บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร...

42
บทที3 วิธีการดําเนินการสรางเครื่องมือ การศึกษาคนควาแบบอิสระนีมีวัตถุประสงคเพื่อสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชา ภาษาไทยเรื่อง โครงสรางประโยคเพื่อการสื่อสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ ผูศึกษาใชหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ Alessi and Trollip ซึ่ง ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541, หนา 230-239) ไดสรุปไวเปนแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน โดยมีขั้นตอนในการดําเนินงาน 7 ขั้นตอน ดังนีขั้นตอนที1: ขั้นตอนการเตรียม (Preparation) 1.1 กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค (Determine Goals and Objectives) 1.2 เก็บขอมูล (Collect Resources) 1.3 เรียนรูเนื้อหา (Learn Content) 1.4 สรางความคิด (Generate Ideas) ขั้นตอนที2: ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) 2.1 ทอนความคิด (Elimination of Ideas) 2.2 วิเคราะหงานและแนวคิด (Task and Concept Analysis) 2.3 ออกแบบบทเรียนขั้นแรก (Preliminary Lesson Description) 2.4 ประเมินและแกไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the design) ขั้นตอนที3: ขั้นตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) ขั้นตอนที4: ขั้นตอนการสรางสตอรี่บอรด (Create Storyboard) ขั้นตอนที5: ขั้นตอนการสราง/เขียนโปรแกรม (Program Lesson) ขั้นตอนที6: ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials) ขั้นตอนที7: ขั้นตอนการประเมินและแกไขบทเรียน (Evaluate and Revise) สรุปเปนแผนภูมิของขั้นตอนการออกแบบ 7 ขั้นตอนได ดังนี

Upload: others

Post on 18-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินการสรางเครื่องมือ

การศึกษาคนควาแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทยเร่ือง โครงสรางประโยคเพ่ือการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ ผูศึกษาใชหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ Alessi and Trollip ซ่ึง ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541ก, หนา 230-239) ไดสรุปไวเปนแนวทางในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน โดยมีข้ันตอนในการดําเนินงาน 7 ข้ันตอน ดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1: ข้ันตอนการเตรียม (Preparation) 1.1 กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค (Determine Goals and Objectives) 1.2 เก็บขอมูล (Collect Resources) 1.3 เรียนรูเนื้อหา (Learn Content) 1.4 สรางความคิด (Generate Ideas) ข้ันตอนท่ี 2: ข้ันตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) 2.1 ทอนความคิด (Elimination of Ideas) 2.2 วิเคราะหงานและแนวคิด (Task and Concept Analysis) 2.3 ออกแบบบทเรียนข้ันแรก (Preliminary Lesson Description) 2.4 ประเมินและแกไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the design) ข้ันตอนท่ี 3: ข้ันตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) ข้ันตอนท่ี 4: ข้ันตอนการสรางสตอร่ีบอรด (Create Storyboard) ข้ันตอนท่ี 5: ข้ันตอนการสราง/เขียนโปรแกรม (Program Lesson) ข้ันตอนท่ี 6: ข้ันตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials) ข้ันตอนท่ี 7: ข้ันตอนการประเมินและแกไขบทเรียน (Evaluate and Revise) สรุปเปนแผนภูมิของข้ันตอนการออกแบบ 7 ข้ันตอนได ดังนี ้

Page 2: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

38

ขั้นตอนท่ี 1: ข้ันตอนการเตรียม (Preparation) ขั้นตอนท่ี 2: ข้ันตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) ขั้นตอนท่ี 3 – 7 แผนภูมิ 1 แบบจําลองการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ Alessi and Trollip (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541ก, หนา 230-239)

(1.1) กําหนดเปาหมาย

วัตถุประสงค

(1.2) เก็บ ขอมูล

(1.3) เรียนรูเน้ือหา

(1.4) สรางความคิด ข้ันตอนท่ี 2

การยอนกลับเพ่ือทดสอบและปรับปรุง

(2.1) ทอน ความคิด

(2.2) วิเคราะหงานและแนวคิด

(2.3) ออก แบบบทเรียนขั้นแรก

(2.4) ประเมินและแกไขออกแบบ

ข้ันตอนท่ี 3

การยอนกลับเพ่ือทดสอบและปรับปรุง

จบ (3) เขียนผังงาน

(4) สรางสตอรี่บอรด

(5) สรางโปรแกรม

(6) ผลิตเอกสารประกอบ

การยอนกลับเพ่ือทดสอบและปรับปรุง

(7) ประเมิน และแกไข บทเรียน

Page 3: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

39

จากแผนภูมิข้ันตอนการออกแบบ ผูศึกษาไดดําเนนิการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเร่ือง โครงสรางประโยคเพือ่การส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ ดังนี ้ ขั้นตอนท่ี 1 : ขั้นตอนการเตรียม (Preparation) กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค (Determine Goals and Objective) การสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนเร่ือง โครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ กลุมเปาหมายไดแก ผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศในระดบัพื้นฐานคือ ผูเรียนท่ีมีความรูพื้นฐานในเร่ืองอักษรไทยแลวแตยงัไมมีความรูในเร่ืองโครงสรางประโยค ผูศึกษาไดศึกษาขอมูลตางๆ จากเอกสาร ตําราเรียนภาษาไทยสําหรับชาวตางประเทศ ซ่ึงผูศึกษาไดทําการวิเคราะหผูเรียน จากน้ันจึงไดกําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค ดังรายละเอียดตอไปนี ้ วิเคราะหผูเรียน ลักษณะโดยท่ัวไปของผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ มีระดับความรูภาษาไทยอยูในระดับพื้นฐาน คือ ความรูในเร่ืองสระ พยัญชนะ วรรณยุกต และคําศัพทพื้นฐาน อยางไรก็ตามพบวาผูเรียนเรียงคําในโครงสรางภาษาไทยไมถูกตอง ดงันั้นเพื่อใหผูเรียนสามารถเรียงลําดับคําในภาษาไทยได ผูศึกษาจึงสรางบทเรียนท่ีเนนการฝกการเรียงลําดับคําในประโยคภาษาไทย โดยไดกําหนดเปาหมาย และวัตถุประสงคของบทเรียน ดังนี ้ เปาหมาย เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียงคําในโครงสรางประโยคภาษาไทยได วัตถุประสงค จากการศึกษาเปาหมายท่ีไดกาํหนดไวไดทําการวิเคราะหและกําหนดวตัถุประสงคได 3 ขอ ดังนี ้

1. ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคบอกเลาได 2. ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคปฏิเสธได 3. ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคคําถามได

เก็บขอมูล (Collect Resources) ผูศึกษาไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมความพรอมในการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนเร่ือง โครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ โดยขอมูลท่ีไดทําการเก็บรวบรวมไวนัน้ แบงออกเปน 3 สวนดวยกัน คือ

Page 4: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

40

1. สวนของเนื้อหา เก็บรวบรวมขอมูลดานเนื้อหาจากเอกสาร ตํารา หนังสือเรียนภาษาไทยสําหรับชาวตางประเทศ ซ่ึงเนื้อหาท่ีรวบรวมประกอบไปดวย โครงสรางประโยค ดังนี้ ประโยคบอกเลาพื้นฐาน (ประธาน + กริยา + กรรม) ประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวยคําวา “กําลัง/อยู” และ “แลว” ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไม” “ยังไมได” และ “ไมได/ไมเปน” ประโยคคําถามท่ี ลงทายดวยคําวา “ใชไหม” “แลวหรือยัง” และ “เปนไหม/ไดไหม” 2. สวนของการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูศึกษาไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การออกแบบโครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและการประเมินบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนจากหนังสือ เอกสารตํารา ซ่ึงสามารถสรุปขอมูลท่ีนํามาใชในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนได ดงันี ้ 2.1 การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนควรออกแบบหนาจอใหมีขนาด 800 x 600 Pixel ซ่ึงเปนขนาดท่ีเปนมาตรฐาน สีของตัวอักษรควรเปนสีเขมและพื้นหลังควรเปน สีออนและมีปุมนําทางในการเช่ือมโยงขอมูลท่ีคงท่ีและชัดเจน 2.2 การนําเสนอเนื้อหาควรใชภาพกราฟก เขามาชวยเพื่อ เปนการกระตุนความสนใจของนักเรียน 2.3 บทเรียนควรมกีารใหขอมูลยอนกลับแกนักเรียนเพื่อเปนการใหขอมูลท่ีสงผลถึง การกระทําของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3. โปรแกรมท่ีนํามาใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูศึกษาไดทําการ เก็บรวบรวมขอมูลจากหนังสือคูมือการใชโปรแกรมตาง ๆ ท่ีนํามาใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และไดเลือกโปรแกรมที่จะนํามาประกอบในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน อันไดแก 3.1 โปรแกรมตกแตงรูปภาพ Adobe Photoshop cs ซ่ึงเปนโปรแกรมตกแตงภาพและ ตัวอักษรในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 3.2 โปรแกรม Adobe Flash cs4 ซ่ึงเปนโปรแกรมท่ีใชสรางขอมูลในรูปแบบ มัลติมีเดีย เชน ในการทําภาพเคล่ือนไหวตางๆ การสราง Application แบบโตตอบ กับผูใช 3.3 โปรแกรม Sound Force 7.0 ซ่ึงเปนโปรแกรมท่ีใชในการบันทึกเสียง เรียนรูเนื้อหา (Learn Content) เม่ือเก็บรวบรวมขอมูลเสร็จเรียบรอยแลว ผูศึกษาทําความเขาใจและศึกษาขอมูลดานเนือ้หา รวมท้ังหลักการออกแบบบทเรียน และเทคนิคโปรแกรมท่ีนํามาใชในการสรางบทเรียนคอมพิว เตอรชวยสอน ท้ังนี้ไดขอคําปรึกษาและคําแนะนําเพิ่มเติมจากผูเช่ียวชาญดานเนื้อหาถึงความถูกตอง

Page 5: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

41

ของเนื้อหาท่ีจะนํามาใช และผูเช่ียวชาญการออกแบบบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนเพื่อเตรียมท่ีจะนําไปใชในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเร่ือง โครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ สรางความคิด (Generate Ideas) ผูศึกษาไดสรางความคิดตางๆเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ภายในบทเรียนประกอบดวย หนาตอนรับผูเรียนเขาสูบทเรียนโดยเปนภาพเคล่ือนไหว เม่ือเสร็จแลวจะปรากฏเมนู ดังนี้ วัตถุประสงค คําแนะนํา แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน เม่ือผูเรียนอานวัตถุประสงคและคําแนะนําเสร็จแลวจึงทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานกอนเรียน 1. แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน เพื่อวัดระดับความรูพื้นฐานของผูเรียนในเรื่อง สระ พยญัชนะ และวรรณยุกต 2. ทบทวนความรูเดิม ซ่ึงผูเรียนสามารถเขาไปทบทวนเนื้อหาเกีย่วกับสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต 3. บทเรียนโครงสรางประโยคบอกเลา ปฏิเสธ และคําถาม ภายในบทเรียนประกอบดวย โครงสรางประโยค พรอมคําอธิบาย และแบบฝกหดัเรียงลําดับคําในประโยคบอกเลา ปฏิเสธและคําถาม โดยแตละบทเรยีนนั้น จะนําเสนอโครงสรางประโยคในรูปแบบตาราง พรอมตัวอยาง รูปภาพ คําแปล และเสียง เม่ือจบการอธิบายตัวอยางแลวจะมีแบบฝกหัดการเรียงลําดับคํา ซ่ึงผูเรียนจะตองเรียงลําดบัคําใหถูกตอง หากเรียง ไมถูกตอง โปรแกรมจะใหผูเรียนเรียงใหมจนกวาจะถูกตองจึงจะทําแบบฝกหัดขอตอไปได ขั้นตอนท่ี 2 : ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) ทอนความคิด (Elimination of Ideas) หลังจากผูศึกษาไดสรางความคิดแลว จึงพิจารณาและทอนความคิดไดดังนี้ เม่ือเขาสูบทเรียนแลวผูเรียนจะเขาสูหนาวัตถุประสงค เม่ือคลิกหนาถัดไปจะเขาสูหนาคําแนะนําปุมควบคุมตางๆ แลวเขาสูแบบทดสอบวัดความรูพืน้ฐานกอนเรียน ถาผูเรียนทําแบบทดสอบวดัความรูพื้นฐานกอนเรียนผานเกณฑ 80% ผูเรียนจะเขาสูบทเรียนโครงสรางประโยค หากผูเรียนไมผานเกณฑจะตองทบทวนความรูเดิมกอน แลวทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานอีกคร้ัง จนกวาจะผานเกณฑจึงจะสามารถเขาสูบทเรียน โครงสรางประโยคได โดยเรียนทีละบทคือ โครงสรางประโยคบอกเลา ปฏิเสธ และคําถาม

Page 6: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

42

วิเคราะหงาน (Task and Concept Analysis) ผูศึกษาไดทําการวิเคราะหงานออกเปน 2 สวนคือ 1. วิเคราะหทักษะพ้ืนฐาน (Prerequisite skills Analysis) 2. วิเคราะหเนื้อหา ( Content Analysis) วิเคราะหทักษะพื้นฐาน (Prerequisite skills Analysis) บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนี้ เปนการโครงสรางประโยคภาษาไทย เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียงลําดับคําในประโยคภาษาไทยไดถูกตอง ซ่ึงผูเรียนจะตองมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกตไทยมากอน ท้ังนี้เพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนบทเรียนโครงสรางประโยค วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ทําการวิเคราะหการประมวลผลขอมูลและทักษะพื้นฐานเพ่ือนําไปใชในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยไดดําเนินการตามข้ันตอนดังตอไปนี้ กําหนดประเภทของการเรียนรูของเปาหมาย จากเปาหมายท่ีไดกําหนดไว คือ ผูเรียนสามารถเรียงคําในโครงสรางประโยคภาษาไทยได ลักษณะของเปาหมายดังกลาวเปนการเรียนรูประเภท Verbal Information ในลักษณะของ Verbatim Learning

วิเคราะห Information Processing ของเปาหมาย เม่ือกําหนดประเภทการเรียนรูสําหรับเปาหมายแลว จึงนาํเปาหมายท่ีไดดังกลาวมาทําการ

วิเคราะหเนื้อหา โดยเนื้อหาท่ีทําการวิเคราะหออกมาจะปรากฏดัง Flowchart ตอไปนี้

วิเคราะหทักษะพื้นฐาน (Prerequisite Analysis) นําขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะหเนื้อหาของเปาหมาย มาทําการวิเคราะหทักษะพ้ืนฐานซ่ึงเปนการกําหนดความรูและทักษะพื้นฐานเฉพาะของนักเรียนทุกคนกอนท่ีจะเร่ิมเรียนดงั Flowchart ตอไปนี ้

เรียงคําตามโครงสรางประโยคภาษาไทยไดถูกตอง

เรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคบอกเลาได

เรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคปฏิเสธได

เรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคคําถามได

Page 7: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

43

สามารถเรียงคําตามโครงสรางประโยคภาษาไทยไดถูกตอง

เม่ือฟงเสียงคําศัพทแลวสามารถเลือกคําท่ีประสมดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยท่ีตรงตามเสียงไดถูกตอง บอกระดับเสียงวรรณยกุตภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได บอกเสียงตัวสะกดภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได บอกเสียงพยัญชนะภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได บอกเสียงสระภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได จาก Flowchart การวิเคราะหทักษะพื้นฐานขางตน สามารถนํามากําหนดเปนวัตถุประสงคพื้นฐานของผูเรียนกอนท่ีจะเริ่มเรียนโครงสรางประโยคภาษาไทย ซ่ึงผูเรียนจะตองมีทักษะพื้นฐานดังตอไปนี ้ วัตถุประสงคทักษะพื้นฐาน วัตถุประสงคสําหรับทักษะพื้นฐานมี 5 ขอ คือ

1. บอกเสียงสระภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได 2. บอกเสียงพยัญชนะภาษาไทยที่แทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได

ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคบอกเลาได

ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคปฏิเสธได

ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคคําถามได

(ทักษะพ้ืนฐาน)

Page 8: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

44

3. บอกเสียงตัวสะกดภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได 4. บอกระดับเสียงวรรณยกุตภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได 5. เม่ือฟงเสียงคําศัพทแลวสามารถเลือกคําท่ีประสมดวยสัทอักษร หรืออักษรไทยท่ีตรง

ตามเสียงไดถูกตอง หลังจากการวิเคราะหทักษะพ้ืนฐานแลว ไดมีการกําหนดวัตถุประสงคปลายทางและ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดังตอไปนี ้ วัตถุประสงคปลายทาง จาก Flowchart การวิเคราะหทักษะพ้ืนฐานการเรียงคําตามโครงสรางประโยคภาษาไทยไดกําหนดวัตถุประสงคปลายทาง ดังนี ้

ผูเรียนสามารถเรียงคําตามโครงสรางประโยคภาษาไทยไดถูกตอง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม จากวัตถุประสงคปลายทางสามารถกําหนดเปนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมได ดังนี ้

1. ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคบอกเลาไดถูกตองอยางนอย 80% 2. ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคปฏิเสธไดถูกตองอยางนอย 80% 3. ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคคําถามไดถูกตองอยางนอย 80%

จากการวิเคราะหการประมวลผลขอมูล การวิเคราะหทักษะพ้ืนฐานและการกําหนดวัตถุประสงคปลายทางและวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมไดกําหนดเลือกเน้ือหาสําหรับสรางบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทย เร่ือง โครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ โดยนําวัตถุประสงคปลายทาง มากําหนด เปนบทเรียนได 3 บทเรียน คือ ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ และประโยคคําถาม แลวนําวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 1-3 มากําหนดเปนแบบฝกหัดในแตละบทเรียนได ดังนี้

1. บทเรียนเร่ืองประโยคบอกเลา สําหรับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 1 ประกอบดวย

1.1 โครงสรางประโยคบอกเลาพื้นฐาน และแบบฝกหัด 1.2 โครงสรางประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “กําลัง/อยู” และแบบฝกหดั 1.3 โครงสรางประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “แลว” และแบบฝกหัด

Page 9: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

45

2. บทเรียนเร่ืองประโยคปฏิเสธ สําหรับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 2 ประกอบดวย 2.1 โครงสรางประโยคที่แสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไม” และแบบฝกหดั 2.2 โครงสรางประโยคที่แสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ยังไมได” และแบบฝกหัด 2.3 โครงสรางประโยคที่แสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไมได/ไมเปน” และ

แบบฝกหัด 3. บทเรียนเร่ืองประโยคคําถาม สําหรับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 3 ประกอบดวย

3.1 โครงสรางประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “ใชไหม” และแบบฝกหดั 3.2 โครงสรางประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “แลวหรือยงั” และแบบฝกหัด 3.3 โครงสรางประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “เปนไหม/ไดไหม” และแบบฝกหัด

การออกแบบบทเรียนขั้นแรก (Preliminary Lesson Description) ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูศึกษาไดทําการออกแบบบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน โดยประกอบดวยสวนตางๆ ดังตอไปนี ้

บทนาํ ประกอบไปดวยช่ือของบทเรียน นําเสนอโดยการใชกราฟกภาพการตูนเคล่ือนไหว และเสียง เพื่อดึงดูดความสนใจของผูเรียน พิมพชื่อผูเรียน ในสวนนี้โปรแกรมจะใหผูเรียนพิมพช่ือของตนเองเพื่อเขาสูบทเรียน วัตถุประสงค เปนการบอกจดุมุงหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

คําแนะนําการใชบทเรียน คือ สวนท่ีอธิบายปุมตางๆ ท่ีอยูในบทเรียน แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน เปนแบบทดสอบเพื่อวดัระดับความรูพื้นฐานของผูเรียน

ซ่ึงผูเรียนจะตองทําคะแนนใหผานตามเกณฑท่ีกําหนดไว คือ 80% จึงจะสามารถผานเขาสูบทเรียนได ทบทวนความรูเดิม คือ บทเรียนทบทวนความรูพื้นฐาน เร่ืองสระ พยัญชนะ และวรรณยกุต สําหรับผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการทดสอบทักษะพืน้ฐาน ซ่ึงในสวนนี้ผูเรียนสามารถเขาไปทบทวนเนือ้หาได เพื่อเตรียมความพรอมกอนเขาสูบทเรียน เขาสูบทเรียน ภายในบทเรียน ไดแบงออกเปน 2 สวน คือ สวนของบทเรียน ประกอบดวย โครงสรางประโยค คําอธิบายโครงสราง และตัวอยางประโยค และสวนของแบบฝกหัด

ในสวนของแบบฝกหัดผูเรียนตองทําแบบฝกหัดใหถูกทุกขอ ทีละขอ หากขอไหนทําผิด จะตองทําซํ้าจนกวาจะถูกตองจึงจะทําขอตอไปได แบบทดสอบหลังเรียน เปนขอสอบที่สรางขึ้นเพื่อใชทดสอบ หลังจากท่ีใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแลว

Page 10: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

46

ออกแบบแบบทดสอบ ผูศึกษาไดทําการออกแบบ แบบทดสอบใหสอดคลองและเหมาะสมกับวัตถุประสงค เนื้อหาและผูเรียน กอนนําไปใหผูเช่ียวชาญทางดานเนื้อหาชวยพิจารณาตรวจสอบเพื่อไดใหขอเสนอแนะในการนําไปสรางแบบทดสอบตอไป โดยแบบทดสอบที่ไดออกแบบไว แบงเปน 2 ประเภท คือ

1. แบบทดสอบวดัความรูพื้นฐาน 2. แบบทดสอบหลังเรียน

ออกแบบแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน ผูศึกษาทําการออกแบบ แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานใหครอบคลุมตามวัตถุประสงค

ทักษะพื้นฐานท่ีเหมาะสมกบัผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ ซ่ึงไดแก วัตถุประสงคพื้นฐานขอท่ี 1 ถึง 5โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบปรนัยชนิด 3 ตัวเลือก มีจํานวน 25 ขอ 25 คะแนน ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 1 ผูเรียนสามารถบอกเสียงสระภาษาไทยท่ีแทนดวย สัทอักษรหรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 2 ผูเรียนสามารถบอกเสียงพยัญชนะภาษาไทยท่ีแทนดวย สัทอักษรหรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 3 ผูเรียนสามารถบอกเสียงตัวสะกดภาษาไทยท่ีแทนดวย สัทอักษรหรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 4 ผูเรียนสามารถบอกระดับเสียงวรรณยกุตภาษาไทยท่ี แทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน

วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 5 เม่ือฟงเสียงคําศัพทแลวผูเรียนสามารถเลือกคําท่ีประสม ดวยสัทอักษร หรืออักษรไทยท่ีตรงตามเสียงไดถูกตอง มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน

ออกแบบแบบทดสอบหลังเรียน ผูศึกษาไดทําการออกแบบ แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อทดสอบความรูท่ีผูเรียนไดรับ

หลังจากใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงไดระบุไวเปนวัตถุประสงคปลายทาง โดยประกอบดวยวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอ 1-3 เปนแบบทดสอบอัตนัย ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี ้ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 1 ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคบอกเลาได มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 2 ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคปฏิเสธได มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน

Page 11: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

47

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 3 ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคคําถามได มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน

ประเมินและแกไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the design) ในข้ันตอนนี้ผูศึกษาไดใหผูเช่ียวชาญทางดานเนื้อหาจํานวน 3 ทาน ชวยพิจารณาตรวจสอบความถูกตอง และความเหมาะสมของเนื้อหา ความสอดคลองของวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมกบัเนื้อหา รวมถึงแบบทดสอบทีไ่ดออกแบบไว โดยพบขอบกพรองท่ีผูเช่ียวชาญท้ัง 3 ทาน (ดูรายช่ือผูเช่ียวชาญในภาคผนวก ก, หนา 95) ไดใหขอเสนอแนะและการปรับปรุงแกไข ดังตาราง 1 ตาราง 1 แสดงขอบกพรอง และการปรับปรุงแกไขเนื้อหา ท่ี ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงแกไข 1 ไมมีการบอกชนิดของคําศัพท ระบุชนิดของคําศัพท โดยนําเสนอในรูปแบบ

ตาราง 2 การใชช่ือบุคคล โดยใชช่ือ “อาทิตย” อาจจะ

ทําใหผูเรียนสับสนระหวางช่ือวันกับช่ือคน เปล่ียนช่ืออาทิตยเปนช่ือสมชาย

3 ไมมีการบอกความหมายของคําศัพท บอกความหมายของคําศัพท โดยการใชรูปภาพแทนการบรรยาย

4 ไมมีภาษาอังกฤษกํากับหวัขอและคําส่ังอาจจะทําใหผูเรียนไมเขาใจหัวขอท่ีจะเรียน

เขียนช่ือหวัขอและคําส่ังเปนภาษาอังกฤษ

5 ไมมีการเรียงลําดับของบทเรียน เรียงลําดับบทเรียนจากงายไปหายาก คือ ประโยคบอกเลา ปฏิเสธ และคําถาม

6 แบบทดสอบแตละขอมีตัวเลือกไมเทากนั ปรับแบบทดสอบทุกขอใหมี 3 ตัวเลือก สรางแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน

ผูศึกษาทําการสรางแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานใหครอบคลุมตามวัตถุประสงคทักษะ พื้นฐานท่ีเหมาะสมกับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ ซ่ึงไดแก วตัถุประสงคพื้นฐานขอท่ี 1 ถึง 5โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบปรนัยชนิด 3 ตัวเลือก มีจํานวน 25 ขอ 25 คะแนน ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

Page 12: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

48

วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 1 ผูเรียนสามารถบอกเสียงสระภาษาไทยท่ีแทนดวย สัทอักษร หรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 2 ผูเรียนสามารถบอกเสียงพยัญชนะภาษาไทยท่ีแทนดวย สัทอักษรหรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 3 ผูเรียนสามารถบอกเสียงตัวสะกดภาษาไทยท่ีแทนดวย สัทอักษรหรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 4 ผูเรียนสามารถบอกระดับเสียงวรรณยกุตภาษาไทยท่ีแทนดวยสัทอักษรหรืออักษรไทยได มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน

วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 5 เม่ือฟงเสียงคําศัพทแลวผูเรียนสามารถเลือกคําท่ี ประสมดวยสัทอักษร หรืออักษรไทยท่ีตรงตามเสียงไดถูกตอง มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน

สรางแบบทดสอบหลังเรียน ผูศึกษาไดทําการออกแบบ แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อทดสอบความรูท่ีผูเรียนไดรับ

หลังจากใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงไดระบุไวเปนวตัถุประสงคปลายทาง โดยประกอบดวยวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอ 1-3 เปนแบบทดสอบอัตนัย โดยกําหนดคํามาให แลวใหผูเรียนเขียนเรียงคําเปนประโยคตามโครงสรางภาษาไทยใหถูกตอง ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี ้ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 1 ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคบอกเลาได มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 2 ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคปฏิเสธได มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมขอท่ี 3 ผูเรียนสามารถเรียงคําท่ีกําหนดใหเปนประโยคคําถามได มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน

จากนั้นจึงนําขอสอบที่สรางเสร็จแลวไปหาความเท่ียงตรงของแบบทดสอบ โดยนําแบบทดสอบท้ังหมดใหผูเช่ียวชาญทางดานเนื้อหาจํานวน 3 ทําการตรวจสอบ โดยใหทําการประเมินวาขอสอบแตละขอครอบคลุมวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม ซ่ึงปรากฏวาขอสอบแตละขอครอบคลุมวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวทุกขอ (ดูรายละเอียดในภาคภาคผนวก ข, หนา 97-99)

จากนั้นผูศึกษาไดนําแบบทดสอบท้ัง 2 ฉบับ คือ แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน และแบบทดสอบหลังเรียน ไปทดสอบความเช่ือม่ันใชกับนกัศึกษาชาวจีนสิบสองปนนา ท่ีเรียนวิชาเอกภาษาไทย มหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน จํานวน 20 คน โดยใหนักศึกษาทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน และแบบทดสอบหลังเรียน ใชวิธีหาคาความเช่ือม่ันของ Livingston (สมนึก ภทัทิยธนี, 2544, หนา 230-231)

Page 13: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

49

เกณฑการใหคะแนน ดังนี ้ ตอบถูกไดคะแนน 1 คะแนน ตอบผิดไดคะแนน 0 คะแนน

เกณฑการพิจารณาความเช่ือม่ันของแบบทดสอบ ดังนี ้ .00 - .20 แสดงวามีความเช่ือม่ันตํ่ามาก .21 - .40 แสดงวามีความเช่ือม่ันตํ่า .41 - .70 แสดงวามีความเช่ือม่ันปานกลาง

.71 - 1.00 แสดงวามีความเช่ือม่ันสูง โดยใชสูตร ดงันี้ 1. สูตรการหาคาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงเกณฑ คือ

ccr = ( )( )22

22

cxs

cxsrtt

−+

−+

เม่ือ ccr แทน คาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงเกณฑ ttr แทน คาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงกลุม ( 20−KR )

2s แทน ความแปรปรวนของเคร่ืองมือ X แทน คาเฉล่ียของคะแนน

c แทน คะแนนเกณฑ ( Criterion Score ) 2. สูตรการหาคาความแปรปรวนของเคร่ืองมือ คือ

2s = เม่ือ N แทน จํานวนคน X แทน คะแนน

t

t

t N∑X - (∑X) N

2 2

2

Page 14: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

50

3. สูตรการหาคาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงกลุม คือ ttr = เม่ือ n แทน จํานวนขอของเคร่ืองมือวัด

p แทน สัดสวนของผูทําไดในขอหนึ่งๆ นั่นคือสัดสวนของคนทํา ถูกกับคนท้ังหมด q แทน สัดสวนของผูทําผิดในขอหนึ่งๆ หรือคือ 1- p 2s แทน คะแนนความแปรปรวนของคะแนนการสอบ

4. สูตรการหาคาความแปรปรวนของคะแนนการสอบ

2s = เม่ือ N แทน จํานวนคน X แทน คะแนน

X แทน คาเฉล่ียของคะแนน การหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานจํานวน 25 ขอ ปรากฏผลดังตาราง 2-4

n-1 2s∑pq { }

n 1-

∑(X - X ) N-1

2

Page 15: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

51

ตาราง 2 แสดงการหาคาความแปรปรวนของคะแนนการสอบวัคความรูพื้นฐานของผูเรียน จํานวน 20 คน (N = 20)

คนท่ี คะแนน (X) X - X (X - X )

1 23 0.7 0.49 2 24 1.7 2.89 3 22 -0.3 0.09 4 21 -1.3 1.69 5 24 1.7 2.89 6 18 -4.3 18.49 7 22 -0.3 0.09 8 25 2.7 7.29 9 23 0.7 0.49 10 21 -1.3 1.69 11 25 2.7 7.29 12 23 0.7 0.49 13 15 -7.3 53.29 14 22 -0.3 0.09 15 22 -0.3 0.09 16 24 1.7 2.89 17 22 -0.3 0.09 18 23 0.7 0.49 19 22 0.3 0.09 20 25 2.7 7.29

X = 22.30 ∑ (X - X ) = 108.20

แทนคาในสูตร

2s =

ดังนั้น 2s = 5.695

2

108.20 20 -1

2

Page 16: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

52

ตาราง 3 แสดงการหาคาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงกลุม (แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน) ของ ผูเรียน จํานวน 20 คน

ขอท่ี จํานวนคนทําถูก

จํานวนคนทําผิด

สัดสวนคนทําถูกกับคนท้ังหมด (p)

สัดสวนของผูทําผิดใน ขอหนึ่งๆ (q = 1 - p)

pq

1 19 1 0.95 0.05 0.05 2 17 3 0.85 0.15 0.13 3 17 3 0.85 0.15 0.13 4 18 2 0.90 0.10 0.09 5 18 2 0.90 0.10 0.09 6 15 5 0.75 0.25 0.19 7 18 2 0.90 0.10 0.09 8 18 2 0.90 0.10 0.09 9 18 2 0.90 0.10 0.09 10 17 3 0.85 0.15 0.13 11 19 1 0.95 0.05 0.05 12 18 2 0.90 0.10 0.09 13 19 1 0.95 0.05 0.05 14 19 1 0.95 0.05 0.05 15 19 1 0.95 0.05 0.05 16 19 1 0.95 0.05 0.05 17 17 3 0.85 0.15 0.13 18 19 1 0.95 0.05 0.05 19 18 2 0.90 0.10 0.09 20 16 4 0.80 0.20 0.16 21 19 1 0.95 0.05 0.05 22 17 3 0.85 0.15 0.13 23 19 1 0.95 0.05 0.05

Page 17: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

53

ตาราง 3 (ตอ)

ขอท่ี จํานวนคนทําถูก

จํานวนคนทําผิด

สัดสวนคนทําถูกกับคนท้ังหมด (p)

สัดสวนของผูทําผิดใน ขอหนึ่งๆ (q = 1 - p)

pq

24 16 4 0.80 0.20 0.16 25 17 3 0.85 0.15 0.13

∑pq = 2.33

แทนคาในสูตร ttr = ดังนั้น ttr = 0.62

25-1 2.33 { }

25 1- 5.695

Page 18: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

54

ตาราง 4 แสดงการหาคาความแปรปรวนของเคร่ืองมือ (แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานกอนเรียน)

คนท่ี คะแนน (X) x2

1 23 529 2 24 576 3 22 484 4 21 441 5 24 576 6 18 324 7 22 484 8 25 625 9 23 529 10 21 441 11 25 625 12 23 529 13 15 225 14 22 484 15 22 484 16 24 576 17 22 484 18 23 529 19 22 484 20 25 625

∑ X = 446, X = 22.30 2∑ X = 10054

∑ 2)( X = 198916

แทนคาในสูตร

2s = ดังนั้น 2s = 5.41

t 20(10054) - 198916 400

t

Page 19: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

55

คํานวณคา ccr หาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงเกณฑ แทนคาในสูตร

ccr =

ดังนั้น แบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน มีคาความเช่ือม่ัน 0.81 การหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 30 ขอ ปรากฏผลดังตาราง 5-7

0.62(5.695) + (22.30-20) 5.695 + (22.30-20)

2

2

Page 20: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

56

ตาราง 5 แสดงการหาคาความแปรปรวนของคะแนนการสอบหลังเรียนของผูเรียนจํานวน 20 คน (N = 20)

คนท่ี คะแนน (X) X - X (X - X ) 1 26 0.6 0.36 2 28 1.4 1.96 3 27 0.4 0.16 4 26 -0.6 0.36 5 29 2.4 5.76 6 20 -6.6 43.56 7 25 -1.6 2.56 8 30 3.4 11.56 9 25 -1.6 2.56 10 26 -0.6 0.36 11 30 3.4 11.56 12 26 -0.6 0.36 13 19 -7.6 57.76 14 27 0.4 0.16 15 27 0.4 0.16 16 29 2.4 5.76 17 27 0.4 0.16 18 28 1.4 1.96 19 27 0.4 0.16 20 30 3.4 11.56

X = 26.60 ∑ (X - X ) = 158.80

แทนคาในสูตร 2s =

ดังนั้น 2s = 8.358

2

158.80 20 -1

Page 21: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

57

ตาราง 6 แสดงการหาคาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงกลุม (แบบทดสอบหลังเรียน) ของผูเรียน จํานวน 20 คน

ขอท่ี จํานวนคนทําถูก

จํานวนคนทําผิด

สัดสวนคนทําถูกกับคนท้ังหมด (p)

สัดสวนของผูทําผิดใน ขอหนึ่งๆ (q = 1 - p)

pq

1 19 1 0.95 0.05 0.05 2 17 3 0.85 0.15 0.13 3 17 3 0.85 0.15 0.13 4 18 2 0.90 0.10 0.09 5 18 2 0.90 0.10 0.09 6 15 5 0.75 0.25 0.19 7 18 2 0.90 0.10 0.09 8 18 2 0.90 0.10 0.09 9 18 2 0.90 0.10 0.09 10 17 3 0.85 0.15 0.13 11 19 1 0.95 0.05 0.05 12 18 2 0.90 0.10 0.09 13 19 1 0.95 0.05 0.05 14 19 1 0.95 0.05 0.05 15 18 2 0.90 0.10 0.09 16 18 2 0.90 0.10 0.09 17 17 3 0.85 0.15 0.13 18 19 1 0.95 0.05 0.05 19 18 2 0.90 0.10 0.09 20 15 5 0.75 0.25 0.19 21 19 1 0.95 0.05 0.05 22 16 4 0.80 0.20 0.16 23 19 1 0.95 0.05 0.05 24 15 5 0.75 0.25 0.19

Page 22: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

58

ตาราง 6 (ตอ)

ขอท่ี จํานวนคนทําถูก

จํานวนคนทําผิด

สัดสวนคนทําถูกกับคนท้ังหมด (p)

สัดสวนของผูทําผิดใน ขอหนึ่งๆ (q = 1 - p)

pq

25 17 3 0.85 0.15 0.13 26 17 3 0.85 0.15 0.13 27 19 1 0.95 0.05 0.05 28 17 3 0.85 0.15 0.13 29 19 1 0.95 0.05 0.05 30 19 1 0.95 0.05 0.05

∑pq = 2.90

แทนคาในสูตร

ttr = ดังนั้น ttr = 0.68

30-1 2.90 { }

30 1- 8.358

Page 23: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

59

ตาราง 7 แสดงการหาคาความแปรปรวนของเคร่ืองมือ (แบบทดสอบหลังเรียน)

คนท่ี คะแนน (X) x2

1 26 676 2 28 784 3 27 729 4 26 676 5 29 841 6 20 400 7 25 625 8 30 900 9 25 625 10 26 676 11 30 900 12 26 676 13 19 361 14 27 729 15 27 729 16 29 841 17 27 729 18 28 784 19 27 729 20 30 900

∑ X = 532 2∑ X =14310

∑ 2)( X = 283024

แทนคาในสูตร

2s = ดังนั้น 2s = 7.94

t 20(14310) - 283024 400

t

Page 24: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

60

คํานวณคา ccr หาความเช่ือม่ันแบบทดสอบอิงเกณฑ แทนคาในสูตร

ccr =

ดังนั้น แบบทดสอบหลังเรียน มีคาความเช่ือม่ัน 0.82 จากการคํานวณหาคาความเช่ือม่ันของขอสอบปรากฏผล คือ แบบทดสอบวดัความรูพื้นฐาน

มีคาความเช่ือม่ัน 0.81 และแบบทดสอบหลังเรียนมีคาความเช่ือม่ันคือ 0.82 แสดงวา แบบทดสอบ วัดความรูพื้นฐาน และแบบทดสอบหลังเรียน มีคาความเช่ือม่ันสูง ขั้นตอนท่ี 3 : ขั้นตอนการเขียนผงังาน (Flowchart Lesson)

ผูศึกษาไดนําเนื้อหาท่ีไดรับการตรวจสอบและแกไขจากอาจารยท่ีปรึกษา และผูเช่ียวชาญ มาเขียนอธิบายข้ันตอนการทํางานของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เสนอลําดับข้ันตอน โครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดังนี ้

0.68(8.358) + (26.60-24) 8.358 + (26.60-24)

2

2

Page 25: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

61

แผนภูมิ 2 แสดงโครงสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

เร่ิมตน

บทนํา

พิมพช่ือผูเรียน

คําแนะนําการใชบทเรียน

แบบทดสอบวดัความรูพื้นฐาน

วัตถุประสงค

ผานเกณฑ 80%

ทบทวนความรูเดิม บทเรียนโครงสรางประโยค

จบบทเรียน

ผาน

ไมผาน

Page 26: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

62

แผนภูมิ 3 แสดงโครงสรางการทบทวนความรูเดิม (ทักษะพ้ืนฐานของบทเรียน) ทบทวนความรูเดิม

สระ

พยัญชนะ

ตัวสะกด

วรรณยกุต

แบบทดสอบวดัความรูพื้นฐาน

ผานเกณฑ 80%

บทเรียนโครงสรางประโยค

ไมผาน

ผาน

Page 27: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

63

แผนภูมิ 4 แสดงโครงสรางบทเรียนเร่ืองโครงสรางประโยค

บทเรียนโครงสรางประโยค

ประโยคบอกเลาพื้นฐาน

ประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “กําลัง/อยู”

ประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “แลว”

ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไม”

ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ยังไมได”

ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไมได/ไมเปน”

ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “ใชไหม”

ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “แลวหรือยัง”

ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “เปนไหม/ไดไหม”

จบบทเรียน

Page 28: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

92

ขั้นตอนท่ี 4 : ขั้นตอนการสรางสตอรี่บอรด (Storyboard) ข้ันตอนนี้ผูศึกษาไดออกแบบแผนงานโครงเร่ือง (Storyboard) โดย การเตรียมการนําเสนอ ขอความ ภาพ ภาพเคล่ือนไหว และเสียงตางๆ โดยการรางลงบนกระดาษ กอนท่ีจะนําไปออกแบบจริงบนหนาจอ ซ่ึงเปนการรางวาจะวางตําแหนงของขอความ ภาพนิ่ง และภาพเคล่ือนไหวไวท่ีสวนใดของหนาจอในแตละหนา นําเสนออาจารยท่ีปรึกษาและผูเช่ียวชาญตรวจสอบ แลวนํามาปรับปรุงแกไขกอนดําเนินการข้ันตอไป

ตาราง 8 แสดงขอบกพรอง และ การปรับปรุงแกไข ในการสรางสตอร่ีบอรด ท่ี ขอบกพรอง การปรับปรุงแกไข 1 เขียนบรรยายเหตุการณท่ีเกดิข้ึนในแตละ

เฟรมไมชัดเจน เขียนบรรยายเหตุการณในแตละเฟรมใหชัดเจน

2 ปุมลิงคเพื่อไปหนาถัดไป บางเฟรมมีบางเฟรมไมมี

เพิ่มปุมในทุกเฟรมท่ีตองลิงคไปหนาถัดไป

3 ในเฟรมคําแนะนําปุมอธิบายปุมแตละปุมไมชัดเจน

อธิบายปุมแตละปุมใหชัดเจนข้ึน

4 บางเฟรมใชภาษาไทย บางเฟรมใชภาษาอังกฤษ

ปรับแกทุกเฟรมเปนภาษาอังกฤษ

64

Page 29: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

93

ตัวอยางสตอร่ีบอรด (Storyboard) บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทย

เร่ือง โครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ

ท่ี ภาพ เหตุการณ 1

ขอความ ภาคเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ภาพ 1 ตัวการตูน(Graphic Cuing) ตอนรับเขาสูบทเรียน ภาพ 2 ตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยเชียงใหม เสียง เสียงดนตรีประกอบ

2

Sentence Structure for Communication By Thipaporn Ditsorn

ขอความ Sentence Structure for Communication By Thipaporn Ditsorn ภาพ 1 ตัวการตูน(Graphic Cuing) ตอนรับเขาสูบทเรียน ภาพ 2 ปุมลูกศรเพื่อคลิกไปหนาถัดไป เสียง เสียงดนตรีประกอบ

3 Please log in

ขอความ- Please log in ภาพ 1 ชองสําหรับพิมพช่ือผูเรียน ภาพ 2 ปุมลูกศรเพื่อคลิกไปหนาถัดไป เสียง เสียงดนตรีประกอบ

ภาคเทคโนโลยีทางการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร

2

1 2

2

3

1

65

Page 30: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

94

ท่ี ภาพ เหตุการณ 4 Objectives

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

ขอความ Objective บอกวัตถุประสงค ภาพ 1 ตัวการตูน(Graphic Cuing) ภาพ 2 ปุม Next

5 Buttons used in this lesson

ขอความ Buttons… และมีขอความบอกความหมายของแตละรูปภาพ ภาพ 1 ตัวการตูน(Graphic Cuing) ภาพ 2 บาน 3 เคร่ืองหมายคําถาม 4 กากบาท 5 หูฟง 6 ลูกศร(หนากอน) 7 ลูกศร (ตอไป) 8 ลูกศร (กลับหนาแรก) ภาพ 9 ปุมลูกศรเพื่อคลิกไปหนาถัดไป

6 Pretest C xxxxxxxxxxxxxxxxx D xxxxxx

ขอความ A) Sentence Structure for Communication B) ช่ือผูเรียน C) คําส่ัง D) Start ภาพ 1 ตัวการตูน(Graphic Cuing) ภาพ 2 บาน ภาพ 3 เคร่ืองหมายคําถาม ภาพ 4 กากบาท

1

2

3

4

5

6

7

8

xxxx

xxxx

xxxx

xxxx

xxxx

xxxx

xxxx

9

1

xxxx B

1

3 4

2

2 A xxxxxxxx

66

Page 31: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

95

ขั้นตอนท่ี 5 : ขั้นตอนการสราง/เขียนโปรแกรม (Program Lesson) 1. สรางส่ือ Multimedia

ในข้ันนี้ผูศึกษาไดทําการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโครงสรางประโยคภาษาไทย ตามแบบท่ีไดรับการปรับปรุงแกไขแลว โดยการเตรียมส่ือประสม (Multimedia) ตางๆ สําหรับใชในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนน้ี ซ่ึงประกอบดวย

ภาพกราฟก ผูศึกษาทําการสรางภาพกราฟก เชน ภาพการตูน ฉากหลัง และขอความโดยใชโปรแกรม Adobe Illustrator cs (ดังภาพ 1) สําหรับวาดภาพการตูน นอกจากนี้ไดรวบรวมภาพจากอินเตอรเน็ต เพื่อนํามาประกอบใชในบทเรียน โดยนําภาพท้ังหมดไปปรับปรุงและตกแตงใหสวยงาม โดยใชโปรแกรม Adobe Photoshop cs (ดงัภาพ 2)

ภาพ 1 แสดงการวาดภาพดวยโปรแกรม Adobe Illustrator cs

67

Page 32: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

96

ภาพ 2 แสดงการวาดภาพดวยโปรแกรม Adobe Photoshop cs

เสียง ผูศึกษาไดทําการบันทึกเสียงพูด เพลง และเสียง Effect ตางๆ ท่ีจะนํามาใชในบทเรียนนี้

โดยใชโปรแกรม Sound Forge 7.0 (ดังภาพ 3) แลวบันทึกเสียงท้ังหมดในรูปของไฟล mp.3

ภาพ 3 แสดงการบันทึกเสียงดวยโปรแกรม Sound Forge 7.0

68

Page 33: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

97

2. สรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ภายหลังจากท่ีไดเตรียมส่ือ Multimedia ท้ังหมดเสร็จแลว ในข้ันตอนนี้ผูศึกษาจึงไดดําเนินการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทยเร่ือง โครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ ดวยโปรแกรม Adobe Flash cs4 โดยนําส่ือ Multimedia ท้ังหมดท่ีเตรียมไวมาประกอบในหนาจอตามสตอร่ีบอรด พรอมท้ังเขียนคําส่ังควบคุมการทาํงานของส่ือ Multimedia นั้น เพื่อใหแตละหนาจอทํางานไดอยางสมบูรณ จากน้ันนําบทเรียนท่ีสรางเสร็จแลวไปใหอาจารยท่ีปรึกษาและผูเช่ียวชาญดานการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตรวจสอบ เพื่อนําขอบกพรองมาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา ตาราง 9 แสดงปญหาและการปรับปรุงแกไขการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน ท่ี ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงแกไขโปรแกรม 1 สีตัวอักษรในหน่ึงหนามีจํานวนสีมากเกนิไป

ควรปรับใหเหลือไมเกิน 3 สี และสีของคําวา “Instruction” ในแตละหนาท่ีมีไมเหมือนกัน

ปรับสีตัวอักษรใหเหลือหนาละไมเกิน 3 สี และปรับสีคําวา “Instruction” ใหเหมือนกันในหนาท่ีมีคํานี้ทุกหนา

2 การเขียนคําภาษาอังกฤษ ใชตัวพิมพใหญรูปแบบแตกตางกันบางคําใชตัวพิมพใหญท้ังสองคํา เชน “First Page” สวนอีกคําใชพมิพใหญกับพิมพเล็ก เชน “Main page”

ปรับรูปแบบการเขียนคําภาษาอังกฤษ โดยใชตัวพิมพใหญเฉพาะคําแรก เชน “First page”

3 หนาแบบฝกหดัไมมีคําส่ังวาใหผูเรียนทําอะไรในทุกหนา

เพิ่มคําส่ังในหนาแบบฝกหดัทุกหนา

4 ในสวนเน้ือหาของการทบทวนบทเรียน การวางตําแหนงหวัขอบทเรียน ในแตละบทไมคงท่ีวางตําแหนงและรูปแบบไมเหมือนกนั

วางตําแหนงและจัดรูปแบบหัวขอของบทเรียนแตละบทใหเหมือนกัน

5 ปุม และปุม ในหนาแสดงคะแนน หลังจากทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานเสร็จแลว ส่ือความหมายไมชัดเจน

เปล่ียนเปนปุม

69

Page 34: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

98

ตาราง 9 (ตอ) ท่ี ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงแกไขโปรแกรม 6 หนาแสดงคะแนนหลังทําแบบทดสอบวัด

ความรูพื้นฐานเสร็จ จะมีคําส่ังใหผูเรียนไปตอเม่ือผานเกณฑ 80% หรือไปทบทวนบทเรียนถาไมผานเกณฑ สีของคําส่ังไมเหมือนกนั

ปรับสีของคําส่ังในหนาแสดงคะแนนหลังทําแบบทดสอบวดัความรูพื้นฐานเสร็จ ใหเหมือนกนั

ขั้นตอนท่ี 6 : ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials) ผูศึกษาไดทําการสรางคูมือการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทยเร่ือง โครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ ประกอบดวย

1. ขอตกลงในการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 2. ระบบของเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีตองการ 3. วัตถุประสงคของบทเรียนโครงสรางประโยคเพื่อการส่ือสาร 4. วิธีการใชงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 5. ลําดับข้ันตอนในการใชงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 6. แบบสอบวัดความรูพื้นฐาน และแบบทดสอบหลังเรียน

(ดูรายละเอียดในภาคภาคผนวก ง, หนา 104-124) ขั้นตอนท่ี 7 : ขั้นตอนการประเมินและแกไขบทเรียน (Evaluate and Revise) ผูศึกษาไดทําการประเมินบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทยเร่ือง โครงสรางประโยคเพ่ือการส่ือสาร สําหรับผูเรียนภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศท่ีสรางข้ึน ท้ังนี้เพื่อนําขอมูล ท่ีไดไปปรับปรุงบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยไดทําการประเมิน ดังข้ันตอนตอไปนี ้ 1. นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและคูมือการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ท่ีสรางเสร็จแลวไปใหผูเช่ียวชาญทางดานการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จํานวน 3 ทาน ทดสอบการใชงานในดานการนําเสนอบทเรียน แบบฝกหัด ดานการออกแบบหนาจอ กราฟก ดานการเช่ือมโยงในสวนตางๆ ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พรอมท้ังใหผูเช่ียวชาญท้ัง 3 ทานชวยพจิารณาตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนคอมพิวเตอร ตามรายการในแบบตรวจสอบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดังตาราง 10

70

Page 35: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

99

ตาราง 10 แสดงผลการประเมินคอมพิวเตอรชวยสอนจากผูเช่ียวชาญ

ลําดับท่ี รายการ เห็นดวย ไมเห็นดวย 1

บทเรียนคอมพิวเตอรมีระบบการเขาสูโปรแกรมโดยอัตโนมัติ(Auto run)

3 -

2 การนําเขาสูบทเรียน(Login) มีความสะดวก 3 -

3 มีการจัดสัดสวนองคประกอบบนหนาจอ ท่ีเหมาะสม

3 -

4 ตัวอักษรในบทเรียนคอมพวิเตอรมีความชัดเจน 3 -

5 สีท่ีใชในบทเรียนคอมพวิเตอรมีความเหมาะสม 3 -

6 เสียงบรรยายและเสียงประกอบมีความชัดเจน 3 -

7

ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหวท่ีใชประกอบในบทเรียนมีความคมชัดและเหมาะสม

3

-

8 ปุมแสดงรายการตางๆส่ือความหมายไดชัดเจน 3 -

9 การเช่ือมโยง(Link)ไปยังจดุตางๆมีความถูกตองและรวดเร็ว

3 -

10 มีปฏิสัมพันธระหวางบทเรียนกับผูเรียนอยางตอเนื่อง

3 -

11 มีการใหผลปอนกลับ(feedback) ท่ีเหมาะสม 3 -

จากตาราง แสดงวาผูเช่ียวชาญท้ัง 3 ทาน เห็นดวยวา บทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่สรางข้ึน มีความเหมาะสมทุกรายการ 2. นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีไดทําการปรับปรุงแกไขแลว ไปทดสอบการใชงาน ท้ังนี้เพื่อหาขอบกพรองตางๆ ท่ีจะไดนําไปปรับปรุงบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนใหมีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีข้ันตอนดงันี้

71

Page 36: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

100

2.1 ทดสอบแบบหน่ึงตอหนึ่ง (One to One Testing) นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ท่ีไดผานการตรวจสอบจากอาจารยท่ีปรึกษา

การคนควาแบบอิสระ ผูเช่ียวชาญทางดานเนื้อหา และผูเช่ียวชาญทางดานการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร ซ่ึงไดรับการปรับปรุงแกไขแลว ไปทดสอบกับนักศึกษาชาวจีน ท่ีมหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน จังหวดัเชียงใหม จํานวน 2 คน โดยทําการทดสอบใชงานคร้ังละหนึ่งคน เพื่อตรวจสอบการส่ือความหมายในแตละหนาจอของบทเรียนคอมพิวเตอร รวมท้ังหาขอบกพรองตางๆ ท้ังในดานเนื้อหา แบบฝกหัด และการทํางานของโปรแกรม จากนัน้ก็นําขอบกพรองมาทําการปรับปรุงแกไข ดังนี ้

ตาราง 11 แสดงปญหาและการปรับปรุงแกไขการทดสอบการใชงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน แบบหนึ่งตอหนี่ง

ท่ี ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงแกไขโปรแกรม 1 ในบทเรียนประโยคปฏิเสธ หัวขอเร่ือง “ไม”

ประโยคตัวอยางพิมพสัทอักษรผิด พิมพสัทอักษรใหมใหถูกตอง

2 ในบทเรียนประโยคคําถาม หัวขอเร่ือง “แลวหรือยัง” แบบฝกหัดขอท่ี 4 เม่ือลากคําศัพทคําวา “สอบ” ลงในชองจะไปทับกับคําวา “นักศึกษาท่ีอยูในชองแรก”

เขียนคําส่ังในโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหม

3 หนาจบของหวัขอเร่ือง “แลวหรือยัง” ช่ือหัวขอพิมพผิด

พิมพช่ือหัวขอใหมใหถูกตอง

4 จบของหัวขอเร่ือง “ไดไหม/เปนไหม” ช่ือหัวขอพิมพผิด

พิมพช่ือหัวขอใหมใหถูกตอง

5 ในบททบทวน หัวขอเร่ือง “สระเสียงยาว” สระ อู คําวาหู พิมพสัทอักษรผิด สระเอ พิมพสัทอักษรคําวา เท ผิด

พิมพใหมใหถูกตอง

6 ในบทเรียนทบทวน หวัขอเร่ือง “วรรณยุกต” ภาพประกอบคําศัพทคําวาสีเหลือง เปนสีน้ําตาลออน

เปล่ียนภาพใหเปนสีเหลืองเขม

72

Page 37: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

101

2.2 ทดสอบแบบกลุมเล็ก (Small Group Testing) ผูศึกษานําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีไดทําการปรับปรุงแกไขแลว ไป

ทดสอบกลุมเล็ก โดยนําไปทดสอบใชกับนักศึกษาชาวจีน ท่ีมหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน จังหวัดเชียงใหม จํานวน 4 คน โดยในการทดสอบน้ันไดแจงใหนักศึกษาทําตามลําดับดังนี้ คือ นักศึกษาตองทําแบบทดสอบพ้ืนฐานกอนเรียน เม่ือผานเกณฑ 80% จึงเขาสูบทเรียนโครงสรางประโยค แตถาหากนักศึกษาทําแบบทดสอบพ้ืนฐานแลวไมผานเกณฑ 80% นักศึกษาตองเขาสูบททบทวน ผลปรากฏวานักศึกษาท้ัง 4 คนสามารถทําแบบทดสอบพ้ืนฐานกอนเรียนผานเกณฑ 80% จึงเขาสูบทเรียนโครงสรางประโยค เม่ือนักศึกษาเรียนบทเรียนโครงสรางประโยคจบแลว ใหนักศึกษาทําแบบทดสอบหลังเรียน แลวนําผลคะแนนจากการทําแบบทดสอบหลังเรียนของนักศึกษา ไปหาคารอยละเพ่ือสรุปผลวานักศึกษาสามารถผานเกณฑ 80% ในวัตถุประสงคแตละขอท่ีกําหนดไวหรือไม ท้ังนี้ในขณะท่ีนกัศึกษาใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูศึกษาไดสังเกตพฤติกรรมการเรียน และบันทึกปญหาท่ีเกิดข้ึน เพื่อรวบรวมเปนขอมูลสําหรับการปรับปรุงแกไขบทเรียน

73

Page 38: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

102

ตาราง 12 แสดงปญหาและการปรับปรุงแกไขการทดสอบการใชงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน แบบกลุมเล็ก ท่ี ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงแกไขโปรแกรม 1 ในบทเรียนเร่ือง “ยังไมได” และบทเรียนเรื่อง

“ไมได/ไมเปน” สัทอักษรคําวา “ได” บางคําพิมพเปน “dây” บางคําพิมพเปน “dâay”

พิมพใหม โดยพิมพเปน “dâay” ท้ังหมด

2 ในสวนของแบบฝกหัดเร่ือง “ยังไมได” หมายเลขบทท่ีของบทเรียนบังช่ือบทเรียน

ปรับขนาดของหมายเลขบทที่ของบทเรียนใหเล็กลงและพอดีกับช่ือบทเรียน

3 นักศึกษาสับสบเร่ืองจํานวนของบทเรียน เนื่องจากในบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนกําหนดหมายเลขของบทท่ี ดังนี้ ประโยคบอกเลา 1 ประโยคบอกเลาพื้นฐาน 2 ประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “กําลัง/อยู” 3 ประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “แลว” ประโยคปฏิเสธ 1 ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไม” 2 ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ยัง ไมได” 3 ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไมได/ไมเปน” ประโยคคําถาม 1 ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “ใชไหม” 2 ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “แลวหรือ ยัง”

ปรับหมายเลขบทเรียนใหม เปนบทท่ี 1-9 ดังนี ้1 ประโยคบอกเลาพื้นฐาน 2 ประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “กําลัง/อยู” 3 ประโยคบอกเลาท่ีประกอบดวย “แลว” 4 ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไม” 5 ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ยัง ไมได” 6 ประโยคท่ีแสดงการปฏิเสธโดยใชคําวา “ไมได/ไมเปน” 7 ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “ใชไหม” 8 ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “แลวหรือ ยัง” 9 ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “เปนไหม/ ไดไหม”

74

Page 39: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

103

ตาราง 12 (ตอ) ท่ี ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงแกไขโปรแกรม

3 ประโยคคําถามท่ีลงทายดวยคําวา “เปนไหม/ ไดไหม” เม่ือนักศึกษาเรียนจบประโยคบอกเลาแลว บทตอไปจะข้ึนตน ดวย 1 ใหมแตเปนบทเรียนประโยคปฏิเสธ นักศึกษาจึงสับสนในเร่ืองของตัวเลขของบทเรียน

เม่ือนักศึกษาทําแบบทดสอบหลังเรียนแลว ผูศึกษาจึงนําผลของแบบทดสอบมาวิเคราะห โดยใชเกณฑการทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนท่ีกําหนดไว คือ 80/80

80 ตัวแรก คือ คะแนนเฉล่ียของผูเรียนทุกคนจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน 80 ตัวหลัง คือ ผูเรียนจํานวน 80% สามารถบรรลุผลสําเร็จในการเรียนตามท่ี วัตถุประสงคแตละขอกําหนดไว

75

Page 40: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

104

ตาราง 13 แสดงผลการวเิคราะหคะแนนเฉล่ีย จากการทําแบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียน จํานวน 4 คน ท่ีไดคะแนนเฉล่ียตามเกณฑ 80% ท่ีไดกาํหนดไว

คนท่ี คะแนนเต็ม 30 คะแนน รอยละ 1 26 86.67 2 30 100 3 28 93.33 4 29 96.67

รวม 113 376.67

เฉล่ีย 28.25 94.17 จากตารางปรากฏวา คะแนนเฉล่ียจากการทําแบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียนจํานวน 4 คน คือ 94.17% ซ่ึงสูงกวาเกณฑ 80% ท่ีกําหนดไว ตาราง 14 แสดงผลการวเิคราะหการทดสอบหลังเรียนของผูเรียนจาํนวน 4 คน ท่ีสามารถบรรลุ ผลสําเร็จในการเรียนวัตถุประสงคขอท่ี 1 ตามเกณฑ 80% ท่ีไดกําหนดไว จากตาราง แสดงวา ผูเรียนทุกคน (รอยละ 100) สามารถบรรลุผลสําเร็จในการเรียนวัตถุประสงคขอ 1

คนท่ี 1 คะแนนเต็ม (10) รอยละ ผูเรียนท่ีผานเกณฑ 80% 1 9 90 √ 2 10 100 √ 3 10 100 √ 4 10 100 √

รวมจํานวนผูเรียนท่ีผานเกณฑ 80% 4

รอยละ 100

76

Page 41: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

105

ตาราง 15 แสดงผลการวเิคราะหการทดสอบหลังเรียนของผูเรียนจาํนวน 4 คน ท่ีสามารถบรรลุ ผลสําเร็จในการเรียนวัตถุประสงคขอท่ี 2 ตามเกณฑ 80% ท่ีไดกําหนดไว จากตาราง แสดงวา ผูเรียนทุกคน (รอยละ 100) สามารถบรรลุผลสําเร็จในการเรียนวัตถุประสงคขอ 2 ตาราง 16 แสดงผลการวเิคราะหการทดสอบหลังเรียนของผูเรียนจาํนวน 4 คน ท่ีสามารถบรรลุ ผลสําเร็จในการเรียนวัตถุประสงคขอท่ี 3 ตามเกณฑ 80% ท่ีไดกําหนดไว จากตาราง แสดงวา ผูเรียนทุกคน (รอยละ 100) สามารถบรรลุผลสําเร็จในการเรียนวัตถุประสงคขอ 3 โดยสรุปผลจากการทดสอบกลุมเล็ก พบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีประสิทธิภาพ ท่ี 94.17/100 ซ่ึงสูงกวาเกณฑ 80/80 ท่ีไดกําหนดไว

คนท่ี 1 คะแนนเต็ม (10) รอยละ ผูเรียนท่ีผานเกณฑ 80% 1 9 90 √ 2 10 100 √ 3 10 100 √ 4 10 100 √

รวมจํานวนผูเรียนท่ีผานเกณฑ 80% 4

รอยละ 100

คนท่ี 1 คะแนนเต็ม (10) รอยละ ผูเรียนท่ีผานเกณฑ 80% 1 8 80 √ 2 10 100 √ 3 8 80 √ 4 9 90 √

รวมจํานวนผูเรียนท่ีผานเกณฑ 80% 4

รอยละ 100

77

Page 42: บทที่ 3 วิธีการดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0352td_ch3.pdf · ขั้นตอนท

106

2.3 ทดสอบภาคสนาม (Field Testing) ภายหลังจากท่ีไดทําการปรับปรุงแกไขบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจากการ

ทดสอบกลุมเล็กแลว ไดทํา การทดสอบภาคสนาม (Field Testing) เพือ่หาประสิทธิภาพของบทเรียน โดยผูศึกษาไดนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไปทดสอบกับนักศึกษาชาวจีน ท่ีมหาวิทยาลัย ฟารอีสเทอรน จังหวดัเชียงใหม จํานวน 23 คน มีข้ันตอนดังตอไปนี ้

1. นําหนังสือขอความอนเุคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูลไปยื่นตอคณบดีคณะ ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย ฟารอีสเทอรน เพื่อขออนุญาตนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไปทดสอบการใชกับนกัศึกษาชาวจีน

2. จัดเตรียมหองเรียนและอุปกรณท่ีใชในการเรียน พรอมท้ังติดต้ังโปรแกรมลงใน เคร่ืองคอมพิวเตอร พรอมท้ังจัดเตรียมและทดลองการทํางานของคอมพิวเตอร

3. ใหนกัศึกษานัง่ประจําเคร่ืองคอมพิวเตอร 1 คน ตอ 1 เคร่ือง 4. อธิบายใหนกัศึกษาเขาใจถึงข้ันตอนตางๆในการใชบทเรียนคอมพิวเตอร

ชวยสอน ใหนกัเรียนทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน โดยนกัศึกษาจะตองทําขอสอบใหผานเกณฑ 80% กอนเขาสูบทเรียนโครงสรางประโยค ผลปรากฏวานักศึกษาสามารถทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานผานเกณฑ 80% ทุกคน

5. เม่ือนักศึกษาเรียนจบบทเรียนแลว ใหนกัศึกษาทําแบบทดสอบหลังเรียน 6. ทําการวิเคราะหขอมูลจากแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อหาประสิทธิภาพของ

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ตามเกณฑประสิทธิภาพท่ีกําหนดไว คือ 80/80 80 ตัวแรก คือ คะแนนเฉล่ียของผูเรียนทุกคนจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน 80 ตัวหลัง คือ ผูเรียนจํานวน 80% สามารถบรรลุผลสําเร็จในการเรียนตามท่ี วัตถุประสงคแตละขอกําหนดไว

ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนนําเสนอในบทท่ี 4

78