ว า ท ศาสตร์ - human.bsru.ac.thhuman.bsru.ac.th/e-learning/57 thai/57 thai anusara...

29
ว า ท ศาสตร์ R e t h o r i c a l Speech สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยอาจารย์อนุสรา ดีไหว้

Upload: others

Post on 10-May-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ว า ท ศาสตร ์R e t h o r i c a l Speech

สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรแ์ละสงัคมศาสตร ์มหาวิทยาลยัราชภฏับา้นสมเดจ็เจ้าพระยา

โดยอาจารยอ์นุสรา ดีไหว้

การพดูคืออะไร

การพดู คือ

การถ่ายทอดความรู ้ ความคิด ความรูสึ้ก หรอืความต้องการ ของผูพ้ดู เพ่ือส่ือความหมาย

ไปยงัผูฟั้ง ด้วยถ้อยค า น ้าเสียง และอากปักิริยา

วาทศาสตรคื์ออะไร

วาทศาสตร ์ หมายถึง วิชาท่ีว่าด้วยศิลปะในการใช้ถ้อยค า ส านวนโวหารให้ประทบัใจ

วาทศาสตร ์ หมายถึง วิชาท่ีศึกษาพฤติกรรมของมนุษย ์ทางการส่ือสารความคิดและความรู้สึก โดยการใช้สญัลกัษณ์ต่างๆ

เช่น ภาษา เสียง กิริยาท่าทาง และบคุลิกของผูพ้ดู เป็นวิชาท่ีศึกษาเก่ียวกบัการพดูซ่ึงผูเ้รียนจะต้องเรียนรู้เก่ียวกบัศาสตร์

และศิลปะของวิชาการพดู

ความส าคญัของการพดู

ด้านส่วนตวั

ด้านส่วนรวม

แนวคิดพืน้ฐานเก่ียวกบัการพดู ทุกคนพดูได้แต่อาจพดูดีไมเ่ท่ากนั

นกัพดูทีด่ไีม่จ าเป็นตอ้งมีพรสวรรค์เสมอไป

การพดูเป็นทัง้ศาสตร์และศลิป์

การฝึกพดูสามารถพฒันาได ้

องคป์ระกอบของการพดู

ผูพ้ดู

ผูฟั้ง

สาร ส่ือ

การพดูระดบัต่างๆ

การพดู

การพดูระหว่างบคุคล

การพดู ในกลุ่ม

การพดูในท่ีชมุนุมชน

การพดูทางส่ือมวลชน

ชนิดของการพดู การพดูท่ีแบ่งตามจดุมุ่งหมาย

•พดูเพ่ือให้ความรู้ •พดูเพ่ือจงูใจหรือโน้มน้าวใจ •พดูเพ่ือจรรโลงใจ

การพดูท่ีแบ่งตามวิธีการพดู

•การพดูโดยไม่มีการเตรียมล่วงหน้า

•การพดูโดยการอ่านต้นฉบบัท่ีเตรียมมา

•การพดูโดยการท่องจ าเน้ือหา •การพดูโดยจ าโครงเรื่อง

การประเมินผลการพดู ล าดบัท่ี

เกณฑก์ารพิจารณา

1 บคุลิกภาพและการแสดงออก

2 การเลือกเรื่องและเน้ือหา

3 การเรียบเรียง

4 การใช้ภาษา

5 การใช้เสียง

6 การใช้สายตาและสีหน้า

7 การใช้ท่าทางประกอบการพดู

ก่อนขึน้สู่เวทีการพดู 1.

การปรบัปรงุตวัผูพ้ดู

2. วิเคราะหผ์ูฟั้ง

3. เลือกเรื่องและเตรียมการพดู

1. การปรบัปรงุตวัผูพ้ดู

ด้านความรู้และ

ประสบการณ์

ด้านภาษา

ด้านบคุลิกภาพ

2. การวิเคราะหผ์ูฟั้ง จ านวนผู้ฟัง

เพศของผู้ฟัง

วยัของผู้ฟัง

ระดบัการศึกษาของผู้ฟัง

อาชีพของผู้ฟัง

ภมิูหลงัทางสงัคมและฐานะทางเศรษฐกิจของผู้ฟัง

เจตคติของผู้ฟัง

3. การเลือกเรื่องและเตรียมการพดู

การฝึกพดู

การสรปุ

เน้ือหา ค าน า

อารมัภบท

การประเมิน ผลการพดู

การขึน้เวที

การทกัทาย ผูฟั้ง

การเตรียม การพดู

การเลือกเรื่อง

3.1 การเลือกเรื่อง

เลือกเรื่องท่ีผู้พดู มีความรู้ ความถนัด หรือความสนใจ หรือสามารถค้นคว้าได้

เลือกเรื่องท่ีคาดว่าผู้ฟังสนใจ เหมาะแก่กาลเทศะและโอกาสในการพดูครัง้นัน้ๆ

เลือกเรื่องท่ีมีสาระประโยชน์ มีความทนัสมยั ควรค่าแก่การฟัง

3.2 การเตรียมการพดู

ค้นคว้า รวบรวม

จดัเรื่องพดู

จ ากดั ขอบเขต

วางโครง เรื่อง

ตัง้จดุ มุ่งหมาย

3.3 การทกัทายผูฟั้ง

การทกัทายแบบเป็นทางการ

การทกัทายแบบไม่เป็นทางการ

จดุมุ่งหมาย : เพื่อเตรียมและน าผูฟั้งเข้าสู่เรื่อง / เพื่อจงูใจคนฟัง / กระตุ้นให้เหน็ประโยชน์จากการฟัง / เข้าใจเรื่องท่ีจะฟังต่อไป

ขึน้ต้นด้วย : ค าถาม/การกระตุ้นให้สงสยัหรืออยากรู้/การเล่าเรื่องสนุกสนาน น่าสนใจ/ การสร้างอารมณ์ขนั/ การอ้างวาทะบุคคลท่ีมีช่ือเสียง/ บทกวี ค าคม ส านวน สภุาษิต ค าพงัเพย หรือเพลง/ ตวัอย่างแปลกๆ / การช้ีให้ผูฟั้งเหน็ประโยชน์ท่ีจะได้รบั/ ข้อเทจ็จริงท่ีท าให้ผูฟั้งต้องตะลึง/ การใช้วตัถเุป็นเป้าสายตา

3.4. ค าน า หรือ อารมัภบท

3.4 ค าน า หรือ อารมัภบท (ต่อ) ส่ิงท่ีควรหลีกเล่ียงใน

การอารมัภบท

ไม่กล่าวออกตวัว่า พดูไม่เก่ง ไม่มีความรู้ หรือไม่ได้เตรียมตวัมา

ไม่พดูเย่ินเย้อ วกวน หรือออกนอกเรื่อง

ค ำน ำทีดี่ไม่ควรยำวเกิน 1 ใน 10 ของเวลำทีใ่ช้พดู

ไม่ต้องแนะน าตวัซ า้อีก เพราะบางครัง้พิธีกร

แนะน าไว้เรียบร้อยแล้ว

3.5 เน้ือหา

บีบคัน้ อารมณ์

เน้นตอน ส าคญั

จบัประเดน็

เรียงล าดบั

เหมาะสม กบัเวลา

3.6 สรปุ

จบโดยสรปุความ : การเรียกร้อง ชกัชวน หรือกระตุ้นให้ผูฟั้งปฏิบติัตาม/ ฝากข้อคิด / ท้ิงท้ายด้วยค าถาม / บทกวี ค าคม ส านวน สภุาษิต ค าพงัเพย หรือ

เพลง

ส่ิงท่ีควรหลีกเล่ียง : สรปุเย่ินเย้อ ยืดยาว / จบไม่ลง / จบลงเฉยๆ / สรปุไม่เข้ากบัเน้ือหาท่ีพดู / สรปุด้วยการขอโทษ

ขออภยั

3.7 การฝึกพดู อ่านออกเสียงบทร่างให้เหมือนการพดูหลายๆครัง้

ขณะพดูควรสงัเกตว่าตนเองออกเสียงถกูต้องชดัเจน และเป็นธรรมชาติหรือสอดคล้องกบัเร่ืองท่ีพดูหรือไม ่

เมื่อผู้พดูพอจะจ าเรื่องได้แล้ว ทดลองยืนพดูหน้ากระจก หรือให้คนสนิทสนมคุ้นเคยฟัง

ขณะฝึกพดูควรจบัเวลาในการพดูว่าพอดีกบัเวลาท่ีได้รบัมอบหมายหรือไม่

หากผู้พดูจ าเน้ือหาไม่แม่นย าหรือไม่มัน่ใจ ควรจดเฉพาะหวัข้อตามล าดบัท่ีได้เตรียมไว้ลงกระดาษขนาดพอเหมาะ (3x5น้ิว)

**ควรฝึกซ้อมบ่อยๆ***

3.8 การขึน้เวที O ลกุขึ้นยืนอย่างสง่าผ่าเผย O เมื่อไปถึงท่ียืนพดู ให้หยดุยืนสกัครู่ รอให้เสียงปรบมือต้อนรบัซาลง แล้วจึงพดู

ตามท่ีได้ฝึกซ้อมมา โดยเร่ิมจากการทกัทายผู้ฟัง ค าน า เน้ือเร่ือง และสรปุ O ขณะพดูต้องสบตาผู้ฟังอย่างทัว่ถึง มีสีหน้าย้ิมแย้มแจ่มใส แสดงความเป็นมิตรกบั

ผู้ฟัง O ขณะอยู่บนเวทีควรหลีกเล่ียงกิริยาอาการท่ีไม่พึงประสงค ์เช่น การขยบัแว่น

บ่อยๆ เสยผมตลอดเวลา เกาศีรษะ ขยบักางเกง ขยบัเนกไท ดึงเส้ือผ้าให้เข้าท่ี เลียริมฝีปาก กะพริบตาถ่ีๆ ล้วง แคะ แกะ เกา ฯลฯ

O ขณะพดูถ้าผู้ฟังหวัเราะหรือปรบมอืแสดงความพอใจ ควรหยดุรอให้เสียงนัน้ซาลงแล้วจึงพดูต่อ

O ขณะพดูควรสงัเกตปฏิกิริยาผู้ฟังด้วย

3.9 การประเมินผลการพดู

ประโยชน์ของการประเมินการพดู

• ช่วยให้ผู้พดูปรบัปรงุแก้ไขและพฒันาการพดูให้ดีย่ิงขึ้น • ฝึกเป็นผู้มีใจกว้าง ยอมรบัฟังเหตผุลและค าวิจารณ์ของผู้อ่ืน

• ฝึกให้ผู้วิจารณ์เป็นนักฟังท่ีดี โดยตัง้ใจฟัง รู้จกัสงัเกต วิเคราะห ์และประเมินผล • ผู้วิจารณ์สามารถน ามาปรบัใช้กบัการพดูของตนเองได้

3.9 การประเมินผลการพดู (ต่อ)

หน้าท่ีของผู้วิจารณ์

ตัง้ใจฟังการพดูตัง้แต่ต้นจนจบ พร้อมบนัทึกข้อติชมไว้คร่าวๆ

วิจารณ์ด้วยเหตผุล ด้วย

หลกัเกณฑข์องการวิจารณ์และ

การใช้วิจารณญาณในการวิจารณ์

วิจารณ์ด้วยความเท่ียงธรรม ด้วยค าพดูท่ีสภุาพและ

สร้างสรรค ์

หน้าท่ีของผู้ถกูวิจารณ์

ใจกว้าง ยอมรบัฟังค าวิจารณ์ ไม่โกรธ ไม่ท้อถอย

น าข้อติชมไปปรบัปรงุแก้ไข

เพ่ือพฒันาการพดูในครัง้ต่อ

3.9 การประเมินผลการพดู (ต่อ)

• ท่าทีและการปรบัตวัโดยทัว่ไป • ค าน าและสรปุ เหมาะสมกบัเน้ือหา เวลา น่าสนใจ และ

ประทบัใจหรือไม่ • เน้ือหาสาระตรงตามจดุประสงคท่ี์ตัง้ไว้หรือไม่ • การจดัล าดบัเรื่อง • การใช้ภาษา • น ้าเสียงการใช้อวจันภาษาประกอบการพดู

หวัข้อการประเมิน

หนังสืออ้างอิง O นงลกัษณ์ สทุธวิฒันพนัธ.์ (๒๕๔๖). กลยุทธก์ารพดูใหป้ระสบ

ความส าเรจ็. กรงุเทพฯ : สนุกอ่าน.

O วศิลัยศ์ยา รดุดษิฐ.์ (๒๕๔๘). วาทวทิยาส าหรบัคร.ู กรงุเทพฯ : คณะครศุาสตร ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั.

O สมจติ ชวิปรชีา. (๒๕๓๕). วาทวทิยา. กรงุเทพฯ : ส านกัพมิพ์ แหง่จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั.

The End