บทที่ 1 ความรู เบื้องต น...

30
บทที1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ปจจุบันคอมพิวเตอรเขามามีบทบาทที่สําคัญมากแทบทุกวงการ และจะมีความสําคัญมากยิ่งขึ้นเปน ทวีคูณในอนาคต คอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยชวยเก็บขอมูลไดเปน จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ คนหา คํานวณ และเปลี่ยนแปลงขอมูลไดอยางรวดเร็วและสําเร็จตาม เปาหมาย โดยที่งานบางอยางหากใหมนุษยทําเองอาจตองใชเวลาในการทํางานนั้นนานมาก และผลลัพธทีไดอาจจะไมถูกตองรอยเปอรเซ็นต เมื่อพูดถึงความสามารถที่หลากหลายของคอมพิวเตอร บางคนอาจคิดวา เครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือวิเศษเพราะสามารถทํางานไดมากมายเหลือเกิน ทั้งที่ความเปนจริงแลวนั้น เครื่องคอมพิวเตอรสามารถทํางานไดเฉพาะงานคํานวณพื้นฐานในการบวก ลบ คูณ หาร เปรียบเทียบ ทางตรรก และสามารถเก็บขอมูลไดจํานวนมากเทานั้น แตการแกปญหาที่ซับซอนมากมายนั้น เครื่อง คอมพิวเตอรไมสามารถแกปญหานั้นไดดวยตัวเครื่องคอมพิวเตอรเอง จําเปนตองอาศัยมนุษยที ่รูจัก คอมพิวเตอร รูจักสั่งการใหคอมพิวเตอรทํางานตามที่ตองการได และบุคคลผูนั้นคือ โปรแกรมเมอร (Programmer) ซึ่งเปนผูเขียนคําสั่งขั้นตอนการทํางานที่สลับซับซอนใหอยูในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร เขาใจและปฏิบัติตามได ดังนั้นผูที่มีความสําคัญมากที่ทําใหคอมพิวเตอรทํางานได ก็คือ มนุษยนั่นเอง แต ตองเปนมนุษยผูที่มีความรู ความเขาใจ ในการเขียนชุดคําสั่งใหคอมพิวเตอรทํางานได คอมพิวเตอร (Computer) มาจากภาษาลาตินวา Computare ซึ่งแปลวา การนับหรือคํานวณ ดังนั้น คอมพิวเตอร จึงหมายถึงเครื่องคํานวณที่ใชอุปกรณอิเลคทรอนิกส (Electronic Computer) ซึ่งแตกตางจาก เครื่องคํานวณโดยทั่วไป เชน เครื่องคิดเลข หรือเครื่องจักรที่ใชลงบัญชี ในปจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อ สินคามากมาย เชน มีการชักจูงใหผูซื้อสินคาโดยโฆษณาวา เปนเครื่องคิดเลขที่มีหลายหนวยความจํา (Memory) สามารถเก็บผลลัพธได 15 หลัก สามารถคํานวณคาทางคณิตศาสตร สถิติ ไดมากมาย และ รวดเร็ว และที่สําคัญเครื่องคิดเลขเหลานั้นราคาถูกกวาเครื่องคอมพิวเตอรหลายเทานัก

Upload: others

Post on 24-Aug-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

บทที่ 1

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

ปจจุบันคอมพวิเตอรเขามามบีทบาทที่สําคัญมากแทบทุกวงการ และจะมีความสําคญัมากยิ่งขึ้นเปน

ทวีคูณในอนาคต คอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยชวยเก็บขอมูลไดเปน

จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ คนหา คํานวณ และเปลี่ยนแปลงขอมูลไดอยางรวดเร็วและสําเร็จตาม

เปาหมาย โดยที่งานบางอยางหากใหมนษุยทําเองอาจตองใชเวลาในการทํางานนั้นนานมาก และผลลัพธที่

ไดอาจจะไมถูกตองรอยเปอรเซ็นต เมื่อพูดถึงความสามารถที่หลากหลายของคอมพิวเตอร บางคนอาจคิดวา

เครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือวิเศษเพราะสามารถทํางานไดมากมายเหลือเกิน ทั้งที่ความเปนจรงิแลวนั้น

เครื่องคอมพิวเตอรสามารถทํางานไดเฉพาะงานคํานวณพืน้ฐานในการบวก ลบ คูณ หาร เปรียบเทียบ

ทางตรรก และสามารถเก็บขอมูลไดจํานวนมากเทานัน้ แตการแกปญหาที่ซับซอนมากมายนัน้ เครื่อง

คอมพิวเตอรไมสามารถแกปญหานั้นไดดวยตัวเครื่องคอมพิวเตอรเอง จําเปนตองอาศัยมนุษยที่รูจกั

คอมพิวเตอร รูจักสั่งการใหคอมพวิเตอรทํางานตามที่ตองการได และบุคคลผูนั้นคือ โปรแกรมเมอร

(Programmer) ซ่ึงเปนผูเขียนคําสั่งขั้นตอนการทํางานทีส่ลับซับซอนใหอยูในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร

เขาใจและปฏิบัติตามได ดังนั้นผูที่มีความสําคัญมากที่ทําใหคอมพวิเตอรทํางานได ก็คือ มนุษยนัน่เอง แต

ตองเปนมนุษยผูที่มีความรู ความเขาใจ ในการเขียนชุดคําสั่งใหคอมพิวเตอรทํางานได

คอมพิวเตอร (Computer) มาจากภาษาลาตินวา Computare ซ่ึงแปลวา การนับหรือคํานวณ ดังนั้น

คอมพิวเตอร จึงหมายถึงเครื่องคํานวณทีใ่ชอุปกรณอิเลคทรอนิกส (Electronic Computer) ซ่ึงแตกตางจาก

เครื่องคํานวณโดยทั่วไป เชน เครื่องคิดเลข หรือเครื่องจักรที่ใชลงบญัชี ในปจจุบนัมีการโฆษณาชวนเชื่อ

สินคามากมาย เชน มีการชักจูงใหผูซ้ือสินคาโดยโฆษณาวา เปนเครื่องคิดเลขที่มีหลายหนวยความจํา

(Memory) สามารถเก็บผลลัพธได 15 หลัก สามารถคํานวณคาทางคณิตศาสตร สถิติ ไดมากมาย และ

รวดเร็ว และทีสํ่าคัญเครื่องคิดเลขเหลานั้นราคาถูกกวาเครื่องคอมพิวเตอรหลายเทานกั

Page 2: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

2 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1.1 คุณสมบติัพิเศษของคอมพิวเตอร

1) คอมพิวเตอรทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกสและอัตโนมัติ คอมพิวเตอรมีวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่เก็บขอมูลและคําสั่ง ซ่ึงจะถูกนําเขาไปในตัวเครื่องเปนสัญญาณไฟฟา เพื่อประมวลผล เมื่อประมวลผลสําเร็จก็จะถูกแปลงกลับเปนขอมูลที่คนสามารถเขาใจได

2) คอมพิวเตอรสามารถเก็บและจัดการกับขอมูลท่ีมีปริมาณมากๆ ไมวาขอมูลจะมากมายสักปานใด คอมพิวเตอรสามารถเก็บได เชน ขอมูลสํามโนครัวประชากรของประชาชนทั่วประเทศ สามารถเก็บขอมูลรายละเอียดทั้งหมดของประชากรทั้งประเทศหรือทั่วโลกได ตั้งแต ช่ือ-สกุล วันเดือนปเกิด และสถานที่อาศัย บานแตละหลังอาศัยรวมกันกี่คน ใครบางเปนลูกของใคร มีพี่นองชื่ออะไรบาง เปนหญิงชาย อยางละกี่คน และที่สําคัญสามารถคนหาขอมูลไดอยางรวดเร็วมาก

3) คอมพิวเตอรสามารถปฏิบัติงานไดรวดเร็ว งานบางงานหากใชกําลังคนจัดทําจําเปนตองอาศัยคนจํานวนมาก แตถาหากใชคอมพิวเตอรจัดการสามารถทํางานไดรวดเร็วช่ัวพริบตา สามารถแยกแยะออกไดอยางรวดเร็วกวา เชน ตองการทราบขอมูลจํานวนประชากรทั่วประเทศจากขอ 1 มีทั้งหมดกี่คน กี่ครอบครัว เปนชายกี่คน หญิงกี่คน จังหวัดละกี่คน เปนเด็กและผูใหญอยางละกี่คน

4) คอมพิวเตอรทํางานดวยความแนนอนที่เชื่อถือได ผลลัพธที่ไดจากการทํางานของคอมพิวเตอรนั้นจะมีความถูกตองแนนอน ไมมีความผิดพลาดเพราะความเผอเรอเหมือนกับการทํางานดวยมือของคน เชน ผลลัพธที่ไดจากการนับจํานวนหรือจัดแยกกลุมประชากร ดังนั้นหากมีการบันทึกขอมูลที่ถูกตองแนนอน ผลลัพธที่ไดก็จะมีความถูกตองแนนอนดวย

5) คอมพิวเตอรสามารถทํางานไดตอเนื่องโดยไมตองหยุดพักผอน คอมพิวเตอรไมรูจักเหน็ดเหนื่อยจากการทํางาน ไมตองการนอนพักผอน และหยุดรับประทานอาหารเหมือนการใหคนทํางาน

6) คอมพิวเตอรสามารทํางานซ้ําซากไดโดยไมเหน็ดเหนื่อยไมเบื่อ คอมพิวเตอรสามารถทํางานไดโดยไมตองอาศัยอารมณ ความรูสึก ไมรูรอน รูหนาว ดังนั้นจึงไมสรางความยุงยาก

7) คอมพิวเตอรสามารถทํางานในทุกสภาพ ถึงแมสถานที่นั้นจะมีอันตรายจากควันพิษ กาซพิษ มืดหรือสวาง ซ่ึงในสถานที่บางสถานที่คนไมสามารถเขาไปทํางานได

1.2 ขอดีและขอเสียของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรมีทั้งขอดีและขอเสียไดเชนเดียวกนักับอุปกรณประเภทอื่น ๆ เพราะขึ้นอยูกับผูใชงาน

1.2.1 ขอดีของคอมพวิเตอร

1) ความเร็วสูง (High Speed) ทํางานใหไดรวดเรว็กวาการที่ใหคนทําดวยมือ 2) ความถูกตอง (Accuracy) คํานวณและประมวลผลไดแมนยําแมขอมูลจะมีจํานวนมากก็ตาม 3) ความเชื่อถือได (Reliability) ผลลัพธจะเหมือนกันทุกครัง้หลังการประมวลผล ภายใตขอมูลชุด

เดียวกัน

Page 3: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

3 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

4) การเก็บขอมูล (Record Keeping) สามารถจัดเก็บขอมูลไดมาก และคนหาขอมูลไดรวดเร็วมาก 5) การประหยัด (Economy) คือในระยะยาวจะสามารถประหยัดเวลา ทุน และบุคลากร 6) การนําไปใชไดกับงานหลายดาน (Wide Applicability) คือนํามาใชไดกับงานทั้งดานธุรกิจ

การศึกษา การธนาคาร การแพทย ฯลฯ

1.2.2 ขอเสียของการใชคอมพิวเตอร

1) การทํางานตองขึ้นกับมนุษย (Depend on Human) เครื่องคอมพิวเตอรไมสามารถทํางานเองไดหากปราศจากการสั่งการจากมนุษย เพราะคอมพิวเตอรจะสามารถปฏิบัติงานไดก็ตอเมื่อไดรับขอมูลและคําสั่งจากโปรแกรมที่มนุษยเปนผูเขียนเทานั้น

2) การวางระบบของแตละงานตองการเวลานาน (Time-Consuming) การนําระบบคอมพิวเตอรเขามาใชงานในองคกร จะตองมีการเตรียมแผนการ การวิเคราะหระบบ การเขียนโปรแกรม การดูแลระบบ ตลอดจนการจัดเตรียมและพัฒนาบุคลากรใหมีความสามารถในการใชคอมพิวเตอร ซ่ึงจําเปนตองใชเวลาไมนอย แตในปจจุบันการติดตั้งระบบคอมพิวเตอรสามารถทําไดเร็วข้ึน เนื่องจากมีคนที่มีความรูทางดานคอมพิวเตอรมากขึ้น รวมทั้งอุปกรณมีความทันสมัยและติดตั้งงายขึ้น

3) การรบกวนระบบงานปกติ (Disruptiveness) การนําระบบคอมพิวเตอรมาใชงานในองคกรที่ไมเคยใชคอมพิวเตอร จะตองมีนักวิเคราะหระบบเขาไปศึกษาลักษณะงานโดยอาจตองสัมภาษณพนักงานจนทําใหเกิดความไมสะดวกในการทํางาน เพราะตองคอยตอบคําถามจากนักวิเคราะหระบบ นอกจากนี้หากเกิดขอผิดพลาดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร อาจทําใหการทํางานของพนักงานไมสามารถดําเนินตอไปได

4) การไมรูจักปรับปรุงใหดีขึ้น (Unadaptiveness) คอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่ทํางานตามคําสั่งของมนุษยเทานั้น จึงไมสามารถแกไขขอผิดพลาดหรือปรับปรุงงานใหดีขึ้นไดดวยตนเอง

1.3 วิวัฒนาการของการผลิตเครื่องคอมพิวเตอร

การใชเครื่องคอมพิวเตอรเร่ิมมีขึ้นมาตั้งแตเมื่อ 50 ปที่ผานมา แตวิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร

เร่ิมตนมาตั้งแต

• การใชนิว้มือในการบอกจํานวนเลข และการคํานวณ ตอมามีชาวกรกี รูจักการขดีเขียนบนพื้นดินเปนเสนตรงแนวตั้ง และแนวนอน

• การใชลูกหนิเรียงเปนแถวแทนตัวเลขในแตละหลัก

• การใชเชือกมารอยลูกหินเรยีงแบบลูกคิด

• ชาวจีนและชาวญี่ปุน ดัดแปลงใหเกดิเปนลูกคิด (abacus) โดยใชวัสดุอ่ืนแทนลูกหินและใชโลหะแทนเชือก

Page 4: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

4 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

• ค.ศ. 1642 เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) ชาวฝรั่งเศส ไดสรางเครื่องบวกเลขที่มีช่ือวา Mechanical Adding Machine ทํางานดวยระบบเฟองทดซึ่งถือวาเปนตนกําเนิดของการพัฒนา เครื่องคํานวณแผนใหม

• ค.ศ. 1694 กอตฟริต ไลบิส (Gottfried Liebiz) นักคณิตศาสตรชาวเยอรมันไดสรางเครื่องคํานวณที่ใชสําหรับการคูณ โดยการใชหลักการบวกซ้ําๆ กัน

• ค.ศ. 1872 ชารลส แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ไดสรางเครื่องผลตาง (Different Engine) ซ่ึงใชสําหรับการคํานวณและพิมพตารางทางคณิตศาสตร เขาใฝฝนที่จะสรางเครื่องคํานวณวิเคราะห (Analytical Computer) เปนเครื่องคํานวณที่รับขอมูลที่บันทึกอยูบนบัตรและผลลัพธที่ใหออกมาจะอยูในรูปสิ่งพิมพ แตแบบเบจทําไมสําเร็จ เพราะวาเขาเองนั้นยังขาดทุนทรัพยในการลงทุน อยางไรก็ตามลักษณะของเครื่องคํานวณวิเคราะห เหมือนกับลักษณะคอมพิวเตอรที่ใชในปจจุบันดังนั้น แบบเบจจึงนาจะไดช่ือวา เปนบิดาของคอมพิวเตอร

• ค.ศ.1944 ศาสตราจารยโฮเวิรด เอช อายเคน (Prof. Howard Hiken) แหงมหาวิทยาลัย ฮารวารด รวมกับบริษัท IBM (International Business Machines Corporation) สรางคอมพิวเตอรทีท่ํางานอัตโนมตัิไดสําเร็จรูป เปนเครื่องแรกชื่อ ASCC (Automatic Sequence Control Calculator)

• ค.ศ. 1946 Prof. J.P. Eckert และ Prof. J.W. Mauchly แหงมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ไดสรางเครื่องคอมพิวเตอรชนิดอิเลคทรอนิกสเครื่องแรกขึ้นชื่อ ENIAC (Electronic Numerical Integrator And Calculator) ซ่ึงใชหลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) เปนอุปกรณหลักในตวัประมวลผล

• ตอมาไดมีการสรางเครื่องคอมพิวเตอร โดยเปลี่ยนจากการใชหลอดสญุญากาศเปนวสัดุอ่ืน ๆ ซ่ึงทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดดีขึน้ เร็วข้ึน และยังมีขนาดเล็กลง เชน วัสดุพวกทรานซิสเตอร (transistor) วงแหวนแมเหล็ก (magnetic core) และวงจรรวม (Integrated Circuit : IC)

1.4 วิวัฒนาการของการใชเครื่องคอมพิวเตอร

• ป ค.ศ. 1789 ประเทศสหรัฐอเมริกาไดประกาศใชรัฐธรรมนูญ มีการกําหนดไววาใหมีจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนสัดสวนกับจํานวนประชากรในรัฐตาง ๆ ดังนั้นเพื่อใหทราบจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ถูกตอง จึงตองมีการทําสํามะโนประชากรของประเทศทุก ๆ 10 ป

• ป ค.ศ. 1790-1880 ประชากรของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจํานวนมากจาก 4 ลานคนเปนเกือบ 50 ลานคน การทําสํามะโนประชากร จึงตองใชเวลามากถึง 7 ป และแนวโนมของประชากรก็จะเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ จึงไดมกีารคิดหาวิธีการเพื่อใหสามารถทําสํามะโนประชากรไดรวดเร็วข้ึน

Page 5: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

5 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

• ค.ศ. 1890 ดร. เฮอรแมน ฮแลเลอริท (Dr. Herman Hollerith) ไดนําระบบบัตรเจาะรูมาใช บันทึกขอมูลลงบัตร โดยสรางรหัสสําหรับบัตรเจาะร ู และนําไปใหเครือ่งคอมพิวเตอรอาน ผลปรากฏวาการทําสํามะโนประชากร สามารถทําไดเสร็จภายในระยะเวลาประมาณ 2 ป

• ค.ศ. 1935 ไดมีการสรางและใชเครื่องจักร เพื่อทําการประมวลผลขอมูลที่เจาะบนบัตร ไดแก (Punching Machine) เครื่องตรวจสอบบตัร (Verifier) เครื่องแยกประเภทบัตร (Sorter) เครื่องรวมบัตร (Collator) และเครื่องจักรลงบัญชี (Accounting machine)

• ค.ศ. 1936 รัฐบาลของประเทศสหรัฐฯ ไดสรางระบบประกันสังคม โดยใชเครื่องคอมพิวเตอรซ่ึงสามารถคุมบัญชีไดถึง 30 ลานบัญชี และไดขยายไปถึง 125 ลานบัญชี

ในระยะแรก ๆ การใชคอมพิวเตอรตองอาศัยการบันทกึคําสั่งและขอมูลลงบนบัตรเจาะรู ตอมาไดมี

การใชเทปแมเหล็ก (Magnetic Tape) และจานแมเหล็ก (Magnetic disk) ซ่ึงสามารถชวยใหคอมพิวเตอร

ทํางานไดเร็วมากขึ้น

1.5 วิวัฒนาการใชคอมพิวเตอรในประเทศไทย

• พ.ศ. 2506 โดยใชเครื่อง IBM1620 ในดานการศึกษา ซ่ึงติดตั้งที่คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และทําสํามะโนประชากร โดยใชเครือ่ง IBM1401 ซ่ึงตั้งอยูที่สํานักงานสถิติแหงชาต ิ โดยมีศาสตราจารยบัณฑิต กนัตะบุตร เปนผูริเร่ิมกระตุนใหมกีารใชคอมพิวเตอรในประเทศไทย ดังนั้น ทานจึงไดช่ือวาเปนผูบุกเบิกริเร่ิมดานคอมพวิเตอรของประเทศไทย

• บริษัทปูนซีเมนตไทยและธนาคารกรุงเทพฯ เร่ิมนําคอมพิวเตอร เขาไปใชธุรกิจขนาดใหญ ในประเทศไทย

• พ.ศ. 2517 ตลาดหลักทรัพยนําคอมพิวเตอรแบบมินิ เขาไปชวยงานการซื้อขายกุง ซ่ึงเปนจุดเริ่มตนในเรื่องการนําคอมพิวเตอร เขาไปใชกับธุรกิจการเงิน

• พ.ศ. 2522 Micro Computer เร่ิมเขาสูประเทศและใชรับความนิยมอยางกวางขวาง

• พ.ศ. 2525 ธุรกิจการศึกษาดานคอมพิวเตอร ขยายตัวอยางแพรหลาย ทั้งในมหาวิทยาลัย โรงเรียน และหนวยงานเอกชน โดยเปดหลักสูตรที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร จัดอบรมหัวขอตางๆดานคอมพิวเตอร

Page 6: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

6 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1.6 ยุคของคอมพิวเตอร (Computer Generation)

1.6.1 เคร่ืองคอมพิวเตอรในยุคท่ี 1 ใชหลอดสุญญากาศเปนอุปกรณหลักของเครื่องคอมพิวเตอร

ตัวเครื่องจึงมีขนาดใหญและใหพลังความรอนสูงในขณะทํางาน จึงตองอยูในหองปรับอากาศ ไดแก เครื่อง

ENIAC และ EDSAC

1.6.2 เคร่ืองคอมพิวเตอรในยุคท่ี 2 มี 2 ระยะ ระยะท่ี 1 ใชทรานซิสเตอร ทํางานแทนหลอดสุญญากาศ ซ่ึงเปนอุปกรณที่มีขนาดเล็กกวา

และใชกําลังในการทํางานนอยกวา

ระยะท่ี 2 ใชวงแหวนแมเหล็ก ทําใหการบันทึกขอมูลมีประสิทธิภาพสูงขึ้น จึงเกิด

เครื่องรับขอมูลและเครื่องแสดงผลขอมูล ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรมีขนาดกะทัดรัด และใชงาน

คลองขึ้น เชนเครื่อง IBM1620 และ IBM1401

1.6.3 เคร่ืองคอมพิวเตอรในยุคท่ี 3 เปนยุคที่เร่ิมใช IC ทําใหคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลง และทํางาน

ไดรวดเร็วขึ้น คอมพิวเตอรในยุคนี้มีการเพิ่มสวนประกอบตางๆในการเปลี่ยนแปลงโปรแกรม หรือขอมูล

เพื่อสามารถใชงานรวมกับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นได

1.6.4 เคร่ืองคอมพิวเตอรในยุคท่ี 4 ใช LIC (Large Scale Integrated Circuit) ชวยลดตนทุนและทํา

ใหการทํางานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

1.6.5 เคร่ืองคอมพิวเตอรในยุคท่ี 5 ซ่ึงเปนยุคปจจุบัน เปนยุคของคอมพิวเตอรที่ใชวงจรรวมความจุ

สูงมาก (Very Large Scale Integration : VLSI) ในรูปของไมโครโพรเซสเซอรที่บรรจุทรานซิสเตอรนับ

หมื่นนับแสนตัว ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลงจนสามารถตั้งบนโตะในสํานักงานหรือพกพา

เหมือนกระเปาหิ้วไปในที่ตาง ๆ ได นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาปญญาใหคอมพิวเตอร เพื่อที่จะสามารถ

นําไปใช เปนผูชวยของมนุษยได สําหรับการพัฒนาดานปญญาของคอมพิวเตอรหรือที่ เ รียกวา

ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) หรือ AI อาจกลาวไดวาเปนการพัฒนาดานการปอนขอมูลดวย

เสียงและภาพ ความสามารถในการโตตอบดวยภาษาพูด ความสามารถในการเก็บขอมูลในดานความรูและ

การนําความรูไปใช การคนหาความรูจากขอมูลมหาศาลได

Page 7: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

7 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1.7 การพัฒนาที่สําคัญทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร

เราจะเห็นไดวา ในยุคคอมพิวเตอรที่ผานมา แนวโนมในการพัฒนาของคอมพิวเตอรดานตาง ๆ อัน

เนื่องมาจากมีการวิจัยพัฒนาทางดานเทคโนโลยีเกี่ยวกับคอมพิวเตอรใหดีขึ้นอยางตอเนื่องตลอดเวลา เปน

ดังนี้

- การลดขนาดลงของเครื่องคอมพิวเตอร จากยุคตน ๆ เครือ่งคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งมีขนาด 1 หอง

แลวคอย ๆ ลดขนาดลงมาจนในปจจุบนัมีขนาดเพยีงแคฝามือเทานั้น

- การเพิ่มความเร็วในการทํางานของคอมพิวเตอรยิ่งขึน้

- การปรับปรุงความนาเชื่อถือของคอมพิวเตอรไดดีขึ้น

- การขยายความสามารถของคอมพิวเตอรใหรองรับการทํางานที่ซับซอนไดมากขึ้น เชน เครือขาย

คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต

- การลดตนทนุในการดําเนนิกิจการงานตาง ๆ เชน เวลา กระดาษ บุคลากร

1.8 บทบาทของคอมพิวเตอรในงานตาง ๆ

1.8.1 บทบาทของคอมพิวเตอรในสถานศึกษา

ปจจุบนัคอมพิวเตอรมีใชแพรหลายในสถานศึกษาอยางกวางขวางทั้งใชเพื่อการเรียน การ

สอน ในวิชาคอมพิวเตอรโดยตรง ยังสามารถนําคอมพิวเตอรไปใชในดานอื่นๆ อีกมากมาย เชน ใชเพื่องาน

บริหาร ทั้งดานบุคลากร ครุภัณฑ อุปกรณ บัญชีเงินเดือน และงานหองสมุด การจัดการตารางสอน การคิด

เกรด ฯลฯ

1.8.2 บทบาทของคอมพิวเตอรในงานวิศวกรรม

คอมพวิเตอรสามารถเขาไปชวยงานดานวิศวกรรมแทบทุกขั้นตอน ตั้งแตการคิดออกแบบ

ตางๆ ดานวิศวกรรมสามารถปรับปรุง แกไข เปลี่ยนแปลงไดงายตลอดเวลา ทําใหวิศวกรมีอิสระในดาน

ความคิดใหมๆ เชน การคดิสรางจําลองรถยนต เครื่องบิน หรือเครือ่งใชใหมที่ทนัสมัย อีกทั้งยังสามารถ

ชวยงานดานวศิวกรรมโยธา ทั้งในดานการคิดโครงสราง การคิดคํานวณ รูปแบบ วัสด ุ อุปกรณ ตลอดจน

ราคาในการกอสรางไดถูกตองแมนยํา และปลอดภยัสูง

1.8.3 บทบาทของคอมพิวเตอรในงานดานวิทยาศาสตร

คอมพิวเตอรมีบทบาทสําคัญมากในดานความกาวหนาทางวิทยาศาสตรทุกสาขาวิชา ไมวา

จะเปนการคิดโครงสรางองคประกอบตางๆ ทางดานเคม ีหรือการคิดถึงสิ่งประดิษฐทางฟสิกส และงานวิจัย

ทางชีววิทยา ฯลฯ

Page 8: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

8 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1.8.4 บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ

คอมพิวเตอรมีความสามารถจัดการขอมูลไดจํานวนมากไดอยางรวดเร็ว ถูกตองแมนยํา ทํา

ใหวงการธุรกจิดําเนนิไปไดอยางรวดเรว็และมีประสิทธิภาพ ทั้งใน

ธุรกิจขนาดเลก็ เชน รานคา ก็สามารถชวยตรวจเช็คจํานวนสินคาในราน คิดบัญชี รายรับ

รายจาย ชวยตรวจสอบความถูกตองของบัญชี คิดคํานวณภาษีอากร

ธุรกิจขนาดกลาง เชน บริษัท หางสรรพสินคาทั่วไป ก็สามารถนําคอมพิวเตอรเขามาชวย

ในการจดัการสินคาคงคลัง พัสดุ และครุภัณฑ คิดเงินเดือน คํานวณรายไดและภาษีอากร ตลอดจนทํา

รายงาน และจดหมายโตตอบทั้งกับลูกคาและบริษัทคูแขง

ธุรกิจขนาดใหญ เชน ระบบธนาคาร และสถาบันการเงินตาง ๆ คอมพิวเตอรเขาไปมี

บทบาทอยางมาก โดยเฉพาะระบบธนาคาร มีระบบ ATM (Automatic Teller Machine) ซ่ึงสามารถใหความ

สะดวก รวดเร็ว แกลูกคา ทําใหลดความยุงยาก เสียเวลา และเกิดความสบายใจทั้งฝายธนาคารและฝายลูกคา

ของธนาคาร อีกทั้งในตลาดหุนปจจุบันก็มีคอมพิวเตอรเขาไปใชทําใหระบบของตลาดหุนกระทําไดอยาง

รวดเร็วทันตอเหตุการณ

1.8.5 บทบาทของคอมพิวเตอรในงานสังคมศาสตร

ปจจุบันคอมพวิเตอรชวยในการเก็บขอมูลดานงานวิจยั ทั้งในดานจิตวิทยาหรอืสังคมสงเคราะห

รวมทั้งดานเกบ็สถิติตางๆ ทางดานสังคม

1.8.6 บทบาทของคอมพิวเตอรในวงการแพทย

คอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทในโรงพยาบาล ทั้งในงานดานบรกิารเรื่องการเกบ็ขอมูลคนไข

ขอมูลยา ขอมูลเร่ืองโรคตางๆ คอมพิวเตอรยังมีบทบาทเขามาชวยในการตรวจคลืน่สมอง บันทึกการเตน

ของหัวใจ คํานวณปริมาณและทิศทางของรังสีแกมมาที่ใชรักษาโรคมะเร็ง คํานวณหาตําแหนงที่ถูกตองของ

อวัยวะกอนการผาตัด

1.8.7 บทบาทของคอมพิวเตอรในการคมนาคมและสื่อสาร

ในวงการคมนาคมและสื่อสารมีคอมพิวเตอรเขามาใชประโยชนมาก เชน การจองตั๋วเครื่องบิน ซ่ึง

แตละสายการบินมีหลายเทีย่วบิน แตมีจํานวนทีน่ั่งจํานวนจํากัด และยังสามารถเกบ็สถิติเร่ืองราวของสาย

การบินไดดีอีกดวย คอมพิวเตอรยังสามารถควบคุมการจราจรทั้งทางบกและทางอากาศ และมีเครือขายทั่ว

โลกที่สามารถติดตอกันไดอยางรวดเร็ว

Page 9: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

9 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1.8.8 บทบาทของเครื่องคอมพิวเตอรในงานดานอุตสาหกรรม

คอมพิวเตอรเขามาชวยพัฒนางานดานอุตสาหกรรม ทั้งระบบการวางแผนการผลิตใหผลผลิตได

มาตรฐาน เชน โรงงานกลั่นน้ํามันใชคอมพิวเตอรชวยตรวจวดัการสงน้ํามันดิบ วัดคาอุณหภูมิและความดนั

เพื่อปรับสภาพการทํางาน

1.8.9 บทบาทของคอมพิวเตอรในวงราชการ

ปจจุบันในหนวยราชการมีคอมพิวเตอรเขามาแสดงบทบาทที่สําคัญมาก เชน ใช เก็บทะเบยีน

ราษฎร ซ่ึงนําไปชวยในการสํารวจประชากรผูมีสิทธิ์เลือกตั้ง และยังนาํคอมพิวเตอรชวยในการนับคะแนน

เสียงเลือกตั้ง จะเห็นวาปจจบุันประชาชนสามารถทราบผลการเลือกตั้งไดภายในเวลาอันรวดเรว็

คอมพิวเตอรยงัชวยทั้งในงานเก็บขอมูลดานคําพิพากษาคดี ทําใหผูพิพากษามีขอมูลจํานวนมาก

ชวยใหงายตอการตัดสินคดี นอกจากนั้นหนวยงานอื่น เชน การไฟฟา ประปา กรมสรรพากร ตลอดจนทุก

กระทรวง ทบวง กรม ก็ยังมีคอมพวิเตอรเขาไปชวยในการจัดเกบ็ขอมูลเพื่อนําขอมูลมาใชประโยชนได

มากมายตอไป

1.9 ผลกระทบของคอมพวิเตอรกับสังคม

1.9.1 ผลกระทบในทางทีด่ ี

1) ชวยสงเสริมงานคนควาดานเทคโนโลยี คอมพิวเตอรมีสวนสําคัญในการชวยใหงานคนควาเทคโนโลยีกาวหนาไปไดไกล เพราะสามารถชวยงานคํานวณที่ซับซอน เชนการควบคุมการสงดาวเทียม การสงยานอวกาศ การคํานวณ ออกแบบอาคารหรือโครงสรางใหญๆ ออกแบบรถยนตรุนใหม ใหมีโครงสรางสวยงาม มีสมรรถภาพสูงขึ้น

2) ชวยสงเสริมดานความสะดวกสบายของมนุษย คอมพิวเตอรสามารถชวยใหมนุษยทํางานไดสะดวกสบาย และไดผลรวดเร็วขึ้นไมวาจะเปนสํานักงาน งานโรงงาน งานโรงพยาบาล หรือหนวยงานการศึกษา

3) ชวยสงเสริมสติปญญาของมนุษย คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือที่ทาทายสติปญญาความคิดของมนุษย ใหหาทางคิดคนการเขียนคําสั่งใหคอมพิวเตอรทํางานใหมๆ ที่มีประโยชนแกไขปญหาไดรวดเร็วและไดผลถูกตองแมนยาํ และนอกจากนี้ยังสงเสริมความกาวหนาดานการศึกษา ชวยใหการเรียนการสอนงายขึ้น เขาใจในวิชาการตางๆมากขึ้น

4) ชวยสงเสริมประชาธิปไตย ถาคอมพิวเตอรมีราคาถูกมากขึ้นทุกวัน ในอนาคตทุกครอบครัวก็อาจจะมีความสามารถใชคอมพิวเตอรได รัฐบาลก็อาจจะใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือสงขาวสารสูครอบครัวไดโดยตรง และสามารถรับฟงความคิดเห็นโดยตรงจากประชาชนสนองตอการตัดสินใจของรัฐบาล

Page 10: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

10 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

5) ชวยสงเสริมสุขภาพ งานคนควาทางดานการแพทยไดรุดหนาไปมาก ดวยความชวยเหลือของคอมพิวเตอร เชน เครื่องตรวจหัวใจ เครื่องตรวจสมอง เครื่องตรวจสายตา และยังจัดนําสถิติประวัติการรักษาคนไข

6) ชวยใหเศรษฐกิจรุงเรือง การใชคอมพิวเตอรกอใหเกิดอุตสาหกรรมใหมๆ อีกมาก ทั้งเกี่ยวของโดยตรงและโดยออมกับคอมพิวเตอร อยางนอยก็เปนอุตสาหกรรมผลิตเครื่องคอมพิวเตอร มีการบํารุงและซอมคอมพิวเตอร มีอาชีพใหมๆ ที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรและยังมีผลเจริญกาวหนาทั้งทางธุรกิจ การคา การธนาคาร และสถาบันการเงิน

1.9.2 ผลกระทบในทางลบ

1) ทําใหเกิดความวิตกกังวล ผลกระทบนี้เปนที่วิตกกังวลกันมากทําใหกลัววาเมื่อมีเครื่องคอมพิวเตอรเขามาใชงานในสํานักงานและโรงงานอุตสาหกรรมแลวจะทําใหตองปลดกําลังคนออก แตในความเปนจริงแลว การนําคอมพิวเตอรเขามาใชแทนงานที่มากและซ้ําซาก ซํ้าซอนและตองใชแรงงานคนมาก คนที่เคยทํางานเดิมก็อาจจะถูกสงไปฝกใหทํางานกับคอมพิวเตอรแทน โดยตองมีความรับผิดชอบมากขึ้น แตก็ทํางานสะดวกสบายมากขึ้น ฉะนั้นการมีคอมพิวเตอรเขามาชวยงานจะชวยทุนแรงคนไดมาก และไมไดลดกําลังคนใหตกงานแตเปนการสรางงานขึ้นตองการใชคนที่มีความรูดานคอมพิวเตอร จึงเทากับเปนการเปลี่ยนจากการใชกําลังแรงงานมาเปนการใชสมอง

2) ทําใหเกิดการเสี่ยงทางดานธุรกิจ เพราะถาไมมีการเก็บรักษาขอมูลตาง ๆ ที่เปนหัวใจของธุรกิจที่ดีแลว หากบังเอิญขอมูลเสียหาย ก็จะทําใหเกิดความเสียหายกับธุรกิจนั้น ๆ ได นั่นคือ การออกแบบการทํางานที่ใชคอมพิวเตอรที่ไมรอบคอบ อาจจะทําใหธุรกิจไมคลองตัวและเสียเปรียบคูแขงไดดวย

3) ทําใหเกิดอาชญากรรมคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรไดกอใหเกิดอาชญากรรมประเภทใหม คือการขโมยโปรแกรมและขอมูลไปขายใหคูแขง ทําใหคูแขงไดเปรียบทางการคา เพราะลวงรูแผนการทํางานบริษัทคูแขงเสียแลว นอกจากนี้หากนําขอมูลความลับไปเปดเผยก็จะทําใหเสือ่มเสียช่ือเสียงได มีการคิดเปลี่ยนแปลงตัวเลขในธนาคาร

4) ทําใหมนษุยสมัพันธระหวางมนุษยเสื่อมถอย เมื่อมีคอมพิวเตอรเขามาชวยงาน คนจะใชเวลาสั่งงานและโตตอบผานเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น การพบปะกันระหวางเพื่อนหรือคนในครอบครัว อาจลดลง

5) ทําใหเกิดอาวธุรายแรงชนิดใหม มีการนําเอาคอมพิวเตอรเขาไปคนควาหาทางสรางอาวุธใหมที่มีอันตรายรายแรง

6) ทําใหเสียสุขภาพ ปจจุบันการนําเครื่องคอมพิวเตอรมาเลนเกมในหมูเดก็เล็กเปนเวลานานมีผลทําใหสายตาเสียและเกิดปญหาในเรื่องการเรียน

Page 11: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

11 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

โดยสรุป คอมพิวเตอรก็เปรียบเสมือนเครื่องมือเครื่องใชอ่ืน ๆ ซ่ึงมีทั้งคุณทั้งโทษแลวแตเราจะ

เลือกใชในทางใด แตเมื่อพิจารณาโดยรวมแลวจะเห็นไดวา การนําคอมพิวเตอรมาใชงานมีประโยชน

มากกวามีโทษตอสังคม

1.10 ชนิดของคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเลคทรอนิกสที่ทําหนาที่ในการรับขอมูลและคําสั่งตาง ๆ เพื่อนํามา

ประมวลผล และใหผลลัพธเปนสารสนเทศ คอมพิวเตอรแบงออกเปน 4 ชนิดไดแก ซูเปอรคอมพิวเตอร

(Supercomputer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) และ

ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer)

• ซูเปอรคอมพิวเตอร เปนคอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะในการทํางานสูงกวา คอมพิวเตอรแบบอื่น

มักใชในองคกรขนาดใหญ ดังนั้นจึงมีผูเรียกอีกชื่อหนึ่งวา คอมพิวเตอรสมรรถนะสูง (High Performance

Computer) คอมพิวเตอรประเภทนี้สามารถคํานวณเลขที่มีจุดทศนิยม ดวยความเร็วสูงมาก ขนาดหลายรอย

ลานจํานวนตอวินาที งานที่ใหคอมพิวเตอรประเภทนี้ทําแค 1 วินาที ถาหากเอามาใหคนอยางเราคิด อาจจะ

ตองใชเวลานานกวารอยป ดวยเหตุนี้จึงเหมาะที่จะใชคอมพิวเตอรประเภทนี้ เมื่อตองมีการคํานวณมาก ๆ

อยางเชน งานวิเคราะหภาพถายจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หรือดาวเทียมสํารวจทรัพยากร งานวิเคราะห

พยากรณอากาศ งานทําแบบจําลองโมเลกุลของสารเคมี งานวิเคราะหโครงสรางอาคารที่ซับซอน

คอมพิวเตอรประเภทนี้มีราคาคอนขางแพง ปจจุบันประเทศไทยมีเครื่องซูเปอรคอมพิวเตอร Cray YMP ใช

ในงานวิจัย อยูที่หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรสมรรถภาพสูง (HPCC) ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ

คอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) ผูใชมักเปนนักวิจัยดานวิศวกรรม และวิทยาศาสตรทั่วประเทศ

บริษัทผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอรชนิดนี้ที่เดน ๆ เชน บริษัทเครย รีเสิรซ (Cray Research) บริษัท เอ็นอีซี

(NEC) เปนตน

รูปที่ 1-1 ตวัอยางซูเปอรคอมพิวเตอร

Page 12: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

12 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

• เมนเฟรมคอมพิวเตอร คือคอมพิวเตอรที่สามารถประมวลผลดวยความเร็วที่สูงและมี

หนวยความจําขนาดใหญ แตมีประสิทธิภาพดอยกวาซูเปอรคอมพิวเตอร เครื่องเมนเฟรมคอมพวิเตอรจะมี

อุปกรณตอพวงเปนจํานวนมาก บางครั้งมีสถานีงาน (Work Station) หรือเครื่องปลายทาง (Terminal )

มากกวา 100 แหง และสามารถมีผูใชคอมพิวเตอรในเวลาเดียวกันไดเปนจํานวนมาก คอมพิวเตอรประเภทนี้

มักจะใชในกิจการขนาดใหญ เชน บริษัทประกันภัย กิจการธนาคาร สายการบิน หนวยงานราชการขนาด

ใหญ เชนระดับกระทรวง เครื่องคอมพิวเตอรประเภทเมนเฟรม สวนใหญจะมีหนวยความจําขนาดใหญ

ประมาณ 8 ลานตัวอักษรขึ้นไป และมหีนวยความจําสํารองประมาณ 1,000 ลานตัวอักษร และสามารถ

ทํางานไดดวยความเร็วสูงมากไมต่ํากวา 5 ลานคําสั่งตอวินาที

รูปที่ 1-2 ตัวอยางเมนเฟรมคอมพิวเตอร

• มินิคอมพิวเตอร เปนคอมพิวเตอรขนาดกลางที่นิยมใชในบริษัทที่ไมตองการเครื่องคอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะสูงมากหรือขนาดใหญมาก เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มีขนาดความจุหนวยความจําและ

ความเร็วในการทํางานต่ํากวาเครื่องคอมพิวเตอรแบบเมนเฟรม สามารถตอพวงเครื่องไดนอยกวา แตยัง

สามารถทํางานไดพรอมกันหลายงาน เครื่องประเภทนี้มักใชในหนวยงานขนาดยอมลงมา เชน บริษัท

โรงงาน โรงพยาบาล

รูปที่ 1-3 ตัวอยางมินิคอมพวิเตอร

Page 13: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

13 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

• ไมโครคอมพิวเตอร หรือคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาด

เล็กที่สามารถเคลื่อนยายไปไหนไดงายและสะดวกสบาย ปกติแลวใหใชคร้ังละหนึ่งคนตอหนึ่งเครื่อง แต

ปจจุบันไมโครคอมพิวเตอรมีการตอเครื่องพวงเขาดวยกันเปนระบบเครือขาย (Network System)

ความสามารถและความเร็วในการทํางานของเครื่องต่ํากวาเครื่องเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร และยังมี

ความจุหนวยความจําจํากัดอยูในระดับหนึ่ง ไมโครคอมพิวเตอรเปนเครื่องที่เหมาะสําหรับใชในสํานักงาน

บริษัทขนาดเล็ก ตลอดจนบานพักอาศัยได การใชงานก็งาย ไมจําเปนตองใชผูที่มีความรูสูงดานคอมพิวเตอร

มาปฏิบัติงาน ไมโครคอมพิวเตอรอาจแบงออกไดตามขนาด ดังนี้

1) เดสกท็อปคอมพิวเตอร (Desktop computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็ก เหมาะทีจ่ะวาง

บนโตะ แตใหญเกินกวาที่จะพกพาไปในทีต่าง ๆ

2) โมบายคอมพวิเตอร (Mobile computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็ก เหมาะที่จะพกพาไป

ในที่ตาง ๆ มีแบตเตอรร่ี ไมตองเสียบไฟตลอดเวลา ไดแก

2.1 โนตบุกคอมพวิเตอร (Notebook computer) เปนคอมพิวเตอรที่สามารถเคลื่อนยายได

สะดวก น้ําหนักเบา สามารถเก็บในกระเปาเอกสารได เวลาทํางานสามารถวางบนหนาตัก

แตไมเหมาะทีจ่ะวางบนฝามอื

2.2 คอมพิวเตอรท่ีสามารถวางบนฝามือได คอมพิวเตอรชนิดนี้ไมจําเปนตองมแีปนพิมพ

(keyboard) การปอนขอมูลจะทําบนจอภาพ โดยใชนิ้วมอืหรือปากกา ไดแก

2.2.1 แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) เปนคอมพวิเตอรที่สามารถวางบนฝามือได

ทํางานไดเหมอืนโนตบุตคอมพิวเตอร และยังสามารถทํางานเหมือน

โทรศัพทมือถือได สามารถมีระบบนําทาง (Global Positioning

System หรือ GPS) ได ความสามารถดังกลาวอาจแตกตางกันขึ้นอยูกับ

ยี่หอและรุนของแท็บเล็ต หมายเหตุ คอมพิวเตอรบางเครื่องรวมแท็บเล็ต

กับโนตบุตเขาดวยกัน

2.2.2 พีดีเอ (PDA – Personal Digital Assistants) ไดแก

2.2.2.1 ปาลมคอมพิวเตอร (Palm computer) เปนคอมพิวเตอรมือ

ถือ ที่ในระบบจะประกอบดวยปากกา การรูจําลายมือ

เครื่องมือสําหรับจัดการกับงานสวนตวั และการสื่อสาร

Page 14: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

14 คววามรูเบื้องตน

เดสกท็

พ็อ

เกี่ยวกับคอมพ

2.2.3

ท็อปคอมพิวเตอ

กเก็ตพีซี

พิวเตอร

2.2.2

3 สมาทรโ

มีขนาดเล

รูปที่

ร โน

2.2 พ็อกเก็ตความสะ

จะแตกต

ใชจะอิง

ที่ชินกับ

ใชงานได

ปาลม

โฟน (Smart

ล็ก สามารถมี

ที่ 1-4 ตัวอยาง

โนตบุก

ตพีซี (Pocket

ะดวกในการใ

ตางจากเครื่อง

กับคายไมโค

ระบบปฏิบัติ

ดงายมาก แ

Phone) เปน

มีระบบนําทาง

ไมโครคอมพิ

แท็บเล็

t PC) เปนเค

ชงานไดดีเชน

ปาลมในเรื่อง

รซอฟทเปนห

การของไมโค

แตจะกินกําลั

นโทรศัพทมือ

งได ขึ้นอยูกบั

พิวเตอร

็ตพีซี

สมาทรโฟน

คร่ืองคอมพิวเ

นเดียวกบัเครือ่

งของระบบป

หลัก ผูใชงาน

ครซอฟทมาก

ังของเครื่องม

อถือที่รวมคอ

บยีห่อและรุน

ปาลมคอมพิว

ตอรที่อํานวย

องปาลม แต

ฏิบัติการที่

นพ็อกเกต็พซีี

กอน สามารถ

มากกวาเครื่อง

มพิวตอรดวย

วเตอร

ซี

Page 15: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

15 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรในอนาคต ศาสตรทางดานปญญาประดิษฐ ไดเขามามีบทบาทในการสรางปญญา

เทียมเลียนแบบการคิดหรือสมองของมนษุย ซึ่งในงานหลายๆดานกม็ีการประยกุตเอาคอมพวิเตอรเขาไป

ใชเพื่อคิดและตัดสินใจแกปญหาตางๆ ไดเปนอยางดี เชน ระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) ระบบหุนยนต

(robotics) ภาษาธรรมชาติ (natural language)

ระบบผูเชี่ยวชาญ เปนศาสตรแขนงหนึง่ของปญญาประดิษฐทีน่ําเอาคอมพิวเตอรมาประยุกตใช

งาน เพื่อเก็บรวบรวมความรูตางๆ ที่จาํเปนตองใชสําหรับงานใดงานหนึ่งใหอยูตลอดไปในหนวยงานโดย

ไมขึ้นกับบุคคล และชวยเพิม่ประสิทธิภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสินใจตางๆ ไดอยางแมนยํา เชน

ระบบผูเชี่ยวชาญในวงการแพทยเพื่อวินิจฉัยโรค

รูปที่ 1-5 ตัวอยางของระบบผูเชี่ยวชาญในวงการแพทยเพื่อวินิจฉยัโรค

ระบบหุนยนต นําเอาคอมพิวเตอรมาประยุกตใชเพื่อใหทํางานรวมกับเครื่องจกัรและอุปกรณ

บังคับบางชนิด เกดิเปน “หุนยนต” (robot) สามารถทํางานทดแทนแรงงานคนไดเปนอยางดี โดยเฉพาะ

อยางยิ่งกับลักษณะงานที่มีความเสี่ยงตออันตรายมากๆ และอาจพบเห็นการออกแบบหุนยนตโดยอาศัยการ

ทํางานของโปรแกรมคอมพวิเตอรเพื่อเลียนแบบพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต และสามารถนํามาใชงานไดจริง

เชน หุนยนตสุนัข เปนตน

รูปที่ 1-6 ตัวอยางของหุนยนตสุนัข

Page 16: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

16 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

ภาษาธรรมชาต ิการเขาใจภาษาธรรมชาติของมนุษยเปนการนําเอาความสามารถของของ

คอมพิวเตอรเขามาชวยในการสื่อสารกับมนุษยใหสะดวกขึ้น ตัวอยางที่พบเห็นมากที่สุด เชน การใชระบบ

รับรูและจําเสยีงพูดของมนษุยหรือที่เรียกวา speech recognition ที่คอมพิวเตอรสามารถแยกแยะเสียงได

ทําใหลดระยะเวลาในการทํางานของผูใชลงไดมากทีเดียว

รูปที่ 1-7 ตัวอยางการนําคอมพิวเตอรมาชวยในการเขาใจภาษาธรรมชาติของมนุษย

1.11 องคประกอบหลักของระบบคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรเปนเครื่องอิเลคทรอนิกสที่จะสามารถทํางานไดโดยตองมีองคประกอบหลัก 4 สวน

ไดแก ฮารดแวร (Hardware) ซอฟตแวร (Software) ขอมูล (Data) และบุคลากร (People)

1.11.1 ฮารดแวร

ฮารดแวรของคอมพิวเตอรเกือบทุกชนิดมีองคประกอบภายในที่ เหมือน ๆ กัน ซ่ึง

ประกอบดวย หนวยประมวลผลกลาง (Central Processor Unit) หรือซีพียู (CPU) หนวยความจําหลัก (Main

Memory unit) และอุปกรณรอบขาง (Peripheral Devices) เชน ความจําสํารอง (Secondary Memory)

อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Devices) และอุปกรณแสดงผล (Output Devices)

Page 17: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

17 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

หนวยประมวลผลกลาง หรือซีพียู ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเครื่องและประมวลผลขอมูลเพื่อใหไดสารสนเทศ (Information) ตามความตองการของผูใชงาน

หนวยความจําหลัก หรือ Random Access Memory (RAM) ทําหนาที่เก็บขอมูลและคําสั่งตาง ๆ ของโปรแกรม (Program) เพื่อรอการประมวลผล และเก็บสารสนเทศที่ผานการประมวลผลแลวเอาไวกอนที่จะสงไปยังอุปกรณเพื่อการแสดงผล

อุปกรณนําขอมูลเขา ทําหนาที่แปลขอมูลและโปรแกรมที่มนุษยเขาใจใหอยูในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอรสามารถประมวลผลได อุปกรณนําเขาที่นิยมใชโดยทั่วไป เชน แปนพิมพ และเมาส

อุปกรณแสดงผล ทําหนาที่แปลสารสนเทศที่ผานการประมวลแลวจากเครื่องคอมพิวเตอรใหอยูในรูปแบบที่มนุษยสามารถเขาใจได อุปกรณสงออกที่นิยมใช เชน จอภาพ และเครื่องพิมพ

อุปกรณความจําสํารอง (Secondary storage devices) หรือความจําสํารอง ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรม เหมือนกับหนวยความจําหลัก แตตางกันที่อุปกรณความจําสํารองสามารถเก็บขอมูลและโปรแกรมไวไดแมวาจะปดเครื่องคอมพิวเตอรไปแลว อุปกรณความจําสํารองที่นิยมใชในปจจุบัน เชนฮารดดิสก (Hard Disk) ,ออปติคัลดิสก (Optical Disk) และ แฟลชไดรฟ (Flash Drive)

Input

Processor

(Central Processing Unit)

Control

Unit

Arithmetic-Logic Unit

(ALU)

Main memory unit

Secondary

memory

Output

Peripherals devices

รูปที่ 1-8 องคประกอบทางฮารดแวรของคอมพิวเตอร

Page 18: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

18 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1.11.2 ซอฟตแวร

ซอฟตแวร หรือ โปรแกรม คือชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นดวยภาษาการโปรแกรมตางๆ ตาม

ขอกําหนดของภาษานั้นๆ เพื่อใหฮารดแวรของระบบคอมพิวเตอรสามารถทํางานไดตามที่ตองการ

ซอฟตแวรแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก ซอฟตแวรระบบและซอฟตแวรประยุกต โดยซอฟตแวรระบบ

เปนซอฟตแวรที่เครื่องคอมพิวเตอรใช สวนซอฟตแวรประยุกตเปนซอฟตแวรที่มนุษยใช

• ซอฟตแวรระบบ (System Software)

ซอฟตแวรระบบเปนโปรแกรมที่ชวยใหซอฟตแวรประยุกตสามารถติดตอและใชงานสวนฮารดแวรของเครื่องได และชวยคอมพิวเตอรจัดสรรทรัพยากร (Resource) ภายในเครื่องใหแตละโปรแกรม เชน หนวยความจํา และ ซีพียู ซอฟตแวรระบบเปนซอฟตแวรที่รวมโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมไวดวยกัน ดังนี้

1) ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เปนโปรแกรมระบบที่สําคัญที่สุด ทําหนาที่

ประสานทรัพยากรตาง ๆ ของคอมพิวเตอร จัดเตรียมสวนติดตอระหวางผูใชกับคอมพิวเตอร รวมถึงการ

ทํ างานร วมกับซอฟตแวรประยุกต ระบบปฏิบัติ การที่ รู จั กกันแพรหลายสํ าห รับผู ใช เครื่ อง

ไมโครคอมพิวเตอรในปจจุบัน เชน วินโดวส XP (Windows XP), วินโดวส Vista (Windows Vista), ลีนุกซ

(Linux) และ แมคโอเอส (Mac OS)

2) โปรแกรมอรรถประโยชน (Utility Program) เปนโปรแกรมที่ใชสําหรับจดัการทรัพยากร

ของคอมพิวเตอร เชน โปรแกรม Disk Defragmenter, Disk Cleanup เปนตน

3) ดีไวซไดรฟเวอร (Device Driver) เปนโปรแกรมเฉพาะที่ชวยใหอุปกรณรับ/สงขอมูลสามารถสื่อสารกับระบบคอมพิวเตอรได

4) ตัวแปลภาษา (Language Translator) ทําหนาที่แปลชุดคําสั่ง ซ่ึงเขียนโดยโปรแกรมเมอร ใหอยูในรูปที่คอมพิวเตอรเขาใจ และสามารถนําไปประมวลผลได

• ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)

ซอฟตแวรประยกุตเปนซอฟตแวรสําหรับผูใช สามารถแบงไดหลายแบบ เชน แบงตาม

ประเภทการนาํไปใชงานหลัก และแบงตามรูปแบบการสงมอบ

การแบงตามประเภทการนําไปใชงานหลัก แบงออกไดเปน 4 กลุม คือ

Page 19: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

19 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1) ซอฟตแวรเพื่อการติดตอส่ือสาร (Communications Application) เปนซอฟตแวรที่

ผลิตขึ้นมาสําหรับสนับสนุนการติดตอส่ือสาร

2) ซอฟตแวรเพื่อชวยเพิ่มผลผลิต (Productivity Application) เปนซอฟตแวรที่ผลิตขึ้นมา

สําหรับสนับสนุนธุรกรรมทางงานธุรกิจ งานจัดการทรัพยากรของบุคคลในองคกร

เปนตน

3) ซอฟตแวรเพื่อกราฟกและมัลติมีเดีย (Graphics and Multimedia Application) เปน

ซอฟตแวรที่ผลิตขึ้นมาสําหรับสนับสนุนการจัดการ/สรางภาพกราฟก มัลติมเีดีย การ

ออกแบบ นันทนาการและความบันเทิง

4) ซอฟตแวรเพือ่ใชในการศึกษา/ใชสวนตัว (Education/ Personal Application) เปน

ซอฟตแวรที่ผลิตขึ้นมาสําหรับสนับสนุนงานทางดานการศึกษา การใชงานสวนตวั

แบงตามรูปแบบการสงมอบแบงออกไดเปน 6 กลุม คือ

1) Packaged software เปนซอฟแวรสําเร็จรูปที่ถูกผลิตขึ้นมาใหตรงกับความตองการที่หลากหลายของผูใชมีลิขสิทธิ์ (copyright) และถูกผลิตมาเปนจํานวนมาก

2) Custom Software เปนซอฟแวรที่ถูกพัฒนาขึ้นสําหรับลักษณะงานเฉพาะขององคกรใดองคกรหนึ่ง

3) Open Source Software เปนซอฟตแวรที่เจาของลิขสิทธิ์ หรือผูพัฒนาจะเปดเผยรหัสตนฉบับ (Source Code) ไปพรอมกับการเผยแพรโปรแกรม ตามเงื่อนไขกําหนดไวในขอตกลงยินยอม (Licensing Agreement) โดยที่ผูใชสามารถพัฒนาตอยอดโปรแกรมตอไปได โดยไมตองขออนุญาต โดยปกตผูิใชสามารถดาวนโหลด Open Source Software ไดจากอินเทอรเนต็ไดฟรี และสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลงได

4) Shareware เปนซอฟตแวรทีม่ีลิขสิทธิ์ ไมเปดเผยรหัสตนฉบับ เปนโปรแกรมประเภทใหทดลองใช ซ่ึงจะถูกจํากดัระยะเวลาใชงานหรือจํากดัความสามารถบางอยางไว เพื่อใหผูใชไดทดลองใชโปรแกรม ถาผูใชสนใจในโปรแกรมผูใชจะตองจายเงินใหเจาของโปรแกรมผูใชก็สามารถใชโปรแกรมตอจากระยะเวลาที่กําหนดหรือไดใชโปรแกรมฉบับสมบูรณ

5) Freeware เปนซอฟตแวรที่มลิีขสิทธิ์ แตเจาของหรือผูผลิตอนุญาตใหนาํไปใชโดยไมคิดคาใชจาย แตอาจมีเงื่อนไข หรือขอกําหนด

Page 20: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

20 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

6) Public Domain Software เปนซอฟตแวรที่เจาของลิขสิทธิ์สละสิทธิ์ เพื่อใหนําไปใชใหเปนประโยชนตอสาธารณะ หรือเปนโปรแกรมที่ไมไดมีลิขสิทธิ์และไมไดควบคุมหรือเปนเจาของโดยบุคคลใดโดยเฉพาะ

1.11.3 ขอมูล

ขอมูล คือขอเท็จจริงที่มีอยูแตยังไมผานการประมวลผล อาจจะเปนขอความ ตวัเลข รูปภาพ

หรือเสียงก็ได ทั้งนี้ขอมูลที่ผานการประมวลผลดวยคอมพิวเตอรแลว เรียกวา สารสนเทศ ขอมูลมักจัดเก็บ

ไวเปนแฟมหรือไฟล (File) ซ่ึงไฟลขอมูลพื้นฐานมี 4 ประเภทคือ ไฟลเอกสาร ไฟลแผนตารางทํางาน ไฟล

ฐานขอมูล และไฟลการนําเสนอ

1) ไฟลเอกสาร (Document file) สรางจากโปรแกรมประมวลคํา (Word processor program)

แลวบันทกึไวในรูปเอกสาร เชน บันทึก รายงาน และจดหมาย

2) ไฟลแผนตารางทํางาน (Worksheet file) สรางจากโปรแกรมตารางทํางาน (Spreadsheet

program) เพื่อบันทึกขอมูลและผลการวิเคราะหตาง ๆ เชน งบประมาณ และการพยากรณการขาย

3) ไฟลฐานขอมูล (Database file) สรางจากโปรแกรมจัดการฐานขอมูล (Database

Management Program) โดยจัดเก็บขอมูลที่รวบรวมเอาไวใหเปนโครงสราง เชน ไฟลฐานขอมูลพนักงาน

ซ่ึงอาจจะประกอบดวย ช่ือนามสกุล หมายเลขประกันสังคม ตําแหนงงาน และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของของ

พนักงานแตละคน

4) ไฟลการนําเสนอ (Presentation file) สรางจากโปรแกรมนําเสนอ (Presentation Program)

ใชบันทึกเนื้อหาเพื่อการนําเสนอ โดยในไฟลหนึ่ง ๆ อาจประกอบดวยเอกสารประกอบการบรรยายสําหรับ

ผูฟง บันทึกสําหรับผูพูด และสไลดอิเล็กทรอนิกส

ทั้งนี้ โครงสรางไฟลประกอบขึ้นมาจาก ขอมูลขนาดเล็กระดับบิต (Bit) ซ่ึงเปนเลขฐานสองคือ 0

และ 1 แลวนําแตละบิตมาเรียงตอกันเพื่อแทนตัวอักขระ (Character) หนึ่ง ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร เรียกวา

ไบต (Byte) ซ่ึงประกอบดวย 8 หรือ 16 บิต จากนั้นหากนําตัวอักขระเปนไบตนั้นมาเรียงตอกันเพื่อใหแทน

ขอมูลที่มีความหมายในการใชงาน เชน ช่ือ-นามสกุล ประกอบขึ้นมาจากตัวอักษร ก-ฮ เรียงกัน หรือ

หมายเลขประจําตัวบัตรประชาชนเกิดจากตัวเลข 13 หลักเรียงตอกัน ขอมูลในระดับนี้เรียกวา ฟลด (Field)

เชน หมายเลขโทรศัพทมือถือ วันเดือนปเกิด เงินเดือน รหัสนักศึกษา แตเพื่อใหขอมูลมีความเปนระเบียบ

และมีความหมายมากขึ้น จะนําเอาฟลดหลาย ๆ ฟลดที่สัมพันธกันมาเรียงตอกันเพื่อใหแทนขอมูลที่บงบอก

ความหมายไดดีขึ้น ตัวอยาง ขอมูลนักศึกษาแตละคนประกอบดวยฟลดตาง ๆ เชน รหัสนักศึกษา ช่ือ

Page 21: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

21 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

นามสกุล ที่อยู หมายเลขประจําตัวบัตรประชาชน หมายเลขโทรศัพท หรือขอมูลสินคาแตละชนิด

ประกอบดวยฟลดตาง ๆ เชน หมายเลขบารโคด ราคาตนทุน ราคาขาย จํานวนคงเหลือในคลังสินคา ขอมูล

ที่ประกอบดวยฟลดตาง ๆ ในระดับนี้ เรียกวา ระเบียน (Record) และเมื่อนําหลาย ๆ ระเบียนมาวางเรียงกัน

เปนลําดับตอเนื่องกัน เรียกวา แฟมหรือไฟล นั่นเอง เชน แฟมนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร ประกอบดวย

ระเบียนขอมูลนักศึกษาของคณะวิทยาศาสตรทุกคน

1.11.4 บุคลากรในวงการคอมพิวเตอร

บุคลากรในวงการคอมพิวเตอร คือบุคลากรที่ทํางานเกี่ยวของกับหนวยงานที่มีการใช

คอมพิวเตอร ไดแก

1) ผูใช (User) หมายถึงบุคคลที่เปนผูใชผลจากการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร เชน

บุคลากรในแผนกบัญชีจะเปนผูใชงานโปรแกรมระบบบัญชีดวยเครื่องคอมพิวเตอร หรือบุคลากรในฝาย

ทะเบียนประวัติคนไขของโรงพยาบาลจะเปนผูใชงานของระบบทะเบียนประวัติของคนไขในโรงพยาบาล

ดวยเครื่องคอมพิวเตอร

2) พนักงานบันทึกขอมูลหรือพนักงานปอนขอมูล (Data Entry Operator) หมายถึงบุคคล

ที่นําขอมูลจากเอกสารเบื้องตนมาแปลงใหอยูในสภาพที่เครื่องคอมพิวเตอรสามารถอานไดเขาใจ พนักงาน

บันทึกขอมูลยังแยกกลุมตามชนิดของอุปกรณที่ใชงาน เชน พนักงานเจาะบัตร (Key punch operator)

พนักงานบันทึกลงเทป (Key to tape operator) หรือหัวหนางานบันทึกขอมูล (Data entry supervisor)

3) พนกังานโปรแกรม (Programmer) หมายถึงบุคคลซึ่งทําหนาที่เขียนโปรแกรมเพื่อส่ังให

เครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดตามรายละเอียดที่หัวหนางานเปนผูกําหนดให โดยพนักงานโปรแกรมตองมี

ความสามารถในการเขาใจและวิเคราะหปญหาได และคิดแกปญหาเปนขั้นตอนวิธีการไดอยางเปนระเบียบ

ตลอดจนมีความละเอียดรอบคอบในการทดสอบโปรแกรมใหทํางานไดถูกตอง ทั้งนี้สามารถแบงพนักงาน

โปรแกรมไดเปน Programmer, Senior Programmer และ Chief Programmer

สําหรับหนวยงานใหญๆ อาจแยกกลุมพนักงานโปรแกรมออกเปนหลาย ๆ กลุมเพื่อทาํ

หนาที่แตกตางกันไป เชน

- พนักงานโปรแกรมระบบ (System Programmer) ทําหนาที่ดูแล ปรับปรุงเกี่ยวกับโปรแกรมระบบและจัดการใหเกิดการประสานงานระหวางโปรแกรมระบบกับโปรแกรมประยุกตไดอยางราบรื่น

Page 22: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

22 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

- พนักงานโปรแกรมประยุกต (Application Programmer) ทําหนาที่เขยีนโปรแกรมสําหรับงานเฉพาะอยางตามรายละเอียดทีน่ักวเิคราะหระบบงาน (System Analyst) เปนผูกาํหนดหรือออกแบบมาตามความตองการของผูใช

- พนักงานโปรแกรมฝายบํารุงรักษา (Maintenance Programmer) มีหนาที่ดูแล เก็บรักษาเอกสารโปรแกรมและโปรแกรมที่ผานการทดสอบแลว แตหลังจากเริ่มการใชงานแลวอาจจําเปนตองแกไขโปรแกรม ก็ตองดําเนินการปรับแกโปรแกรมตามความจําเปนนั้น หรือติดตอประสานงานกับ Programmer หรือผูรับผิดชอบในการพัฒนาโปรแกรมนั้นใหดําเนินการแกไข 4) นักวิเคราะหระบบงาน (System Analyst) มีหนาที่วิเคราะหความตองการของผูใช และ

ออกแบบระบบงานที่จะใชเครื่องคอมพิวเตอรใหมีลักษณะตามความตองการของผูใช เชน ผลลัพธ ขอมูล

แฟมขอมูล และระบบควบคุม นอกจากนั้นยังเปนผูวางแผนและแจกจายงานใหกับผูที่เกีย่วของ เชน

พนักงานโปรแกรม และติดตามผลงานที่ไดแจกจายไปแลว ทดสอบงานที่ไดมอบหมายใหทาํ ฉะนั้น

นักวเิคราะหระบบงานจึงตองเปนผูที่สามารถแกปญหาไดอยางด ี และมีประสบการณเกีย่วกับงานเขียน

โปรแกรม การใชเครื่อง และตองเปนผูที่มมีนุษยสัมพนัธดีดวย

5) พนักงานควบคุมเคร่ือง (Computer Operator) ดูแลการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร

ใหเปนไปอยางปกติ นอกจากตองรูวิธีการปด เปดเครื่องแลวยังตองมีความรูเกี่ยวกับการทํางานของสวน

ตางๆ ของเครื่อง สามารถทราบสาเหตุของการทํางานที่ผิดปกติของเครื่องไดทันทีที่เกิดขึ้นแลวแกไขให

เครื่องคอมพิวเตอรกลับมาทํางานไดตามปกติอยางรวดเร็ว บุคคลที่ทําหนาที่ดานนี้ควรมีความรูในการ

ประมวลผลขอมูล การเขียนโปรแกรมขั้นพื้นฐาน การใชเครื่องคอมพิวเตอร และสวนประกอบตางๆของ

ระบบคอมพิวเตอรทั้งระบบ

6) หัวหนางานคอมพิวเตอร (Manager) หรือ เรียกวา EDP manager โดยที่ EDP ยอมาจาก

คําวา Electronic Data Processing มีหนาที่เปนผูอํานวยการและประสานงานเกี่ยวกับการวางแผนและ

กิจกรรมตาง ๆ พิจารณาความตองการใชอุปกรณตาง ๆ ของศูนยคอมพิวเตอร กําหนดงานและระยะเวลา

ของงานตาง ๆ ในศูนย ผูดํารงตําแหนงนี้ควรมีความรูดานคอมพิวเตอร คณิตศาสตร บริหารธุรกิจ หรือ

วิศวกรรม และควรมีประสบการณในการวิเคราะหและออกแบบระบบงาน การเขียนโปรแกรม ตลอดจน

การใชเครื่องคอมพิวเตอร

7) เว็บมาสเตอร (Web Master) ทําหนาที่พัฒนาและบํารุงรักษาเว็บไซตใหทันสมัยอยูเสมอ

รวมทั้งดูแลการเขาใชเว็บไซตของสมาชิกดวย

Page 23: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

23 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

8) วิศวกรซอฟตแวร (Software Engineer) ทําหนาที่วิเคราะหความตองการของผูใช และ

พัฒนาซอฟตแวรตามความตองการของผูใช

9) ผูบริหารฐานขอมูล (Database Administrator) ทําหนาที่จัดการฐานขอมูลโดยใช

โปรแกรมจัดการฐานขอมูลในการตัดสินใจวาจะจัดการกับขอมูลอยางไรเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด

1.12 การแทนขอมูลในคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรไมสามารถเขาใจขอมูลตางๆ ไดเหมือนที่มนุษยเขาใจ โดยปกติสัญญาณตาง ๆ เชน

สัญญาณเสียง สัญญาณภาพ จะเปนสัญญาณ แอนะล็อก (analog) แตสัญญาณที่คอมพิวเตอรใชงานคือ

สัญญาณ ดิจิทัล (digital) ดังนั้นการประมวลผลใดๆ ดวยคอมพิวเตอร จะตองทําการแปลงสัญญาณตาง ๆ

ใหอยูในรูปสัญญาณที่คอมพิวเตอรเขาใจกอน โดยทั่วไป สัญญาณไฟฟาถูกแปลงเปนสัญญาณดิจิทัลโดยใช

หลักการทํางานสองสถานะ เชน เปด-ปด ใช-ไมใช มี-ไมมี เปนตน ซ่ึงเปรียบเทียบสัญญาณดิจิทัลใหอยูใน

ระบบเลขฐานสองนั่นเอง

ระบบเลขฐานสิบประกอบดวยตัวเลขทั้งหมด 10 ตัว ไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 สวน

ระบบเลขฐานสอง (Binary System) ประกอบดวยตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1 และเรียกขอมูลหนึ่งหลักซึ่ง

อาจจะเปน 0 หรือ 1 วา บิต (Bit) สําหรับคอมพิวเตอร เลข 0 ใชแทนสัญญาณทางไฟฟาที่อยูในสถานะปด

หรือระดับต่ํา และเลข 1 ใชแทนสัญญาณไฟฟาที่อยูในสถานะเปดหรือระดับสูง ในการแทนขอมูลตางๆ ที่

เปนตัวเลขหรืออักขระ 1 ตัวในคอมพิวเตอร ตองใชกลุมของบิตจํานวน 8 บิต หรือ 1 ไบต (Byte)

• รูปแบบรหัสการแทนขอมูลในคอมพิวเตอรดวยเลขฐานสอง

คอมพิวเตอรใชเลข 0 และ 1 ประกอบกันขึ้นมาแทนอักขระตาง ๆ โดยใชรูปแบบรหัสการแทนขอมูลดวยเลขฐานสอง ปจจุบันใชหลายรูปแบบ คือ แอสกี (ASCII) หรือ ANSI (American National Standards Institute) , เอบซีดิก (EBCDIC), ยูนิโคด (Unicode) และ ยูทเีอ็ฟ (UTF ยอมาจาก Unicode Transformation Format หรือ Internationally defined Standard ISO/IEC 10646, Universal Character) รูปแบบรหัสการแทนขอมูลที่นยิมใชกนัมากและใชขอมูลจํานวน 8 บิตแทน 1 อักขระ ไดแก รหัสแอสกีและเอบซีดิก ตอมาไดมีการพฒันารูปแบบการเขารหัสแบบยูนิโคด ซ่ึงใชจํานวนบิต 16 บิตแทน 1 อักขระ และรหัสยูทีเอ็ฟ ซ่ึงมีทั้ง 8 บิต 16 บิต และ 32 บิต

- แอสกี (American Standard Code for Information Interchange: ASCII) เปนรหัส

เลขฐานสองที่นิยมใชกันอยางแพรหลายในไมโครคอมพิวเตอร

- เอบซีดิก (Extended Binary Code Decimal Interchange: EBCDIC) เปนรหัส

เลขฐานสองที่พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม ใชสําหรับคอมพิวเตอรขนาดใหญ

Page 24: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

24 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

- ยูนิโคด (Unicode) เปนรหัสเลขฐานสองที่มีขนาด 16 บิต จึงแทนตัวอักษรไดมากถึง

65,536 ตัว รหัสนี้ออกแบบมาเพื่อใหสามารถสนับสนุนภาษาตางๆ ไดทั่วโลก เชน ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน

และภาษายาวี เนื่องจากภาษาเหลานี้มีตัวอักขระมากเกินกวาที่จะสามารถใชรหัสแอสกีหรือเอบซีดิกได

- ยูทีเอ็ฟ (Unicode Transformation Format: UTF) เปนรหัสเลขฐานสองที่มีขนาด 8 บิต

(UTF-8), 16 บิต (UTF-16) และ 32 บิต (UTF-32) สําหรับ 8 บิต จะมีรหัสเหมือนรหัสแอสกี สําหรับ 16 บิต

จะมีรหัสเหมือนยูนิโคด และ 32 บิตเพื่อไวสําหรับอนาคต เนื่องจากรหัส 8 บิตมีรหัสเหมิอนยูนิโคดดวยบาง

คนจึงเรียก UTF-8 วา UFT-8 (Unicode)

ตารางที่ 1-1 ตัวอยางการแทนขอมูลดวยรหัส EBCDIC และ ASCII

อักขระ รหัส EBCDIC รหัส ASCII อักขระ รหัส EBCDIC รหัส ASCII A 11000001 01000001 B 11000010 01000010 C 11000101 01000011 : : : X 11100111 01011000 Y 11101000 01011001 Z 11101001 01011010 : : :

0 11110000 00110000 1 11110001 00110001 2 11110010 00110010 3 11110011 00110011 : : :

ตารางที่ 1-2 ตัวอยางการแทนขอมูลดวยรหัส ASCII ทั้งไทยและอังกฤษ รหัส 0-127 (ใช 7 บิต บิตที่ 8 ไม

ใช) แทนอักขระภาษาอกักฤษ และรหัส 128-255 (ใชบิตที่ 8 ดวย) แทนอักขระภาษาไทย

แหลงท่ีมา : เว็ปเพ็จ http://www.ascii.ca/cp874.htm

Page 25: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

25 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

Page 26: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

26 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

Page 27: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

27 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

Page 28: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

28 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

Page 29: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

29 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

Page 30: บทที่ 1 ความรู เบื้องต น ...staff.cs.psu.ac.th/345-101/document/chapter1.pdf · 2018. 10. 17. · บทที่ 1 ... จํานวนมากและสามารถตรวจสอบ

30 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร