมที่เรียนโดยใชบทเรียนวิดีโอเทปแบบโปรแกรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมที่เรียนกับครูสอนตามปกติ

ลัคนา ศรีสวัสดิ์ (2530) ทําการวิจัยเร่ือง บทบาทของวิดีทัศน สภาพปจจุบันและแนวโนมในอนาคตป พ.ศ. 2530-2540 การศึกษาวิจัยนี้ใชเทคนิคเดลฟาย ผลการวิจัยพบวาในอนาคตแนวโนมบทบาทโดยทั่วๆ ไปของวีดิทัศนจะชวยใหโอกาสสําหรับการศึกษาและการแสวงหาความรูมากขึ้น ส่ือวิดีทัศนจะมีบทบาทในการเสนอขาวสาร ขอมูลหรือขอเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ ไมเฉพาะของรัฐบาลและเอกชนทั่วไปเทานั้น แตเพื่อกระจายขาวสารเปนการบริการสาธารณชนใหสมาชิกในสังคมทราบอยางแพรหลายมากขึ้น

พงศพิพัฒน หมูสิริโรจน (2531) ไดทําการศึกษาการหาประสิทธิภาพของวิดีทัศนเร่ือง “อุบัติเหตุทางสัญจร” ในกลุมวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิตชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยผลิตเปนรายการวิดีทัศน แลวนําไปทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผลการทดลองพบวาคะแนนที่ไดหลังดูรายการวีดิทัศนสูงกวาคะแนนกอนดูรายการวิดีทัศนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสรุปวาการเรียนดวยการชมรายการวิดีทัศนทําใหผลการเรียนสูงขึ้น

สุทธิรา แกวมณี (2536) ไดศึกษาประสิทธิภาพเทปวิดีทัศนการสอนวิชานาฎศิลป เร่ืองรําวงมาตรฐาน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชานาฎศิลปของนักเรียนที่สอนโดยใชเทปวิดีทัศนกับการสอนปกติตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เมธี เจริญสุข (2538) ไดพัฒนารายการวิดีทัศนโดยใชอุปกรณชุดถายทํา แบบกลองเดี่ยวแบบเบ็ดเสร็จ พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองขยายพันธุพืชโดยการตอนกิ่งและทาบกิ่งในกลุมวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิตสูงกวาการสอนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

สุธัญญา ภูรัตนาพิชญ (2539) ไดศึกษาการพัฒนารายการวิดีทัศนการสอนชุดการลางฟลมและการอัดขยายภาพขาว-ดํา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ผลการวิจัยปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของกลุมทดลองแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01

สุรพงษ โลหิตพินทุ (2539) ทําการวิจัยเร่ือง การใชวิดีทัศนแบบประหยัดสอนวิชาสังคมศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจังหวัดนครปฐม โดยนําวิดีทัศน เร่ืองการอนุรักษธรรมชาติและปา รายการสารคดีสองโลก ที่ผานการตัดตอแลวมาวิจัยเชิงทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1โรงเรียนวัดเกาะวังไทร โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

99

ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน และแบบวัดความตระหนัก ผลการวิจัยปรากฏวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01

พงศพันธ อันตะริกานนท (2539) ไดพัฒนาบทเรียนวิดีทัศนดวยตนเอง สําหรับการฝกอบรมบุคลากรทางสาธารณสุขในการเขียนบทวิดีทัศนเบื้องตนผลการทดลองพบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนบทเรียนวิดีทัศนดวยตนเอง เร่ืองความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนบทวิดีทัศน ผลการวิจัยปรากฏวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01

ยรรยง สุขเกษม (2539) ไดพัฒนารายการวิดีทัศนการสอน เร่ืองการอนุรักษส่ิงแวดลอมสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สังกัดกรุงเทพมหานคร พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนดวยรายการวิดีทัศนสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ภูสิต อานมณี (2541) ไดพัฒนารายการวิดีทัศน เร่ืองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร พบวา รายการวิดีทัศนมีประสิทธิภาพเปน 95.85 / 91.00 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่กําหนด และผลการเรียนรูหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

5.2 งานวิจัยในตางประเทศเคลลี (Kelly 1960 : 134) ไดศึกษาการสอนทางโทรทัศนในอเมริกาป ค.ศ. 1959-

1960 เพื่อตองการทราบวาการสอนทางโทรทัศนจะใหผลดีแกนักเรียนหรือไม โดยทดลองกับนักเรียน 7 หอง หองเรียนละ 90-135 คน ในเนื้อหาวิชาประวัติศาสตรอเมริกา วิทยาศาสตรเบื้องตน คณิตศาสตรเบื้องตน การอานและภาษาตางประเทศ โดยใชโทรทัศนทางการศึกษา แลวทดสอบดวยแบบทดสอบมาตรฐานของ สตอดดารด (Stodard) ปรากฏวา ทุกวิชาที่สอนทางโทรทัศนไดผลดี เชนเดียวกับการเรียนในหองเรียนขนาดใหญ กับการเรียนธรรมดาทั่วๆ ไป แตมีอยู 2 หองเรียน ที่การทดสอบครั้งที่ 2 ไดคะแนนต่ํากวาครั้งแรก

ลีมเลอร (Lemler 1961 : 20) ไดรวบรวมผลการวิจัยการสอนโดยโทรทัศนของฮิเดยส คูมาตะ (Hideys Kumaya) สรุปวา

1. นักเรียนที่เรียนจากโทรทัศนเรียนไดดีพอๆ กับนักเรียนที่เรียนในชั้นเรียนปกติ2. บางกรณีกลุมที่เรียนจากโทรทัศนไดผลดีกวากลุมที่เรียนตามปกติ3. เกี่ยวกับความจําปรากฏวากลุมที่เรียนจากโทรทัศนจําไดดีพอๆ กับกลุมที่เรียน

ปกติ4. การสอนโดยใชโทรทัศนไดผลดีกวาการสอนปกติถาเนื้อหาวิชาจัดเปนกลุม

ยอยๆ

100

5. การสอนโดยดูโทรทัศนไดผลดีพอๆ กับการสอนแบบปาฐกถาหรือแบบตัวตอตัว 6. การเรียนจากภาพยนตที่ถายทอดออกรายการโทรทัศนโดยตรงไดผลดีพอๆ กับการเรียนจากรายการโทรทัศน

7. การสอนทางโทรทัศนมีประโยชนตอผลการเรียนเกี่ยวกับทักษะมากกวาอยางอื่น

8. การฝกหัดครูที่สอนทางโทรทัศนที่ดี สามารถทําไดในระยะเวลาอันสั้นโคอิค และ ฮีล (Koeiaq and Hill 1967 : 12) ไดสรุปผลการวิจัยเปรียบเทียบผลการ

เรียนการสอนโดยใชวิดีโอเทปกับการสอนจากครูในหองเรียน ผลการวิจัยปรากฏวาการเรียนการสอนโดยใชวิดีโอมีผลดีกวาการสอนโดยครู ทั้งนี้อาจเปนสาเหตุเพราะการสอนทางโทรทัศนมีการเตรียมตัวที่ดีกวา

เคอรกี (Kurke 1971 : 120) ไดทําการวิจัยเร่ือง การศึกษาผลการสอนโดยใชเทปโทรทัศนกับการสอนโดยใชครูในหองเรียนปกติ ผลการวิจัยพบวา การสอนโดยใชเทปโทรทัศนใหคุณภาพ การเรียนการสอนที่ดีกวาการสอนโดยใชครูในหองเรียนปกติ และมีความเห็นเพิ่มเติมวาการสอนโดยใชโทรทัศนดีกวา เพราะสามารถมองเห็นไดทั่วทุกคน ไมวาจะเปนการสอนแบบการทดลอง การสาธิตหรือการสอนดวยภาษา

ฟชเชอร (Fisher 1977 : 216) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการใชเทปโทรทัศนในการสอนทักษะการวายน้ํา และการเรียนรูจังหวะการเคลื่อนไหว โดยการศึกษาวิจัยนักเรียนชายและหญิง อายุประมาณ 10 - 13 ป จํานวน 60 คน แบงเปน 2 กลุม ผลการวิจัยพบวาผูเรียนทั้ง 2 กลุม มีพัฒนาการเรียนดีขึ้น มีการเรียนรูทักษะทีสอนและมีทักษะในการวายน้ํา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ซาโบ และ แลนดี (Szabo and Landy 1984 : 289) ไดศึกษาการสอนการอานพื้นฐาน โดยใชโทรทัศนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการอาน โดยสุมตัวอยางจากนักเรียนเกรด 4, 6 และ 8 จากโรงเรียนในเมืองชิกาโก และเมืองมีเนียโพลิส แบงการสอนออกเปน 2 วีธี คือ กลุมที่ 1 เรียนดวยโปรแกรมการสอนอานทางโทรทัศน อีกกลุมหนึ่งเรียนตามปกติ ผลปรากฏวา กลุมที่เรียนจากโปรแกรมการสอนอานทางโทรทัศน มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

มีลเลอร (Miller 1984 : 2659-A) ไดสรุปผลการวิจัยเร่ืองการใชวิดีโอเทปในการฝกอบรมความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม โดยทดลองกับลูกจางในบริษัท ผลการวิจัยปรากฏวาลูกจาง ที่ดูวิดีโอเทปจะมีความปลอดภัยในการทํางานมากกวากลุมที่ไมไดดู

101

ฟนเชอร (Fincher 1995 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการจําของนักศึกษาทางดานความรู ความเขาใจและทักษะการปฏิบัติจากการเรียนดวยวิดีทัศนแบบปฏิสัมพันธ (Inter Active Video : IAV) กับวิดีทัศนแบบเสนตรง (Linear Video : LV) ซ่ึงอาศัยหลักทฤษฎีเรียนรูควบคูกับวิธีสอนมาใชในการศึกษา ผลการศึกษาพบวากลุมผูเรียนจากการสังเกต ทั้ง 2 กลุม ที่เรียนจากวิดีทัศนปฏิสัมพันธกับวิดีทัศนแบบเสนตรง ทั้งดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจําผลที่ไดไมแตกตางกัน

จากงานวิจัยดังกลาว พอสรุปไดวาเทปวิดีทัศนเปนสื่อที่มีประโยชนมากตอการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของนักเรียนสูงขึ้น เมื่อเทียบกับการสอนปกติ และสามารถนําไปใชไดในทุกระดับชั้น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเทคนิคการผลิตที่มีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมตามความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ

102

บทท่ี 3วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเพื่อสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศนวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดออมนอย จังหวัดสมุทรสาคร เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อนําไปชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และสามารถนําความรูไปใชในการเรียนวิทยาศาสตร และประยุกตใชในชีวิตประจําวันได โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการวิจัยดังนี้

1. ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ไดแกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่กําลังเรียนในโรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร

2. กลุมตัวอยางกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ แบงเปน 2 กลุมไดแก2.1 กลุมตัวอยางเพื่อใชทดสอบประสิทธิภาพของแบบทดสอบ โดยการสุมตัวอยาง

แบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนออมนอยโสภณชนูปถัมภ อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 60 คน

2.2 กลุมตัวอยางเพื่อใชหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน โดยการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดศรีสําราญราษฎรบํารุง และโรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ภาคเรียน 1 ปการศึกษา 2546 จํานวน 42 คน

103

ประชากรที่ใชในการวิจัยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 7 หอง ป. 6/1 ป. 6/2 ป. 6/3 ป. 6/4 ป. 6/5 ป. 6/6 ป. 6/7

แผนภูมิที่ 1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย

3. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย 1. แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางเพื่อใชสอบถามผูเชี่ยวชาญ 2. ส่ือวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6จํานวน 5 ช่ัวโมง โดยแบงเนื้อหาออกเปน 5 ตอน

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เรื่องมลพิษทางน้ํา

4. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน

4. การสรางเครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย4.1 การสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง

การสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง เพื่อใชในการสอบถามความคิดเห็นจาก ผูเชี่ยวชาญ โดยศึกษาจากเอกสาร ตําราที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางแลว นํามาสรางประเด็นสัมภาษณสอบถาม 2 ดาน คือ

1. เนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา2. ดานการออกแบบสรางสื่อวิดีทัศนวิเคราะหโครงสรางรูปแบบ สาระสําคัญทั้ง 2 ดาน การสรางแบบสัมภาษณแบบมี

โครงสราง เพื่อสอบถามความคิดเห็นนําไปใหผูเชี่ยวชาญดานการสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางจํานวน 3 ทาน เปนผูตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมและครอบคลุมเนื้อหาของแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง ทําการทดลองใช และปรับแกไข

กลุมตัวอยางจํานวน

104

นําแบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางที่แกไขเรียบรอย ไปใหผูเช่ียวชาญดานเนื้อหาและ ดานการสรางสื่อวิดีทัศน ดานละ 3 ทาน โดยใชการสัมภาษณ เพื่อหาขอสรุปและยืนยันความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของกับสื่อวีดิทัศนที่จะสรางขึ้นโดยใชคาเฉลี่ย (Average)

4.2 การสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศนการศึกษาครั้งนี้มุงพัฒนาสื่อวิดีทัศน โดยเลือกเนื้อหาเรื่องมลพิษทางน้ํา ของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีขั้นตอนดังนี้1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับสื่อวิดีทัศน

2. ศึกษาหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2533) กลุมวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต เร่ืองมลพิษทางน้ํา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมวิชาวิทยาศาสตร ในสาระการเรียนรูชวงชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 เกี่ยวกับความหมายทรัพยากรธรรมชาติ ความหมายของสิ่งแวดลอม มลพิษทางน้ํา น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร แหลงที่มาของน้ําเสีย ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยระบบบําบัด แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย โดยใชหลักฐาน ขอมูล และเอกสารเพิ่มเติมตางๆ ที่ประกอบในเรื่อง มลพิษทางน้ํา 3. ศึกษาคนควารวบรวมขอมูลเกี่ยวกับเนื้อหา โดยศึกษาจากเอกสารและหนังสือ และการสอบถามพูดคุยกับผูเกี่ยวของ

4. วิเคราะหและกําหนดโครงเรื่องของเนื้อหา ใหสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู โดยวางโครงเรื่องที่จะเขียนเรียบเรียงและลําดับเรื่องราวกอน-หลัง เพื่อใหมีลําดับเนื้อหาที่สอดคลอง ครอบคลุมตามหลักสูตร แลวแบงเนื้อหาออกเปน 5 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย 5. นําเสนออาจารยที่ปรึกษา คือ รศ.สมหญิง เจริญจิตรกรรม กับ ผศ.ดิเรกฤทธิ์ บัวเวช และผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 3 ทานไดแก ผศ.ดร. มัลลิกา ปญญคะโป อาจารยกมล ปยภัณฑ อาจารยนฤมล ปภัสสรานนท เพื่อตรวจสอบความถูกตอง ความเหมาะสมของเนื้อหา และหาคาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา แลวนําขอเสนอแนะไปปรับปรุงแกไข ดังแสดงคา IOC ในภาคผนวก ค

105

ตารางที่ 28 ซ่ึง ขอเสนอแนะที่ไดรับคือ ควรนําพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว บางตอนที่เกี่ยวของกับเรื่องน้ํานํามาเขียนลงดวย

6. นําเนื้อหาที่ปรับปรุงแกไขแลว มาออกแบบจัดทําเพื่อสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศน โดยนําเสนอเนื้อหาไปเรื่อยๆ จนจบ

7. นําบทวิดีทัศนเสนอตออาจารยที่ปรึกษา คือ รศ.สมหญิง เจริญจิตรกรรม กับ ผศ.ดิเรกฤทธิ์ บัวเวช และผูเชี่ยวชาญดานการผลิตส่ือ จํานวน 3 ทาน ไดแก รศ.ประทิน คลายนาค ผศ.จีรารัตน ชิรเวทย ผศ.เรวดี ศรีเอี่ยมสะอาด เพื่อตรวจสอบแกไขปรับปรุง ซ่ึงไดขอเสนอแนะวา ควรเปลี่ยนขนาดตัวอักษรและสีตัวอักษรเพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียน และควรเพิ่มภาพเกี่ยวกับพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวบางตอนที่เกี่ยวของกับเรื่องน้ําดวย

8. ดําเนินการสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา ตามบทวิดีทัศนที่ไดรับการปรับปรุงแกไขแลวตามขั้นตอน จากนั้นจึงทําการตัดตอและบันทึกเสียง

9. นําเสนอสื่อวิดีทัศนเร่ืองมลพิษทางน้ํา ตออาจารยที่ปรึกษา คือ รศ.สมหญิง เจริญจิตรกรรม กับ ผศ.ดิเรกฤทธิ์ บัวเวช เพื่อตรวจสอบ แกไข ปรับปรุง และใหผูเชี่ยวชาญดาน การผลิตส่ือ จํานวน 3 ทาน ประเมินประสิทธิภาพของสื่อ ซ่ึงผลการประเมินคุณภาพอยูในเกณฑดี มีคา x = 4.33 คา S.D. =.48 รายละเอียดดังแสดงในภาคผนวก ง ตารางที่ 31

10. นําสื่อวิดีทัศนเรื่องมลพิษทางน้ํา ที่ปรับปรุงแกไขแลวไปทดลองกับกลุมตัวอยาง เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน กําหนดเกณฑ 80 กลาวคือ

80 หมายถึง รอยละของคะแนนจากการทําแบบทดสอบหลังเรียนเมื่อเสร็จสิ้นการเรียนกับสื่อรายการวิดีทัศน โดยคิดคาไมต่ํากวารอยละ 80

วิธีการดําเนินการหาประสิทธิภาพของสื่อกับกลุมตัวอยาง ดังนี้10.1 ขั้นทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One – to One Tryout) เพื่อใชทดสอบ

ประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 โรงเรียนวัดศรีสําราญราษฎรบํารุง อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 3 คน ซ่ึงทําการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คัดเลือกนักเรียนเกง ปานกลางและออน จากนักเรียนหอง ป.6/1 (พิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรที่สอบไดในการสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2545) ที่ไมใชนักเรียนกลุมตัวอยาง เนื่องจากการทดลองขั้นนี้ มีจุดประสงคเพื่อการปรับปรุงส่ือวิดีทัศนใหมีความเหมาะสม กอนที่จะนําไปทดลองใชภาคสนาม ดังนั้นขณะทําการทดลองผูวิจัยจะคอยใหคําแนะนําหรืออธิบายข้ันตอนที่ไมเขาใจ หลังการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่งใหกับนักเรียนกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดความรูดานเนื้อหา จากนั้นนําคะแนนที่ได จากการทําแบบทดสอบกอนเรียนกับคะแนนการสอบหลังเรียนดวยส่ือวิดีทัศน มาคํานวณหา

106

ประสิทธิภาพ ของสื่อตามเกณฑ 60 ซ่ึงมีคาประสิทธิภาพเทากับ 60.17 รายละเอียดดังแสดงในบทที่ 4 ตารางที่ 4

10.2 ขั้นทดลองแบบกลุมเล็ก (Small Group Tryout) เพื่อใชทดสอบประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศนกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 โรงเรียนวัดศรีสําราญราษฎรบํารุง อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 9 คน โดยใชการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คัดเลือกจากนักเรียนกลุมเกง ปานกลางและออน กลุมละ 3 คน จากนักเรียนหอง 6/2, 6/3, 6/4 (หองละ 3 คนโดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรที่สอบไดในการสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2545) โดยทดลองเรียนเปนรายกลุมใหกับนักเรียนกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดความรูดานเนื้อหาจากนั้นนําคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนกับคะแนนการสอบหลังเรียนดวยส่ือวิดีทัศนมาคํานวณหาประสิทธิภาพของสื่อตามเกณฑ 70 ซ่ึงมีคาประสิทธิภาพเทากับ 71.90 รายละเอียดดังแสดงในบทที่ 4 ตารางที่ 5

10.3 ขั้นทดลองภาคสนาม (Field Tryout) เพื่อใชทดสอบประสิทธิภาพของส่ือวิดีทัศน กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 ซ่ึงกําลังเรียนวิชาวิทยาศาสตรเร่ืองมลพิษทางน้ํา จํานวน 1 หองเรียนมีนักเรียนจํานวน 30 คน โดยใชการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากนักเรียน หองป. 6/6 โดยนักเรียนตัวอยางทําแบบทดสอบวัดความรูดานเนื้อหา จากนั้นนําคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนกับคะแนนการสอบหลังเรียนดวยส่ือวิดีทัศนมาคํานวณหาประสิทธิภาพของสื่อตามเกณฑ 80 ซ่ึงมีคาประสิทธิภาพเทากับ 83.06 รายละเอียดดังแสดงในบทที่ 4 ตารางที่ 6 เหตุผลที่เลือกโรงเรียนวัดออมนอยเปนโรงเรียนตัวอยางเนื่องจากมีสาเหตุดังนี้ คือ โรงเรียนวัดออมนอยเปนโรงเรียนขนาดใหญ อยูในเขตปริมณฑลและเขตอุตสาหกรรม เปนโรงเรียนเตรียมใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยโรงเรียนเปนผูศึกษาสาระการเรียนรูของนักเรียนโดยยึดหลักสูตรแกนกลางและจัดการเรียนรูของนักเรียนใหสอดคลองและตอบสนองความตองการของทองถ่ิน และผูวิจัยไดปฏิบัติงานอยูที่โรงเรียนนี้จึงใชเปนที่ทําการวิจัยเพื่อใหไดผลในดานการพัฒนางานและเผยแพรไปยังโรงเรียนในสังกัดเดียวกัน

107

แผนภูมิที่ 2 สรุปขั้นตอนการสรางสื่อวิดทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา

4.3 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เครื่องที่ เก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยคร้ังนี้ คือแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ซ่ึงมีขั้นตอนในการสราง ดังนี้

1. ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน2. วิเคราะหเนื้อหาและตั้งจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม เพื่อสรางแบบทดสอบมีความ

เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

ผูเช่ียวชาญดานการพัฒนาสื่อวิดีทัศน 3 คน และผูเช่ียวชาญดานการสอนวิชาวิทยาศาสตร 3 คน

นําความคิดเห็นจากผูเช่ียวชาญทั้งสองดานมาเปนแนวในการสรางสื่อวิดีทัศนศึกษาการใชสื่อ และกําหนดรูปแบบของสื่อ

เขียนบทวิดีทัศนใหครอบคลุมเนื้อหาใหผูเช่ียวชาญทดสอบ

เขียนบทวิดีทัศนใหผูเช่ียวชาญตรวจสอบโครงราง

ผูเช่ียวชาญดานสื่อวิดีทัศน 3 คน และผูเช่ียวชาญดานการสอนวิทยาศาสตร 3 คน

ไดบทเรียนสื่อวิดีทัศนที่มีประสิทธิภาพ

หาประสิทธิภาพของบทเรียน กําหนดเกณฑ 80ขั้นทดลองหนึ่งตอหนึ่ง (One – to – One Tryout) 3 คนขั้นทดลองแบบกลุมเล็ก (Small Group Tryout) 9 คน

ขั้นทดลองภาคสนาม (Field Tryout) 30 คน

สัมภาษณแบบมีโครงสราง

108

3. เขียนขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยสรางเปนแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 120 ขอ ใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

4. นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นเสนออาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ เพื่อหาคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค (IOC) โดยถาผูเชี่ยวชาญเห็นดวย ก็ใหลงความเห็นนั้นวาสอดคลองได 1 คะแนน ไมแนใจได 0 คะแนน ไมเห็นดวยได –1 คะแนน โดยนําขอสอบที่มีคา IOC ตั้งแต .50 ขึ้นไปมาใชเปนแบบทดสอบ ดังแสดงในภาคผนวก ข ตารางที่ 13-17

5. นําแบบทดสอบที่มีคา IOC ตั้งแต .50 ขึ้นไป จํานวน 80 ขอไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เคยเรียนมาแลว โรงเรียนออมนอยโสภณชนูปถัมภ อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 60 คน เพื่อตรวจสอบหาคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบ โดยการวิเคราะหขอสอบเปนรายขอ โดยใชเกณฑความยากงาย (p) ระหวาง .20 - .80 และคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต .20 ขึ้นไป ผลการวิเคราะหคา p และคา r ดังแสดงในภาคผนวก ข ตารางที่ 18-22

6. คัดเลือกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผานการหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกแลว ที่มีคุณภาพตามเกณฑ คือ คาความยากงายระหวาง 0.20 – 0.80 และคาอํานาจจําแนก 0.20 ขึ้นไป และตรงตามเนื้อหากับจุดประสงคที่ตั้งไว จํานวน 70 ขอ เพื่อนํามาเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

7. หาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยใชสูตร KR20 ของคูเดอร ริชารดสัน (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2538 : 168) โดยแบบทดสอบมีคาความเชื่อมั่น ดังแสดงในภาคผนวก ข ตารางที่ 23-27

8. นําขอสอบที่ผานขั้นตอนทั้งหมดไปใชทดลองจริง

109

แผนภูมิที่ 3 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

4.4 การสรางแบบสอบถามความพึงพอใจศึกษาหลักการสรางแบบสอบถามจากตําราและเอกสารที่เกี่ยวของกับการวัดผล

ประเมินผล กําหนดรูปแบบของแบบสอบถามเปน 2 สวน คือ แบบปลายปดที่มีลักษณะการตอบแบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) 5 ระดับของเบสท (Best) และแบบสอบถามปลายเปดเพื่อสอบถามความคิดเห็นอื่นๆ นําแบบทดสอบความพึงพอใจไปทดสอบกับนักเรียนกลุมตัวอยาง หลังจากที่เรียนดวยส่ือวิดีทัศน

ศึกษาแนวทางการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

สรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบปรนัย มี 4 ตัวเลือก

ทดสอบกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เคยเรียนมาแลว

นําผลที่ไดมาวิเคราะหหาคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r)ของแบบทดสอบเปนรายขอ

คํานวณหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยใชสูตร KR20

ของคูเดอร ริชารดสัน

นําแบบทดสอบไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจความเที่ยงตรงของเนื้อหา

คัดเลือกแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีคุณภาพและตรงตามเนื้อหากับจุดประสงคที่ตั้งไว จํานวน 70 ขอ

นําขอสอบที่ผานขั้นตอนทั้งหมดไปใชในการเก็บขอมูลจริง

110

ตารางที่ 1 เกณฑเฉล่ียของระดับความพึงพอใจ

ระดับคะแนน คะแนนเฉลี่ย คุณภาพ5 4.50 – 5.00 มากที่สุด4 3.50 – 4.49 มาก3 2.50 – 3.49 ปานกลาง2 1.50 - 2.49 นอย1 1.00 - 1.49 นอยที่สุด

ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความพึงพอใจ1. ศึกษาวิธีการสรางคําถาม จากแบบสอบถามที่มีผูวิจัยคนอื่นๆ ไดสรางขึ้น

รวมถึงงานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวของ2. สรางแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน3. นําขอคําถามที่สรางเสร็จแลว เสนอตออาจารยที่ปรึกษา ตรวจสอบความ

ถูกตองและหาคา IOC ดังแสดในภาคผนวก ค ตารางที่ 304. ปรับปรุงแกไขแบบสอบถามตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาและ

ผูเชี่ยวชาญ5. นําแบบสอบถามที่ผานขั้นตอนทั้งหมดไปใชในการทดลองจริง

แผนภูมิที่ 4 การสรางแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน

ศึกษาการสรางแบบสอบถาม

วางโครงสรางคําถาม เพื่อสรางคําถามใหสอดคลองกับวัตถุประสงค

สรางแบบสอบถามความพึงพอใจ

นําไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

นําแบบสอบถามที่ผานขั้นตอนแลว ไปทดลองจริง

111

5. แบบแผนการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ใชแบบแผนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีแบบแผนดังนี้ ใหกลุมทดลองเรียนจากสื่อวิดีทัศนที่ผูวิจัยสรางและพัฒนาขึ้นจนจบ จากนั้นผูวิจัยทําการ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนทันที ตามแบบแผนการวิจัยแบบ One – group Pretest – Posttest Design ดังนี้

กลุมทดลอง สอบกอน ทดลอง สอบหลัง คาแตกตางRE T 1 X T2 DE

เมื่อ R คือ การสุม E คือ กลุมทดลอง

T1 คือ การทดสอบกอนเรียน X คือ การสอนดวยส่ือรายการวิดีทัศน T2 คือ การทดสอบหลังเรียน D คือ คาแตกตาง

6. การดําเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล มีขั้นตอนดังนี้ 1. เตรียมผูเรียน ประสานงานกับอาจารยผูสอนเพื่อขอความรวมมือกับนักเรียนในระหวางการทดลองครั้งนี้ แจงใหนักเรียนทราบถึงวิธีการใชส่ือวิดีทัศน

2. ดําเนินการทดสอบกอนเรียน (Pretest) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองมลพิษทางน้ํา

3. ใหนักเรียนศึกษาสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา4. เมื่อนักเรียนศึกษาจบเนื้อหา ทําการทดสอบหลังเรียน (Posttest)โดยใชแบบทดสอบ

วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองมลพิษทางน้ํา5. ใหนักเรียนทําแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน6. เก็บรวบรวมขอมูลทั้งหมดแลวนําผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนไป

วิเคราะหขอมูลตามวิธีทางสถิติตอไป ดังแผนภาพ

112

แผนภูมิที่ 5 การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล

7. การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล7.1 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

7.1.1 การหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค

คาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค ใชสูตร IOC (Index of Objective Congruency) โดยที่คาดัชนีที่คํานวณไดไมต่ํากวา .05 (บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ 2527 : 69 – 70)

ถาแนใจวาใช = +1ถาแนใจวาไมใช = -1ถาไมแนใจวาใช/ไมใช = 0

IOC =

สัญลักษณของสูตรดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคมี

อธิบายการใชส่ือวิดีทัศน

ทดสอบกอนเรียน (Pretest)

นักเรียนศึกษาสื่อวิดีทัศน

ทดสอบหลังเรียน (Posttest)

ทําแบบสอบถามความพึงพอใจ

เก็บรวบรวมขอมูลทั้งหมด

วิเคราะหขอมูลดวยวิธีทางสถิติ

NR∑

113

ความหมายดังตอไปนี้ เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค ∑R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา

7.1.2 สถิติพื้นฐานสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน ทําการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ

โดยใชโปรแกรม SPSS for Windows เพื่อทําการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ยเลขคณิต คาความแปรปรวน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทั้งหมด และการวิเคราะหความแตกตางระหวางคะแนนของแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ซ่ึงใชสูตรดังนี้

คาเฉลี่ยเลขคณิต x =

คาความแปรปรวน S2 =

คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. =

สัญลักษณของสูตรคาเฉลี่ยเลขคณิต คาความแปรปรวน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีความหมายดังนี้ X แทน คาเฉลี่ยเลขคณิต S2 แทน คาความแปรปรวน S.D. แทน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน n แทน จํานวนกลุมตัวอยาง ∑X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด ∑ X2 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกําลังสอง

NR∑

n ∑X 2 - (∑X )2

n (n - 1)

n (n - 1)n ∑X 2 - (∑X)2

114

คาสัมประสิทธิ์แหงคาความเที่ยงของคูเดอร – ริชารดสัน หรือ KR 20 ใชสูตร ดังนี้

rtt = 1 -

สัญลักษณของสูตรคาความเที่ยง มีความหมายดังตอไปนี้ rtt แทน คาสัมประสิทธิ์ความเที่ยง K แทน จํานวนขอสอบ p แทน สัดสวนของคนทําถูกในแตละขอ q แทน สัดสวนของคนทําผิดในแตละขอ S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน ∑ แทน ผลรวม

7.1.3 การหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน สถิติที่ใชในการคํานวณหาประสิทธิภาพสื่อวิดีทัศน ใชสูตร E เกณฑมาตรฐาน 80 มีสูตรดังนี้

E =

80 หมายถึง คาประสิทธิภาพของแบบทดสอบหลังเรียน

สัญลักษณของสูตรการคํานวณหาคาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศนมีความหมาย ดังตอไปนี้ E แทน คาประสิทธิภาพของแบบทดสอบหลังเรียน ∑x แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียนของทุกคน N แทน จํานวนกลุมตัวอยาง A แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน

K - 1K

S2∑pq

100XAN

x

115

7.1.4 การหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนก สถิติที่ใชหาคาความยากงายและคาอํานาจจําแนก 1. หาคาระดับความยากงาย โดยใชสูตร

คาความยากงาย (p) = PH + PL

2. หาคาอํานาจจําแนก โดยใชสูตร

คาอํานาจจําแนก (r) = PH - PL

สัญลักษณของสูตรคาความยากและคาอํานาจจําแนกมีความหมายดังนี้ p แทน คาดัชนีความยากงาย r แทน คาอํานาจจําแนก PH แทน จํานวนนักเรียนที่ตอบถูกในกลุมสูง PL แทน จํานวนนักเรียนที่ตอบถูกในกลุมต่ํา n แทน จํานวนนักเรียนในกลุมสูงและกลุมต่ํา

7.1.5 การวิเคราะหความแตกตางของคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์การวิเคราะหความแตกตางระหวางคะแนนของแบบทดสอบกอนเรียนและ

แบบทดสอบหลังเรียน โดยใช t – test Dependent Samples ซ่ึงทําการประมวลผลมีสูตร ดังนี้

t =

เมื่อ df = n - 1 สัญลักษณของสูตร t – test Dependent Samples มีความหมาย ดังนี้ D แทน ความแตกตางของคะแนนแตละคู N แทน จํานวนคูทั้งหมด

2n

n

∑ Dn∑D2 – (∑D) 2

n - 1

116

บทท่ี 4ผลการวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดแบงการวิเคราะหขอมูลตามลําดับ ดังนี้ 1. ประมวลผลการสัมภาษณแบบมีโครงสรางของผู เชี่ยวชาญดานเนื้อหาและผูเชี่ยวชาญ ดานสื่อวิดีทัศน 2. การหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศนวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ตามเกณฑ 80

3. การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบ หลังเรียนที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ือง มลพิษทางน้ํา

4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา

ตอนที่ 1 ผลการสัมภาษณแบบมีโครงสรางของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและผูเชี่ยวชาญดานสื่อวิดี ทัศน

จากการวิเคราะหบทสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา สรุปไดดังตาราง

ตารางที่ 2 สรุปแนวคิดจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาตอการพัฒนาสื่อวิดีทัศน

หัวขอสัมภาษณ สรุปแนวคิดจาก 3 ทานรูปแบบการเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาการเรียนการสอน

ควรจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดศึกษาจากสภาพความเปนจริงทางธรรมชาติ และใหสังเกต อภิปราย ซักถามปญหาที่เกิดขึ้น

รูปแบบของตัวอยางภาพสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและความเหมาะสม

ควรใชสื่อที่เปนภาพที่มีการเคลื่อนไหว จะทําใหมองเห็นสภาพจริงที่เกิดขึ้นและเปนสิ่งดึงดูดความสนใจและตระหนักถึงปญหาที่เกิดขึ้น

รูปแบบของแบบฝกหัดเพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน

ควรเปนแบบทดสอบเนื้อหา จะชวยใหเกิดแนวคิดสามารถนําไปปฏิบัติไดในฐานะผูมีสวนรวมในการปองกันและรักษา

เกณฑการ ตัดสินถึ งความ เข า ใจ วิธีการปองกันและรักษา

ควรตรวจสอบจากความรู ความเขาใจในเนื้อหาที่เลือกตอบ

การนําสื่อวิดีทัศนมาเสริม การเรียนการสอน

ใชเปนสื่อเสริมการเรียนไดดี สามารถเรียนรูไดดวยตนเองโดยมีทั้งภาพและเสียงประกอบ จึงถือวาสงเสริมการเรียนทุกดาน

117

จากการวิเคราะหบทสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานสื่อวิดีทัศน สรุปไดดังตาราง

ตารางที่ 3 สรุปแนวคิดจากผูเชี่ยวชาญดานสื่อวิดีทัศนตอการพัฒนาสื่อวิดีทัศน

หัวขอสัมภาษณ สรุปแนวคิดจาก 3 ทานรูปแบบสื่อวิดีทัศนที่เกี่ยวกับเร่ืองมลพิษทางน้ํา

ควรนําจุดเดนของสื่อวิดีทัศนมาใช การนําเสนอควรมีความเราใจ เปนเหตุการณที่ เกิดขึ้นจริงและนําเสนอตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา

รูปแบบการนําเนื้อเร่ืองที่เกิดจ ากการกระทําของมนุษยประกอบและความเหมาะสมในสื่อวิดีทัศน

มีความเหมาะสมมาก จะเปนอุทาหรณที่ดีเพราะเปนเรื่องจริงที่เกิดขึ้นแลวสรางความเสียหายความเดือดรอนใหแกตนเอง และสวนรวม สะทอนการปลูกจิตสํานึกที่ดี

รูปแบบของแบบฝกหัดเพื่อนําไปใชกับสื่อวิดีทัศนสําหรับ การเรียนเนื้อหามลพิษทางน้ํา

ควรเปนแบบทดสอบดานเนื้อหา จะชวยใหเกิดความตระหนักในหนาที่และความรับผิดชอบในฐานะตนเองเปนสวนหนึ่งของสังคม

การประเมินผลที่ควรใชใน เนื้ อหามลพิษทางน้ําควรมีลักษณะแบบใด

ควรเลือกแบบการวิเคราะหเนื้อหา การวัดความรู ทักษะและเจตคติของผูเรียน เพื่อใหเกิดจิตสํานึกในการปองกันและรักษา

การนําส่ือวิดีทัศนมาเสริม การเรียนการสอน

ใชเปนสื่อเสริมการเรียนการสอนไดดี ควรดูความเหมาะสมกับวัยของผูเรียน มีลักษณะที่เราใจ ดูแลวประทับใจ เกิดความซาบซึ้งเพื่อใหเปนไปตามความมุงหมายของการเรียน

จากบทสรุปจากการวิเคราะหบทสัมภาษณของผูเชี่ยวชาญผูวิจัยไดนําไปปรึกษากับ อาจารยที่ปรึกษาและนําบทสรุปไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาสื่อวิดีทัศน จากนั้นจึงนําไปใหผูเชี่ยวชาญทําการประเมินประสิทธิภาพของสื่อตอไป ซ่ึงผลการประเมินประสิทธิภาพของสื่อดังใน ภาคผนวก ง ตารางที่ 11

118

ตอนที่ 2 การหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ตามเกณฑ 801. ขั้นการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง (1:1) ในการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง การ

วิเคราะหหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศนเพื่อใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 ไดผลการทดลองแตละตอน ดังนี้

ตารางที่ 4 ผลการทดลองสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ําขั้นการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง (n = 3)

ส่ือวิดีทัศนตอนที่ E1 62.222 66.673 60.004 56.415 55.56

เฉล่ีย 60.17

จากตารางที่ 4 แสดงใหเห็นวาการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง ทั้ง 5 ตอน ยังไดคาประสิทธิภาพของแบบทดสอบหลังเรียนไมถึงเกณฑที่กําหนดไว 80 ทั้งนี้เปนเพราะการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง ผูวิจัยทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไมเคยเรียนเร่ือง มลพิษทางน้ํา มากอน โดยคัดเลือกนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 3 คน แบงเปนเกง ปานกลางและออน อยางละ 1 คน โดยทําการทดลองทีละคน เพื่อหาขอบกพรองของภาษาที่ใช ความคมชัดของภาพ ความเหมาะสมของเสียงบรรยายและเสียงดนตรีประกอบและสังเกตเวลาที่ใชในการเรียนและการกําหนดเวลาที่ใชทําแบบทดสอบ ตอนละ 10 นาที เด็กออนจะใชเวลาในการทําแบบทดสอบนานกวาเด็กเกงและเด็กปานกลางทั้งกอนเรียนและหลังเรียน ส่ิงที่ตองปรับปรุงคือ 1. เพิ่มเวลาในการทําแบบทดสอบ 2. ปรับเสียงบรรยายใหชัดเจนขึ้น

2. ขั้นการทดลองแบบกลุมเล็ก (1:10) การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศนเพื่อใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 ในการทดลองแบบกลุม ซ่ึงไดผลการทดลองในแตละตอนดังนี้

119

ตารางที่ 5 ผลการทดลองสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา ขั้นการทดลองแบบกลุม (n = 9)

ส่ือวิดีทัศนตอนที่ E1 71.852 73.333 70.374 72.655 71.30

เฉล่ีย 71.90

จากตารางที่ 5 แสดงใหเห็นวา การทดลองแบบกลุมเล็ก ทั้ง 5 ตอน ยังไดคาประสิทธิภาพของสื่อไมถึงเกณฑที่กําหนดไว 80 โดยผูวิจัยทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไมเคยเรียนเร่ือง มลพิษทางน้ํามากอน โดยคัดเลือกนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 9 คน แบงเปนกลุมเกง ปานกลางและออน อยางละ 3 คน โดยทําการทดลองทีละกลุม เพื่อหาขอบกพรองของความชัดเจนของตัวอักษร ความนาสนใจ ความคมชัดของภาพ ความชัดเจนของเสียงบรรยายและเสียงดนตรีประกอบ ระยะเวลาการนําเสนอของแตละตอนและระยะเวลาในการทําแบบทดสอบผูวิจัยพบวายังมีส่ิงที่ตองปรับปรุงคือ 1. ความนาสนใจ ความคมชัดของภาพบางตอนตองปรับปรุงใหดีขึ้น 2. ความชัดเจนของตัวอักษรที่ใชประกอบคําบรรยายตองชัดเจนขึ้น 3. ระยะเวลาในการทําแบบทดสอบควรเพิ่มขึ้นอีกเพื่อใหเกิดความเหมาะสมของสื่อในแตละตอน

3. ขั้นการทดลองภาคสนาม (1:100) การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศนเพื่อใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 ในการทดลองภาคสนาม ซ่ึงไดผลการทดลองในแตละตอนดังนี้

120

ตารางที่ 6 ผลการทดลองสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา ขั้นการทดลองภาคสนาม (n = 30)

ส่ือวิดีทัศนตอนที่ E1 84.442 82.673 81.784 82.825 83.61

เฉล่ีย 83.06

จากตารางที่ 6 แสดงใหเห็นวา การทดลองภาคสนาม ทั้ง 5 ตอน การหาคาประสิทธิภาพกับนักเรียนจํานวน 30 คน ผลปรากฏวาไดคาประสิทธิภาพของแบบทดสอบหลังเรียน 83.06 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 80

ตอนที่ 3 การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทําแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ตารางที่ 7 คาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนและคาที (t) เพื่อทดสอบความมีนัยสําคัญของความแตกตางระหวางกอนเรียนและหลังเรียนจากสื่อวิดีทัศนเร่ือง มลพิษทางน้ํา ในแตละตอนดังนี้

n = 30รายการวิดีทัศน

ตอนที่คะแนนเต็ม คะแนนทดสอบ

กอนเรียน ( x )คะแนนทดสอบหลังเรียน ( x )

t

1 15 8.47 12.53 22.722 15 9.60 12.73 17.033 15 8.80 12.47 22.734 13 8.07 10.60 16.935 12 7.83 9.67 18.90

รวม 5 ตอน 70 42.77 58.00 32.03รอยละ 61.10 82.86

121

จากตารางที่ 7 แสดงใหเห็นวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนและคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ .05 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการแปลผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

รายการประเมิน x S.D. แปลผล1. การนําเสนอนาสนใจ 4.30 0.4 มาก2. ความยาวของสื่อวิดีทัศนมีความเหมาะสม 3.93 0.5 มาก3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจน เหมาะสม 3.87 0.6 มาก4. ภาพชัดเจน นาสนใจ 4.13 0.6 มาก5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน 4.20 0.4 มาก6. การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 4.83 0.3 มากที่สุด7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 4.63 0.4 มากที่สุด8. ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4.60 0.4 มากที่สุด9. หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ํา เพิ่มขึ้น 4.70 0.4 มากที่สุด10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเร่ืองนี้อยูในระดับ 4.40 0.6 มาก

จากตารางที่ 8 ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไรแสดงใหเห็นวานักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีความพึงพอใจตอส่ือวิดีทัศนในเรื่อง 1 การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มี ประโยชน 2 เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 3 ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการ เรียนการสอนอีก 4 หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรูเร่ืองมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น อยูในระดับมากที่สุด นอกนั้นทุกดานอยูในระดับมาก

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ยังมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการนําส่ือวิดีทัศนมาใชในการเรียนการสอนอีกวา วิดีทัศนชุดนี้ทําไดดีมาก ควรปรับปรุงในเรื่องเสียงบรรยายใหชัดเจนกวานี้

122

ตารางที่ 9 คะแนนเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการแปลผลความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย

รายการประเมิน x S.D. แปลผล1. การนําเสนอนาสนใจ 4.27 0.4 มาก2. ความยาวของสื่อวิดีทัศนมีความเหมาะสม 3.83 0.5 มาก3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจน เหมาะสม 3.87 0.6 มาก4. ภาพชัดเจน นาสนใจ 4.10 0.6 มาก5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน 4.23 0.4 มาก6. การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 4.83 0.4 มากที่สุด7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 4.60 0.4 มากที่สุด8. ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4.50 0.5 มากที่สุด9. หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ํา เพิ่มขึ้น 4.57 0.5 มากที่สุด10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเร่ืองนี้อยูในระดับ 4.27 0.7 มาก

จากตารางที่ 9 ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย แสดงใหเห็นวา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีความพอใจตอส่ือวิดีทัศน ในเรื่อง 1 การผลิตสื่อวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 2 เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 3 ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4 หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ือง มลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น อยูในระดับมากที่สุด นอกนั้นทุกดานอยูในระดับมาก

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ยังมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการนําส่ือวิดีทัศนมาใชในการ เรียน การสอนอีกวา วิดีทัศนชุดนี้ทําไดดีมาก แตระยะเวลานอยเกินไป

123

ตารางที่ 10 คะแนนเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการแปลผลความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม

รายการประเมิน x S.D. แปลผล1. การนําเสนอนาสนใจ 4.20 0.5 มาก2. ความยาวของสื่อวิดีทัศนมีความเหมาะสม 3.77 0.6 มาก3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจน เหมาะสม 3.80 0.6 มาก4. ภาพชัดเจน นาสนใจ 4.00 0.6 มาก5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน 4.23 0.4 มาก6. การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 4.77 0.4 มากที่สุด7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 4.57 0.5 มากที่สุด8. ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4.53 0.5 มากที่สุด9. หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ํา เพิ่มขึ้น 4.67 0.4 มากที่สุด10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเร่ืองนี้อยูในระดับ 4.37 0.6 มาก

จากตารางที่ 10 ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม แสดงใหเห็นวา นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มีความพอใจตอส่ือวิดีทัศน ในเรื่อง 1 การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 2 เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 3 ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4 หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ํา เพิ่มขึ้น อยูในระดับมากที่สุด นอกนั้นทุกดานอยูในระดับมาก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ยังมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการนําส่ือวิดีทัศนมาใชในการเรียน การสอนอีกวา วิดีทัศนชุดนี้ทําไดดีมาก การนําส่ือวิดีทัศนมาฉายใหชมเชนนี้ จะใหความรูกับผูชมไดมากและควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใหชมอีก

124

ตารางที่ 11 คะแนนเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการแปลผลความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไข โดยใชระบบบําบัด

รายการประเมิน x S.D. แปลผล1. การนําเสนอนาสนใจ 4.33 0.4 มาก2. ความยาวของสื่อวิดีทัศนมีความเหมาะสม 3.77 0.6 มาก3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจน เหมาะสม 3.73 0.6 มาก4. ภาพชัดเจน นาสนใจ 4.20 0.6 มาก5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน 4.16 0.3 มาก6. การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 4.80 0.4 มากที่สุด7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 4.60 0.4 มากที่สุด8. ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4.57 0.5 มากที่สุด9. หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ํา เพิ่มขึ้น 4.73 0.4 มากที่สุด10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเร่ืองนี้อยูในระดับ 4.40 0.6 มาก

จากตารางที่ 11 ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด แสดงใหเห็นวา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีความพอใจตอส่ือวิดีทัศน ในเรื่อง 1 การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 2 เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 3 ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4 หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น อยูในระดับมากที่สุด นอกนั้นทุกดานอยูในระดับมาก

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ยังมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการนําส่ือวิดีทัศนมาใชในการเรียนการสอนอีกวา วิดีทัศนชุดนี้ทําไดดีมาก การนําส่ือวิดีทัศนมาฉายใหชมเชนนี้จะใหความรูกับผูชมไดมากและควรปรับปรุงในเรื่องเสียงบรรยายใหชัดเจนกวานี้

125

ตารางที่ 12 คะแนนเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการแปลผลความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศน ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

รายการประเมิน x S.D. แปลผล1. การนําเสนอนาสนใจ 4.43 0.5 มาก2. ความยาวของสื่อวิดีทัศนมีความเหมาะสม 4.03 0.6 มาก3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจน เหมาะสม 3.93 0.6 มาก4. ภาพชัดเจน นาสนใจ 4.17 0.6 มาก5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน 4.23 0.4 มาก6. การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 4.83 0.3 มากที่สุด7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 4.77 0.4 มากที่สุด8. ควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4.60 0.4 มากที่สุด9. หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ํา เพิ่มขึ้น 4.87 0.3 มากที่สุด10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเร่ืองนี้อยูในระดับ 4.57 0.5 มากที่สุด

จากตารางที่ 12 ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย แสดงใหเห็นวา นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มีความพอใจตอส่ือวิดีทัศน ในเรื่อง 1 การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน 2 เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา 3 ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก 4 หลังจากชมวิดีทัศนแลวนักเรียนไดรับความรู เร่ืองมลพิษทางน้ํา เพิ่มขึ้น 5 นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเร่ืองนี้อยูในระดับทั้ง 5 ดาน อยูในระดับมากที่สุด นอกนั้นทุกดานอยูในระดับมาก

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ยังมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการนําส่ือวิดีทัศนมาใชในการเรียนการสอนอีกวา วิดีทัศนชุดนี้ทําไดดีมาก การนําส่ือวิดีทัศนมาฉายใหชมเชนนี้จะใหความรูกับผูชมไดมากและควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใหชมอีก

126

บทท่ี 5สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพื่อสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนและศึกษาความพึงพอใจที่มีตอส่ือวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา โดยสามารถสรุปสาระสําคัญและผลการศึกษาไดดังนี้

วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อพัฒนาสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปที่ 6 ใหไดประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 2. เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา

สมมติฐานการวิจัย 1. ส่ือวิดีทัศนที่พัฒนาขึ้น เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80

2. ผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สูงกวากอนเรียนจากสื่อวีดิทัศน

3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ําอยูในระดับมาก

วิธีดําเนินการวิจัย1. ประชากร

ประชากร กลุมประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่กําลังเรียนอยูในโรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร 2. กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ แบงเปน 2 กลุม ไดแก

127

2.1 กลุมตัวอยางเพื่อใชทดสอบประสิทธิภาพของแบบทดสอบ โดยการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1โรงเรียนออมนอยโสภณชนูปถัมภ อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาครจํานวน 60 คน

2.2 กลุมตัวอยางเพื่อใชหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน โดยการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดศรีสําราญราษฎรบํารุง และโรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 จํานวน 42 คน

3. เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา3.1 แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง จากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและสื่อวิดีทัศน

3.2 ส่ือวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เปนสื่อที่ผูวิจัยสรางและพัฒนาขึ้น โดยผานการตรวจแกไขในดานความถูกตองและเหมาะสม จากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน และดานการผลิตส่ือ จํานวน 3 ทาน และทดสอบภาคสนามหาประสิทธิภาพของสื่อกับนักเรียนกลุมตัวอยาง จํานวน 42 คน

3.3 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบวัดผลที่ผูวิจัยสรางขึ้น ประกอบดวยคําถามแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 70 ขอ โดยผานการตรวจแกไขดานความถูกตองของภาษาและคําถาม จากอาจารยที่ปรึกษา และผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน และผานการวิเคราะหคาอํานาจจําแนก คาความยากงาย โดยมีคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยใชสูตร KR20

3.4 แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ ส่ือวิดีทัศน เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางและผานการตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสมจากอาจารยที่ปรึกษา

4. วิธีดําเนินการทดลอง4.1 ทดสอบกอนเรียน (Pretest) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน4.2 จากนั้นใหนักเรียนศึกษาสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา

4.3 เมื่อนักเรียนศึกษาเสร็จ ทําแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

4.4 ใหนักเรียนทําแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอส่ือวิดีทัศน

การวิเคราะหขอมูลการวิเคราะหขอมูลใชคาเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการเปรียบเทียบ

คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนและหลังเรียนใชคา t-test for dependent

128

สรุปผลการวิจัยภายหลังการทดลองพบขอสรุปที่เปนไปตามสมมติฐาน คือ1. ประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน เรื่องมลพิษทางน้ํา สูงกวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว

โดยมีคา 83.062. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องมลพิษทางน้ํา ของนักเรียนที่เรียนดวยส่ือวิดีทัศน

หลังเรียนสูงกวากอนเรียน3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอส่ือวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ําอยูในระดับมาก

อภิปรายผลจากผลการวิจัยที่สรุปขางตน สามารถอภิปรายผลไดดังนี้1. การหาประสิทธิภาพสื่อวิดีทัศนไดรับการพัฒนาทั้ง 5 ตอน และมีประสิทธิภาพตาม

เกณฑที่กําหนดไว 80 เปนผลมาจากการนําประเด็นปญหาที่เกิดจากการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่งและแบบกลุมเล็กมาปรับปรุงแกไขในสวนของภาพบางภาพที่ไมตรงกับเสียงบรรยาย และการทําความเขาใจวิธีการใชส่ือวิดีทัศนอยางละเอียดของผูสอน จึงปฏิบัติตามแผนการสอนไดครบถวน โดยแจงจุดประสงคของการชมสื่อวิดีทัศน กลาวนําเขาสูบทเรียน การปรับปรุงระยะเวลาในการทําแบบทดสอบใหเหมาะสม จึงทําใหส่ือวิดีทัศนที่สรางและพัฒนามีประสิทธิภาพสูงขึ้นจนถึงเกณฑมาตรฐาน 80 ซ่ึงสอดคลองกับความเห็นของ เคอริด (Kerridge 1982 : 111, อางถึงใน เสาวภา สังขทีป 2543 : 80) วา “การแจงจุดประสงคของสื่อวิดีทัศนจะทําใหนักเรียนเขาใจในจุดประสงคการเรียนการสอนทําใหการเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น” และการนําเอาเทคโนโลยีผสมผสาน เขากับเนื้อหา จัดทําเปนสื่อการเรียนการสอนใหสอดคลองกับชีวิตประจําวัน จะชวยใหการเรียนการสอนดําเนินไปไดดวยดี (หัทยา เจียมศักดิ์ 2539, อางถึงใน ดรุณี ศรีตระกูล 2540 : 76) ส่ือวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ําที่ไดพัฒนาตามขั้นตอนนี้จึงสงเสริมใหผูเรียนเกิดความสนใจทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและสรางคานิยมที่ดีรูจักปญหาของมลพิษทางน้ําสามารถนําความรูมาพิจารณาในการพัฒนาชีวิตของตนเองและชุมชน ส่ือวิดีทัศนที่สรางและพัฒนาตามขั้นตอนทําใหทราบประเด็นปญหาและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดตรงประเด็น จึงทําใหส่ือวิดีทัศนมีประสิทธิภาพสูงขึ้นตามเกณฑมาตรฐาน 80 ที่กําหนดไว

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุมตัวอยาง คะแนนที่ไดจากจากการทําแบบทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุมตัวอยาง คะแนนที่ไดจากจากการทําแบบทดสอบ หลังเรียนสูงกวาคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

129

นาจะเปนผลมาจากสื่อวีดิทัศนที่ผลิตขึ้นไดนําไปทดลองกลุมนักเรียนแบบหนึ่งตอหนึ่ง แบบกลุมเล็กและแบบภาคสนาม โดยมีการพัฒนาสื่อข้ึนเรื่อยๆ ประกอบกับผานกระบวนการผลิตที่ดีเปนไปตามขั้นตอน มีเนื้อหาที่ตรงกับจุดประสงคการเรียนรู ผานการปรับปรุงทั้งดานเนื้อหา ดานการผลิตส่ือจากผูเชี่ยวชาญและการแนะนําจากอาจารยที่ปรึกษาทุกประการจึงทําใหไดส่ือที่มีประสิทธิภาพดีและการนําเอาสื่อวิดีทัศนเขามาใชในการเรียนการสอนเปนสิ่งที่ดีเพราะโดยปกติการสอนวิชาตางๆ จะมีการสอนแบบบรรยายและไมคอยมีส่ือประกอบ สวนสื่อวิดีทัศนเปนการนําเอาสื่อหลายอยางมาใชรวมกันอยางสะดวกเปนการใชส่ือที่เรียกวาสื่อประสมทําใหเกิดการเรียนรูที่สมบูรณ และสามารถทําใหเห็นทั้งภาพและไดยินทั้งเสียง ชวยใหผูเรียนไดรับความรู ความเขาใจในบทเรียนไดดียิ่งขึ้น ดังความเห็นของศักดิ์ดา ชูศรี (2539 :11) ที่กลาววา “การถายทอดกระบวนการหรือความรูไปยังผูเรียน หากมีแตการบรรยายแลวผูเรียนไดคิดตาม ก็อาจจะทําใหการสื่อสารไมตรงกันทําใหเกิดความเขาใจที่คลาดเคลื่อน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีส่ือกลางเขามาชวยในการเรียนการสอน เพราะส่ือการสอนจะชวยทําใหผูเรียนไดเขาใจเนื้อหาไดงายและเร็วข้ึน” และนาจะเปนผลมาจากสื่อ วิดีทัศนชวยกระตุนและจูงใจใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนในการเรียนมากกวาการสอนปกติ เพราะเปนการสรางและเปลี่ยนบรรยากาศในชั้นเรียนใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณตางๆ มากมายสามารถสรางจินตนาการในการเรียนและการเรียนรูไดมากกวาการสอนปกติจึงทําให ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นโดยเฉพาะตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอมกับตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสียนักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด

วิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ําจึงเปนสื่อที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่จะทําใหนักเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นและสามารถใชเปนสื่อท่ีถายทอดความรูแกนักเรียนไดเปนอยางดี และเปนการนําเอาเทคโนโลยีผสมผสานกับความรูที่เปนเนื้อหา กอใหเกิดผลการเรียนรูของผูเรียนที่สูงขึ้น และมีทัศนคติที่ดีตอการเรียนการสอน ดังนั้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมตัวอยางหลังการใชส่ือวิดีทัศนจึงสูงขึ้นกวากอนเรียน

3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศนที่สรางและพัฒนา วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอส่ือวิดีทัศนที่สรางและพัฒนา วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 แบงเปน 5 ตอน คือ ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด และตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

130

ผลการประเมินทั้ง 5 ตอน พบวาการนําเสนอนาสนใจ, ความยาวของสื่อวิดีทัศนมีความ เหมาะสม, เสียงบรรยายและเสียงประกอบชัดเจน เหมาะสม, ภาพชัดเจน นาสนใจ, ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน, การผลิตส่ือวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน, เนื้อหาความรูของสื่อ วิดีทัศนนาศึกษา, ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีกและหลังจากชม วิดีทัศนแลว นักเรียนไดรับความรูเร่ืองมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้นอยูในระดับที่มากและมากที่สุดทุกตอน

นอกจากนี้ผูเรียนไดแสดงความเห็นและความพึงพอใจเพิ่มเติมในแตละตอนไวดังนี้ตอนที่ 1 วิดีทัศนชุดนี้ทําไดดีมาก ควรปรับปรุงในเรื่องเสียงบรรยายใหชัดเจน

กวานี้ ตอนที่ 2 วิดีทัศนชุดนี้ทําไดดีมาก แตระยะเวลาในการนําเสนอนอยเกินไป ตอนที่ 3 การนําส่ือวิดีทัศนมาใชจะใหความรูกับผูชมไดมากและควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใหชมอีกเพราะทําใหนักเรียนทราบถึงภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นตอตัวนักเรียนและประเทศชาติ ตอนที่ 4 การนําสื่อวิดีทัศนมาใชจะใหความรูแกผูชมไดมาก แตควรปรับปรุงในเรื่องเสียงบรรยายใหชัดเจนขึ้น ตอนที่ 5 การนําส่ือวิดีทัศนมาใชจะใหความรูแกผูชมไดมากและควรมีการนําส่ือวิดีทัศน มาใหชมอีก โดยเฉพาะตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสียนักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด เพราะเปนเนื้อหาการนําเสนอที่เกี่ยวของกับโครงการตัวอยางที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ฯ ไดทรงศึกษาและทดลองวิธีการบําบัดน้ําเสีย ตลอดจนมีการ ปรับปรุงแกไขดัดแปลงเปนระยะๆ จนไดวิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง จึงทรงนํามาจัดทําเปนโครงการตัวอยางเพื่อใหไดรูปแบบที่สามารถนําไปประยุกตใชในการแกไขวิกฤตการณน้ําเนาเสียที่เกิดจากแหลงชุมชนเมืองและตามแหลงตางๆ ที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และโครงการตางๆ ที่เกิดขึ้นเพราะ ทรงหวงใยในพสกนิกรที่ตองเผชิญกับน้ํานาเสีย นักเรียนชมแลวเกิดความรักประทับใจมาก

ผลความพึงพอใจของสื่อวิดีทัศนที่นํามาใชในการเรียนการสอนจึงทําใหนักเรียนมีทัศนคติที่ดี และสงผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

ปญหาและอุปสรรคที่พบในการวิจัย1. การพัฒนาสื่อวิดีทัศน เพื่อเผยแพรความรูในเรื่อง มลพิษทางน้ํา จะตองใชเวลาใน

การผลิตและงบประมาณในการผลิตอยางมาก จึงควรคํานึงถึงส่ิงตางๆ ดังนี้1.1 การพัฒนาสื่อวิดีทัศนควรมีการวางแผนและกําหนดระยะเวลาใหชัดเจน เพราะ

131

ในขั้นตอนของการผลิตสื่อจะตองมีการปรับปรุงแกไขหลายขั้นตอน เพื่อใหไดส่ือวิดีทัศนที่สมบูรณ กอนที่จะนําไปทดลองกับกลุมทดลอง

1.2 การเขียนบทวิดีทัศน ตองกระชับ รัดกุม ไมยอนเรื่องราวไปมา เพราะจะทําใหกลุมตัวอยางสับสน และเสียเวลาในการตัดตอและสิ้นเปลืองคาใชจาย

2. ส่ือวิดีทัศนที่มีคุณภาพ หากผลิตเองมักจะใชตนทุนสูง ตองมีการวางแผนที่ดี เพราะ ส่ือเนื้อหาบทเรียนเปนการเสนอเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางเจาะลึก มีความหลากหลาย การผลิตสื่อจึงตองใชเงิน เวลา และความพิถีพิถันมาก ซ่ึงผูผลิตตองคํานึงถึงเปนสําคัญ

ขอเสนอแนะทั่วไป1. ในการผลิตส่ือวิดีทัศนจะตองมีการรวมมือกันทั้ง 3 ฝาย คือ ผูที่มีความรูดานวิธี

สอน ผูที่มีความรูดานเนื้อหาและผูที่มีความรูความสามารถในการผลิตส่ือ ซ่ึงหากในกระบวนการผลิตส่ือวิดีทัศนมีการรวมมือกันทั้ง 3 ฝาย ก็จะทําใหการดําเนินการผลิตส่ือวิดีทัศนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

2. การเขียนบทวิดีทัศน ควรกระชับและมีการตรวจทาน การวางแผนที่ดีกอนจะทําใหการ ตัดตอและบันทึกไมเกิดความสับสนและสิ้นเปลื้องงบประมาณ

3. ครูผูสอนจะตองมีความรูความเขาใจในวิธีการใชส่ือวีดิทัศนอยางดี เพื่อจะทําใหเกิด ประสิทธิภาพตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ซ่ึงครูผูสอนควรชี้แจงจุดประสงคและวิธีการเรียนให นักเรียนเขาใจกอนที่จะเริ่มเรียน โดยส่ือวิดีทัศนแบงออกเปน 5 ตอน ซ่ึงครูผูสอนจะตองสอนเรียงตามลําดับเนื้อหาใหถูกตอง

4. กอนการนําสื่อวิดีทัศนที่พัฒนาขึ้นไปใช นอกจากสื่อวิดีทัศนที่สมบูรณแลว อุปกรณการฉายทั้งเครื่องเลนวิดีทัศนและจอรับภาพจะตองใหภาพและเสียงที่คมชัด เพื่อดึงดูด ความสนใจของผูเรียนไดมากยิ่งขึ้น

5. ควรมีการรวมมือกันระหวาง ครู โรงเรียน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในการผลิตส่ือวิดีทัศนเพื่อใชรวมกันเพราะเปนการประหยัดเวลาและงบประมาณ

ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยคร้ังตอไป1. ควรมีการสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศนที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมเร่ืองอื่นๆ เชน

มลพิษทางอากาศ ภัยจากการตัดไมทําลายปา ฯลฯ เพื่อสรางความตระหนักใหกับผูเรียนไดมากขึ้น2. ควรมีการสรางและพัฒนาสื่อวิดีทัศนในระดับชั้นอื่นๆ และเนื้อหาวิชาอื่นๆ

132

3. ควรมีการศึกษาวาส่ือที่ผลิตขึ้นมีความเหมาะสมกับนักเรียนกลุมเกง กลุมปานกลางและกลุมออน ในแตละโรงเรียนของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

133

บรรณานุกรมภาษาไทยกรมวิชาการ. การพัฒนารายวิชาสังคมศึกษาใหสอดคลองกับทองถ่ินในหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา

ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533. กรุงเทพมหานคร : ศูนยพัฒนาหลักสูตร, ม.ป.ป. . คูมือการพัฒนาหลักสูตรตามความตองการของทองถ่ิน. กรุงเทพมหานคร :

โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2536. . คูมือการพัฒนาหลักสูตรตามความตองการของทองถ่ิน กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ

คุรุสภาลาดพราว, 2540. . ชุดอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมตามแนวพระราชดําริ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ

คุรุสภาลาดพราว, 2541. . หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ

องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2545.กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. ความรูเร่ืองสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ : กองสงเสริมและเผยแพร,

2535. . คูมือกฎหมายสิ่งแวดลอมสําหรับประชาชนเรื่องมลพิษทางน้ํา. กรุงเทพฯ :

กองสงเสริมและเผยแพร, 2542.กาญจนา คุณารักษ. หลักสูตรและการพัฒนา. นครปฐม : โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2535.กิดานันท มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ, 2543.กิตติมา ปรีดีดิลก. การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอักษร

พิพัฒนาจํากัด, 2532. เกศินี โชติกเสถียร. การใชเทคโนโลยีทางการสอนในหองเรียน. กรุงเทพมหานคร : คณะ

ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2523.แกวตา คณะวรรณ. หลักการของหลักสูตร. ขอนแกน : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน,

2521.จีระพันธุ พูลพัฒน. หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร, 2532.ใจทิพย เชื้อรัตนพงษ. การพัฒนาหลักสุตรหลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบริหาร

การศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539.ชัยยงค พรหมวงศ. นวกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากับการสอนระดับอนุบาล. กรุงเทพฯ :

ไทยวัฒนาพานิช, 2521.

134

ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา เลมที่ 1หนวยที่ 1-5. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย,2523.

ชิน คลายปาน และคณะ. เทคนิคการผลิตรายการเทปโทรทัศน. กรุงเทพมหานคร : คณะอนุกรรมการกลุมโสตทัศนศึกษา หองสมุดสถาบันอุดมศึกษา, 2528.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยีการศึกษา : ทฤษฎีและการวิจัย . กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร, 2533.ดรุณี ศรีตระกูล. “การพัฒนาหนวยการสอนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตโดยเนนภูมิปญญา

ทองถ่ิน.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2540

ทัศนีย นาครักษ. “การผลิตเทปวีดิทัศนเพื่อการสอน.” ปริญญานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2540.

ทัศนีย ศุภเมธี. หลักสูตรและการจัดการประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร วิทยาลัยครูธนบุรี, 2535.

ธาริณี วีระสกุลทัศน. “การใชวิดีทัศนกับการสอนซอมเสริมวิชาวิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพเร่ืองรังสีที่มองไมเห็น.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2528.

ธํารง บัวศรี. ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2532.

นภาภรณ อัจฉริยะกุล และพิไลพรรณ ปุกหุต. หลักการและทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี :สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2529.

นิพนธ ศุขปรีดี. นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิฆเณศ, 2520.

. การใชเครื่องมือเทคโนโลยีการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช,2523.

บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาสน, 2535.บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. การทดสอบแบบอิงเกณฑ : แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ : โอเดียน

สโตร, 2527.บุญเที่ยง จุยเจริญ. เทคนิคพื้นฐานการใชและบํารุงรักษาอุปกรณเทคโนโลยีทางการศึกษา.

กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัดการพิมพ, 2534.

135

ประทิน คลายนาค. การผลิตรายการโทรทัศนทางการศึกษา. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541.

ประเวศ วะสี. “การศึกษาของไทยกับภูมิปญญาทองถ่ิน.” ใน การสัมมนาทางวิชาการภูมิปญญาชาวบานกับการดําเนินงานดานวัฒนธรรมและการพัฒนาชนบท. 81. กรุงเทพฯ :อมรินทรพร้ินติ้งกรุพ, 2534.

เปรื่อง กุมุท. การวิจัยส่ือและนวกรรมการสอน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2519.

พงศพันธ อันตะริกานนท. “ การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศนดวยตนเอง สําหรับการฝกอบรมบุคลากรทางสาธารณสุขในการเขียนบทวีดิทัศนเบื้องตน.” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2539.

พงศพิพัฒน หมูสิริโรจน. “การผลิตวีดิทัศน เร่ืองการปองกันอุบัติเหตุทางสัญจรสําหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 5.” การคนควาอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2531.

พะนอม แกวกําเนิด. หลักการของหลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2533.

พินิต วัณโณ. “การผลิตรายการโทรทัศน.” กรุงเทพ ฯ : ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2524. (อัดสําเนา)

ไพโรจน ตีรณธนากุล และนิพนธ ศุภศรี. เทคนิคการผลิตรายการวิดีโอเทปเพื่อการศึกษา.กรุงเทพฯ : พลพันธการพิมพ, 2528.

ไพศาล ชวยชูหนู. “เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักสูตรการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชเทปโทรทัศนสาธิตการทดลองกับนักเรียนดวยการทําการทดลองจริง.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2528.

ภูษิต อานมณี. “การพัฒนารายการวีดิทัศน เร่ืองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร.”ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2541.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน หนวยที่1 – 7. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2530.

136

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชา การพัฒนาและการใชส่ือการศึกษานอกระบบ หนวยที่ 9 – 15. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2534.

. เอกสารการสอนชุดวิชา การวัดผลและประเมินผลกลุมวิชาเฉพาะหนวยที่ 1 – 7.นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535.

. ก เอกสารการสอนชุดวิชา ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน หนวยที่ 1 – 7.นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536.

. ข เอกสารการสอนชุดวิชา ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน หนวยที่ 8 – 15.นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536.

. ค ประมวลสาระชุดวิชา การวิจัยเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา หนวยที่ 1 – 4.นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536.

. วิทยานิพนธ 3 แขนงวิชาเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537.

. เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีการสอน หนวยที่ 9 - 15. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539.

. เอกสารการสอนชุดวิชา วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา หนวยที่1- 8. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.

เมธี เจริญสุข. “การพัฒนารายการวีดิทัศนโดยใชชุดถายทําแบบกลองเดี่ยวแบบเบ็ดเสร็จ.”ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2538.

ยรรยง สุขเกษม. “การพัฒนารายการวีดิทัศนการสอน เร่ือง การอนุรักษส่ิงแวดลอม สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สังกัดกรุงเทพมหานคร.” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2539.

ยุทธศักดิ์ ฮมเสน. หลักสูตรและการจัดการมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2535.

รัตนะ บัวสนธิ์. “การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเพื่อถายทอดภูมิปญญาทองถ่ิน : กรณีศึกษาชุมชนแหงหนึ่งในเขตภาคกลางตอนลาง.” ปริญญานิพนธการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2535.

137

แรมสมร อยูสถาพร. การสรางและการใชหลักสูตรประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534.

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 5 (ปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, 2538.

ลัคนา ศรีสวัสดิ์. “บทบาทของวีดิทัศนสภาพปจจุบันและแนวโนม ป พ.ศ. 2530-2540.”วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2530.

วนิดา สุขขี. “การพัฒนาชุดสื่อประสม เร่ืองการจัดการฝกอบรมสําหรับเจาหนาที่สาธารณสุขระดับจังหวัดใน 7 จังหวัดภาคใตตอนลาง.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540.

วสันต อติศัพท. การผลิตเทปโทรทัศนเพื่อการศึกษาและการฝกอบรม. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2533.

วสารักษ แกวจินดา. “การใชส่ือวีดิทัศนเสริมเพื่อเพิ่มพูนความรูเร่ืองสิ่งแวดลอมกรณีศึกษา :นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดลอมบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.

วาสนา ชาวหา. ส่ือการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2533.วิภา อุตมฉันท. การผลิตส่ือโทรทัศนและวีดิทัศน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2538.ศราวุธ สังขวรรณะ. “การศึกษาความคิดเห็นของผูบริหารและอาจารยผูสอนเกี่ยวกับสภาพและ

ปญหาการใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค พุทธศักราช 2533 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาการบัญชี ของกรมอาชีวศึกษา.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2536.

ศศิธร พวงผกา. “ความคิดเห็นของกลุมผูผลิตรายการและนักเรียนชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับรายการโทรทัศนสําหรับเด็ก.” วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535.

ศักดิ์ดา ชูศรี. “การผลิตวีดิทัศนเพื่อการศึกษาดวยตนเอง เร่ืองเทคนิคการใชโสตทัศนูปกรณรายงานการวิจัยป 2538.” พัฒนาเทคนิคศึกษา 8, 20 (ตุลาคม–ธันวาคม 2539) :11 –14.

138

สงัด อุทรานันท. พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมิตรสยาม,2532.

สมบูรณ สงวนญาติ. เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, 2534.สหัทยา วิเศษ. “ภูมิปญญาชาวบานในการอนุรักษและฟนฟูปาตนน้ํา ศึกษาเฉพาะกรณี กลุมฮักปา

ศรีถอย ตําบลศรีถอย อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา.” ปริญญานิพนธพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2540.

สอาด ทิพยมงคล. “การสรางและทดลองใชเทปโทรทัศนหนังตะลุงสอนประชากรศึกษา เร่ืองผลสืบเนื่องจากภาวะเจริญพันธุ สําหรับนักศึกษาวิทยาลัยครู.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2534.

สันต ธรรมบํารุง. หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร : เกรียงศักดิ์การพิมพ,2527.

สันทัด ภิบาลสุข และพิมพใจ ภิบาลสุข. การใชส่ือการสอน.พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : พีระพัธนา, 2523.

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. แนวทางการใชหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2533) และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนช้ันประถมศึกษาปที่ 1-6. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมการศาสนา, 2537.

. “คูมือความรูเบื้องตน เร่ืองมลภาวะเปนพิษ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ.” เอกสาร ศน.เลขที่ 43/2541. (อัดสําเนา)

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 –2544. กรุงเทพฯ : พัฒนาหลักสูตร, 2540.

. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : บริษัทพริกหวานการพิมพจํากัด, 2542.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ฉบับสมบูรณรวม 8 สวน. กรุงเทพฯ : พัฒนาหลักสูตร, 2541.

. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549) ฉบับราง.กรุงเทพฯ : พัฒนาหลักสูตร, 2544.

139

สุกัญญา คงเทพ. “การศึกษารูปแบบการนําเสนอรายการสารคดีทางโทรทัศนแบบเต็มรูปแบบกึ่งสารคดีกึ่งพูดคนเดียว ที่มีผลตอการนําไปใชของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.”วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540.

สุธัญญา ภูรัตนาพิชญ. “การพัฒนารายการวีดิทัศนการสอนชุด การลางฟลม และการขยายภาพขาว-ดํา.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2539.

สุธิรา แกวมณี. “การศึกษาประสิทธิภาพเทปวีดิทัศนการสอนวิชานาฎศิลป เร่ืองรําวงมาตรฐานช้ันประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2536.

สุพิทย กาญจนพันธ. รวมศัพทเทคโนโลยีและส่ือสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,2541.

สุภักดิ์ วิศวธีรานนท. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซอมเสริมวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ําระหวางกลุมที่ใชบทเรียนแบบโปรแกรมโทรทัศนกับกลุมที่สอนโดยครู.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529.

สุรพงษ โลหิตพินทุ. “การใชวีดิทัศนแบบประหยัดสอนวิชาสังคมศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจังหวัดนครปฐม.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2524.

เสาวนีย สิกขาบัณฑิต. เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2528.

เสาวภา สังขทีป. “การพัฒนารายการวีดิทัศน วิชาทองถ่ินของเรา เร่ืองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติโดยใชภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.

ภาษาอังกฤษBandura, Albert H. Social Learning Theory. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, 1977.Bown, J.W., R.B. Lewis,and P.P. Harcleroad. AV InteMation Technology Media and Methods .

4th ed. New York : McGraw – Hill, lnc., 1977.

140

Cable, Ralph. Audio – Visual Handbook. London : University of London Press Ltd., 1970.Dale, Edgar. Audio Visual Method in Teaching. 3rd ed. New York : Dryden Press, 1969.Fincher, ADA Louise. Effect of Learning style on cognitive and psychomotor Achievement and

Retention When Using Liner and Interactive Video (Cognitive Achievement Video).New York : University of Alabama, 1995.

Fisher, Judith C. “ The Effect Videotape Recording on Swimming Performance and Knowledgeof Stoke Mechanics.” Completed Research in Health Physical Education andResearch 20, 73 (September 1977) : 216.

Gerlach, Verman S., and P.Ely. Teaching and Media a Systematic Approach .2nd ed. EnglewoodCliff : Prentice - Hall, 1980.

Good, Carter Victor. Dictionary of Education . New York : McGraw- Hill Book Company, Inc.,1973.

Gustavssion, Norman. Constructing Achievement Test . 3rd ed. Englewood Cliff : Prentice - Hall,lnc., 1982.

James, Mcinnes. Video in Education and Training. London : Focal Press, 1980.Kelly, F.C. “Evaluation Report on First Year using Educational Television 1959-1960 Doss

Moines and Pold Country School.” Audio-Visual Communication Review 8 (May1960) : 134.

Koeniq, A.E., and R.B. Hill. The Future Vision. Wisconsin : The University of Wisconsin Press,1967.

Kurke, James W., Richard B. Lewis, and Fred F. Hercleroad. “A-V Instructional Technology.”Media and Method Sixth Edition 22 (21 May 1971) : 120.

Lemler, F.L., and R. Leestma. Supplementary Course Material in Audio Visual Education. NewYork : Slater’s Boolstore, 1961.

Miller, R.S. “The Effectiveness of Video Technology in Safety Training at an Industrial Site.” Dissertation Abstracts International 9 (March 1984) : 2659-A

Pargament, K.L., K.L. Moton, and R.E. Hess. Religion and Prevention in Mental Health Research: Vision and Action. New York : The Haworth press, 1992.

Saylor, J. Galen, and Willian M. Alexander. Planning Curriculum for Schools. New York :Holt Rinehart and Winston, Inc., 1974.

141

Szabo, M., and A.L. Landy. “Television Based Reading Instruction, Reading Achivement andTask Involvement.” Journal of Education Research 74 (April 1984) : 289.

Taba, Hilda. Curriculum Development : Theory and practice. New York : Harcourt Brace andWorld, Inc., 1962.

Tyler, Ralph W. Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago : The University ofChicago prees, 1974.

ภาคผนวก

ภาคผนวก กรายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ

144

รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเนื้อหา

1. ผศ. ดร. มัลลิกา ปญญคะโป ภาควิชาวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม2. อ. กมล ปยภัณฑ ที่ปรึกษาสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาดานวิชาการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร3. อ. นฤมล ปภัสสรานนท สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร

รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบสื่อวิดีทัศน

1. รศ. ประทิน คลายนาค ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม2. ผศ. จีรารัตน ชิรเวทย รองคณบดีคณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม3. ผศ. เรวดี ศรีเอี่ยมสะอาด หัวหนาสํานักงานเลขานุการคณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม

ภาคผนวก ขคา IOC ขอคําถาม คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r)

และคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

146

ตารางที่ 13 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใชดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบ กับจุดประสงค (IOC) ของแบบทดสอบกอนเรียน (Pre – test) และ แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

เกณฑการประเมินขอที่

+1 0 -1 x1 /// 12 /// 13 /// 14 / // .335 // / .676 /// 17 // / .678 // / .679 /// 110 /// 111 /// 112 // / .6713 // / .6714 /// 115 / // .3316 /// 117 /// 118 /// 119 // / .6720 /// 1

147

ตารางที่ 14 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใชดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบ กับจุดประสงค (IOC) ของแบบทดสอบกอนเรียน (Pre – test) และ แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย

เกณฑการประเมินขอที่

+1 0 -1 x1 /// 12 /// 13 / // .334 /// 15 /// 16 /// 17 /// 18 / // .339 /// 110 /// 111 // / .6712 /// 113 // / .6714 /// 115 /// 116 /// 117 / // .3318 // / .6719 /// 120 /// 1

148

ตารางที่ 15 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใชดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบ กับจุดประสงค (IOC) ของแบบทดสอบกอนเรียน (Pre – test) และ แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม

เกณฑการประเมินขอที่

+1 0 -1 x1 /// 12 /// 13 // / .674 /// 15 / // .336 /// 17 /// 18 /// 19 / // .3310 /// 111 /// 112 // / .6713 / // .3314 /// 115 /// 116 /// 117 /// 118 // / .6719 // / .6720 /// 1

149

ตารางที่ 16 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใชดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบ กับจุดประสงค (IOC) ของแบบทดสอบกอนเรียน (Pre – test) และ แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและ การแกไขโดยใชระบบบําบัด

เกณฑการประเมินขอที่

+1 0 -1 x1 // / .672 /// 13 / // .334 // / .675 /// 16 / // .337 /// 18 / // .339 /// 110 /// 111 /// 112 / // .3313 // / .6714 /// 115 /// 116 / // .3317 /// 118 // / .6719 / // .3320 /// 1

150

ตารางที่ 17 คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใชดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบ กับจุดประสงค (IOC) ของแบบทดสอบกอนเรียน (Pre – test) และ แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

เกณฑการประเมินขอที่

+1 0 -1 x1 // / .672 /// 13 /// 14 / // .335 / // .336 /// 17 / // .338 /// 19 /// 110 / // .3311 // / .6712 /// 113 /// 114 / // .3315 // / .6716 /// 117 /// 118 // / .6719 / // .3320 /// 1

151

ตารางที่ 18 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร n = 60

ขอที่ RU RL RU + RL RU - RL p r1 21 12 33 9 0.66 0.362 15 11 26 4 0.52 0.163 20 14 34 6 0.68 0.244 16 9 25 7 0.50 0.285 15 6 21 9 0.42 0.366 22 16 28 8 0.76 0.247 14 8 22 6 0.44 0.248 15 12 27 3 0.54 0.129 21 14 35 5 0.70 0.2810 17 9 26 8 0.52 0.3211 14 8 22 6 0.44 0.2412 13 5 18 8 0.36 0.3213 18 12 30 6 0.60 0.2414 19 13 32 6 0.64 0.2415 14 11 25 3 0.50 0.1216 15 9 24 6 0.48 0.2417 19 11 30 8 0.60 0.3218 16 9 25 7 0.50 0.28

152

ตารางที่ 19 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย n = 60

ขอที่ RU RL RU + RL RU - RL p r1 17 10 27 7 0.54 0.282 21 12 33 9 0.66 0.363 21 13 34 8 0.68 0.324 22 15 37 7 0.74 0.285 21 14 35 7 0.70 0.286 18 12 30 6 0.60 0.247 17 13 30 4 0.60 0.168 18 9 27 9 0.54 0.369 20 12 32 8 0.44 0.3210 19 11 30 8 0.66 0.3211 17 11 28 6 0.56 0.2412 16 12 28 4 0.56 0.1613 19 10 29 9 0.58 0.3614 22 13 35 9 0.70 0.3615 17 11 28 6 0.56 0.2416 19 12 31 7 0.62 0.2817 21 13 34 8 0.68 0.32

153

ตารางที่ 20 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม n = 60

ขอที่ RU RL RU + RL RU - RL p r1 21 14 35 7 0.70 0.282 19 13 32 6 0.64 0.243 16 13 29 3 0.58 0.124 21 13 34 8 0.68 0.325 19 12 31 7 0.62 0.286 22 16 38 6 0.76 0.247 18 11 29 7 0.58 0.288 20 12 32 8 0.64 0.329 20 11 31 9 0.62 0.3610 16 6 22 10 0.44 0.4011 15 11 26 4 0.52 0.1612 18 10 28 8 0.56 0.3213 20 11 31 9 0.62 0.3614 17 9 26 8 0.52 0.3215 21 11 32 10 0.62 0.4016 17 6 23 11 0.46 0.4417 17 8 25 9 0.50 0.36

154

ตารางที่ 21 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด

n = 60ขอที่ RU RL RU + RL RU - RL p r

1 17 8 25 9 0.50 0.362 16 8 24 8 0.48 0.323 17 10 27 7 0.54 0.284 18 7 25 11 0.50 0.445 22 11 33 11 0.66 0.446 16 12 28 4 0.56 0.167 18 11 29 7 0.58 0.288 20 12 32 8 0.64 0.329 15 9 24 6 0.48 0.2410 20 9 29 11 0.58 0.4411 17 7 24 10 0.48 0.4012 17 13 30 4 0.60 0.1613 21 15 36 6 0.72 0.2414 15 8 23 7 0.42 0.2815 16 10 26 6 0.52 0.24

155

ตารางที่ 22 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย n = 60

ขอที่ RU RL RU + RL RU - RL p r1 16 10 26 6 0.52 0.242 20 12 32 8 0.64 0.323 16 9 25 7 0.50 0.284 17 11 28 6 0.56 0.245 18 7 25 11 0.50 0.446 15 7 22 8 0.44 0.327 15 11 26 4 0.52 0.168 18 11 29 7 0.58 0.289 17 8 25 9 0.50 0.3610 15 6 21 9 0.42 0.3611 17 9 26 8 0.52 0.3212 15 5 20 10 0.40 0.4013 18 11 29 7 0.58 0.28

156

ตารางที่ 23 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยง (rtt ) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

n = 60ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 X X2

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1212 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 1003 1 1 1 1 1 1 6 364 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1215 1 1 1 1 1 1 1 7 496 1 1 1 1 1 1 1 7 497 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1448 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1219 1 1 1 1 1 1 1 7 49

10 1 1 1 1 1 1 1 7 4911 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6412 1 1 1 1 1 5 2513 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10014 1 1 1 1 1 1 6 3615 1 1 1 1 1 1 6 3616 1 1 1 1 1 1 6 3617 1 1 1 1 1 1 1 7 4918 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14419 1 1 1 1 1 1 1 7 4920 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12121 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8122 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12123 1 1 1 1 1 1 1 7 4924 1 1 1 1 1 1 6 3625 1 1 1 1 1 1 1 7 4926 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10027 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12128 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14429 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14430 1 1 1 1 1 1 1 7 49

157

ตารางที่ 23 (ตอ)

ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 X X2

31 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12132 1 1 1 1 4 1633 1 1 1 1 1 1 1 7 4934 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12135 1 1 1 1 1 1 1 7 4936 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10037 1 1 1 1 1 1 1 7 4938 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10039 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12140 1 1 1 1 1 1 1 7 4941 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10042 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12143 1 1 1 1 1 5 2544 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10045 1 1 1 1 1 5 2546 1 1 1 1 1 1 1 7 4947 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10048 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12149 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14450 1 1 1 1 1 1 1 7 4951 1 1 1 1 1 5 2552 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8153 1 1 1 1 1 1 6 3654 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10055 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6456 1 1 1 1 1 5 2557 1 1 1 1 1 1 1 7 4958 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10059 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8160 1 1 1 1 1 5 25Σถูก 37 38 33 31 41 31 38 33 30 28 35 36 31 32 32 506 4588

p .62 .63 .55 .52 .68 .52 .63 .55 .50 .46 .58 .60 .52 .53 .53

q .38 .37 .45 .48 .32 .48 .37 .45 .50 .54 .42 .40 .48 .47 .47

pq .18 .18 .20 .20 .18 .20 .18 .20 .25 .20 .20 .24 .20 .20 .20

Σpq = 3.05 , S2 = 5.44 , rtt = 0.45

158

ตารางที่ 24 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยง (rtt ) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย

n = 60ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 X X2

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1442 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 1003 1 1 1 1 1 1 1 7 494 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1445 1 1 1 1 1 1 1 1 8 646 1 1 1 1 1 1 1 1 8 647 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1448 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1699 1 1 1 1 1 1 1 1 8 64

10 1 1 1 1 1 1 6 3611 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14412 1 1 1 1 1 1 1 7 4913 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14414 1 1 1 1 1 1 6 3615 1 1 1 1 1 1 6 3616 1 1 1 1 1 1 1 7 4917 1 1 1 1 1 1 6 3618 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12119 1 1 1 1 1 1 6 3620 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12121 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12122 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10023 1 1 1 1 1 1 1 7 4924 1 1 1 1 1 1 1 7 4925 1 1 1 1 1 1 6 3626 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12127 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12128 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14429 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14430 1 1 1 1 1 1 1 1 8 64

159

ตารางที่ 24 (ตอ)

ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 X X2

31 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12132 1 1 1 1 1 1 1 7 4933 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8134 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14435 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6436 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12137 1 1 1 1 1 5 2538 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12139 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10040 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6441 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12142 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12143 1 1 1 1 1 1 1 7 4944 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12145 1 1 1 1 1 1 1 7 4946 1 1 1 1 1 1 1 7 4947 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14448 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 16949 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14450 1 1 1 1 1 1 1 7 4951 1 1 1 1 1 1 1 7 4952 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14453 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6454 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14455 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 16956 1 1 1 1 1 5 2557 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6458 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14459 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 16960 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 81Σถูก 32 38 43 44 42 39 33 40 34 36 36 41 33 36 37 564 5658

p .53 .63 .72 .73 .70 .65 .55 .67 .57 .60 .60 .68 .55 .60 .62q .47 .37 .28 .27 .30 .35 .45 .33 .43 .40 .40 .32 .45 .40 .38

pq .20 .18 .14 .14 .21 .18 .20 .18 .20 .24 .24 .18 .20 .24 .18

Σpq = 2.91 , S2 = 6.04 , rtt = 0.53

160

ตารางที่ 25 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยง (rtt ) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม

n = 60ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 X X2

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1212 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1213 1 1 1 1 1 1 1 7 494 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 1005 1 1 1 1 1 1 6 366 1 1 1 1 1 1 1 7 497 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1218 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1219 1 1 1 1 1 1 1 1 8 64

10 1 1 1 1 1 1 1 7 4911 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 16912 1 1 1 1 1 1 1 7 4913 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14414 1 1 1 1 1 1 6 3615 1 1 1 1 1 5 2516 1 1 1 1 1 5 2517 1 1 1 1 1 1 6 3618 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14419 1 1 1 1 1 1 6 3620 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 16921 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12122 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12123 1 1 1 1 1 6 3624 1 1 1 1 1 1 6 3625 1 1 1 1 1 1 1 7 4926 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12127 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10028 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14429 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12130 1 1 1 1 1 1 6 36

161

ตารางที่ 25 (ตอ)

ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 X X2

31 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10032 1 1 1 1 1 5 2533 1 1 1 1 1 5 2534 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12135 1 1 1 1 1 1 6 3636 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10037 1 1 1 1 1 1 1 7 4938 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10039 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14440 1 1 1 1 1 1 6 3641 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12142 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10043 1 1 1 1 1 1 1 7 4944 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12145 1 1 1 1 1 1 6 3646 1 1 1 1 1 1 1 7 4947 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12148 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12149 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 16950 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6451 1 1 1 1 1 1 1 7 4952 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 16953 1 1 1 1 1 1 1 7 4954 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10055 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14456 1 1 1 1 1 1 1 7 4957 1 1 1 1 1 1 1 7 4958 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 14459 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12160 1 1 1 1 1 1 1 7 49Σถูก 39 39 37 39 43 36 40 37 31 33 33 33 34 30 31 535 5159

p .58 .65 .62 .65 .72 .60 .67 .62 .52 .55 .55 .55 .57 .50 .52q .42 .35 .38 .35 .28 .40 .33 .38 .48 .45 .45 .45 .43 .50 .48

pq .20 .18 .18 .18 .14 .24 .18 .18 .20 .20 .20 .20 .20 .25 .20

Σpq = 2.93 , S2 = 6.58 , rtt = 0.56

162

ตารางที่ 26 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยง (rtt ) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด

n = 60ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 X X2

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 1002 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 813 1 1 1 1 1 5 254 1 1 1 1 1 1 1 1 8 645 1 1 1 1 4 166 1 1 1 1 4 167 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 1218 1 1 1 1 1 1 1 1 8 649 1 1 1 1 1 5 25

10 1 1 1 1 1 1 6 3611 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12112 1 1 1 1 1 5 2513 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8114 1 1 1 1 1 5 2515 1 1 1 1 1 1 6 3616 1 1 1 1 4 1617 1 1 1 1 1 5 2518 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10019 1 1 1 1 4 1620 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8121 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12122 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8123 1 1 1 1 1 1 6 3624 1 1 1 1 1 1 6 3625 1 1 1 1 1 5 2526 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8127 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6428 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8129 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12130 1 1 1 1 1 1 6 36

163

ตารางที่ 26 (ตอ)

ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 X X2

31 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8132 1 1 1 1 1 5 2533 1 1 1 1 1 5 2534 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8135 1 1 1 1 4 1636 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8137 1 1 1 1 1 1 6 3638 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8139 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6440 1 1 1 1 1 5 2541 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10042 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6443 1 1 1 1 4 1644 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8145 1 1 1 1 1 5 2546 1 1 1 1 4 1647 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6448 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6449 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8150 1 1 1 1 1 1 6 3651 1 1 1 1 1 5 2552 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 11 12153 1 1 1 1 1 1 6 3654 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8155 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8156 1 1 1 1 4 1657 1 1 1 1 1 5 2558 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6459 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8160 1 1 1 1 4 16Σถูก 31 30 33 33 34 36 36 31 32 32 39 31 30 428 3364

p .52 .50 .55 .55 .57 .60 .60 .52 53 .53 .65 .52 .50q .48 .50 .45 .45 .43 .40 .40 .48 .47 .47 .35 .48 .50

pq .20 .25 .20 .20 .20 .24 .24 .20 .20 .20 .18 .20 .25

Σpq = 2.76 , S2 = 5.27 , rtt = 0.49

164

ตารางที่ 27 การหาคาสัมประสิทธิ์แหงความเที่ยง (rtt ) ของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

n = 60ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 X X2

1 1 1 1 1 1 1 1 1 8 642 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 813 1 1 1 1 4 164 1 1 1 1 1 1 1 1 8 645 1 1 1 3 96 1 1 1 1 1 5 257 1 1 1 1 1 1 1 1 8 648 1 1 1 1 1 1 1 1 8 649 1 1 1 3 9

10 1 1 1 1 4 1611 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8112 1 1 1 1 1 5 2513 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6414 1 1 1 1 4 1615 1 1 1 1 1 5 2516 1 1 1 1 1 5 2517 1 1 1 1 1 1 6 3618 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 10019 1 1 1 1 4 1620 1 1 1 1 1 1 1 7 4921 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6422 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8123 1 1 1 3 924 1 1 1 1 1 5 2525 1 1 1 1 4 1626 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8127 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6428 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8129 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6430 1 1 1 3 9

165

ตารางที่ 27 (ตอ)

ขอท่ีคนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 X X2

31 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6432 1 1 1 1 1 5 2533 1 1 1 1 4 1634 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6435 1 1 1 1 4 1636 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6437 1 1 1 1 1 5 2538 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8139 1 1 1 1 1 1 1 7 4940 1 1 1 1 4 1641 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6442 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6443 1 1 1 1 1 5 2544 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6445 1 1 1 1 4 1646 1 1 1 1 4 1647 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 8148 1 1 1 1 1 1 1 7 4949 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6450 1 1 1 1 4 1651 1 1 1 1 1 5 2552 1 1 1 1 1 1 1 7 4953 1 1 1 3 954 1 1 1 1 1 1 1 7 4955 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6456 1 1 1 1 1 5 2557 1 1 1 1 1 1 6 3658 1 1 1 1 1 1 1 1 8 6459 1 1 1 1 1 1 1 7 4960 1 1 1 1 4 16Σถูก 31 33 32 33 32 29 33 31 31 32 29 30 376 2608

p .52 .55 .53 .55 .53 .48 .55 .52 .52 .53 .48 .50q .48 .45 .47 .45 .47 .52 .45 .48 .48 .47 .52 .50

pq .20 .20 .20 .20 .20 .20 .20 .20 .20 .20 .20 .25

Σpq = 2.45 , S2 = 4.26 , rtt = 0.43

ภาคผนวก คคา IOC ของเนื้อหากับจุดประสงค คา IOC ของขอคําถามในแบบประเมินสื่อ

และคา IOC ขอคําถามในแบบสอบถามความคิดเห็น

167

ตารางที่ 28 คา IOC ของเนื้อหากับจุดประสงคของสื่อวิดีทัศน เร่ือง มลพิษทางน้ํา

เนื้อหา จุดประสงค ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3 รวม IOCมลพิษทางน้ําเกี่ยวกับน้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

จุดประสงคการเรียนรู1. อธิบายความหมายของน้ําเสียได2. บอกความหมายของมลพิษทางน้ําได3. อธิบายมลสารของสารอินทรียและสารอนินทรียพรอมทั้งยกตัวอยางได4. สามารถจําแนกลักษณะของน้ําเสียแตละประเภทได5. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีการปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได6. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได 1 1 1 3 1.00

มลพิษทางน้ําเกี่ยวกับแหลงที่มาของน้ําเสีย

จุดประสงคการเรียนรู1. สามารถจําแนกแหลงที่ทําใหเกิดการเนาเสียได 2. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีการปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได 3. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได 1 1 1 3 1.00

มลพิษทางน้ําเกี่ยวกับผลกระทบของน้ําเสียตอสิ่งแวดลอม

จุดประสงคการเรียนรู1. สามารถจําแนกผลกระทบจากปญหาน้ําเสียที่มีตอสิ่งแวดลอมในแตละดานได2. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีการปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได3. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได 1 1 1 3 1.00

168

ตารางที่ 28 (ตอ)

เนื้อหา จุดประสงค ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3 รวม IOCมลพิษทางน้ําเกี่ยวกับสภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใช ระบบบําบัด

จุดประสงคการเรียนรู1. สามารถบอกสภาพน้ําเสียของแมน้ําสายสําคัญๆ ในประเทศไทยได 2. บอกวิธีการบําบัดน้ําเสีย วิธีทางชีวภาพวิธีทางเคมีและวิธีผสมผสานได3. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีการปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได4. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได 1 1 1 3 1.00

มลพิษทางน้ําเกี่ยวกับแนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

จุดประสงคการเรียนรู1. บอกกระแสพระราชดํารัสฯ ที่มีพระราชดําริเกี่ยวกับความสําคัญของน้ําได2. สามารถบอกวิธีการดําเนินงานดวยวิธีตางๆ ที่ทรงเห็นสมควรทําใหเหมาะสมกับธรรมชาติและถือความประหยัดเปนหลักได3. อธิบายประโยชนของน้ําไดอยางนอย 5ประการ4. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีการปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได5. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได

1 1 1 3 1.00

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ควรเนนใหนักเรียนตระหนักถึงวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําใหมาก

169

ตารางที่ 29 คา IOC ของขอคําถามในแบบประเมินสื่อวิดีทัศน เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ขอ รายการประเมิน ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3 รวม IOC

1234

56

7

1234567

ดานเนื้อหาเนื้อหาตรงกับจุดประสงค การเรียนการเสนอเนื้อเรื่องตามลําดับขั้นตอนเนื้อหามีความเหมาะสมกับผูเรียนการบรรยายเนื้อหามีความเหมาะสมกับ สื่อวีดิทัศนการแยกแยะเนื้อหาแตละขั้นตอนมีความเดนชัดการสอนดวยบทเรียนวิดีทัศนจะสามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความเขาใจการสอนดวยสื่อวิดีทัศนสามารถประหยัดเวลาเรียนไดเหมาะสม....................................................................................ดานเครื่องมือความเหมาะสมของเรื่องความชัดเจนของภาพความชัดเจนของเสียงบรรยายความเหมาะสมกลมกลืนของเสียงดนตรีความตอเนื่องของรายการที่นําเสนอความเหมาะสมของลักษณะ ขนาดของตัวอักษรความเหมาะสมของเทคนิคการผลิต

111

11

1

1

1111111

111

11

1

1

1111111

111

11

1

1

1111111

333

33

3

3

3333333

1.001.001.00

1.001.00

1.00

1.00

1.001.001.001.001.001.001.00

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ควรแยกการประเมินสื่อวิดีทัศนออกเปน 2 ดาน คือ สวนผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหากับสวนผูเชี่ยวชาญการตรวจเครื่องมือ

170

ตารางที่ 30 คา IOC ขอคําถามในแบบสอบถามความพึงพอใจที่นักเรียนมีตอส่ือวิดีทัศน เรื่องมลพิษทางน้ํา

ขอ รายการประเมิน ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3 รวม IOC123456

7

8

9

10

การนําเสนอนาสนใจความยาวของรายการวิดีทัศนมีความเหมาะสมเสียงบรรยายและเสียงประกอบชัดเจนเหมาะสมภาพนาสนใจตัวอักษร อานงาย ชัดเจนการผลิตสื่อวิดีทัศนที่นําความรูมาประกอบเปนสิ่งที่มีประโยชนความรูที่นํามาประกอบรายการวิดีทัศนเปนเรื่องที่นาศึกษาควรมีการนําความรูมารวมในการเรียนการสอนอีกหลังจากชมวิดีทัศนแลว นักเรียนไดรับความรู เรื่อง มลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น ถานักเรียนเปนกรรมการตัดสินวิดีทัศนเรื่องนี้ นักเรียนจะตัดสินวาวิดีทัศนอยูในระดับ

11111

1

11

1

1

11111

1

11

1

1

11111

1

11

1

1

33333

3

33

3

3

1.001.001.001.001.00

1.00

1.001.00

1.00

1.00

ขอเสนอแนะเพิ่มเติมใหเปลี่ยนขอความในรายการประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจโดยขอ 6 เปลี่ยนเปนการผลิตส่ือวิดีทัศนที่นําความรูมาประกอบเปนสิ่งที่มีประโยชนขอ 7 เปลี่ยนเปนเนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษาขอ 8 เปลี่ยนเปนควรมีการนําส่ือวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีกขอ 10 เปลี่ยนเปนนักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเร่ืองนี้อยูในระดับ

ภาคผนวก งแบบประเมินสื่อ

172

ตารางที่ 31 การประเมินคุณภาพสื่อวิดีทัศนจากผูเชี่ยวชาญ

รายการประเมิน x S.D. ระดับคุณภาพดานเนื้อหา1. เนื้อหาตรงกับจุดประสงค การเรียน2. การเสนอเนื้อเร่ืองตามลําดับขั้นตอน3. เนื้อหามีความเหมาะสมกับผูเรียน4. การบรรยายเนื้อหามีความเหมาะสมกับบทเรียนวิดีทัศน5. การแยกแยะเนื้อหาแตละขั้นตอนมีความเดนชัด6. การสอนดวยบทเรียนวิดีทัศนจะสามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความเขาใจ7. การสอนดวยบทวิดีทัศนสามารถประหยัดเวลาเรียนไดเหมาะสม

4.335545

5

4.67

.570000

0

.57

ดีดีมากดีมากดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

รวม 4.71 .46 ดีมากดานการตรวจเครื่องมือ1. ความเหมาะสมของเรื่อง2. ความชัดเจนของภาพ3. ความชัดเจนของเสียงบรรยาย4. ความเหมาะสมกลมกลืนของเสียงดนตรี5. ความตอเนื่องของรายการที่นําเสนอ6. ความเหมาะสมของลักษณะ ขนาดของตัวอักษร7. ความเหมาะสมของเทคนิคการผลิต

44.334.67

54.33

44

0.57.570

.5700

ดีดี

ดีมากดีมากดีดีดี

รวม 4.33 .48 ดี

173

แบบประเมินคุณภาพสื่อวิดีทัศนวิชา วิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา

สําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาประเภทสื่อ รายการวิดีทัศน เวลาฉาย 50 นาทีคําชี้แจง ทานเห็นวาส่ือที่ทานกําลังประเมินอยูในมาตราสวนการประเมินคาชองใด

โดยใหทําเครื่องหมาย ( / ) ลงในชองที่ทานเห็นดวย

ระดับความคิดเห็นรายการประเมิน ดีมาก

5ดี4

ปานกลาง3

พอใช2

ควรปรับปรุง1

1. เนื้อหาตรงกับจุดประสงค การเรียน2. การเสนอเนื้อเร่ืองตามลําดับขั้นตอน3. เนื้อหามีความเหมาะสมกับผูเรียน4. การบรรยายเนื้อหามีความเหมาะสมกับบทเรียนวิดีทัศน5. การแยกแยะเนื้อหาแตละขั้นตอนมีความเดนชัด6. การสอนดวยบทเรียนวิดีทัศนจะสามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความเขาใจ7. การสอนดวยบทวิดีทัศนสามารถประหยัดเวลาเรียนไดเหมาะสม

ขอเสนอแนะ ลงชื่อ ( ) ผูประเมิน

174

แบบประเมินคุณภาพสื่อวิดีทัศนวิชา วิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา

สําหรับผูเชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือประเภทสื่อ รายการวิดีทัศน เวลาฉาย 50 นาทีคําชี้แจง ทานเห็นวาส่ือที่ทานกําลังประเมินอยูในมาตราสวนการประเมินคาชองใด

โดยใหทําเครื่องหมาย ( / ) ลงในชองที่ทานเห็นดวย

ระดับความคิดเห็นรายการประเมิน ดีมาก

5ดี4

ปานกลาง3

พอใช2

ควรปรับปรุง1

1. ความเหมาะสมของเรื่อง2. ความชัดเจนของภาพ3. ความชัดเจนของเสียงบรรยาย4. ความเหมาะสมกลมกลืนของเสียงดนตรี5. ความตอเนื่องของรายการที่นําเสนอ6. ความเหมาะสมของลักษณะ ขนาดของตัวอักษร

7. มีความเหมาะสมของเทคนิคการผลิต

ขอเสนอแนะ ลงชื่อ ( ) ผูประเมิน

ภาคผนวก จการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

176

ตารางที่ 32 การเปรียบเทียบคะแนนจากการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เพื่อทดสอบความมีนัยสําคัญของความแตกตางระหวางกอนเรียนและหลังเรียน

จากสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา (n = 30)เลขท่ี Pretest Posttest D D2 เลขท่ี Pretest Posttes

tD D2

1 42 56 14 196 16 40 58 18 3242 40 56 16 256 17 51 63 12 1443 41 57 16 256 18 38 58 20 4004 35 53 18 324 19 50 62 12 1445 43 60 17 289 20 47 60 13 1696 33 54 21 441 21 36 54 18 3247 42 61 19 361 22 39 55 16 2568 40 56 16 256 23 37 55 18 3249 45 58 13 169 24 43 59 16 25610 46 61 15 225 25 45 57 12 14411 42 58 16 256 26 44 56 12 14412 47 60 13 169 27 48 60 12 14413 46 60 14 196 28 47 61 14 19614 48 61 13 169 29 48 60 12 14415 41 57 16 256 30 39 54 15 225รวม 1283 1740 457 7157เฉล่ีย 42.77 58รอยละ 61.09 82.86

t = 32.15

ภาคผนวก ฉเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

178

แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางสวนที่ 1 หลักการเบื้องตน

หัวขอวิจัย การพัฒนาสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร

คําอธิบายรายวิชา ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงที่อยูรอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต น้ําเปนทรัพยากรที่สําคัญตอความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต มนุษยเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดมลพิษทางน้ํา ซ่ึงมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต ดังนั้นควรปองกันและรักษาทรัพยากรน้ํา ระวังอยาใหสกปรก โดยไมทิ้งส่ิงปฏิกูลหรือส่ิงที่เปนพิษลงในน้ําเพราะน้ํามีประโยชนตอมนุษยมาก

สมมติฐานการวิจัย 1. สื่อวิดีทัศนที่พัฒนาขึ้นเรื่องมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80 2. ผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน วิชาวิทยาศาสตร เร่ือง มลพิษทางน้ํา สูงกวากอนเรียนจากสื่อวีดิทัศน 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนจากสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา อยูในระดับดี

เนื้อหาท่ีใชในการทดลอง ไดแกเนื้อหาของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติเร่ือง มลพิษทางน้ํา ที่ใชสอนนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยเนนในเรื่อง มลพิษทางน้ํา เพื่อใหผูเรียนมีจิตสํานึกที่เห็นแกประโยชน สวนรวมอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมในดานตางๆ ดังนี้ 1. รูคุณคาของสิ่งแวดลอมและตระหนักถึงผลกระทบตอตนเอง และสังคมที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม 2. ปฏิบัติตนใหเปนประโยชนตอสวนรวมและมีสวนรวมอนุรักษส่ิงแวดลอม 3. ใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา

179

โดยสรุปเนื้อหาไดวา ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงที่อยูตามธรรมชาติ ซ่ึงไดแก อากาศ น้ํา ดิน แรธาตุ ปาไม สัตวปา พลังงานความรอน พลังงานแสงแดดและอื่นๆ มนุษยไดใชทรัพยากรในการดํารงชีวิต นับตั้งแตเกิดจนกระทั่งตาย ทรัพยากรธรรมชาติจึงเปนประโยชนและมีความสําคัญอยางยิ่งตอมวลมนุษย ส่ิงแวดลอม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่อยูรอบตัวมนุษยทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิตทั้งที่เปนรูปธรรม (จับตองและมองเห็นได) และนามธรรม (วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มี อิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกันเปนปจจัยในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปจจัยหนึ่งจะมีสวนเสริมสรางหรือทําลายอีกสวนหนึ่งอยางหลีกเล่ียงมิได ส่ิงแวดลอมเปนวงจรและวัฏจักรที่เกี่ยวของกันไปทั้งระบบ อยางไรก็ดี ส่ิงแวดลอมอาจแยกออกเปนลักษณะกวางๆ ได 2 สวนคือ - ส่ิงแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา ดิน น้ํา อากาศ ฯลฯ - ส่ิงแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น เชน ชุมชน เมือง ส่ิงกอสราง โบราณสถาน ศิลปกรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ฯลฯ

จะเห็นไดวาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีความเกี่ยวของกับมนุษยอยาง แนบแนน ในอดีตปญหาเรื่องความสมดุลของธรรมชาติตามระบบนิเวศยังไมเกิดขึ้นมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากผูคนในยุคตนๆ นั้น มีชีวิตอยูใตอิทธิพลของธรรมชาติ ความเปลี่ยนแปลงทางดาน ธรรมชาติและสภาวะแวดลอมเปนไปอยางคอยเปนคอยไป จึงอยูในวิสัยที่ธรรมชาติสามารถปรับดุลของตัวเองได ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและปญหาสิ่งแวดลอมที่รุนแรงจึงยังไมปรากฏ แตอยางไรก็ตามจากการที่ความเจริญทางดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมขยายตัวมากขึ้น มนุษยขวนขวายหาความสุขสบายมากขึ้น มีการใชทรัพยากรธรรมชาติมากยิ่งขึ้น และเกือบทุกประเทศตางก็มุงพัฒนาทางดานเศรษฐกิจกันอยางจริงจัง ปญหาทางดานสิ่งแวดลอมจึงปรากฏใหเห็นบาง แตก็ยังพอที่จะอยูในวิสัยและสภาพที่รับได

กาลเวลาผานมาจนกระทั่งถึงระยะเมื่อไมกี่สิบปมานี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งทศวรรษที่ผานมา (ระยะสิบป) ซ่ึงเรียกวา “ทศวรรษแหงการพัฒนา” นั้น ปรากฏวาไดเกิดมีปญหารุนแรงทางดานส่ิงแวดลอมขึ้นในบางสวนของโลกและปญหาดังกลาวนี้ก็มีลักษณะคลายคลึงกันในทุกประเทศ ทั้งที่พัฒนาแลวและกําลังพัฒนา เชน ปญหาทางดานภาวะมลพิษที่เกี่ยวกับน้ํา อากาศ ดินและสารเคมีตางๆ ฯลฯ เมื่อผลจากการเรงรัดพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ปรากฏวา ในหลายกรณีกอใหเกิดความเสื่อมโทรม ในดานคุณภาพสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น นักพัฒนาและ นักวางแผนที่มีเหตุผลก็เร่ิมตระหนักวาการเรงรัดนําเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใชใหมากที่สุด

180

เพื่อเรงและเนนความจริง ทางดานวัตถุนั้นอาจไมสามารถสรางคุณภาพที่ดีของชีวิต ความสุข ความสะดวกสบายใหแกชีวิตดังที่มุงหมายไวไดทั้งนี้ก็ดวยเหตุผลที่วามนุษยอาจจะมีความสะดวกสบายมากขึ้น แตก็ตองเสี่ยงกับภัยจากมลพิษในอากาศ ในน้ํา ในอาหาร และความเสื่อมโทรมทางดานสุขภาพจิต เปนตน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเปนบิดาแหงการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม พระองคทรงเปนผูกอตั้งโครงการในพระราชดําริหลายโครงการที่ เกี่ยวกับน้ํา เชนโครงการแกมลิงปองกันน้ําทวม โครงการปลูกหญาแฝกเพื่อลดความรุนแรงของน้ําและปองกันการชะลางพังทลายของหนาดินเปนตน เพราะพระองคเล็งเห็น ความสําคัญของน้ํา และในโอกาสนี้พระองคทรงมีพระราชดํารัสพระราชทานแกคณะบุคคลตางๆ ที่เขาเฝาถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิตาลัย วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2532 ความวา “...เมืองไทยนี้อีกหนอยแลงไมเหลือ ไมมีน้ําเหลือ คือ ตองไปซื้อน้ําจากตางประเทศ ซ่ึงก็ อาจเปนไปได แตวาเชื่อวาไมไดเปนอยางนั้น เพราะวาถาคํานวณดูน้ําในประเทศไทยที่ไหลเวียนอยู อยางนั้นยังมีอยู เพียงแตตองบริหารใหดี ถาบริหารใหดีแลวมีเหลือเฟอ” และ “แมจะไปซื้อน้ําจากตางประเทศก็กลายมาเปนน้ําเนาหมด เพราะวาเอามาใชโดยไมระมัดระวัง ถาเรามีน้ําแลว ก็มาใชอยางระมัดระวังขอหนึ่ง และควบคุมน้ําที่เสียไปอยางดีอีกขอหนึ่งก็อยูได...” (กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2535 : 24)

น้ําหรือแหลงน้ํามีความจําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิตไมวาจะเปนมนุษย สัตวหรือพืชในการ ดํารงชีพ โดยเฉพาะมนุษยนั้น แหลงน้ํามีความสําคัญอยางยิ่งตอชีวิตประจําวัน ทั้งดานการอุปโภค บริโภค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรมและคมนาคม ซ่ึงในอดีตน้ําหรือแหลงน้ําไมวาจะเปนน้ําผิวดิน ใตดิน ชายฝง และน้ําทะเล จะไมเนาเสียหรือเกิดภาวะมลพิษ เพราะธรรมชาติสามารถปรับสภาพความสมดุลและฟนฟูตัวเองไดระดับหนึ่ง ทําใหเกิดการหมุนเวียนแมจะมีการปนเปอนจากสารหรือมลสาร แตก็มีปริมาณไมมาก จึงสามารถนํากลับมาใชใหมไดอยางเหมาะสม แตเมื่อมีความเจริญเติบโตของสังคมจนเกิดเปนชุมชน มีการพัฒนาดานอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและพาณิชยกรรม ทําใหธรรมชาติไมสามารถปรับเปลี่ยนหมุนเวียนตัวเองไดทัน ปญหาน้ําเสียจึงเกิด จนทําใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศ และการใชประโยชนจากแหลงน้ํา (กรมสงเสริมคุณภาพ ส่ิงแวดลอม, 2535 : 5)

ส่ิงสําคัญที่จะชวยใหทุกคนเห็นคุณคาของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่เหลือนอยเต็มทีในขณะนี้คือ การศึกษาซึ่งจะเปนส่ิงชวยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนไปในทางที่คาดหวัง

181

สวนที่ 2 แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางสําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา

1. ทานคิดวาการที่จะสอนเรื่องสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ เพื่อใหสามารถเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาเร่ือง มลพิษทางน้ําควรมีรูปแบบใด.

2. การนําภาพสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติตางๆ มาเปนตัวอยางเพื่ออธิบายวิธีการปองกันและรักษามลพิษทางน้ํา มีความเหมาะสมหรือไมเพียงใด และควรมีรูปแบบใด.

3. ควรมีแบบฝกหัด เพื่อทบทวนใหนักเรียนสามารถเลือกนําไปปฏิบัติในการปองกันและรักษามลพิษทางน้ําในรูปแบบใด.

4. เกณฑการตัดสินวานักเรียนสามารถเขาใจวิธีการการปองกันและรักษามลพิษทางน้ําควรตรวจสอบจากสิ่งใด.

5. ทานมีความตองการใหส่ือการเรียนการสอนที่เปนวิดีทัศน มาประกอบและสงเสริมการเรียนเนื้อหาเรื่อง มลพิษทางน้ํา ในดานใดบาง.

182

สําหรับผูเชี่ยวชาญดานสื่อวิดีทัศน

1. ทานคิดวาการทําส่ือวิดีทัศนที่เกี่ยวของกับเรื่อง มลพิษทางน้ํา ควรมีลักษณะเปนแบบใด.

2. การนําเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากการกระทําของมนุษยมาประกอบในสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ําที่เกิดจากเหตุการณจริงมานําเสนอ มีความเหมาะสมเพียงใด.

3. แบบฝกหัดที่จะนํามาใชหลังจากศึกษาสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา ควรเปนรูปแบบใด.

4. การวัดผลและประเมินผลการเรียนดวยส่ือวืดีทัศนที่ควรนํามาใชในเรื่อง มลพิษทางน้ําควรมีลักษณะใด นาจะเหมาะสมที่สุด.

5. ทานตองการใหส่ือวิดีทัศนที่เกี่ยวของกับเรื่อง มลพิษทางน้ํา พัฒนาไปในทางใด และควรนําเสนอเนื้อหาลักษณะใดจึงจะสงเสริมการเรียนการสอนไดอีกบาง.

183

แผนการสอนทางรายการสื่อวิดีทัศน

กลุม สปช. (วิทยาศาสตร)

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

เรื่อง มลพิษทางน้ํา

โดย

นายธานินทร จันทอง

184

แผนการสอนทางรายการสื่อวิดีทัศน

กลุม สปช. วิชา วิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ตอน น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

รูปแบบ เต็มรูปแบบ

สาระสําคัญ ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงที่อยูรอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต น้ําเปนทรัพยากรที่สําคัญตอความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต มนุษยเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดมลพิษทางน้ํา ซ่ึงมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต ดังนั้นควรชวยกันปองกันและรักษาทรัพยากรน้ํา ระวังอยาใหสกปรก โดยไมทิ้งส่ิงปฏิกูลหรือส่ิงที่เปนพิษลงในน้ํา เพราะน้ํามีประโยชนตอมนุษยมาก

จุดประสงคปลายทาง 1. วิเคราะหสาเหตุของปญหาและผลกระทบที่จะเกิดจากปญหา (ป.02 ขอ 1) 2. เสนอแนวทางแกปญหาตามความคิดของตน (ป.02 ขอ 2) 3. เลือกแนวทางแกปญหาที่เหมาะสมกับความสามารถของตนและกําหนดขั้นตอนวิธีการแกปญหา (ป.02 ขอ 3) 4. แกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนด (ป.02 ขอ 4) 5. เขาใจการทํางานโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร (ป.02 ขอ 5) 6. เขาใจวิธีการทํางานกลุม (ป.02 ขอ 10) 7. ทํางานรวมกับผูอ่ืนตามขั้นตอนดวยความมั่นใจ (ป.02 ขอ 11)

จุดประสงคการเรียนรู (นําทาง) 1. อธิบายความหมายของน้ําเสียได (ป.02 ขอ 6-7) 2. บอกความหมายของน้ํามลพิษได (ป.02 ขอ 13) 3. อธิบายมลสารของสารอินทรียและสารอนินทรียพรอมยกตัวอยางได (ป.02 ขอ 13)

185

4. สามารถจําแนกลักษณะของน้ําเสียแตละประเภทได (ป.02 ขอ 13) 5. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได (ป.02 ขอ 1, 13) 6. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได (ป.02 ขอ 4, 13)

กิจกรรมกอนชมรายการสื่อ ผูสอนใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จากนั้นกลาวถึงวัตถุประสงคของรายการส่ือวิดีทัศน พรอมทั้งจุดสําคัญของรายการสื่อวิดีทัศน

กิจกรรมหลังชมรายการสื่อ ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการสอน 1. แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดละ 15 ขอ 2. รายการสื่อวิดีทัศน ตอน น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความสนใจของนักเรียนตอเนื้อหาในรายการสื่อวิดีทัศน ตอน น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

186

แผนการสอนทางรายการสื่อวิดีทัศน

กลุม สปช.วิชา วิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ตอน แหลงที่มาของน้ําเสีย

รูปแบบ เต็มรูปแบบ

สาระสําคัญ ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงที่อยูรอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต น้ําเปนทรัพยากรที่สําคัญตอความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต มนุษยเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดมลพิษทางน้ํา ซ่ึงมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต ดังนั้นควรชวยกันปองกันและรักษาทรัพยากรน้ํา ระวังอยาใหสกปรก โดยไมทิ้งส่ิงปฏิกูลหรือส่ิงที่เปนพิษลงในน้ํา เพราะน้ํามีประโยชนตอมนุษยมาก

จุดประสงคปลายทาง 1. วิเคราะหสาเหตุของปญหาและผลกระทบที่จะเกิดจากปญหา (ป.02 ขอ 1) 2. เสนอแนวทางแกปญหาตามความคิดของตน (ป.02 ขอ 2) 3. เลือกแนวทางแกปญหาที่เหมาะสมกับความสามารถของตน และกําหนดขั้นตอนวิธีการแกปญหา (ป.02 ขอ 3) 4. แกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนด (ป.02 ขอ 4) 5. เขาใจการทํางานโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร (ป.02 ขอ 5) 6. เขาใจวิธีการทํางานกลุม (ป.02 ขอ 10) 7. ทํางานรวมกับผูอ่ืนตามขั้นตอนดวยความมั่นใจ (ป.02 ขอ 11)

จุดประสงคการเรียนรู (นําทาง) 1. สามารถจําแนกแหลงที่ทําใหน้ําเกิดการเนาเสียได (ป.02 ขอ 13) 2. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได (ป.02 ขอ 1, 13)

187

3. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได (ป.02 ขอ 4, 13)

กิจกรรมกอนชมรายการสื่อ ผูสอนใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จากนั้นกลาวถึงวัตถุประสงคของรายการส่ือวิดีทัศน พรอมทั้งจุดสําคัญของรายการสื่อวิดีทัศน

กิจกรรมหลังชมรายการสื่อ ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการสอน 1. แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดละ 15 ขอ 2. รายการสื่อวิดีทัศน ตอน แหลงที่มาของน้ําเสีย

การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความสนใจของนักเรียนตอเนื้อหาในรายการสื่อวิดีทัศน ตอน แหลงที่มาของน้ําเสีย 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

188

แผนการสอนทางรายการสื่อวิดีทัศน

กลุม สปช.วิชา วิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ตอน ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม

รูปแบบ เต็มรูปแบบ

สาระสําคัญ ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงที่อยูรอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต น้ําเปนทรัพยากรที่สําคัญตอความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต มนุษยเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดมลพิษทางน้ํา ซ่ึงมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต ดังนั้นควรชวยกันปองกันและรักษาทรัพยากรน้ํา ระวังอยาใหสกปรก โดยไมทิ้งส่ิงปฏิกูลหรือส่ิงที่เปนพิษลงในน้ํา เพราะน้ํามีประโยชนตอมนุษยมาก

จุดประสงคปลายทาง 1. วิเคราะหสาเหตุของปญหาและผลกระทบที่จะเกิดจากปญหา (ป.02 ขอ 1) 2. เสนอแนวทางแกปญหาตามความคิดของตน (ป.02 ขอ 2) 3. เลือกแนวทางแกปญหาที่เหมาะสมกับความสามารถของตน และกําหนดขั้นตอนวิธีการแกปญหา (ป.02 ขอ 3) 4. แกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนด (ป.02 ขอ 4) 5. เขาใจการทํางานโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร (ป.02 ขอ 5) 6. เขาใจวิธีการทํางานกลุม (ป.02 ขอ 10) 7. ทํางานรวมกับผูอ่ืนตามขั้นตอนดวยความมั่นใจ (ป.02 ขอ 11)

จุดประสงคการเรียนรู (นําทาง) 1. สามารถจําแนกผลกระทบจากปญหาน้ําเนาเสียที่มีตอส่ิงแวดลอมในแตละดานได (ป.02 ขอ 13)

189

2. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได (ป.02 ขอ 1, 13) 3. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได (ป.02 ขอ 4, 13)

กิจกรรมกอนชมรายการสื่อ ผูสอนใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จากนั้นกลาวถึงวัตถุประสงคของ รายการส่ือวิดีทัศน พรอมทั้งจุดสําคัญของรายการสื่อวิดีทัศน

กิจกรรมหลังชมรายการสื่อ ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการสอน 1. แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดละ 15 ขอ 2. รายการสื่อวิดีทัศน ตอน ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม

การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความสนใจของนักเรียนตอเนื้อหาในรายการวิดีทัศน ตอน ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

190

แผนการสอนทางรายการสื่อวิดีทัศน

กลุม สปช.วิชา วิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ตอน สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด

รูปแบบ เต็มรูปแบบ

สาระสําคัญ ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงที่อยูรอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต น้ําเปนทรัพยากรที่สําคัญตอความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต มนุษยเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดมลพิษทางน้ํา ซ่ึงมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต ดังนั้นควรชวยกันปองกันและรักษาทรัพยากรน้ํา ระวังอยาใหสกปรก โดยไมทิ้งส่ิงปฏิกูลหรือส่ิงที่เปนพิษลงในน้ํา เพราะน้ํามีประโยชนตอมนุษยมาก

จุดประสงคปลายทาง 1. วิเคราะหสาเหตุของปญหาและผลกระทบที่จะเกิดจากปญหา (ป.02 ขอ 1) 2. เสนอแนวทางแกปญหาตามความคิดของตน (ป.02 ขอ 2) 3. เลือกแนวทางแกปญหาที่เหมาะสมกับความสามารถของตน และกําหนดขั้นตอนวิธีการแกปญหา (ป.02 ขอ 3) 4. แกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนด (ป.02 ขอ 4) 5. เขาใจการทํางานโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร (ป.02 ขอ 5) 6. เขาใจวิธีการทํางานกลุม (ป.02 ขอ 10) 7. ทํางานรวมกับผูอ่ืนตามขั้นตอนดวยความมั่นใจ (ป.02 ขอ 11)

จุดประสงคการเรียนรู (นําทาง) 1. สามารถบอกสภาพน้ําเสียของแมน้ําสายสําคัญๆ ในประทศไทยได (ป.02 ขอ 13) 2. บอกวิธีการบําบัดน้ําเสีย วิธีทางชีวภาพ วิธีทางเคมีและวิธีผสมผสานได (ป.02 ขอ 13)

191

3. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได (ป.02 ขอ 1, 13) 4. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได (ป.02 ขอ 4, 13)

กิจกรรมกอนชมรายการสื่อ ผูสอนใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จากนั้นกลาวถึงวัตถุประสงคของ รายการสื่อวิดีทัศน พรอมทั้งจุดสําคัญของรายการสื่อวืดีทัศน

กิจกรรมหลังชมรายการสื่อ ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการสอน 1. แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดละ 13 ขอ 2. รายการสื่อวิดีทัศน ตอน สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด

การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความสนใจของนักเรียนตอเนื้อหาในรายการสื่อวิดีทัศน ตอน สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

192

แผนการสอนทางรายการสื่อวิดีทัศน

กลุม สปช.วิชา วิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา

ตอน แนวพระราชดําริการบําบัดน้ําเสีย

รูปแบบ เต็มรูปแบบ

สาระสําคัญ ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงที่อยูรอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต น้ําเปนทรัพยากรที่สําคัญตอความเปนอยูของสิ่งมีชีวิต มนุษยเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดมลพิษทางน้ํา ซ่ึงมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต ดังนั้นควรชวยกันปองกันและรักษาทรัพยากรน้ํา ระวังอยาใหสกปรก โดยไมทิ้งส่ิงปฏิกูลหรือส่ิงที่เปนพิษลงในน้ํา เพราะน้ํามีประโยชนตอมนุษยมาก

จุดประสงคปลายทาง 1. วิเคราะหสาเหตุของปญหาและผลกระทบที่จะเกิดจากปญหา (ป.02 ขอ 1) 2. เสนอแนวทางแกปญหาตามความคิดของตน (ป.02 ขอ 2) 3. เลือกแนวทางแกปญหาที่เหมาะสมกับความสามารถของตน และกําหนดขั้นตอนวิธีการแกปญหา (ป.02 ขอ 3) 4. แกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนด (ป.02 ขอ 4) 5. เขาใจการทํางานโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร (ป.02 ขอ 5) 6. เขาใจวิธีการทํางานกลุม (ป.02 ขอ 10) 7. ทํางานรวมกับผูอ่ืนตามขั้นตอนดวยความมั่นใจ (ป.02 ขอ 11)

จุดประสงคการเรียนรู (นําทาง) 1. บอกกระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชที่มีพระราชดําริเกี่ยวกับความสําคัญของน้ําได (ป.02 ขอ 13)

193

2. สามารถบอกวิธีการดําเนินงานดวยวิธีการตางๆ ที่ทรงเห็นสมควรทําใหเหมาะสมกับธรรมชาติและถือความประหยัดเปนหลักได (ป.02 ขอ 13) 3. อธิบายประโยชนของน้ําไดอยางนอย 5 ประการ (ป.02 ขอ 13) 4. อธิบายสาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้ําตลอดจนวิธีปองกันและรักษาไมใหเกิดมลพิษทางน้ําได (ป.02 ขอ 1, 13) 5. อธิบายวิธีการปองกันและรักษาทรัพยากรน้ําไมใหเกิดมลพิษได (ป.02 ขอ 4 , 13)

กิจกรรมกอนชมรายการสื่อ ผูสอนใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จากนั้นกลาวถึงวัตถุประสงคของรายการส่ือวิดีทัศน พรอมทั้งจุดสําคัญของรายการสื่อวิดีทัศน

กิจกรรมหลังชมรายการสื่อ ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการสอน 1. แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดละ 12 ขอ 2. รายการสื่อวิดีทัศน ตอน แนวพระราชดําริการบําบัดน้ําเสีย

การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความสนใจของนักเรียนตอเนื้อหาในรายการวิดีทัศน ตอน แนวพระราชดําริการบําบัดน้ําเสีย 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

194

คูมือ

การใชสื่อวิดีทัศนสําหรับครูผูสอน วิทยาศาสตร

เรื่อง มลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

จัดทําโดยนายธานินทร จันทอง

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

195

คํานํา

ส่ิงที่คอยคํ้าจุนมวลมนุษยชาติและสิ่งมีชีวิตตางๆ ใหดําเนินชีวิตไดเร่ือยมาจนกระทั่งถึง ทุกวันนี้ ก็คือทรัพยากรธรรมชาติ อันไดแก ทรัพยากรดิน น้ํา ปาไม ฯลฯ แตในปจจุบันจํานวน ประชากรเพิ่มสูงขึ้น การขยายตัวเมือง และการพัฒนาอุตสาหกรรม ทําใหตลอดระยะเวลาที่ผานมาไดมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ น้ํา อยางสิ้นเปลือง โดยขาดความระมัดระวัง ทําใหทรัพยากรขาดสมดุลทางธรรมชาติ สงผลกระทบตอสภาพแวดลอมใหเกิดวิกฤติ ยิ่งมนุษยพัฒนาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสูงขึ้น ยิ่งเปนการเรงอัตราการทําลายและเพิ่มความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแกสภาวะแวดลอมมีผลกระทบตอทุกชีวิตไปพรอมๆ กัน ผลกระทบของการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติไดทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ ทําให หนวยงานตางๆ เร่ิมตระหนักในคุณคาของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น และสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณที่พระองคทรงหวงใยพระราชทานพระราชดําริเพื่อแกไข ปรับปรุง และพัฒนาประเทศในทุกๆ ดาน โดยเฉพาะแนวคิดและทฤษฎีในการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม อันเนื่องมาจากพระราชดําริไดบังเกิดผลสูงคา ยังประโยชนแกคุณภาพชีวิตของพสกนิกรชาวไทยทุกคน และมีความเห็นตรงกันวาการใหการศึกษาเรื่องสิ่งแวดลอมแกเยาวชนของชาติในชวงอายุ ยังนอยลงเทาใด ก็จะปลูกฝงจิตสํานึกเรื่องมลพิษทางน้ํา ใหฝงลึกลงไปในจิตใจของเยาวชนและ สงผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใหยั่งยืนมากขึ้นเพียงนั้น การนําส่ือตางๆ มาชวยในการเรียนการสอนก็จะทําใหผูเรียนมีความสนใจและเขาใจมากยิ่งขึ้นดวยคุณลักษณะที่โดดเดนของวิดีทัศนที่นํามาใชในแวดวงการศึกษา ทําใหผูผลิตไดจัดทําเปนส่ือในรูปแบบสื่อวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา พรอมทั้งคูมือการใชเทปสื่อวิดีทัศน สําหรับใหคุณครูที่สอนไดใชส่ือไดตามวัตถุประสงคในการผลิตส่ือวิดีทัศนที่จัดทําขึ้น

ธานินทร จันทอง1 พฤศจิกายน 2546

196

คูมือการใชสื่อวิดีทัศนวิชา วิทยาศาสตร เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับครูผูสอนวิชา วิทยาศาสตร

ส่ือวิดีทัศน เร่ืองมลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 นั้น ผูผลิตไดจัดทําคูมือการใชเทปสื่อวิดีทัศนขึ้นมาประกอบเพื่อการเรียนการสอนจะไดสัมฤทธิ์ผลมากยิ่งขึ้น โดยจะตองจัดใหผูดูไดเห็นภาพและไดยินเสียงอยางชัดเจน ซ่ึงส่ิงที่ควรจะพิจารณาในการใชเทปสื่อวิดีทัศนควรปฏิบัติดังนี้ 1. การเตรียมผูสอน ครูผูสอนควรจะดูส่ือวิดีทัศนกอนที่จะนําไปสอนผูเรียน เพื่อดูวา สวนใดสําคัญและนาสนใจเพื่อสามารถแนะนําผูเรียนกอนการเรียนได และตองตรวจสอบวา เครื่องเลนเทปวิดีทัศนใชการไดดีหรือไม เครื่องรับโทรทัศนสามารถปรับภาพและเสียงไดชัดเจนหรือไม 2. การเตรียมหองเรียน 2.1 จัดหองใหมีแสงสวางพอควร โดยไมใชหองมืด ทั้งนี้เพื่อความสบายตาในการชมและเพื่อใหผูเรียนสามารถอานหรือจดขอความได 2.2 ไมควรติดตั้งเครื่องรับโทรทัศนใกลหนาตางหรือในที่ที่จะมีแสงตกลงบนจอได โดยตรง เพราะจะเกิดเงาสะทอนทําใหเห็นภาพไดไมชัดเจน 2.3 ขนาดของเครื่องรับโทรทัศน หากนักเรียนจํานวน 25 – 30 คน ควรจะใชเครื่องรับโทรทัศนขนาด 20 นิ้ว – 24 นิ้ว ดังนั้นหากผูเรียน 100 คน ก็ควรจะใชหองเรียนขนาดใหญ และเครื่องรับโทรทัศนถึง 4 เครื่อง ดวยกัน 2.4 ความกวางของการจัดแถวที่นั่งชมไมควรกวางเกิน 45 องศา ทั้งนี้โดยกําหนดจากเสนกลางจอเครื่องรับโทรทัศน 2.5 ควรจัดเกาอี้นั่งใกลกันและไมควรนั่งดูใกลกวา 7 ฟุต จากจอเครื่องรับโทรทัศน 2.6 ระยะนั่งไกลที่สุดจากจอเครื่องรับโทรทัศนตองไมเกินกวาขนาดของจอ เชน เครื่องรับโทรทัศนขนาด 24 นิ้ว ผูเรียนแถวสุดทายไมควรนั่งเกินกวา 24 ฟุตจากจอ เปนตน 2.7 ควรติดตั้งเครื่องรับโทรทัศนไมสูงเกินกวา 30 องศาจากระดับสายตา หรือ สูงประมาณ 7 ฟุต จากพื้น 3. การเตรียมผูเรียน ผูสอนจะตองบอกจุดประสงคของสื่อวิดีทัศนและแนะนํากอนวาเร่ืองที่จะชมนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไรและมีความเกี่ยวของกับบทเรียนที่กําลังเรียนอยางไรบาง มีจุดสําคัญ จุดสนใจของเรื่องอยูตรงไหน ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนสามารถชมเรื่องนี้ไดเขาใจมากยิ่งขึ้น

197

4. การสอน 4.1 กอนที่จะใหผูเรียนชมสื่อวิดีทัศน ใหผูสอนนําแบบทดสอบกอนเรียนมาให นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเพื่อจะไดทราบถึงพื้นฐานความรูของผูเรียนวาอยูในระดับใด 4.2 ใหผูเรียนชมสื่อวิดีทัศน และหากตอนใดที่ผูชมไมเขาใจ ผูสอนก็ควรหยุดเทปเพื่อใหรายละเอียดเพิ่มเติมแกผูเรียน โดยเนื้อหาของสื่อวิดีทัศนที่ใชสอนแบงเปน 5 ตอน ในแตละตอนก็จะใชเวลาประมาณ 20 นาที 5. การติดตามผล หลังจากผูชมสื่อวิดีทัศนไดศึกษารายละเอียดของสื่อวิดีทัศน ในแตละตอนแลว ก็จะมีการใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนหลังจากชมสื่อวิดีทัศน โดยแตละตอนจะมีขอทดสอบจํานวน 12 - 15 ขอ รวมทั้งส้ิน 70 ขอ

198

แผนภูมิที่ 6 ลําดับการสอนโดยใชส่ือวิดีทัศน

ช่ัวโมงที่ 1เรื่อง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 1น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไรทําแบบฝกหัดทดสอบกอนเรียน

นําเขาสูบทเรียน

ชมสื่อวิดีทัศนทําแบทดสอบหลังเรียน

ช่ัวโมงที่ 2เรื่อง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 2แหลงที่มาของน้ําเสียทําแบบฝกหัดทดสอบกอนเรียน

นําเขาสูบทเรียน

ชมสื่อวิดีทัศนทําแบทดสอบหลังเรียน

ช่ัวโมงที่ 3เรื่อง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 3ผลกระทบน้ําเสียตอสิ่งแวดลอมทําแบบฝกหัดทดสอบกอนเรียน

นําเขาสูบทเรียน

ชมสื่อวิดีทัศนทําแบทดสอบหลังเรียน

ช่ัวโมงที่ 4เรื่อง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัดทําแบบฝกหัดทดสอบกอนเรียน

นําเขาสูบทเรียน

ชมสื่อวิดีทัศนทําแบทดสอบหลังเรียน

ช่ัวโมงที่ 5เรื่อง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 5แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

ชมสื่อวิดีทัศน

นําเขาสูบทเรียน

ทําแบทดสอบหลังเรียน

199

บทรายการวิดีทัศนสารคดี วิชา วิทยาศาสตรเร่ือง มลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ตอน น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)Caption

รายการวีดิทัศนเร่ือง มลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียน

ช้ันประถมศึกษาปที่6

Fade inCU Captionใชตัวอักษรหัวกลมสีแดงพื้นหลังสีเหลือง

DissolveXLS

Pan right

Fade in เพลงบรรเลง

DissolveMS

CutXLD

Pan right

200

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)

Captionตอน น้ําเสียเกิดขึ้นได

อยางไร

DSKCU Captionใชตัวอักษร

หัวกลม สีน้ําตาลใสกรอบปูพื้น

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

ภาพน้ําตก หรือภาพที่แสดงใหเห็นการใชประโยชนจากน้ํา

DissolveMS

DissolveMS

CutLS

เสียงบรรยาย “ ...หลักสําคัญ ตองมีน้ําบริโภค น้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะวาชีวิตอยูที่นั่นถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ไมมีไฟฟาคนอยูได ไมมีน้ําคนอยูไมได..”

จากกระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชที่มีพระราชดําริดังกลาว ไดแสดงใหเห็นวาน้ําเปนปจจัยที่มีความสําคัญยิ่งตอการดํารงชีพของมนุษย ตลอดจนสิ่งมีชีวิตทั้งหลายโดยเฉพาะมนุษยตองการใชน้ําเปนปริมาณมากทั้งไวเพื่อดื่มกินและใช เพื่อทําประโยชนในกิจกรรมตางๆ เชน เพาะปลูก เล้ียงสัตวทําการประมง อุตสาหกรรม ชลประทานและอ่ืนๆ

Fade in เพลงบรรเลงภาพความสมบูรณของ

แมน้ํา ลําคลองDissolve

MS เสียงบรรยาย ในอดีตประเทศไทยเคยเปนดินแดนที่อุดมสมบูรณ ดังคํากลาวที่วา “ในน้ํามีปลาในนามีขาว”

201

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพบานเรือนริมฝงแมน้ํา ลําคลอง

CutLS

คนไทยในสมัยนั้นมักจะตั้งบานเรือนอยูบริเวณที่แมน้ําไหลผาน และอาศัยน้ําเพื่อใชดื่มกิน ปลูกพืช เล้ียงสัตว ตลอดจนเปนเสนทางไปมาหาสู ซ่ึงกันและกัน

ภาพคนติดตอคาขายกับชาวตางชาติ

CutXLS

เมื่อกาลเวลาผานมาจํานวนคนไดเพิ่มมากขึ้น มีการติดตอคาขายและเชื่อมความสัมพันธกับประเทศตางๆ ทําใหการดําเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป

ภาพการทํานา ทําไรเล้ียงสัตว

CutXLS

จากเดิมที่ประชาชนสวนใหญ มีอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชไร และเลี้ยงสัตวไดกลายมาเปนอาชีพอุตสาหกรรม

ภาพโรงงานอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ที่มีการปลอยน้ําทิ้งลงสูแมน้ํา ลําคลอง

CutXLS

มีการนําเอาทรัพยากรมาใชกันอยางมากมาย จนทรัพยากรบางอยางรอยหรอหมดส้ินไปทรัพยากรบางอยางไมสามารถหามาทดแทนหรือฟนฟูขึ้นมาไดทันอีก โดยเฉพาะน้ํา น้ําถูกนําไปใชในกิจกรรมตางๆ แลวก็ถูกปลอยทิ้งระบายลงสูแหลงน้ําธรรมดา น้ําที่ใชแลวเหลานี้จะเปนน้ําเนาหรือน้ําเสีย เนื่องจากมีมลสารตางๆ ปะปนอยู มลสารประเภทนี้มี 2ประเภท คือ สารอินทรีย และสารอนินทรีย

202

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพเศษอาหาร ซากพืชซากสัตว และแหลงน้ําเนาเสียในที่ตางๆ

CutMS

สารอินทรีย เปนสารที่มาจาก ส่ิงมีชีวิตสัตวหรือพืชไดแก แปง น้ําตาลโปรตีนและไขมัน สวนใหญอยูในพวกเศษอาหาร ซากพืชหรือซากสัตว ตลอดจนสิ่งปฏิกูลตางๆ เมื่อปะปนมากับน้ําทิ้งแลวระบายลงสูแหลงน้ําในปริมาณมาก จะทําใหจุลินทรียจําพวกแบคทีเรียที่อยูในน้ําทําการยอยของเสียที่เปนสารอินทรีย โดยใชกาซออกซิเจนชวยในการยอยสลายไปดวย ถาแหลงน้ํามีสารอินทรียปนเปอนอยูมาก ปริมาณออกซิเจนในแหลงน้ําก็จะหมดไป ทําใหจุลิทรียประเภทที่ใชออกซิเจนไมสามารถดํารงชีวิตอยูไดและตายไป จุลินทรียกลุมที่ไมใชออกซิเจนจึงเริ่มทํางาน จุลินทรียประเภทนี้จะชวยยอยสลายของเสียที่เหลืออยู เปนสาเหตุทําใหน้ําเกิดการเนาเสีย เพราะไดปลอยเอากาซมีเทนแอมโมเนียและกาซไขเนา ขึ้นมาลอยอยูเหนือผิวน้ํา แลวยังไดสงกลิ่นเหม็นดวย เราจึงเรียกแหลงน้ํานี้วา น้ําเนา น้ําโสโครก

ภาพพลาสติก โฟมสารฆาแมลง

สารปราบศัตรูพืชสารฆาหญา

CutMS

มลสารอีกประเภทหนึ่ง เรียกวาสารอนินทรียเปนสารที่มาจากวัสดุสังเคราะห เชนพลาสติก โฟม ตลอดจนสารพิษตางๆ ที่พบในสารฆาแมลง สารปราบศัตรูพืช และสาร ฆาหญา มลสารเหลานี้ บางอยางไมไดทําน้ําเนาแตไมเหมาะที่จะนํามาใชหรือดื่มกิน เนื่องจากมีพิษและเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิต เราจึงเรียกน้ํานี้วา น้ําเสีย หรือน้ํามลพิษFade in เพลงบรรเลง

203

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพน้ําเสีย

ตามสถานที่ตางๆDissolve

MS เสียงบรรยาย ภาวะน้ําเนาเสียหรือน้ํามลพิษมีสวนประกอบของมลสารตางๆ ทั้งสารอินทรียและสารอนินทรีย ซ่ึงสามารถแยกแยะลักษณะของน้ําเสียไดดังนี้

ภาพน้ําเนาเสียจากแหลงตางๆ

CutXLS

แลว Zoom ใหเห็นระยะใกลหรือใชการ Cut

น้ําโสโครก เกิดจากการปลอยทิ้งของเสียจําพวกสารอินทรียที่มีปริมาณมากในแหลงน้ํามีผลใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ําลดลง เกิดการแพรพันธุของวัชพืชชนิดตางๆทําใหน้ํามีกล่ินเนาเหม็นและมีสีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม นอกจากนั้นยังเปนแหลงที่อยูของจุลินทรียและส่ิงมีชีวิตชนิดตางๆ เชน หนอนและตัวออนของแมลงเล็กๆ อีกหลายชนิด

ภาพน้ําที่เนาเสียโดยมี การปนเปอนของคราบน้ํามัน

Cut CU

Zoom inZoom out

MS

มลพิษทางน้ําจากการปนเปอนของน้ํามัน น้ํามันและไขมันเปนสารที่มีน้ําหนักเบา มักจะลอยปกคลุมอยูบนผิวน้ํา เปนตัวขวางกั้นไมใหออกซิเจนจากอากาศแทรกตัวละลายอยูในน้ําได จึงทําใหปริมาณการละลายของออกซิเจนในน้ําลดลงหรือหมดไปปลาไมสามารถดํารงชีวิตได หรือยายไปอยูแหลงน้ําอ่ืน

204

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพน้ําทิ้ง

จากการเกษตรจากแหลงตางๆ

CutMS

น้ําทิ้งจากการเกษตร สารจําพวกปุยหรือธาตุอาหารพืชมีสวนผสมของธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัส เพื่อเรงการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนั้นฟอสฟอรัส ยังมีสวนประกอบของผงซักลางที่ใชกันตามบานหากถูกละลายปะปนไปกับน้ําลงสู คู คลอง ก็จะทําใหพืชน้ําธรรมชาติ เชนสาหราย จอกแหน ผักตบชวาและวัชพืชตางๆเจริญเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําลดลงในเวลากลางคืนเพราะไมมีแสงแดดที่ทําใหพืชสังเคราะหแสงประกอบกับในเวลากลางคืนพืชน้ําเหลานั้นจะดูดออกซิเจนในน้ําเพื่อใชดํารงชีวิต ยิ่งระยะเวลาผานไปก็ยิ่งทําใหปริมาณออกซิเจนลดนอยลง มีผลกระทบตอพวกสัตวน้ําที่อาศัยอยูในบริเวณนั้น

ภาพน้ําเสียจากการปนเปอนสารพิษ

CutMS

มลพิษทางน้ําจากการปนเปอนสารพิษ ผลิตภัณฑเคมีที่ใชเพื่อการเกษตรหรือเพื่อการอุตสาหกรรมจําพวกสารอนินทรีย เชนสารโลหะหนักประเภท ตะกั่ว ทองแดงฯลฯตลอดจนสารที่กอใหเกิดกรดและดาง เชนสารปราบศัตรูพืช เหลานี้เมื่อเจือปนอยูในแหลงน้ําจะไมทําใหน้ําเนา แตจะทําใหน้ําเปลี่ยนแปลงไป นํามาใชประโยชนอีกไมไดจัดเปนน้ําปนเปอนสารพิษมีอันตรายตอส่ิงมีชีวิตที่อยูอาศัยในบริเวณแหลงน้ํานั้นสัตวและพืชน้ําบางชนิดจะสะสมสารพิษไวเมื่อคนนํามากินอาจเกิดอันตรายถึงตายได

205

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพน้ําทิ้ง

จากแหลงเชื้อโรคCutMS

น้ําทิ้งที่มาจากแหลงเชื้อโรค น้ําที่มีเชื้อโรคชนิดตางๆ เจือปนอยู เชนน้ําทิ้งจากสถานพยาบาล น้ําเสียจากกองขยะและน้ําเสียจากนากุงตางๆ หากระบายลงสูแมน้ํา คลอง หนอง บึง โดยตรง อาจทําใหเกิดการแพรระบาดของเชื้อโรคบางอยาง เมื่อคนนําน้ํามาใชและกินอาจติดโรคได เชนโรคอุจจาระรวง โรคบิด หรือโรคพยาธิเปนตน

ภาพน้ําเสียจากโรงงานที่ใชความรอน

CutMS

น้ํารอน หรือที่เราเรียกวา “น้ําหลอเย็น” น้ํารอนที่ระบายลงสูแหลงน้ํา สวนใหญจะเปนน้ําที่ใชหลอเย็นเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ และน้ําจากหมอไอน้ํา เชนโรงงานผลิตไฟฟาขนาดใหญ โรงงานผลิตทอพลาสติก เปนตน เพราะเครื่องจักรกลที่ทํางานจะรอนมากจึงตองใชน้ําจากแมน้ําหรือลําคลองมาชวยหลอเครื่องจักรใหเย็นลง น้ําที่ผานการหลอเยน็แลวจึงมีอุณหภูมิสูงเมื่อปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติทันที จะเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิตทําใหสัตวน้ําตายหรืออาจขยายพันธุตอไปไมได เนื่องจากความรอนทําให 1. ออกซิเจนละลายน้ําไดนอยลงจนไมเพียงพอตอการดํารงชีวิตของปลาได 2. สภาพแวดลอมเปลี่ยนไปมีผลตอระบบนิเวศบริเวณนั้น

Fade in เสียงบรรยาย

206

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพน้ําเสียโดยทั่วๆ ไป Cut

LSZoom in and

Tilt up

Fade up เพลงบรรเลง

Fade down เพลงบรรเลงภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

DissolveMS

เสียงบรรยาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน พระราชทานพระราชดํารัสสนับสนุนเร่ืองนี้วา “ ...หลักสําคัญ ตองมีน้ําบริโภค น้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะวาชีวิตอยูที่นั่นถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ไมมีไฟฟาคนอยูได ไมมีน้ําคนอยูไมได..”

ภาพพื้นน้ํา DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาว

Fade up เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

- ที่ปรึกษา- ขอขอบคุณ- เสียงบรรยาย- กลองและลําดับภาพ- ผูผลิต- สนับสนุนผูผลิต

DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาวแบบเลื่อนขึ้น

Fade out

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

207

บทรายการวิดีทัศนสารคดี วิชา วิทยาศาสตรเร่ือง มลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ตอน แหลงท่ีมาของน้ําเสีย

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)รายการวีดิทัศน

เร่ือง มลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียน

ช้ันประถมศึกษาปที่6

Fade inCU Captionใชตัวอักษร

หัวกลม สีขาว

DissolveXLS

Tilt down AndPan right

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

Captionตอน แหลงที่มาของ

น้ําเสีย

DSKCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีแดง

เสียงบรรยาย แหลงที่มาของน้ําเสีย ลักษณะของน้ําเสีย จะมีความเปนพิษหรือความสกปรกมากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับการนําไปใชประโยชนในกิจกรรมตางๆซ่ึงสามารถจําแนกแหลงที่ทําใหน้ําเกิดการเนาเสียได ดังนี้

ภาพอาคารบานเรือนที่กําลังปลอยน้ําเสียออก

จากทอระบายน้ํา

LSCut

Zoom inMS

บานเรือนและชุมชน สวนใหญน้ําทิ้งที่ระบายจากบานเรือนและชุมชนหรือน้ําทิ้งจากตัวเมืองใหญจะมีความสกปรกที่เปนพวกสารอินทรีย และของแข็งแขวนลอย

208

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพภัตตาคาร รานอาหาร

ตางๆCutLS

โดยเฉพาะน้ําทิ้งที่ระบายจากภัตตาคารรานอาหาร จะมีสวนทําใหน้ํามีความสกปรกมาก

ภาพอาคารบานเรือนที่กําลังปลอยน้ําเสียออก

จากทอระบายน้ํา

CutMS หรือ CU

รองลงมาก็เปนน้ําทิ้งที่ระบายจากตลาดสดและบานพักอาศัยของคน ทราบหรือไมวาใน แตละวันคนๆ หนึ่งทิ้งมลสารที่มีคาสกปรกถึง 30 กรัม แลวคนจํานวนมากในเมืองใหญๆ จะทิ้งน้ําเสียรวมกันเปนปริมาณมากเทาไร

ภาพทั่วๆ ไป อาคารบานเรือนที่อยูอาศัย

ภาพแมน้ําที่มีน้ําเนาเสีย

CutXLS

ดังนั้น สภาพแหลงน้ําที่รองรับน้ําเสียจึงมีสภาพเสื่อมโทรมและเนาเสียไปในที่สุด

ภาพการเนาเสียที่เกิดจากแหลงน้ําตามสถานที่ตางๆ

CutMS

ภาวะเนาเสียของน้ํา อาจสังเกตไดจากสี กล่ิน และความขุนของแหลงน้ํา

209

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพโรงงานอุตสาหกรรม

ประเภทตางๆCutXLS

นอกจากบานเรือนและชุมชนแลวโรงงานอุตสาหกรรมก็เปนแหลงที่มาของน้ําเสียดวยในอุตสาหกรรมการผลิตชนิดตางๆ ไมวาจะเปนอุตสาหกรรมจําพวกอาหารและเครื่องดื่มอุตสาหกรรมโลหะ ฟอกหนัง อุตสาหกรรมเคมี จําเปนตองใชน้ําเพื่อลางทําความสะอาดวัตถุดิบหรือใชน้ําเพื่อหลอเย็น

ภาพ การทํานา ทําไรทําสวนตามสถานที่ตางๆ

CutLS

การทําเกษตรกรรมก็เปนแหลงที่มาของน้ําเสียอีกแหลงหนึ่ง การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มักใชสารเคมีทั้งปุย ฮอรโมน และสารกําจัดศัตรูพืชกันอยางมากเพื่อทําใหไดผลเร็วสารเคมีเหลานี้มีพิษ เชน สารปราบศัตรูพืชฉีดพนลงไปในไรนา สวนตางๆ บางสวนจะติดอยูตามใบพืชบางสวนจะตกลงสูพื้นดิน เมื่อฝนตกลงมาสารพิษพวกนี้จะถูกชะลางไหลลงสูแหลงน้ําน้ําก็จะปนเปอนดวยสารพิษจึงมีอันตรายใชการไมได

ภาพทั่วๆ ไป ของการทํานา ทําไร ทําสวน

ที่กําลังมีการใสปุยใหกับพืชผักผลไม

CutXLS

สวนสารประกอบของปุยซ่ึงไดแกพวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ถามีการใชกันมากๆ เมื่อถูกชะลางลงสูแหลงน้ําก็ทําใหแหลงน้ํานั้นมีธาตุอาหารเกิดขึ้นมากเปนผลใหวัชพืชน้ํา เชน สาหราย ฯลฯ ขยายพันธุกันอยางรวดเร็วจนทําใหออกซิเจนที่ละลายในน้ําลดนอยลงไปเกิดเปนมลพิษทางน้ําได

ภาพการเลี้ยงสัตวประเภทตางๆ

CutXLS

การเลี้ยงสัตวที่ตองใชน้ําเพื่อชะลางมูลสัตวและเศษอาหารตางๆ น้ําทิ้งที่มาจากคอกฟารม หรือบอเล้ียง มักจะเปนน้ําเสีย

210

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพกองขยะที่มีน้ํา

ทวมขังCutMS

กองขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยที่นํามาทิ้งรวมกันเปนกองขยะจะมีทั้งสารอินทรียและสารอนินทรีย เมื่อกองขยะถูกน้ําชะขยะ น้ําจะปนเปอนของเสียในกองขยะ ซ่ึงมีตั้งแตแบคทีเรีย ตัวออนของหนอนพยาธิ

ภาพแหลงน้ําเนาเสียที่มีตัวออนของยุงและหนอนปลอง

CutCU

สภาพของน้ําและการฟอกตัวของแหลงน้ํา นอกจากนั้นการเกิดสัตวน้ําบางประเภทก็สามารถบงชี้ถึงความรุนแรงของน้ําเสียไดในเขตที่เปนแหลงน้ําเนาเสียจะปรากฏตัวออนของยุงและหนอนปลอง ซ่ึงมักจะอยูกันเปนจํานวนมาก

ภาพน้ําคอนขางสะอาดจะมีสัตวน้ําพวก

หนอนแดงและแมงดานา

CutCU

สวนในเขตคืนสภาพ คือ บริเวณแหลงน้ําที่มีการฟอกตัวเอง โดยอาศัยกระบวนการทางธรรมชาติ จนเปนน้ําที่มีคุณภาพดีขึ้นจากเดิม จะพบพวกหนอนแดงและแมงดานาอยูกันเปนจํานวนมาก

ภาพทั่วๆ ไป ของแหลงน้ําที่มี

ความใสสะอาด

CutMS

สําหรับน้ําที่จัดวาเปนแหลงน้ําปกติมักจะมีตัวออนของแมลงปอเข็มและตัวออนของเตาทองอาศัยอยูในแหลงน้ํา

211

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพ ตามสถานที่ตางๆ Cut

LSZoom in and

Tilt up

Fade up เพลงบรรเลง

Fade down เพลงบรรเลง

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

DissolveLS

เสียงบรรยาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน พระราชทานพระราชดํารัสสนับสนุนเร่ืองนี้วา “ ...หลักสําคัญ ตองมีน้ําบริโภค น้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะวาชีวิตอยูที่นั่นถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ไมมีไฟฟาคนอยูได ไมมีน้ําคนอยูไมได...”

ภาพพื้นน้ํา DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาว

Fade up เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

- ที่ปรึกษา- ขอขอบคุณ- เสียงบรรยาย- กลองและลําดับภาพ- ผูผลิต- สนับสนุนผูผลิต

DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาวแบบเลื่อนขึ้น

Fade out

Fade up เพลงบรรเลง

Fade down เพลงบรรเลง

212

บทรายการวิดีทัศนสารคดี วิชา วิทยาศาสตรเร่ือง มลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ตอน ผลกระทบของน้ําเสียตอสิ่งแวดลอม

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)รายการวีดิทัศน

เร่ือง มลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียน

ช้ันประถมศึกษาปที่6

Fade inCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีแดง

DissolveXLS

Tilt down AndPan right

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

Captionตอน ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม

DSKCU Captionใชตัวอักษร

หัวกลม สีเขียว

เสียงบรรยาย หากสภาพแหลงน้ําธรรมชาติไมวาจะเปนคู คลอง หนอง บึง ตองประสบกับสภาวะเสื่อมโทรมหรือเนาเสีย เราจําเปนตองทําการบําบัดหรือปรับปรุงคุณภาพน้ําใหมีความสะอาด สามารถนํามาใชประโยชนไดดวยวิธีตางๆ

ภาพการทําน้ําประปา CutLS

เชน การกรองน้ํา การกักเก็บน้ําไวใชในภาชนะขนาดใหญ หรือจําเปนตองหาแหลงน้ําธรรมชาติขนาดใหญ ซ่ึงตองใชเงินลงทุนมากเปนภาระของผูใชน้ํา ปญหาน้ําเนาเสียที่อยูในขั้นวิกฤติรุนแรง ไดกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมในหลายๆ ดาน

213

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพการใชน้ําประปา Cut

MS ดานการขาดแคลนน้ําสะอาดสําหรับใชในการอุปโภคและบริโภค ในแตละปความตองการน้ําของคนนับวันจะสูงขึ้น เพราะนอกจากจํานวนคนที่เพิ่มขึ้นแลว การขยายตัวของกิจกรรมตางๆ ก็เพิ่มขึ้นตามไปดวย เมื่อแหลงน้ําธรรมชาติที่เปนน้ําดิบสําหรับผลิตน้ําประปา ไดรับการปนเปอนจากมลสารตางๆ ที่ทําใหน้ํามีความสกปรกไมเหมาะที่จะเปนน้ําเพื่อผลิตน้ําประปาได จําเปนตองหาแหลงน้ําดิบใหมหรือใชกระบวนการผลิตใหม เพื่อใหไดน้ําที่มีคุณภาพดีสามารถ นําไปใชประโยชนและดื่มกินได ทําใหตองส้ินเปลืองคาใชจาย มีผลตอราคาคาน้ําประปาตองมีราคาแพงขึ้น

ภาพบอบําบัดน้ําเสียตามโรงงานตางๆ

CutMS

ดานการเพิ่มตนทุนการผลิตของสินคาอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมจําเปนตองสรางระบบบําบัดน้ําเสีย เพื่อลดปริมาณมลสารในน้ําเสียใหเปนน้ําดีตามมาตรฐานการควบคุมน้ําทิ้งกอนที่จะระบายลงสูแหลงน้ํา ทําใหเจาของกิจการตองเสียคาใชจายเพิ่ม เพื่อซ้ือที่ดินเครื่องจักรและอุปกรณตลอดจนคาติดตั้งและดูแลรักษา จึงตองนํามาบวกเปนราคาตนทุนของสินคา สงผลใหประชาชนผูซ้ือสินคาตองจายเงินซื้อในราคาแพงขึ้น

214

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพคนเปนโรคตางๆ ที่เกิดจากแหลงน้ําเปนพิษตามโรงพยาบาลตางๆ

CutLS

ดานความเจ็บปวยดวยโรคที่มาจากแหลงน้ํา โรคติดตอรายแรงหลายโรค เชน โรคบิดโรคอุจจาระรวง อหิวาตกโรค มักจะระบาดในแหลงชุมชน ที่มีปญหาเกี่ยวกับการระบายน้ําโสโครกลงในแหลงน้ํา ทําใหเกิดการเนาเสีย ไมสามารถนํามาใชประโยชนไดอีกน้ําที่มีการปนเปอนสารพิษและโลหะหนักก็ยิ่งเปนอันตรายตอสุขภาพรุนแรงเปนอยางยิ่ง

ภาพผูปวยตามสถานที่ตางๆ

CutXLS

ผูปวยตามสถานที่ตางๆ

ภาพทั่วๆ ไป ของแหลงน้ําเนาเสีย

CutLS

ดานการทําลายระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิตในน้ํา เมื่อแหลงน้ําธรรมชาติที่เคยเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต เชน ปู ปลา หอย กุง รวมถึงพืชน้ําบางชนิด เกิดการเนาเสียเพราะคนทิ้งของเสียที่มีทั้งสารอินทรียและสารอนินทรียในปริมาณมากลงไป

ภาพทั่วๆ ไป ของแหลงน้ําเนาเสีย

CutLS

Pan right

ทําใหส่ิงมีชีวิตในน้ําที่เคยมีการดํารงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกันตองไดรับผลกระทบสัตวน้ํา เชน ปลาบางชนิดไมสามารถดํารงชีวิตอยูได พากันยายแหลงที่อยูอาศัย บางชนิดอาจสูญพันธุหมดไปเนื่องจากขาดอากาศหายใจ

215

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพน้ําเนาเสียจากแหลงน้ํามันที่มาจาก

โรงงานตางๆ

CutLS

ในทํานองเดียวกันถาหากแหลงน้ํามัน เกิดมีมลพิษ เนื่องจากมีการปนเปอนของสารอนินทรีย เชน พวกโลหะ สารเคมีตางๆ ที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรมถาหากมีปริมาณมากอาจทําใหปลาตายไดทันที หรืออาจสะสมไวในตัวปลา ถานําปลาไปบริโภคอาจถึงตายได หรือเจ็บปวยเปนผลเสียตอสุขภาพและการทําการประมงเปนอยางมาก

ภาพเสนทางสัญจรของน้ํา CutLS

ดานการเปลี่ยนแปลงเสนทางสัญจรของน้ํา แหลงน้ําธรรมชาติ เชน แมน้ํา คู คลองหนอง บึง มีประโยชนเปนเสนทางคมนาคมทางน้ําตลอดจนเปนเสนทางระบายน้ําไหลลงสูพื้นที่ราบลุมหรือทะเล

ภาพทั่วๆ ไป ของแมน้ําลําคลองที่มีวัชพืชลอย อยู

ในน้ํา

CutLS

ถาหากตองประสบกับสภาวะเนาเสียมีการทับถมของซากพืชและการอุดตันของทอน้ําที่มีขยะมูลฝอยและวัชพืชที่ไมตองการเปนจํานวนมากจะกีดขวางทางน้ําไหล

ภาพทั่วๆ ไป ของแหลงน้ําเนาเสีย

CutLS

ทําใหน้ําระบายไมสะดวกเกิดปญหาน้ําทวมขังเปนเวลานานติดตอกันกลายเปนแหลงน้ําตื้นเขิน เพราะเกิดการตกตะกอนของดินทรายและขยะมูลฝอย ทําใหเปนอุปสรรคตอการระบายน้ําลงสูที่ราบต่ํา เกิดปญหาอุทกภัยในบางพื้นที่ ตองแกไขดวยวิธีการขุดลอกกันอยูเปนประจํา

216

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพน้ําเนาเสียจากแหลงแมน้ํา คู คลอง

ตางๆ

CutLS

ดานสภาพแวดลอมไมนาอยู เมื่อแมน้ํา คู คลอง หนอง บึง อยูในสภาพเนาเสีย สกปรกโสโครก และสงกลิ่นเนาเหม็นรบกวนกลายเปนแหลงเสื่อมโทรม

ภาพน้ําเนาเสียจากแหลงแมน้ํา คู คลอง

ตางๆ

CutLS

ซ่ึงนอกจากจะสรางความเดือดรอนใหแกผูอยูอาศัยในบริเวณใกลเคียงแลว ก็ยังมีผลตอผูคนที่ผานไปมา เมื่อมองเห็นแลวรูสึกไมอยากดู เบื่อหนายสภาพแวดลอมไมอยากอยูอาศัยในบริเวณหรือสถานที่แหงนั้นตอไป

ภาพทั่วๆ ไป ของแมน้ําลําคลอง

CutLS

ภาวะน้ําเสียเปนปญหาสําคัญที่เปนภัยอันตรายทั้งตอสุขภาพและเปนผลเสียตอเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงนับวันจะเปนปญหาใหญ ที่ทวีความรุนแรงตามจํานวนคนที่เพิ่มมากขึ้น

ภาพทั่วๆ ไป CutLS

ความตองการใชน้ําในการประกอบกิจกรรมตางๆ มีผลทําใหน้ําเสียถูกทิ้งลงสูแหลงน้ํามีปริมาณมากขึ้น

217

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพตามสถานที่ตางๆ Cut

LSZoom in and

Tilt up

Fade up เพลงบรรเลง

Fade down เพลงบรรเลง

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

DissolveLS

เสียงบรรยาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน พระราชทานพระราชดํารัสสนับสนุนเร่ืองนี้วา “ ...หลักสําคัญ ตองมีน้ําบริโภค น้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะวาชีวิตอยูที่นั่น ถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ไมมีไฟฟาคนอยูได ไมมีน้ําคนอยูไมได...”

ภาพพื้นน้ํา DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาว

Fade up เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

- ที่ปรึกษา- ขอขอบคุณ- เสียงบรรยาย- กลองและลําดับภาพ- ผูผลิต- สนับสนุนผูผลิต

DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาวแบบเลื่อนขึ้น

Fade out

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

218

บทรายการวิดีทัศนสารคดี วิชา วิทยาศาสตรเร่ือง มลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ตอน สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)รายการวีดิทัศนเร่ืองมลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียน

ช้ันประถมศึกษาปที่6

Fade inCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาว

DissolveXLS

Tilt down AndPan right

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลงCaption

ตอน สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด

DSKCU Captionใชตัวอักษร

หัวกลม สีน้ําตาล

เสียงบรรยาย วิกฤตการณน้ําเสียที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในปจจุบันมิใชจําเพาะแตแมน้ําสายสําคัญเชน แมน้ําเจาพระยาเทานั้น แหลงน้ําสําคัญในภูมิภาคตางๆ ก็กําลังประสบภาวะมลพิษเชนเดียวกัน เพราะแหลงน้ําทุกหนแหงตองมีสภาพเหมือนกระโถนรองรับน้ําเสียที่ผานการใชจากมนุษย คุณภาพของน้ําจึงเสื่อมลงในทุกๆ ป อาทิ

ภาพ แมน้ําสายตางๆ CutLS

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แมน้ําพอง แมน้ําชีและแมน้ํามูลเกิดสภาพเนาเสีย เนื่องจากมีโรงงานจํานวนมากปลอยน้ําทิ้งลงสูแหลงน้ํา ทําใหแมน้ําทั้ง 3 สายตองไดรับผลกระทบเกิดการเนาเสียเปนอันตรายตอสัตวน้ําบางชนิด ซ่ึงในปจจุบันก็ยังคงมีปญหาน้ําเนาเกิดขึ้นอยูเปนระยะๆ

219

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพ แมน้ําสายตางๆ Cut

LS ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม แหลงน้ําในตัวเมืองเนาเสียเปนสวนใหญ จนทําใหแมน้ําปงตองไดรับผลกระทบไปดวย โดยเฉพาะในชวงฤดูแลงปริมาณน้ําฝนที่เจือจางมีนอยจึงทําใหน้ําในแมน้ําปงเกิดการเนาเสีย

ภาพ ทะเลสาบ CutLS

ภาคใต ที่ทะเลสาบสงขลาทั้งตอนบนและตอนลางบางสวนเริ่มเนาเพราะน้ําเสียจากนากุง และบานเรือนที่ตั้งอยูในบริเวณใกลเคียง น้ําเสียจึงไมใชเปนปญหาของคนในเมืองใหญๆอีกตอไป แตประชาชนที่อยูตามชนบทหางไกลก็มีสิทธิ์รับปญหาน้ําเสียดวยกันทั้งนั้นไมวาจะอยูภูมิภาคใดของประเทศ

ภาพน้ําเสีย CutMS

เสียงบรรยาย น้ําเสียมาจากไหน หากจะพิจารณาถึงแหลงที่มาก็จะเห็นวาผูคนทั้งหลายที่ชวยกันปลอยระบายน้ําทิ้งจากบานเรือนของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณชุมชน

ภาพน้ําเสีย CutMS

เชนตลาดสด ก็ยิ่งมีการทิ้งขยะลงสูแหลงน้ําในปริมาณมาก ดูจากความสกปรกที่ระบายลงสูแมน้ําสายสําคัญๆ เชน แมน้ําเจาพระยา

220

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพ น้ําเสีย Cut

LS ปญหาน้ําเสีย จึงเปนเรื่องที่รอไมได ทุกคนตองรวมมือรวมใจกันแกไขทั้งที่ตนเหตุและปลายเหตุ

ภาพ การใชน้ําอยางประหยัด

CutMS

กอนอ่ืนตองใชน้ําอยางประหยัดเพื่อที่จะทิ้งน้ําเสียใหนอยลง และทุกครั้งที่จะซักลางตองกําจัดเศษสิ่งของไมวาจะเปนเศษอาหาร ไขมันออกจากน้ําเสียกอนแลวจึงระบายน้ําลงสูแหลงน้ํา เพื่อไมใหส่ิงเหลานั้นปะปนไปและเกิดการหมักหมมจนทําใหเกิดความสกปรกในน้ํา

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutMS

สวนการแกไขที่ปลายเหตุนั้น คือ การบําบัดน้ําเสีย เพื่อทําใหน้ําเสียมีคุณภาพดีกอนที่จะปลอยระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ

ภาพบอบําบัดน้ําเสีย CutMS

อาจกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียทําใหน้ํามีความสะอาดกอนทิ้งลงสูแหลงน้ํา เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและยังสามารถนําน้ําที่ผานการบําบัดแลวมาใชไดอีก

221

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพ การนําน้ําไปใชประโยชนตางๆ

CutMS

เชน ไปรดสนามหญา รดตนไม ลางพื้นหรือนําน้ํามาใชหลอเย็นในโรงงานอุตสาหกรรมเปนตน

ภาพ วิธีการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีตางๆ

CutMS

การบําบัดน้ําเสียทําไดหลายวิธี เชนวิธีทาง ชีวภาพ วิธีทางเคมี วิธีทางกายภาพหรือวิธีผสมผสานทั้งทางเคมีและชีวภาพก็ไดโดยพิจารณาจากลักษณะของน้ําเสียนั้นๆตลอดจนความเหมาะสมของพื้นที่และเงินทุนที่จะใชในการกอสรางระบบบําบัด

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutMS

น้ําเสียที่เปนพวกสารอินทรียที่มาจากแหลง ชุมชน วิธีการที่เหมาะสมควรใชกระบวนการทางชีวภาพ ซ่ึงเปนวิธีที่ประหยัดเสียคาใชจายนอย งายตอการดูแลรักษา และมีประสิทธิภาพในการบําบัดสูง

ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย CutMS

สวนการบําบัดน้ําที่ใชกระบวนการทางเคมีมักจะนําไปใชกับน้ําเสียที่ปนเปอนโลหะหนักและสารเคมี ซ่ึงสวนใหญจะเปนน้ําเสียที่มาจากแหลงอุตสาหกรรม วัสดุและโลหะหรืออุตสาหกรรมปโตรเคมี อยางไรก็ตามการบําบัดน้ําเสียอาจทําไดโดยทั้งสองวิธีมาใชรวมกันทั้งทางชีวภาพและทางเคมีเปนการบําบัดแบบผสมผสานเพื่อแกไขน้ําเสียใหมีคุณภาพดีขึ้น

222

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพ วิธีการบําบัดน้ําเสีย

ทางชีวภาพCutLS

เมืองไทยอยูในภูมิภาคเขตรอนมีแสงแดดตลอดป วิธีการบําบัดน้ําเสียทางชีวภาพหรือผสมผสานจึงมีความเหมาะสมทั้งสภาพภูมิอากาศและลักษณะของน้ําเสีย ซ่ึงสวนใหญจะเปนน้ําเสียจากแหลงชุมชนที่เปนพวกสารอินทรียและนอกจากนั้นการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีนี้ยังเปนวิธีที่ประหยัดคาใชจาย อาศัยกระบวนการทางธรรมชาติ สายลมและแสงแดด ชวยทําใหงายตอการบําบัด

ภาพตามสถานที่ตางๆ CutLS

Zoom in andTilt up

Fade up เพลงบรรเลง

Fade down เพลงบรรเลงภาพพระบรมฉายาลักษณ

รัชกาลปจจุบันDissolve

LS เสียงบรรยาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบันพระราชทานพระราชดํารัสสนับสนุนเร่ืองนี้วา “ ...เมืองไทยนี้อีกหนอยแลงไมเหลือ ไมมีน้ําเหลือ คือ ตองไปซื้อน้ําจากตางประเทศซ่ึงก็อาจเปนไปได แตวาเชื่อวาไมไดเปนอยางนั้น เพราะวาถาคํานวณดูน้ําในประเทศไทยที่ไหลเวียนอยูอยางนั้นยังมีอยู เพียงแตตองบริหารใหดี ถาบริหารใหดีแลวมีเหลือเฟอ”และ “แมจะไปซื้อน้ําจากตางประเทศก็กลายเปนน้ําเนาหมด เพราะวาเอามาใชโดยไมระมัดระวัง ถาเรามีน้ําแลว ก็ใชอยางระมัดระวังขอหนึ่ง และควบคุมน้ําที่เสียไปอยางดีอีกขอหนึ่งก็อยูได”

223

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพพื้นน้ํา Dissolve

CU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาว

Fade up เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

- ที่ปรึกษา- ขอขอบคุณ- เสียงบรรยาย- กลองและลําดับภาพ- ผูผลิต- สนับสนุนผูผลิต

DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาวแบบเลื่อนขึ้น

Fade out

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

224

บทรายการวิดีทัศนสารคดี วิชา วิทยาศาสตรเร่ือง มลพิษทางน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ตอน แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)รายการวีดิทัศนเร่ืองมลพิษทางน้ําสําหรับนักเรียน

ช้ันประถมศึกษาปที่6

Fade inCU Captionใชตัวอักษร

หัวกลม สีขาว

DissolveXLS

Tilt down AndPan right

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

Captionตอนแนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสีย

DSKCU Captionใชตัวอักษร

หัวกลม สีน้ําเงิน

เสียงบรรยาย บนเสนทางของการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อที่จะฟนฟูสภาพธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหกลับคืนสูความสมบูรณดังเดิม โดยเฉพาะเร่ืองน้ําเสียนั้น

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

CutMS

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ไดทรงศึกษาและทรงทดลองวิธีการบําบัดน้ําเสียในบริเวณพระตําหนักจิตรลดารโหฐาน ตลอดจนมีการปรับปรุงแกไข ดัดแปลงเปนระยะๆ จนไดวิธีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง

225

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพ โครงการตัวอยาง

ตางๆCutMS

จึงทรงนําเปนโครงการตัวอยางเพื่อใหไดรูปแบบที่สามารถนําไปประยุกตใชในการแกไขวิกฤตการณน้ําเนาเสียที่เกิดจากแหลงชุมชน ที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและตามหัวเมืองตางๆ

ภาพ วิธีการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีตางๆ

CutMS

ทรงศึกษาขอมูลอยางละเอียดทั้งในดานกายภาพ ชีวภาพและเคมี ตลอดจนผลกระทบที่จะมีตอเศษฐรกิจและสังคมของประเทศ

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutMS

ดังพระราชดํารัสตอนหนึ่ง ความวา “น้ํามีมากในโลก เปนน้ําทะเลสวนใหญซ่ึงจะใชอยางนี้ไมไดแลว นอกจากนั้นเดี๋ยวนี้ที่กําลังมีมากขึ้น ก็คือ น้ําเนา จะตองปองกันไมใหมีน้ําเนา น้ําเนาจะอยูเสมอ แตอยาใหน้ําเนานั้นเปนโทษมากเกินไป ฉะนั้น นี่เปนโครงการหนึ่งที่เราจะตองปฏิบัติแลวก็ถาไมจัดการโดยเร็วเราจะนอนอยูในน้ําเนาน้ําดีจะไมมีใชแมจะไปซื้อน้ํามาจากตางประเทศก็กลายเปนน้ําเนาหมด เพราะเอามาใชโดยไมระวัง”

ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย CutMS

แนวพระราชดําริในการบรรเทาน้ําเนาเสียจึงบังเกิดขึ้น เพราะทรงหวงใยในพสกนิกรที่ตองเผชิญกับน้ําเนาเสีย

226

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพ โครงการตัวอยาง

ตางๆCutMS

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระราชดําริแกเจาหนาที่ที่เกี่ยวของรับไปพิจารณาหาลูทางรวมมือกันแกไขและบรรเทาปญหาน้ําเนาเสีย โดยพระราชทานหลักปฏิบัติไววา ถาเรามีน้ําแลวนํามาใชอยางระมัดระวังขอหนึ่ง และควบคุมน้ําที่เสียอยางดีอีกขอหนึ่งก็อยูไดเพราะวาภูมิประเทศ ของประเทศไทยยังใหใชคําวา “ยังให” ก็หมายความวายังเหมาะสมแกการอยูกินในประเทศนี้

ภาพ วิธีการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีตางๆ

CutMS

สวนวิธีการดําเนินงานนั้นก็ทรงเห็นสมควรทําใหเหมาะสมกับธรรมชาติและถือความประหยัดเปนหลัก ดวยวิธีการตางๆ คือ

ภาพ คลองตางๆ CutLS

Pan right

เสียงบรรยาย ใชน้ําดีไลน้ําเสีย จากสภาพน้ําเนาเสียของแมน้ําเจาพระยาตอนลาง ซ่ึงเปนเขตที่ตั้งของกรุงเทพมหานครไดขยายขอบเขตความเนาเสียไปทั่วพ้ืนที่ของตัวเมืองรวมไปถึงเขตชานเมือง ลําคลองตางๆไมวาจะเปน คลองแสนแสบ คลองมหานาคคลองตัน หรือคลองพระโขนง ตางก็สรางความเดือนรอนแกประชาชนที่อยูอาศัยในบริเวณใกลเคียงเปนอยางยิ่ง

ภาพ การบําบัดน้ําเสีย CutLS

การแกไขปญหาน้ําเนาเสีย ไดเร่ิมในชวงพ.ศ. 2527 โดยการใชน้ําดีมีคุณภาพมาชวยบรรเทาน้ําเนาเสีย

227

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพพระบรมฉายาลักษณ

รัชกาลปจจุบันCutLS

ดังกระแสพระราชดํารัส ความวา “... การจัดระบบควบคุมระดับน้ําในคลองสาย ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดระบบระบายน้ําในกรุงเทพมหานครนั้น สมควรวางระบบใหถูกตองตามสภาพการณและลักษณะภูมิประเทศซึ่งควรแบงออกเปน 2 แผนดวยกันคือ แผนสําหรับใชในฤดูฝนหรือฤดูน้ํามากนี้ก็เพื่อประโยชนในการปองกันน้ําทวมและเพื่อบรรเทาอุทกภัยเปนสําคัญ แตแผนการระบายน้ําในฤดูแลงนั้นก็ตองจัดอีกแบบหนึ่งเพื่อกําจัดหรือไลน้ําเสียออกจากคลองดังกลาวเปนหลัก ทั้งสองระบบนี้ควรจะพิจารณาถึงวิธีการระบายน้ํา โดยอาศัยแรงโนมถวงของโลกใหมากที่สุด ทั้งนี้เพื่อประหยัดคาใชจายในการควบคุมระดับน้ําตามลําคลองเหลานี้...”

ภาพ วิธีการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีตางๆ

CutLS

จากแนวพระราชดํารินี้เอง ไดกอใหเกิดวิธีการบําบัดน้ําเสียดวยวิธี ใชน้ําดีไลน้ําเสียวิธีการก็คือ นําน้ําที่มีคุณภาพดีจากแมน้ําเจาพระยาสงเขาไปในคลองสายตางๆ เชนคลองแสนแสบ หรือคลองบางลําภู ฯลฯ

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

น้ําจะไหลผานไปตามคลองที่เชื่อมกับแมน้ําเจาพระยาอีกดานหนึ่ง เมื่อน้ําไหลไปตามคลองตางๆ นับแตปากคลองจนถึงปลายคลองที่น้ําไหลออกไดอยางสะดวก น้ําจึงไหลเวียนไปตามลําคลองไดโดยตลอด น้ําที่เนาในลําคลองก็จะถูกพัดพาออกไปทําใหความสกปรกที่อยูในลําคลองตางๆ ไดใน ระดับหนึ่ง ซ่ึงไมตองเสียคาใชจายในการดําเนินการมากนัก

228

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS การกรองน้ําเสียดวยผักตบชวาโครงการแกไขปญหาน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากแหลงชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครเปนอีกโครงการหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงคิดคนและหาวิธีบําบัด

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutMS

โดยทรงเลือกบึงมักกะสัน แหลงน้ําเสียที่มาจากโรงงานรถไฟมักกะสัน ซ่ึงมีสภาพตื้นเขินและเกิดสภาพน้ําเนาเสียที่รุนแรงเปนที่ศึกษาวิจัยในการบําบัดน้ําเสียโดยวิธีทางธรรมชาติ

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

ภาพผักตบชวา

CutMS

ดังกระแสพระราชดํารัสความวา “ ผักตบชวานี้มันแพรไดเร็วก็ตองยกเอาขึ้นมาแลวทําประโยชน ถาไมทําประโยชนผักตบชวาจะแพรเต็มบึง แลวจะเพิ่มส่ิงโสโครกดวยซํ้าเพราะวาผักตบชวานั้นตองโตขึ้น กลายเปนน้ําเนาตอไป

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

CutMS

แตวาวิธีที่ทํานี้ก็มาแลวก็ตาย แลวก็ลงไปในน้ําใชประโยชนจากผักตบชวาโดยนําขึ้นมาใชเปนปุยก็ได ก็ทําเปนปุยก็เปนจุดประสงคเดิมคือวาของที่ธรรมชาติปลูกแลวมันกินปุย แทนที่จะใหปุยก็เอาปุยที่ผลิตเองไปปลูกใหมันแลวก็กลับมาหมักเปนปุยเอาไปใชในที่ที่จําเปน ก็เปนกําไรดวย มาทําเปนพืชก็ไดคือเอามาผสมกับแกลบแลวก็อัด แลวก็เผาเหมือนถาน หรือไมงั้นก็เปนอาหารสัตวอันนี้ก็เปนวิธีการทางธรรมชาติ”

229

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพบึง Cut

LS บึงมักกะสัน จึงไดรับการปรับปรุงใหเปนแหลงบําบัดน้ําเสียดวยวิธีธรรมชาติโดยใชผักตบชวาเพื่อฟนฟูบึงมักกะสันใหเปนเสมือน“ธรรมชาติของกรุงเทพมหานคร”

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

เปนแหลงเก็บกักและระบายน้ําในฤดูฝนไดอีกการดําเนินงานเริ่มจากการเก็บเกี่ยวผักตบชวาที่อยูในบึงออก และขุดลอกบึงมักกะสันใหมีความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.5 เมตร รวมทั้งปรับปรุงชองทางเขา – ออก ของบึงใหดีขึ้น

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

จากนั้นก็ปลูกผักตบชวาในบึง โดยใชไมไผกั้นเปนระยะๆ เพื่อใหผักตบชวาในบึงเหลานี้ดูดซับและกรองสิ่งสกปรก รวมทั้งสารพิษและโลหะหนักออกจากน้ําเสียตลอดจนทําการปรับปรุงสภาพแวดลอมของชุมชนใหดีขึ้น

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

จากหลักการดังกลาว เปนหลักการบําบัดน้ําเสียที่ใชกระบวนการทางชีวภาพโดยอาศัยธรรมชาติชวยบําบัด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของการใชซ่ึงอาจเรียกวา “ธรรมชาติดับธรรมชาติ”

Fade out เพลงบรรเลง

230

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพกังหันน้ําชัยพัฒนา Cut

LS เสียงบรรยาย การใชเครื่องกลเติมอากาศกังหันน้ําชัยพัฒนา “บึงพระราม 9” บึงขนาดใหญมีพื้นที่ 130 ไรอยูติดกับคลองลาดพราว บรรจบกับ คลองแสนแสบ แตกอนมีสภาพเปนที่ลุมและมีน้ําทวมขังเปน แหลงน้ําเนาเสีย สงกลิ่นเหม็นเปนที่เดือดรอนตอชาวบานที่อาศัยในบริเวณนั้น

ภาพบึง CutLS

แตเมื่อบึงพระราม 9 เปนโครงการอีกโครงการหนึ่ง ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวได พระราชทานพระราชดําริใหแกไขดวยวิธีธรรมชาติผสมผสานกับเครื่องกลเติมอากาศ โดยใหหนวยงานที่เกี่ยวของรวมมือกันดําเนินการจนแลวเสร็จในป พ.ศ. 2532

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

การทํางานของระบบสระเติมอากาศบึงพระราม 9 เริ่มสูบน้ําเสียจากคลองลาดพราวเขามาในระบบ เมื่อแยกขยะแลวจะไหลเขาสู บอเติมอากาศแบบตีน้ําสัมผัสกับอากาศเดินเครื่องทํางานอยูตลอดเวลาทําหนาที่เติมออกซิเจนลงไปในน้ํา ทําใหออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ํามีปริมาณมากขึ้น

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

จุลินทรียที่อยูในน้ําเกิดการตื่นตัวชวยยอยสลายสารอินทรียใหมีประสิทธิภาพสูง จากนั้นจึงปลอยน้ําใหไหลไปยังบอผ่ึงซ่ึงเปนบอดินที่ใชกระบวนการทางธรรมชาติ เซลลจุลินทรียที่อยูในน้ําจะทําใหเกิดการตกตะกอนลงสูกนบอโดยมีสายลม แสงแดด ชวยปรับสภาพน้ําที่ผานการบําบัดจากบอนี้จึงมีคุณภาพดีขึ้น

231

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS จนสามารถปลอยลงสูคลองลาดพราวดังเดิมชวยใหน้ําเสียในคลองลาดพราวมีความเจือจางสภาพน้ํามีคุณภาพดีขึ้น ซ่ึงเปนหลักการของกระบวนการบําบัดน้ําเสียแบบชีวภาพโดยใช“ ธรรมชาติดับธรรมชาติ ” นับเปนประโยชนสูงสุดในการฟนฟูสภาพน้ํา บึงพระราม 9 ในวันนี้จึงเปนสถานที่พักผอนหยอนใจของชาวบานที่อยูในบริเวณนั้น

ภาพ กังหันชัยพัฒนา CutLS

Zoom inMS

เครื่องกลเติมอากาศ “กังหันชัยพัฒนา” เครื่องกังหันชัยพัฒนาเกิดขึ้นดวยน้ําพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ตองการเห็นประชาชนพนทุกขภัยจากมลภาวะทางน้ําที่ยังคงเปนปญหา

ภาพ กังหันชัยพัฒนา CutMS

จึงจําเปนตองนําเครื่องกลเติมอากาศเพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนลงในน้ําเขาชวยบําบัดน้ําเสียโดยไมตองไปซื้อมาจากตางประเทศ ดวยพระวิริยะอุตสาหะ ทรงคิดคนรูปแบบและวิธีการประดิษฐเครื่องกลเติมอากาศชนิดหนึ่งเพื่อบรรเทาความเนาเสียของน้ํา เปนเครื่องกลเติมอากาศอยางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพชวยในการบําบัดน้ําเสียไดอยางเหมาะสม

ภาพ กังหันชัยพัฒนา CutMS

เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ไดพระราชทานรูปแบบและพระราชดําริแกเจาหนาที่กรมชลประทาน ในการกอสรางและพัฒนาตนแบบเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ําหมุนชาแบบทุนลอยหรือ “กังหันน้ําชัยพัฒนา”

232

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพกังหันน้ําชัยพัฒนา Cut

MS ซ่ึงมีใบพัดขับเคลื่อนน้ําและวิดน้ําขึ้นไปสาดกระจายเปนฝอย เพื่อใหน้ําสัมผัสอากาศไดอยางทั่วถึงเปนผลใหออกซิเจนในอากาศสามารถละลายเขาไปในน้ําไดอยางรวดเร็วและในชวงที่น้ําเสียถูกยกขึ้นมากระจายสัมผัสกับอากาศตกลงไปยังผิวน้ํา จะทําใหเกิดฟองอากาศจมตามลงไป กอใหเกิดการถายเทออกซิเจนอีกสวนหนึ่ง ซ่ึงกังหันน้ําชัยพัฒนาแบบนี้จะใชประโยชนไดทั้งการเติมอากาศและการทําใหน้ําไหลไปในทิศทางที่กําหนด

ภาพ กังหันน้ําชัยพัฒนา CutLS

เครื่องกลเติมลมอากาศ “กังหันน้ําชัยพัฒนา”คร้ังแรกพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระบรมราชานุญาตใหใชคลองเมฆขลา ซ่ึงอยูภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาเปนสถานที่ทดลองบําบัดน้ําเสีย

ภาพ กังหันน้ําชัยพัฒนา CutLS

ปรากฏวาเครื่องกังหันน้ําชัยพัฒนาสามารถชวยเพิ่มออกซิเจนใหกับน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพ และนําไปติดตั้งใชงานตามสถานที่ตางๆ ทั้งในกรุงเทพฯและตางจังหวัด

ภาพ กังหันน้ําชัยพัฒนาภาพพระบรมฉายาลักษณ

รัชกาลปจจุบัน

CutMS

จากคุณคาเอนกอนันตของเครื่องกังหันน้ําชัยพัฒนา ทําใหสภาวิจัยแหงชาติไดมีมติเปนเอกฉันทเห็นสมควรเปนอยางยิ่ง ที่จะทูลเกลาทูลกระหมอมถวายรางวัลงานคิดคนหรือส่ิงประดิษฐซ่ึงเปนประโยชนแกประเทศชาติประจําป 2536 ในระดับรางวัลที่ 1 ซ่ึงเปนส่ิงประดิษฐเครื่องกลเติมอากาศที่ 9 ของโลกที่ไดรับสิทธิบัตรและเปนครั้งแรกที่ไดมีการจดทะเบียนและออกสิทธิบัตรใหแก ราชวงศ

233

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพบึง Cut

LS เสียงบรรยาย การบําบัดน้ําเสียดวยบอตกตะกอน หนองหาร : ระบบบําบัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติ “แบบบึงชีวภาพ” “หนองหาร” เปนหนองน้ําใหญในจังหวัดสกลนครหรือเปนทะเลสาบน้ําจืดที่กวางใหญแหงหนึ่ง ซ่ึงประสบกับปญหาน้ําเสื่อมโทรมเพราะการระบายน้ําทิ้งจากแหลงชุมชนโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งที่อยูในตัวเมืองสกลนครและบริเวณรอบๆ หนองหาร

ภาพบึง CutLS

สภาพหนองหารจึงเนาเสียจนเกือบเสื่อมสภาพ แหลงน้ําบางแหงตื้นเขิน บางแหงมีวัชพืชข้ึนอยูหนาแนนจนอากาศเขาไมถึง เกิดการสูญสมดุลทางธรรมชาติและเปนที่ระบาดของเชื้อโรค สัตวน้ําที่อาศัยอยู โดยเฉพาะปลาจะมีพยาธิมากที่สุดกอใหเกิดผลกระทบตอประชาชนที่อยูอาศัยในบริเวณนั้น เปนโรคพยาธิกันอยูเปนจํานวนมาก

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

CutLS

ดวยพระวิริยะอุตสาหะที่จะฟนคืนชีวิตธรรมชาติใหกับหนองหารกลับมาสูสภาพบริสุทธิ์อีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายนพ.ศ. 2532 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระราชดําริใหหนวยงานที่เกี่ยวของรวมกันดําเนินการแกไขปญหาน้ําเนาเสียที่ปลอยลงหนองหารโดยรวบรวมน้ําเสียจากแหลงชุมชนในตัวเมืองสกลนครใหไหลมาตามทอน้ําทิ้งลงสูสถานีสูบที่บริเวณริมหนองหาร ตําบลธาตุเชิงชุม

234

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS จากนั้นจึงสูบเขาไปในบอบําบัดผานกระบวนการบําบัดโดยอาศัยธรรมชาติจนน้ํามีคุณภาพดีขึ้น แตยังคงมีตะกอนและธาตุอาหารพืชปะปนอยู จําเปนตองปรับปรุงคุณภาพน้ําขั้นสุดทายอีกครั้ง โดยใชระบบบําบัดน้ําเสียที่สรางขึ้นเลียนแบบบึงธรรมชาติโดยปลูกพืชน้ํา เชน กก บัว ธูป ฤาษี ไวในบึงที่มีน้ําไมลึกนัก เพื่อใหรากของพืชน้ําทําหนาที่ยึดเกาะของจุลินทรีย และชลอการไหลของน้ําทําใหเกิดการตกตะกอนของสารละลาย และเพิ่มออกซิเจนเขาไปในกระบวนการยอยสลาย

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

โดยใชจุลินทรียจนน้ํามีความสะอาด ซ่ึงวัดไดจากคาความสกปรกหรือคา บีโอดี ที่ปรากฏมีเพียง 2 มิลลิกรัมตอลิตรจากเดิมกอนการบําบัดที่มีคาความสกปรก 13 มิลลิกรัมตอลิตร จึงนับไดวาประสิทธิภาพของบอบําบัดชวยใหน้ําเสียมีคุณภาพดีขึ้น สามารถปลอยลงสูหนองหารเพื่อนํากลับมาใชประโยชนใหแกประชาชนที่อยูในบริเวณนั้นไดอีก

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

เสียงบรรยาย การบําบัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติแบบผสมผสาน แหลมผักเบี้ย : แหลงบําบัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติแบบผสมผสาน “แหลมผักเบี้ย” คือช่ือตําบลหนึ่งของอําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี มีพื้นที่อยูติดกับชายฝงทะเลประมาณ 1,135 ไร เปนพื้นที่ชายเลนอีกประมาณ 2,000 ไร

235

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS สภาพดั้งเดิมของแหลมผักเบี้ยมีความอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรน้ํา แตไดถูกบุกเบิกใหเปนนากุง แตเล้ียงกันไดไมนานก็ประสบกับภาวะการขาดทุน เพราะไมสามารถควบคุมใหน้ําเล้ียงกุงมีคุณภาพที่เหมาะสมไดจึงตองเลิกเลี้ยงกันไป ปลอยใหแหลมผักเบี้ยเสื่อมโทรมไมสามารถใชทําประโยชนได

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

CutMS

เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2533 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯไดพระราชทานพระราชดําริ ใหสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) และกรมชลประทาน รวมกันศึกษาวิธีการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวกับขยะมูลฝอยน้ําเสียและการรักษาปาชายเลนดวยวิธีทางธรรมชาติ

ภาพพระบรมฉายาลักษณรัชกาลปจจุบัน

CutMS

ดังพระราชดําริความวา “โครงการที่จะทํานี้ไมยาก คือวาก็เอาส่ิงเปนพิษออก พวกโลหะตางๆ เอาออกตอจากนั้น ก็เอามาฟอก ใสอากาศ บางทีก็อาจไมตองใส อากาศแลว ก็เอามาเฉลี่ยใสที่บึงหรือเอาน้ําไปใสในทุงหญาเปนทุงหญาเล้ียงสัตว ไดศึกษามาวาทางใตของออสเตรเลียมีโครงการเอาน้ําโสโครกเขาไปใสคลอง แลวใสทอไปไวใกลทะเล แลวทําสระเปนบอใหญมากเปนพื้นที่หลายรอยไร เขาก็ไปทําใหน้ําสกปรกแลวเทลงทะเล ” และนี้เองจึงเปนจุดกําเนิดของโครงการบําบัดน้ําเสียโดยวิธีทางธรรมชาติ ที่ตําบลแหลมผักเบี้ย

236

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS เสียงบรรยาย การดําเนินงานในวิธีแรกเริ่มจากการนําน้ําเสียจากชุมชนในเขตเทศบาลเมืองใหไหลผานทอมากักรวมกันที่สถานสูบน้ําบานคลองยาง จากนั้นจึงทําการสูบน้ําเสียไปตามทอน้ําเปนระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตรเพื่อนําไปบําบัดที่ตําบลแหลมผักเบี้ย

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

โดยน้ําเสียจะไหลเขาสูบอตกตะกอนกอนเปนอันดับแรก เพื่อตกตะกอนสารแขวนลอยที่มีน้ําหนักใหตกลงสูกนบอทําใหน้ําสวนบนเปนน้ําใสมีของเสียลดนอยลง

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

หลังจากนั้นก็ปลอยน้ําใหไหลลงสูบอบําบัดบอที่หนึ่ง บอที่สองและบอที่สามตามลําดับในแตละบอจะมีระยะเวลาเก็บกักน้ําที่นานพอโดยอาศัยธรรมชาติ สายลม และแสงแดดชวยฟอกน้ําเสียใหมีคุณภาพดีขึ้นเรื่อยๆ

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

จนขั้นสุดทาย น้ําจะไหลเขาสูบอปรับคุณภาพน้ําเพื่อชวยฟอกน้ําขั้นสุดทายใหเปนน้ําสะอาดยิ่งขึ้นจนเปนน้ําที่มีคุณภาพดีสามารถนํากลับมาใชประโยชนหรือปลอยลงสูทะเลไดตอไป ไมเปนอันตรายตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา

237

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS เสียงบรรยาย วิธีที่ 2 เปนการปรับปรุงคุณภาพน้ําเสียแบบใชบึงชีวภาพ โดยสรางบอดินตื้นๆมีลักษณะเปนสี่เหล่ียมผืนผา กักเก็บน้ําเสียในบอ โดยให มีระดับความลึกประมาณ 15 ถึง30 เซนติเมตร

ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย CutMS

ภายในบึงปลูกพืชประเภทตนกก ตนออหญาแฝก ฯลฯ เพื่อชวยดูดซับสิ่งสกปรกที่เปนสารอินทรียและสารอนินทรียใหลดนอยลงเนื่องจากรากและลําตนของพืชเหลานี้จะเปนที่จับเกาะของจุลินทรีย

ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย CutMS

ซ่ึงจุลินทรียที่จับเกาะรากและลําตนของพืชเหลานี้จะชวยยอยสลายสารอินทรียที่เปนความสกปรกในน้ําเสีย ใหมีจํานวนของเสียลดนอยลง

ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย CutMS

นอกจากนี้รากของพืชเหลานี้ยังสามารถกรองและเปลี่ยนสภาพของสารพิษบางอยางใหเปนกาซระเหยสูอากาศ น้ําจะมีคุณภาพดีขึ้น

238

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS เสียงบรรยาย วิธีที่ 3 ใชแปลงหญาสําหรับกรองน้ําเสียเปนระบบปรับปรุงคุณภาพน้ํา โดยการนําน้ําเสียที่ผานการบําบัดจากบอตกตะกอนขั้นแรก จนความสกปรกลดเหลือนอยลงมาปรับปรุงคุณภาพใหน้ําสะอาดยิ่งขึ้นดวยการปลูกหญาไวในแปลง เพื่อชวยกรองส่ิงสกปรกที่มีอยูในน้ํา และยังสามารถนําเอาหญาไปใชเปนประโยชนเพื่อการเลี้ยงสัตวหรืออ่ืนๆ ไดอีก

ภาพวิธีการบําบัดน้ําเสีย CutLS

เสียงบรรยาย วิธีที่ 4 ใชปาชายเลนชวยปรับปรุงคุณภาพน้ํา เปนระดับปรับปรุงคุณภาพน้ําที่ใชปาชายเลนชวยฟอก ดูดซับ และกรองความสกปรกในน้ําเสีย เปนการปรับปรุงคุณภาพน้ําขั้นสุดทายกอนปลอยน้ําทิ้งลงสูทะเล จะทําใหน้ํามีคุณภาพดี ไมมีผลกระทบตอนิเวศนชายฝง อีกทั้งยังเปนการฟนฟูสภาพปาชายเลนใหมีความอุดมสมบูรณเหมือนเดิมไดอีกประการหนึ่ง

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

เสียงบรรยาย นอกจากนั้นยังมีวิธีการกําจัดขยะโดยวิธีการทําปุยหมัก และนําเอาขยะที่ยอยสลายดีแลว นําไปใชเปนปุยสําหรับปลูกพืชตอไปโดยเอาขยะมาคัดแยกประเภทโดยขยะที่เปนจําพวกสารอนินทรีย เชน พลาสติก เหล็กโลหะตางๆ เพื่อนําไปใชในกระบวนการนํากลับมาใชใหม

239

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพการบําบัดน้ําเสีย Cut

LS สวนขยะที่เปนสารอินทรียจะถูกนําไปฝงทําเปนปุยหมักโดยใชพื้นที่ทั้งหมดประมาณ100 ไร เพื่อใหเกิดการยอยสลายจนกลายเปนปุยแลวจึงนํากลับไปถมพื้นที่ปาชายเลนซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2,000 ไร เพื่อทําการปลูกปาชายเลนใหเปนแหลงเพาะพันธุสัตวน้ําตลอดจนเปน แนวปองกัน หรือ แนวกันชน ลดแรงกัดเซาะชายฝงไดอีก

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

โครงการแหลมผักเบี้ยจังหวัดเพชรบุรีไดกลายเปนโครงการนํารอง หรือโครงการตนแบบ เพื่อแกไขปญหาสิ่งแวดลอมโดยวิธีการทางธรรมชาติควบคูไปกับการศึกษาวิจัยทางดานสิ่งแวดลอมเศรษฐกิจและสังคม

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

เปนบทพิสูจนในการแกไขสิ่งแวดลอมดวยวิธีเรียบงาย ประหยัดและยังประโยชนสูงสุดอันเปนการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหเกิดความสมดุลและพัฒนาใหเกิดการยั่งยืนตอไป

ภาพการบําบัดน้ําเสีย CutLS

ทั้งนี้และทั้งนั้นเกิดขึ้นดวยวินิจวิจารณญาณอันกวางไกลขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ทรงหวงใยในทุกขสุขของประชาชนและสภาพแวดลอมอยางแทจริง

Fade in เพลงบรรเลง

240

ภาพ (VIDEO) ลักษณะการถาย เสียง (AUDIO)ภาพพระบรมฉายาลักษณ

รัชกาลปจจุบันDissolve

MS เสียงบรรยาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบันพระราชทานพระราชดํารัสสนับสนุนเร่ืองนี้วา “ ...เมืองไทยนี้อีกหนอยแลงไมไมมีน้ําเหลือ คือ ตองไปซื้อน้ําจากตางประเทศซ่ึงก็อาจเปนไปได แตวาเชื่อวาไมไดเปนอยางนั้น เพราะวาถาคํานวณดูน้ําในประเทศไทยที่ไหลเวียนอยูอยางนั้นยังมีอยูเพียงแตตองบริหารใหดี ถาบริหารใหดีแลวมีเหลือเฟอ” และ “แมจะไปซื้อน้ําจากตางประเทศก็กลายเปนน้ําเนาหมด เพราะวาเอามาใชโดยไมระมัดระวัง ถาเรามีน้ําแลวก็ใชอยางระมัดระวังขอหนึ่ง และควบคุมน้ําที่เสียไปอยางดีอีกขอหนึ่งก็อยูได”

ภาพพื้นน้ํา DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาว

Fade up เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

- ที่ปรึกษา- ขอขอบคุณ- เสียงบรรยาย- กลองและลําดับภาพ- ผูผลิต- สนับสนุนผูผลิต

DissolveCU Captionใชตัวอักษรหัวกลม สีขาวแบบเลื่อนขึ้น

Fade out

Fade in เพลงบรรเลง

Fade out เพลงบรรเลง

241

ศัพทานุกรมของสื่อวิดีทัศน

ศัพทเก่ียวกับการเปลี่ยนมุมกลอง ARC การเคลื่อนกลองโทรทัศนในแนวโคง PAN การเคลื่อนกลองโทรทัศนไปในแนวระนาบดานขาง

เชน แพนซาย (PAN LEFT) แพนขวา (PAN RIGHT) TILT การเคลื่อนกลองโทรทัศนไปในแนวดิ่ง เชน

การเงยขึ้น (TILT UP) การกมลง (TILT DOWN) DOLLY การเคลื่อนกลองโทรทัศนเขาใกล (DOLLY IN) หรือ ถอยออกหางจากวัตถุ (DOLLY OUT)ในแนวเสนตรง TRUCK การเคลื่อนยายทั้งตัวกลองและขากลองไปทางซาย หรือขวาโดยกลองจะจับภาพอยูที่ตําแหนงเดิม

ทําใหผูดูเห็นมุมอ่ืนของภาพ ZOOM การเปลี่ยนทางยาวโฟกัสของเลนสไปในมุมแคบ

(ZOOM IN) หรือมุมกวาง (ZOOM OUT)

ศัพทเก่ียวกับระยะการถายภาพ Extreme Long Shot (XLS) ภาพที่วัตถุอยูไกลจากกลองมาก เชน ภาพวิวทิวทัศน

ภาพชายทะเล จึงบอกรายละเอียดของภาพไดนอย Long Shot (LS) เปนภาพระยะไกล หากเปนภาพบุคคลก็จะเห็นเต็มตัว

ใหรายละเอียดของภาพมากขึ้น Medium Shot (MS) ภาพระยะปานกลาง หรือบุคคลครึ่งตัวซ่ึงนิยมใชใน

การถายทํารายการวิดีทัศน Close – up (CU) เปนภาพระยะใกล เชน ภาพเห็นหัวไหล Extreme close – up (XCU) เปนภาพที่ตองการเนนเฉพาะสวน เชน ใบหนา ดวงตา

242

ศัพทเก่ียวกับการเปลี่ยนภาพ CUT การตัดภาพจากภาพหนึ่งไปอีกภาพหนึ่งอยางรวดเร็ว FADE การคอยๆ เพิ่มหรือลดลงของสัญญาณภาพหรือเสียง DISSOLVE การทําภาพจางซอน ภาพหนึ่งคอยๆ เลือนหายไป

และอีกภาพหนึ่งคอยๆ เขามาแทนที่ SUPERIMPOSE การนําภาพจากสองแหลงภาพมาซอนกัน เชน การนํา

ตัวอักษรมาซอนลงบนภาพ

243

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

คําชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีทั้งส้ิน 15 ขอ ใชเวลาในการทดสอบ 15 นาที โดยใหนักเรียนทําแบบทดสอบครบทุกขอ 2. แบบทดสอบฉบับนี้เปนปรนัยชนิดเลือกตอบซึ่งมีตัวเลือกจํานวน 4 ตัวเลือก คือ ก. ข. ค. และง. 3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X)ลงในชองของตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียง ตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

หากตองการเปลี่ยนตัวเลือกใหม ใหขีดทับขอเกาและทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับ ตัวเลือกใหมที่ตองการเพียงตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

1. หาม ขีด เขียน หรือทําเครื่องหมายใดๆ ลงในแบบทดสอบ 2. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จเรียบรอยแลว ใหนําสงคืนกับผูควบคุมการสอบ

244

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไรคําชี้แจง จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว1. หากขาดน้ํานักเรียนคิดวามีผลกระทบตอกิจกรรมใดมากที่สุด

ก. การเพาะปลูกข. การเลี้ยงสัตวค. การอุตสาหกรรมง. การดํารงชีพของสิ่งมีชีวิต

2. ในอดีตเรานิยมตั้งบานเรือนอยูบริเวณใดก. ตามภูเขาข. บริเวณปาดงดิบค. บริเวณที่ราบสูงง. บริเวณที่แมน้ําไหลผาน

3. สารอินทรียประเภทใดที่ปะปนมากับน้ําทิ้งตามสถานที่ตางๆก. โปรตีนข. พลาสติกค. สารปรอทง. สารปราบศัตรูพืช

4. พืชหรือสัตวประเภทใดที่ชวยในการยอยสลายของเสียที่เปนสารอินทรียในน้ําก. สาหรายข. ตะไครน้ําค. แบคทีเรียง. พารามีเซียม

5. แกสชนิดใดที่ ไมมี สวนทําใหน้ําเสียก. แกสไขเนาข. แกสมีเทนค. แกสออกซิเจนง. แกสแอมโมเนีย

245

6. ขอใดที่เปนสาเหตุท่ี ทําใหเกิดน้ําเสียนอยที่สุดก. น้ําจากการปนเปอนของน้ํามันข. น้ําจากการปนเปอนสารพิษค. น้ําเพื่อการเกษตรง. น้ําโสโครก

7. สารประเภทใดปรากฏในน้ําโสโครกก. สารอินทรียข. สารอนินทรียค. สารฆาแมลงง. สารประกอบทางเคมี

8. ผงซักลางที่ใชตามบานมี ธาตุ อะไรเปนประโยชนตอพืชน้ําธรรมชาติและวัชพืชก. แคลเซียมข. โปตัสเซี่ยมค. ฟอสฟอรัสง. ไนโตรเจน

9. มวลสารที่เปนสาเหตุของการเกิดน้ําเสียคืออะไรก. สารอินทรียและสารอนินทรียข. สารที่มาจากสิ่งมีชีวิต พืช หรือ สัตวค. สารที่เกิดจากจุลินทรียและแบคทีเรียง. สารที่มาจากวัสดุสังเคราะหและวิเคราะห

10. ส่ิงตอไปนี้ที่ไมปะปนอยูในสารอินทรียคือขอใดก. ซากพืชข. ซากสัตวค. สารฆาแมลงง. พวกเศษอาหาร

246

11. ในน้ําโสโครกไมมีแกสชนิดใดก. แกสไขเนาข. แกสมีเทนค. แกสแอมโมเนียง. แกสออกซิเจน

12. ในน้ํามลพิษมักไมพบสารประเภทใดก. สารตะกั่วข. สารโปรตีนค. สารฆาแมลงง. สารปราบศัตรูพืช

13. น้ําโสโครกเกิดจากอะไรก. การปลอยน้ําทิ้งของเสียจําพวกสารอินทรียลงในแหลงน้ําข. การปลอยน้ําทิ้งของเสียจําพวกสารอนินทรียลงในแหลงน้ําค. การปลอยน้ําทิ้งสารจําพวกปุย หรือ ธาตุอาหารพืชลงในแหลงน้ําง. การปลอยน้ําที่ใชหลอเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ลงในแหลงน้ํา

14. แหลงที่อยูของพวกหนอนและตัวออนของแมลงเล็กๆ มักเปนบริเวณใดก. น้ําโสโครกข. น้ําทิ้งจากการเกษตรค. น้ํามลพิษจากการปนเปอนสารพิษง. น้ํามลพิษจากการปนเปอนของน้ํามัน

15. แหลงน้ําเสียประเภทใดทําใหผักตับชวาและวัชพืชตางๆเจริญเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วก. น้ําโสโครกข. น้ําทิ้งจากการเกษตรค. น้ํามลพิษจากการปนเปอนสารพิษง. น้ํามลพิษจากการปนเปอนของน้ํามัน

247

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 2 แหลงท่ีมาของน้ําเสียคําชี้แจง

1. แบบทดสอบฉบับนี้มีทั้งส้ิน 15 ขอ ใชเวลาในการทดสอบ 15 นาที โดยใหนักเรียนทําแบบทดสอบครบทุกขอ 2. แบบทดสอบฉบับนี้เปนปรนัยชนิดเลือกตอบซึ่งมีตัวเลือกจํานวน 4 ตัวเลือก คือ ก.ข. ค. และง. 3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชองของตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียง ตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

หากตองการเปลี่ยนตัวเลือกใหม ใหขีดทับขอเกาและทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวเลือกใหมที่ตองการเพียงตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

1. หาม ขีด เขียน หรือทําเครื่องหมายใดๆ ลงในแบบทดสอบ 2. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จเรียบรอยแลว ใหนําสงคืนกับผูควบคุมการสอบ

248

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 2 แหลงท่ีมาของน้ําเสียคําชี้แจง จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว1. ขอใดไมใชแหลงกําเนิดน้ําเสีย

ก. แหลงชุมชนข. การทําสวนค. การคมนาคมง. โรงงานอุตสาหกรรม

2. แหลงใดที่ทําใหเกิดน้ําเสียมากที่สุดก. โรงงานอุตสาหกรรมข. การเกษตรกรรมค. การคมนาคมง. บานเรือน

3. น้ํามีความสําคัญที่สุดในเรื่องใดก. ใชในการคมนาคมข. ใชในการเกษตรกรรมค. ใชในการอุตสาหกรรมง. ใชในการอุปโภค บริโภค

4. สาเหตุของน้ําเสียคืออะไรก. การรดน้ําข. การเผาไรค. การพรวนดินง. การใชยาฆาแมลง

5. เกษตรกรชวยปองกันน้ําเสียไดอยางไรก. ปลูกแตพืชยืนตนข. ใชน้ําในปริมาณนอยค. ใชยาฆาแมลงและปุยใหถูกตองง. ใชแรงงานสัตวมากกวาเครื่องจักร

249

6. การปองกันไมใหเกิดน้ําเสียทําไดหลายวิธียกเวนขอใดก. การแยกเอาสิ่งสกปรกออกจากน้ํากอนที่จะปลอยลงสูแหลงน้ําข. การไมทิ้งขยะหรือส่ิงสกปรกลงสูแหลงน้ําค. การไมระบายน้ําเสียลงสูแหลงน้ําง. การใชน้ําอยางประหยัดและคุมคา

7. ขอใดปญหาที่เกิดจากน้ําเสียมากที่สุดก. ทําใหเกิดเปนอันตรายตอพืชและสัตวข. ทําใหทัศนียภาพเสียไปค. ทําใหเสียดุลธรรมชาติง. ทําใหเสียสุขภาพจิต

8. โรงงานอุตสาหกรรมปลอยน้ําเสียลงสูแมน้ํา ลําคลอง ทําใหผูที่มีอาชีพประมงไดรับความเสียหายและเดือดรอน วิธีการใดสามารถแกปญหานี้ไดดีที่สุด

ก. ใหชาวประมงหันไปประกอบอาชีพอ่ืนข. ใหเจาหนาที่ส่ังปดโรงงานอุตสาหกรรมค. ใหเจาของโรงงานอุตสาหรรมสรางระบบบําบัดน้ําเสียง. ใหเจาของโรงงานอุตสาหรรมชดใชคาเสียหายแกชาวประมง

9. นักเรียนสามารถบํารุงรักษาแหลงน้ําตางๆไดอยางไรก. ขุดลอก คู คลอง ไมใหตื้นเขินมากขึ้นข. ไมทิ้งขยะมูลฝอยลงในแหลงน้ําค. ขุดบอเก็บกักน้ําไวง. สรางทํานบกั้นน้ํา

10. ปจจุบันปญหาน้ําเสียทวีความรุนแรงมากขึ้นนักเรียนคิดวาปญหาใดมีผลกระทบมากที่สุดก. รัฐบาลขาดมาตราการปองกันข. ประชาชนขาดความรับผิดชอบค. ประชาชนไมปฏิบัติตามกฎหมายง. โรงงานอุตสาหกรรมละเลยตอการเคารพกฎหมาย

250

11. การเลี้ยงปลา ถาไมตองการใหน้ําเสียเร็วตองทําอยางไรก. เล้ียงปลามากๆข. เล้ียงปลาแตนอยค. เล้ียงกุงควบคูกันไปง. อยาใหมีเศษอาหารเหลือ

12. ขอใดเปนวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยท่ีทันสมัยและนิยมอยูในปจจุบันก. นําขยะบางชนิดกลับมาแปรรูปเพื่อใชประโยชนข. นําขยะไปทิ้งในบริเวณที่หางไกลชุมชนค. เผาทําลายดวยพลังแสงอาทิตยง. ใชสารเคมีกําจัดขยะมูลฝอย

13. การเกิดของสัตวชนิดใดเปนตัวบงชี้ถึงความรุนแรงของน้ําเสียก. หนอนแดงและแมงดานาข. หนอนแดงและหนอนปลองค. ตัวออนของยุงและหนอนปลองง. ตัวออนของแมลงปอเข็มและตัวออนของเตาทอง

14. มีสัตวชนิดใดที่มักพบในบริเวณแหลงน้ําดีก. ตัวออนของหนอนปลองและตัวออนแมงดานาข. ตัวออนของเตาทองและตัวออนของหนอนปลองค. ตัวออนของเตาทองและตัวออนของแมลงปอเข็มง. ตัวออนของแมลงปอเข็มและตัวออนของแมงดานา

15. การปลูกจิตสํานึกใหมีความรักและหวงแหนในแหลงน้ําควรเริ่มตนจากใครก. ครูข. ผูบริหารค. ผูปกครองง. ตัวนักเรียน

251

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอสิ่งแวดลอมคําชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีทั้งส้ิน 15 ขอ ใชเวลาในการทดสอบ 10 นาที โดยใหนักเรียนทําแบบทดสอบครบทุกขอ 2. แบบทดสอบฉบับนี้เปนปรนัยชนิดเลือกตอบซึ่งมีตัวเลือกจํานวน 4 ตัวเลือก คือ ก. ข. ค. และง. 3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชองของตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียง ตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

หากตองการเปลี่ยนตัวเลือกใหม ใหขีดทับขอเกาและทําเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับตัวเลือกใหมที่ตองการเพียงตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

1. หาม ขีด เขียน หรือทําเครื่องหมายใดๆ ลงในแบบทดสอบ 2. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จเรียบรอยแลว ใหนําสงคืนกับผูควบคุมการสอบ

252

แบบทดสอบกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอสิ่งแวดลอมคําชี้แจง จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว1. ขอใดคือประโยชนที่สําคัญของน้ํา

ก. ใชดื่มข. ใชอาบน้ําค. ใชรดน้ําตนไมง. ใชชําระลางสิ่งสกปรก

2. นักเรียนคิดวาสิ่งแวดลอมมีประโยชนตอมนุษยดานใดมากที่สุดก. การพักผอนข. สุนทรียภาพค. ปจจัยในการดํารงชีพง. รักษาสมดุลธรรมชาติ

3. ขอใดเปนตัวการสําคัญที่กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติก. มนุษยข. ธรรมชาติค. เทคโนโลยีง. พืช และ สัตว

4. ขอใดเปนแหลงน้ําที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันก. แมน้ํา ลําคลองข. น้ําประปาค. หนองง. บึง

5. สาเหตุใดที่ทําใหน้ําเสียก. ปลูกพืชในแมน้ําข. ลงไปวายเลนในแมน้ําค. ทิ้งของเหลือใชลงในลําคลองง. เล้ียงปลาจํานวนมากๆ ในบอน้ํา

253

6. ผลเสียท่ีรายแรงที่สุดของการทิ้งของเสีย เนาเหม็นลงในแมน้ํา ลําคลองคือขอใดก. สัตวน้ําตายข. ขาดแคลนน้ําค. น้ําดําสกปรกง. เกิดโรคระบาด

7. การปฏิบัติตามขอใดถือวาเปนการใชน้ําอยางมีคุณคาก. ซักเสื้อผาทุกวันข. ใชน้ําฝนลางภาชนะค. ใชน้ําลางผักรดตนไมง. เปดกอกน้ําลางถวยชาม

8. สาเหตุใดที่ทําใหน้ําเกิดการเนาเสียอยางรวดเร็วก. ประชากรยายถ่ินฐานนอยลงข. ประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วค. ประชากรลดลงอยางรวดเร็วง. ประชากรมีอัตราการเกิดคงที่

9. น้ํามีความสําคัญตอระบบนิเวศอยางไรก. ใชในการอุปโภค บริโภคข. เปนแหลงศึกษาธรรมชาติค. ตนไมเจริญเติบโตไดดีขึ้นง. เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ

10. การที่น้ําเนาเสียเนื่องจากมีปริมาณแกสชนิดใดนอยกวาปกติก. ออกซิเจนข. ไนโตรเจนค. ไฮโดรเจนง. คารบอนไดออกไซด

254

11. “น้ํา เปนแหลงกําเนิดชีวิตมนุษย” หมายความวาอยางไรก. มนุษยตองใชน้ําเพื่ออุปโภค บริโภคข. มนุษยตองใชน้ําเพื่อทําการเกษตรกรรมค. มนุษยตองใชน้ําเพื่อประกอบงานอุตสาหกรรมง. มนุษยตองใชน้ําเพื่องานประเพณีและพิธีกรรมตางๆ

12. ส่ิงใดเปนสาเหตุทําใหน้ําเนาเสียมากที่สุดก. เนื้อตัวสกปรกแลวลงไปเลนน้ําข. ไมไดขุดลอกผักตบชวาออกมาค. มีโรงฆาสัตวอยูใกลแหลงน้ําง. จัดแพขายอาหารในแมน้ํา

13. “น้ํา มีความสําคัญตอการตั้งถ่ินฐานของมนุษย” หมายความวาอยางไรก. น้ํากอใหเกิดประเพณีที่สําคัญ คือ งานลอยกระทงข. มนุษยสรางบานใกลแหลงน้ําและบูชาพระแมคงคาทุกปค. มนุษยมักจะสรางบอน้ําเปนสิ่งแรกกอนที่จะสรางบานใหมง. น้ําเปนปจจัยสําคัญตอชีวิตมนุษยจึงนิยมสรางบานอยูใกลๆ

14. บุคคลในขอใดชวยรักษามลพิษทางน้ําไดดีที่สุดก. สมบัติ ปลูกตนไมริมแมน้ําข. สมชาย ตอทอน้ําลงสูแหลงน้ําค. สมศรี ชวยเก็บผักตบชวาขึ้นจากน้ําง. สมใจ ตัดตนไมมาสรางบานเปนที่อยูอาศัย

15. เชื้อโรคจําพวกใดที่ทําใหแกสออกซิเจนในน้ําลดนอยลงก. ไวรัสข. เชื้อราค. อะมีบาง. แบคทีเรีย

255

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัดคําชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีทั้งส้ิน 13 ขอ ใชเวลาในการทดสอบ 15 นาที โดยใหนักเรียนทําแบบทดสอบครบทุกขอ 2. แบบทดสอบฉบับนี้เปนปรนัยชนิดเลือกตอบซึ่งมีตัวเลือกจํานวน 4 ตัวเลือก คือ ก. ข. ค. และง. 3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชองของตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

หากตองการเปลี่ยนตัวเลือกใหม ใหขีดทับขอเกาและทําเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับตัวเลือกใหมที่ตองการเพียงตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

1. หาม ขีด เขียน หรือทําเครื่องหมายใดๆ ลงในแบบทดสอบ 2. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จเรียบรอยแลว ใหนําสงคืนกับผูควบคุมการสอบ

256

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัดคําชี้แจง จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว1. การบําบัดน้ําเสียหมายถึงขอใด

ก. การตมน้ําข. การฆาเชื้อโรคในน้ําค. การใชน้ําดีไลน้ําเสียออกสูทะเลง. การแยกเอาสิ่งสกปรกและสารพิษออกจากน้ํา

2. ขอใดเปนการกําจัดน้ําเสียก. การไมระบายน้ําเสียลงสูแหลงน้ําข. การใชน้ําอยางประหยัดและคุมคาค. การไมทิ้งขยะหรือส่ิงสกปรกลงสูแหลงน้ําง. การแยกเอาสิ่งสกปรกออกจากน้ํากอนที่จะปลอยลงสูแหลงน้ํา

3. ขอใดไมใชองคประกอบทางชีวเคมีที่ชวยรักษาความสมดุลของน้ําตามธรรมชาติก. แสงแดดข. จุลินทรียค. ออกซิเจนง. คารบอนไดออกไซด

4. กระบวนการทางชีวเคมีชวยใหน้ําสะอาดไดอยางไรก. ชวยเพิ่มออกซิเจนใหแกน้ําข. ชวยยอยสลายสิ่งสกปรกค. ชวยใหน้ํามีปริมาณมากง. ชวยฆาเชื้อโรคในน้ํา

5. เราจะมีวิธีการปฏิบัติตนเพื่อลดปญหาน้ําเนาเสียในชุมชนไดอยางไรก. ไมใชมูลไกนํามาเลี้ยงปลาข. ไมเทสารเคมีลงแหลงน้ําค. ไมเล้ียงปลาในแมน้ําง. ไมใชไฟฟาช็อตปลา

257

6. ถาเราขาดแคลนน้ํา จะเกิดปญหาในดานใดรุนแรงที่สุดก. ความเปนอยูฝดเคืองข. การเจริญเติบโตชาลงค. การดํารงชีวิตไมยืนยาวง. ขาดความสามารถในการผสมพันธุ

7. ถาในทองถ่ินของนักเรียนมีผักตบชวามาก นักเรียนจะแกไขปญหาอยางไร เพื่อใหเกิดประโยชนไดมากที่สุด

ก. นําไปใชเปนอาหารสัตวและทําปุยข. ชักชวนเพื่อนบานใหนําไปเผาทําลายค. เขี่ยออกไปใหพนหนาบานของตนเองง. ขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่ใหมากําจัด

8. การเกิดแหลงน้ําเนาเสียในชุมชนของเรา มีสาเหตุจากขอใดเปนสําคัญก. ที่อยูอาศัยที่ตั้งอยูริมแมน้ําข. ทางราชการมีการจัดการไมดีพอค. ทอระบายน้ําทิ้งไมไดมาตรฐานง. รานคา โรงแรม และอาคารพาณิชย

9. คําวา “มีทรัพยในดิน มีสินในน้ํา” ขอใดใหความหมายของคําวา มีสินในน้ําไดถูกตอง ที่สุดก. น้ําเปนที่อยูอาศัยของสัตวน้ําข. น้ํามีคุณคาทางการอุปโภค บริโภคค. น้ําเปนทรัพยากรที่มีคุณคาตอส่ิงมีชีวิตง. มีทรัพยสมบัติเชนแกว แหวน เงิน ทอง มากมายอยูในน้ํา

10. ปจจัยใด ไมใช สาเหตุที่กอใหเกิดปญหาดานทรัพยากรธรรมชาติทางน้ําก. ประชาชนขาดจิตสํานึกข. ความเจริญทางเทคโนโลยีค. ขาดมาตรการควบคุมอยางจริงจังง. ความเชื่อทางศาสนาของประชาชน

258

11. ทําไมทุกคนจึงตองปกปองทรัพยากรธรรมชาติทางน้ําก. กฎหมายรัฐธรรมนูญระบุไวชัดเจนข. เปนหนาที่ของพลเมืองที่ตองการใชทรัพยากรค. ทรัพยากรธรรมชาติเปนสมบัติที่ทุกคนตองรักษาง. เปนสิ่งที่กําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

12. การบําบัดน้ําเสียทําไดหลายวิธี ยกเวน วิธีใดก. วิธีการทางกายภาพบําบัดข. วิธีการทางกายภาพค. วิธีการทางชีวภาพง. วิธีการทางเคมี

13. การบําบัดน้ําเสียวิธีการใดเปนวิธีที่ประหยัด และเสียคาใชจายนอยที่สุดก. วิธีการทางเคมีข. วิธีการทางชีวภาพค. วิธีการทางกายภาพง. วิธีการทางกายภาพบําบัด

259

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสียคําชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีทั้งส้ิน 12 ขอ ใชเวลาในการทดสอบ 15 นาที โดยใหนักเรียนทําแบบทดสอบครบทุกขอ 2. แบบทดสอบฉบับนี้เปนปรนัยชนิดเลือกตอบซึ่งมีตัวเลือกจํานวน 4 ตัวเลือก คือ ก. ข. ค.และ ง. 3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชองของตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียง ตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

หากตองการเปลี่ยนตัวเลือกใหม ใหขีดทับขอเกาและทําเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับตัวเลือกใหมที่ตองการเพียงตัวเลือกเดียว ดังตัวอยางนี้

ขอ ก ข ค ง0

1. หาม ขีด เขียน หรือทําเครื่องหมายใดๆ ลงในแบบทดสอบ 2. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จเรียบรอยแลว ใหนําสงคืนกับผูควบคุมการสอบ

260

แบบทดสอบกลุม สรางเสริมประสบการณชีวิต วิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสียคําชี้แจง จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว1. วิธีการบําบัดน้ําเสียดวยวิธีใชน้ําดีไลน้ําเสียหมายความวาอยางไร

ก. นําน้ําที่มีคุณภาพดีมาเปรียบเทียบกับน้ําเสียในคลองข. นําน้ําที่มีคุณภาพดีมาเปรียบเทียบกับน้ําเสียโดยการกรองค. นําน้ําที่มีคุณภาพดีจากแมน้ํามาบําบัดดวยวิธีบอตกตะกอนง. นําน้ําที่มีคุณภาพดีจากแมน้ําหรือแหลงน้ําภายนอกสงเขาไปไลน้ําเสียตามลําคลอง

2. ผักตบชวามีประโยชนมากมายหลายอยาง ยกเวน ขอใดก. หมักทําเปนปุยข. นํามาปรุงเปนอาหารรับประทานค. นําลําตนมาทําเปนอาหารเลี้ยงสัตวง. เอามาผสมกับแกลบแลวก็อัด แลวก็เผาเหมือนถาน

3. หลักการบําบัดน้ําเสียที่ใชกระบวนการทางชีวภาพโดยอาศัยธรรมชาติชวยบําบัดใน บึงมักกะสันตามแนวพระราชดําริอาจเรียกวาอยางไร

ก. ธรรมชาติดับธรรมชาติข. ธรรมชาติสดสวยดวยมือเราค. ธรรมชาติเปนสิ่งที่มนุษยตองการง. ธรรมชาติสดสวยของกรุงเทพมหานคร

4. กังหันชัยพัฒนาใหประโยชนอยางไรก. ทั้งการเติมลมและเติมน้ําในอากาศข. ทั้งการเติมอากาศและการทําใหน้ําไหลไปในทิศทางที่กําหนดค. ทั้งการทําใหอากาศเย็นและการทําใหน้ําไหลไปในทิศทางที่กําหนดง. ทั้งการทําใหอากาศเย็นและการทําใหฟองอากาศแตกกระจายในอากาศ

5. การบําบัดน้ําเสียดวยบอตกตะกอนจัดเปนระบบบําบัดน้ําเสียวิธีใดก. วิธีกายภาพบําบัดข. วิธีผสมผสานค. วิธีชีวภาพง. วิธีเคมี

261

6. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงอนุญาตใหใชคลองอะไรเปนสถานที่ทําการทดลองบําบัดน้ําเสียดวยกังหันชัยพัฒนา

ก. คลองแสนแสบข. คลองเมฆขลาค. คลองเทเวศนง. คลองบางซื่อ

7. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานหลักปฏิบัติในการบรรเทาน้ําเสีย ตอนหนึ่งวา ถาเรามีน้ําแลวนํามาใชอยางระมัดระวังขอหนึ่ง และควบคุมน้ําที่เสีย อยางดีอีกขอหนึ่ง ก็อยูได เพราะวาภูมิประเทศของประเทศไทยยังใหใชคําวา ยังให คําวา ยังให มีความหมายวาอยางไร

ก. ยังเหมาะสมกับเหตุการณในปจจุบันข. ยังเหมาะสมกับกาลเวลาในปจจุบันค. ยังเหมาะสมแกการอยูกินในประเทศนี้ง. ยังเหมาะสมแกการปฏิบัติในประเทศนี้

8. ขอใด ไมใช วิธีการบําบัดน้ําเสียโดยอาศัยวิธีทางธรรมชาติก. การกรองน้ําประปาข. การใชน้ําดีไลน้ําเสียค. การกรองน้ําเสียดวยผักตบชวาง. การบําบัดน้ําเสียดวยบอตกตะกอน

9. เหตุใดจึงเปรียบบึงมักกะสันเสมือน ไตธรรมชาติของกรุงเทพมหานคร ?ก. เปนแหลงเก็บของเสียกอนปลอยทิ้งข. เปนแหลงเก็บกักและระบายน้ําในฤดูฝนค. เปนแหลงฟอกอากาศกลางกรุงเทพมหานครง. เปนแหลงปลูกผักตบชวาในบึงที่ใหญแลวเก็บไปทําประโยชน

10. อุปกรณที่มีช่ือวาอะไรที่ไดรับการพัฒนามาเปนเครื่องกลเติมอากาศกังหันชัยพัฒนาก. หลุกข. กังหันวิดน้ําค. ระหัดวิดน้ําง. ใบพัดเดินเรือ

262

11. โครงการใดถือเปนโครงการตนแบบที่แกไขปญหาสิ่งแวดลอมโดยวิธีการทางธรรมชาติก. โครงการบึงมักกะสันข. โครงการบึงพระราม 9ค. โครงการบึงหนองหารง. โครงการแหลมผักเบี้ย

12. เครื่องกังหันชัยพัฒนา ไดรับสิทธิบัตรเปนครั้งแรกที่ไดมีการจดทะเบียนซึ่งนับเปน ส่ิงประดิษฐที่สําคัญของโลกในเรื่องใด

ก. เครื่องกลเติมอากาศที่ 7 ของโลกข. เครื่องกลเติมอากาศที่ 8 ของโลกค. เครื่องกลเติมอากาศที่ 9 ของโลกง. เครื่องกลเติมอากาศที่ 10 ของโลก

263

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เร่ือง มลพิษทางน้ํา ตอนที่ 1 น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

1. ง 2. ง 3. ก 4. ค 5. ค 6. ค 7. ก 8. ค 9. ก 10. ค11. ง 12. ข 13. ก 14. ก 15. ข

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เร่ือง มลพิษทางน้ําตอนที่ 2 แหลงที่มาของน้ําเสีย1. ค 2. ก 3. ง 4. ง 5. ค 6. ง 7. ก 8. ค 9. ข 10. ข11. ง 12. ก 13. ค 14. ค 15. ง

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เร่ือง มลพิษทางน้ําตอนที่ 3 ผลกระทบของน้ําเสียตอส่ิงแวดลอม1. ก 2. ค 3. ก 4. ข 5. ค 6. ง 7. ค 8. ข 9. ค 10. ก11. ก 12. ง 13. ง 14. ค 15. ง

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เร่ือง มลพิษทางน้ําตอนที่ 4 สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด1. ค 2. ง 3. ง 4. ก 5. ข 6. ค 7. ก 8. ง 9. ค 10. ง11. ค 12. ก 13. ข

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เร่ือง มลพิษทางน้ําตอนที่ 5 แนวพระราชดําริกับการแกไข1. ง 2. ข 3. ก 4. ข 5. ข 6. ข 7. ค 8. ก 9. ข 10. ก11. ง 12. ค

264

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีตอการสอนโดยใชสื่อวิดีทัศน

สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6ประกอบการสอน วิทยาศาสตรความยาวของเนื้อหา เนื้อหาท้ังหมด 5 ตอนคําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้ สรางขึ้นมาเพื่อสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอการสอนโดยใชส่ือวิดีทัศน ในวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง มลพิษทางน้ํา

คําแนะนํา ในการตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย ( / ) ในชองที่ นักเรียนมีความพึงพอใจสอดคลองมากที่สุดเพียงขอเดียว โดยจัดระดับของความพึงพอใจไวดังนี้

ระดับ ความพึงพอใจ54321

มากที่สุดมาก

ปานกลางนอย

นอยที่สุด

โปรดตอบแบบสอบถามความพึงพอใจตามความรูสึกที่แทจริงของนักเรียนเพราะคําตอบจะไมมีผลกระทบใดๆ ตอตัวนักเรียน

ช่ือ (เด็กชาย , เด็กหญิง).............................................นามสกุล...............................

( ตอหนาถัดไป )

265

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีตอการสอนโดยใชสื่อวิดีทัศนตอน น้ําเสียเกิดขึ้นไดอยางไร

สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ระดับความพึงพอใจรายการประเมิน มากที่สุด

5มาก

4ปานกลาง

3นอย

2นอยที่สุด

11. การนําเสนอนาสนใจ2. ความยาวของรายการวิดีทัศนมีความเหมาะสม3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจนเหมาะสม4. ภาพชัดเจน นาสนใจ5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน

6. การผลิตสื่อวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา8. ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก9. หลังจากชมวิดีทัศนแลว นักเรียนไดรับความรูเรื่องมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเรื่องนี้อยูในระดับ

ขอเสนอแนะ

***************************( ตอหนาถัดไป )

266

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีตอการสอนโดยใชสื่อวิดีทัศนตอน แหลงท่ีมาของน้ําเสีย

สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ระดับความพึงพอใจรายการประเมิน มากที่สุด

5มาก

4ปานกลาง

3นอย

2นอยที่สุด

11. การนําเสนอนาสนใจ2. ความยาวของรายการวิดีทัศนมีความเหมาะสม3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจนเหมาะสม4. ภาพชัดเจน นาสนใจ5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน

6. การผลิตสื่อวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา8. ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก9. หลังจากชมวิดีทัศนแลว นักเรียนไดรับความรูเรื่องมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเรื่องนี้อยูในระดับ

ขอเสนอแนะ

***************************( ตอหนาถัดไป )

267

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีตอการสอนโดยใชสื่อวิดีทัศนตอน ผลกระทบของน้ําเสียตอสิ่งแวดลอมสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ระดับความพึงพอใจรายการประเมิน มากที่สุด

5มาก

4ปานกลาง

3นอย

2นอยที่สุด

11. การนําเสนอนาสนใจ2. ความยาวของรายการวิดีทัศนมีความเหมาะสม3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจนเหมาะสม4. ภาพชัดเจน นาสนใจ5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน

6. การผลิตสื่อวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา8. ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก9. หลังจากชมวิดีทัศนแลว นักเรียนไดรับความรูเรื่องมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเรื่องนี้อยูในระดับ

ขอเสนอแนะ

***************************( ตอหนาถัดไป )

268

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีตอการสอนโดยใชสื่อวิดีทัศนตอน สภาพน้ําเสียในประเทศไทยและการแกไขโดยใชระบบบําบัด

สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ระดับความพึงพอใจรายการประเมิน มากที่สุด

5มาก

4ปานกลาง

3นอย

2นอยที่สุด

11. การนําเสนอนาสนใจ2. ความยาวของรายการวิดีทัศนมีความเหมาะสม3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจนเหมาะสม4. ภาพชัดเจน นาสนใจ5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน

6. การผลิตสื่อวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา8. ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก9. หลังจากชมวิดีทัศนแลว นักเรียนไดรับความรูเรื่องมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเรื่องนี้อยูในระดับ

ขอเสนอแนะ

***************************( ตอหนาถัดไป )

269

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีตอการสอนโดยใชสื่อวิดีทัศนตอน แนวพระราชดําริกับการบําบัดน้ําเสียสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ระดับความพึงพอใจรายการประเมิน มากที่สุด

5มาก

4ปานกลาง

3นอย

2นอยที่สุด

11. การนําเสนอนาสนใจ2. ความยาวของรายการวิดีทัศนมีความเหมาะสม3. เสียงบรรยายและเสียงประกอบ ชัดเจนเหมาะสม4. ภาพชัดเจน นาสนใจ5. ตัวอักษร อานงาย ชัดเจน

6. การผลิตสื่อวิดีทัศนประกอบการสอนเปนสิ่งที่มีประโยชน7. เนื้อหาความรูของสื่อวิดีทัศนนาศึกษา8. ควรมีการนําสื่อวิดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอนอีก9. หลังจากชมวิดีทัศนแลว นักเรียนไดรับความรูเรื่องมลพิษทางน้ําเพิ่มขึ้น10. นักเรียนมีความพึงพอใจในวิดีทัศนเรื่องนี้อยูในระดับ

ขอเสนอแนะ

ภาคผนวก ชPrint out เปรียบเทียบความกาวหนาทางการเรียน

271

Print out เปรียบเทียบความกาวหนาทางการเรียน

T-TestPaired Samples Statistics

42.7667 30 4.5689 .834258.0000 30 2.7038 .4936

PRETESTXPOSTTEST

Pair1

Mean NStd.

DeviationStd. Error

Mean

Paired Samples Correlations

30 .868 .000PRETESTX & POSTTESTPair 1N Correlation Sig.

Paired Samples Test

15.2333 2.5955 .4739 16.2025 14.2641 -32.146 29 .000PRETESTX - POSPair 1Mean

Std.Deviation

Std. ErrorMean Lower Upper

95% ConfidenceInterval of the

Difference

Paired Differences

t dfSig.

(2-tailed)

272

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล นายธานินทร จันทองที่อยู 50/217 หมูที่ 5 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ตําบลออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74130ที่ทํางาน โรงเรียนวัดออมนอย ตําบลออมนอย อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74130

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2507 ป.4 โรงเรียนบานดอนลาว จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2510 ป.7 โรงเรียนบานดอนไผ จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2513 ม.ศ.3 โรงเรียนดําเนินสะดวก “สายธรรมจันทร” จังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2516 ม.ศ.5 โรงเรียนอํานวยศิลปธนบุรี กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2517 ป.ป. วิทยาลัยครูนครปฐม จังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2519 พ.ม. ศึกษาดวยตนเอง จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2523 การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) วิชาเอกวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2543 ศึกษาตอระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2518 – 2520 ครู 2 โรงเรียนบานปลองเหลี่ยม จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2521 – 2527 อาจารย 1 โรงเรียนวัดออมนอย จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2528 – ปจจุบัน อาจารย 2 โรงเรียนวัดออมนอย จังหวัดสมุทรสาคร