ตอนที่ ๒...

30
ตอนทีกองทัพบก . ภารกิจ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ . . ๒๕๕๐ มาตรา 77 รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบัน พระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย และบูรณาภาพแหงเขตอํานาจรัฐ และ ตองจัดใหมีกําลังทหาร อาวุธ ยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จําเปน และเพียงพอ เพื่อพิทักษรักษาเอกราช อธิปไตยความ มั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ สรุป ทหารมีหนาที. พิทักษ - รักษาเอกราช - ความมั่นคงของรัฐ - สถาบันพระมหากษัตริย - ผลประโยชนแหงชาติ - การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข . พัฒนาประเทศ ตาม พ. . . จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม . . ๒๕๐๓ มาตรา ๑๔ ไดกําหนดให กองทัพบกมีหนาที่ไวดังนี"กองทัพบกมีหน าที่เตรียมกําลังทางบกและปองกันราชอาณาจักร มีผู บัญชาการทหารบกเปนผูบังคับบัญชา " จากหนาที่ที่กําหนดไวตาม พ ...ฉบับนี้ อาจกลาวเพื่อให เขาใจไดงาย ๆ วา ทบ.มีหนาที่หลักอยู ๒ ประการ คือ .การเตรียมกําลังกองทัพบก ซึ่งมีขอบเขตดังนี..เตรียมกําลังทางบก ไวจํานวนหนึ่งใหพรอมรบตั้งแตยามปกติ ..วางแผนการสงครามใชกําลังทหาร ทั้งกําลังที่มีอยูในยามปกติ และกําลังที่จะตอง ขยายขึ้นในยามสงคราม ..เตรียมระดมสรรพกําลังใหสอดคลองกับแผนการใชกําลังทหาร หรือแผนปองกัน ประเทศ .การปองกันราชอาณาจักร ซึ่งมีขอบเขตดังนี..ใชกําลังทางบก ที่ไดเตรียมไวเขาทําการรบตามแผน ..ระดมสรรพกําลังตามความจําเปน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารตามแผน ปองกันประเทศ

Upload: others

Post on 03-Aug-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

ตอนท่ี ๒ กองทัพบก

๑. ภารกิจ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา 77 “รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบัน

พระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย และบูรณาภาพแหงเขตอํานาจรัฐ และตองจัดใหมีกําลังทหาร อาวุธ

ยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย จําเปน และเพียงพอ เพ่ือพิทักษรักษาเอกราช อธิปไตยความ

มั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และเพ่ือการพัฒนาประเทศ”

สรุป ทหารมีหนาท่ี

๑. พิทักษ

- รักษาเอกราช

- ความมั่นคงของรัฐ

- สถาบันพระมหากษัตริย

- ผลประโยชนแหงชาติ

- การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

๒. พัฒนาประเทศ

ตาม พ.ร.บ. จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๐๓ มาตรา ๑๔ ไดกําหนดให

กองทัพบกมีหนาท่ีไวดังน้ี "กองทัพบกมีหน าท่ีเตรียมกําลังทางบกและปองกันราชอาณาจักร มีผู

บัญชาการทหารบกเปนผูบังคับบัญชา " จากหนาท่ีท่ีกําหนดไวตาม พ .ร.บ.ฉบับน้ี อาจกลาวเพ่ือให

เขาใจไดงาย ๆวา ทบ.มีหนาท่ีหลักอยู ๒ ประการ คือ

๑.๑ การเตรียมกําลังกองทัพบก ซึ่งมีขอบเขตดังน้ี

๑.๑.๑ เตรียมกําลังทางบก ไวจํานวนหน่ึงใหพรอมรบต้ังแตยามปกติ

๑.๑.๒ วางแผนการสงครามใชกําลังทหาร ท้ังกําลังท่ีมีอยูในยามปกติ และกําลังท่ีจะตอง

ขยายข้ึนในยามสงคราม

๑.๑.๓ เตรียมระดมสรรพกําลังใหสอดคลองกับแผนการใชกําลังทหาร หรือแผนปองกัน

ประเทศ

๑.๒ การปองกันราชอาณาจักร ซึ่งมีขอบเขตดังน้ี

๑.๒.๑ ใชกําลังทางบก ท่ีไดเตรียมไวเขาทําการรบตามแผน

๑.๒.๒ ระดมสรรพกําลังตามความจําเปน เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารตามแผน

ปองกันประเทศ

Page 2: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๔๗ -

๒. การจัดสวนราชการ

กองทัพบกเปนสวนราชการข้ึนตรงกองบัญชาการทหารสูงสุด ตามพระราชกฤษฎีกาแบงสวน

ราชการและกําหนดหนาท่ีของสวนราชการกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑

ไดกําหนดใหแบงสวนราชการของกองทัพบกออกเปน ๓๔ สวนราชการ

กองทัพบก แบงสวนราชการออกเปน ๓๔ หนวยงาน ดังน้ี:-

(๑) สํานักงานเลขานุการกองทัพบก (สลก.ทบ.)

(๒) กรมกําลังพลทหารบก (กพ.ทบ.)

(๓) กรมขาวทหารบก (ขว.ทบ.)

(๔) กรมยุทธการทหารบก (ยก.ทบ.)

(๕) กรมสงกําลังบํารุงทหารบก (กบ.ทบ.)

(๖) กรมกิจการพลเรือนทหารบก (กร.ทบ.)

(๗) สํานักงานปลัดบัญชีกองทัพบก (สปช.ทบ.)

(๘) หนวยบัญชาการกําลังสํารองกองทัพบก (นสร.)

(๙) กรมการเงินทหารบก (กง.ทบ.)

(๑๐) กรมการสารวัตรทหารบก (สห.ทบ.)

(๑๑) กรมจเรทหารบก (จบ.)

(๑๒) กรมสวัสดิการทหารบก (สก.ทบ.)

(๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.)

(๑๔) หนวยบัญชาการรักษาดินแดน (นรด.)

(๑๕) สํานักงานตรวจสอบภายในทหารบก (สตน.ทบ.)

(๑๖) กรมการขนสงทหารบก (ขส.ทบ.)

(๑๗) กรมการทหารชาง (กช.)

(๑๘) กรมการทหารส่ือสาร (สส.)

(๑๙) กรมการสัตวทหารบก (กส.ทบ.)

(๒๐) กรมพลาธิการทหารบก (พธ.ทบ.)

(๒๑) กรมแพทยทหารบก (พบ.)

(๒๒) กรมยุทธโยธาทหารบก (ยย.ทบ.)

(๒๓) กรมสรรพาวุธทหารบก (สพ.ทบ.)

(๒๔) กรมวิทยาศาสตรทหารบก (วศ.ทบ.)

(๒๕) กรมยุทธศึกษาทหารบก (ยศ.ทบ.)

Page 3: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๔๘ -

(๒๖) โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา (รร.จปร.)

(๒๗) ศูนยการบินทหารบก (ศบบ.)

(๒๘) กองทัพภาคท่ี ๑ (ทภ.๑)

(๒๙) กองทัพภาคท่ี ๒ (ทภ.๒)

(๓๐) กองทัพภาคท่ี ๓ (ทภ.๓)

(๓๑) กองทัพภาคท่ี ๔ (ทภ.๔)

(๓๒) หนวยบัญชาการสงครามพิเศษ (นสศ.)

(๓๓) หนวยบัญชาการปองกันภัยทางอากาศกองทัพบก (นปอ.)

(๓๔) หนวยทหารอื่นซึ่งมีฐานะเทียบเทากองรอย กองพัน กรม หรือกองพล ซึ่งข้ึนตรงตอ

กองทัพบก

การจัดกองทัพบกตามลักษณะงาน เพ่ือใหงายตอการศึกษา จึงจัดสวนราชการของ

กองทัพบกตาม พ.ร.ฎ. ท้ัง ๓๔ สวนราชการออกเปนกลุมตามสวนราชการท่ีมีลักษณะงานประเภท

เดียวกันเปน ๗ สวน คือ:-

๑. สวนบัญชาการ

๒. สวนกําลังรบ

๓. สวนสนับสนุนการรบ

๔. สวนสงกําลังบํารุง

๕. สวนภูมิภาค

๖. สวนการศึกษา

๗. สวนชวยการพัฒนาประเทศ

Page 4: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๔๙ -

๒.๑ สวนบัญชาการ มีหนาท่ีควบคุมบังคับบัญชา วางแผน อํานวยการ ประสานงาน และ

กํากับการ ใหการดําเนินงานของกองทัพบกในยามปกติและยามสงครามเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

และรวดเร็ว สวนบัญชาการประกอบดวยสวนราชการตาง ๆ ดังตอไปน้ี

๒.๑.๑ กองทัพบก (สวนบังคับบัญชา ) มีหนาท่ีบังคับบัญชาสวนราชการตาง ๆ ใน

กองทัพบก ปฏิบัติภารกิจของกองทัพบก และภารกิจอื่น ๆ ท่ีมิไดมอบหมายใหสวนราชการใด

โดยเฉพาะ

๒.๑.๒ สํานักงานเลขานุการกองทัพบก มีหนาท่ีเกี่ยวกับ

๒.๑.๒.๑ ดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการและงาน ธุรการใหกับ ผูบัญชาการ

ทหารบก รองผูบัญชาการทหารบก ผูชวยผูบัญชาการทหารบก เสนาธิการทหารบก และผูดํารงตําแหนง

อื่น ตามท่ีผูบัญชาการทหารบกจะมอบหมาย

๒.๑.๒.๒ ดําเนินงาน และประสานงานการประชาสัมพันธของกองทัพบก

๒.๑.๓ กรมฝายเสนาธิการ มีหนาท่ีวางแผน ประสานงาน ใหขอเสนอแนะ กํากับการ

และดําเนินการในเร่ืองอันเกี่ยวกับหนาท่ีของตน ตามท่ีกําหนดไวในพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการ

และกําหนดหนาท่ีของสวนราชการกองทัพบก กองบัญชาการกองทัพไทย ซึ่งไดแก สวนราชการตาง ๆ

๖ หนวย คือ

ผังการจัดกองทัพบก

กองทัพบก

สวนบัญชาการ สวนกําลังรบ สวนสนับสนุนการรบ สวนสงกําลังบํารุง

สวนภูมิภาค สวนการศึกษา

สวนชวยการพัฒนาประเทศ

Page 5: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๐ -

๒.๑.๓.๑ กรมกําลังพลทหารบก

๒.๑.๓.๒ กรมขาวทหารบก

๒.๑.๓.๓ กรมยุทธการทหารบก

๒.๑.๓.๔ กรมสงกําลังบํารุงทหารบก

๒.๑.๓.๕ กรมกิจการพลเรือนทหารบก

๒.๑.๓.๖ สํานักงานปลัดบัญชีกองทัพบก

๒.๑.๔ กรมฝายกิจการพิเศษ มีหนาท่ีวางแผน ใหขอเสนอแนะ กํากับการ และ

ดําเนินการในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับหนาท่ีของตน ตามท่ีกําหนดไวในพระราชกฤษฎีกาการแบงสวนราชการ

และกําหนดหนาท่ีของสวนราชการกองทัพบก กองบัญชาการกองทัพไทย ซึ่งไดแบงสวนราชการตาง ๆ

๘ หนวย คือ

๒.๑.๔.๑ กรมการเงินทหารบก

๒.๑.๔.๒ กรมการกําลังสํารองทหารบก

๒.๑.๔.๓ กรมการสารวัตรทหารบก

๒.๑.๔.๔ กรมสวัสดิการทหารบก

๒.๑.๔.๕ กรมสารบรรณทหารบก

๒.๑.๔.๖ กรมจเรทหารบก

๒.๑.๔.๗ สํานักงานตรวจสอบภายในทหารบก

๒.๑.๔.๘ สํานักงานประสานการวิจัยและพัฒนาการทางทหารกองทัพบก

๒.๑.๕ กรมฝายยุทธบริการ มีหนาท่ีวางแผน ใหขอเสนอแนะ กํากับการ และ

ดําเนินการในเร่ืองเกี่ยวกับหนาท่ีของตนตามท่ีกําหนดไวในพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการ และ

กําหนดหนาท่ีของสวนราชการกองทัพบก กองบัญชาการกองทัพไทย ซึ่งไดแกสวนราชการตาง ๆ

๙ หนวย คือ

๒.๑.๕.๑ กรมการทหารชาง

๒.๑.๕.๒ กรมการทหารส่ือสาร

๒.๑.๕.๓ กรมการสัตวทหารบก

๒.๑.๕.๔ กรมการขนสงทหารบก

๒.๑.๕.๕ กรมแพทยทหารบก

๒.๑.๕.๖ กรมพลาธิการทหารบก

Page 6: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๑ -

๒.๑.๕.๗ กรมยุทธโยธาทหารบก

๒.๑.๕.๘ กรมวิทยาศาสตรทหารบก

๒.๑.๕.๙ กรมสรรพาวุธทหารบก

๒.๒ สวนกําลังรบ เปนองคประกอบหลักของกองทัพบก มีหนาท่ีใชกําลังรบตอกําลังของฝาย

ศัตรู เพ่ือการปองกันราชอาณาจักร สําหรับหนาท่ีของแตละหนวยกําลังรบ จะปรากฎตามภารกิจท่ี

กําหนดไวในอัตราการจัดของหนวยน้ันๆ สวนกําลังรบประกอบดวยหนวยหลักๆ ท่ีเปนหนวยข้ึนตรง

กองทัพบก ดังน้ี

๒.๒.๑ กองทัพภาคท่ี ๑

๒.๒.๒ กองทัพภาคท่ี ๒

๒.๒.๓ กองทัพภาคท่ี ๓

๒.๒.๔ กองทัพภาคท่ี ๔

๒.๒.๕ หนวยบัญชาการสงครามพิเศษ

กองทัพบก

สํานักงานผูบังคับบัญชา

นสร. กง.ทบ. สห.ทบ. จบ. สบ.ทบ. สตน.ทบ.

ขส.ทบ. กช. สส. กส.ทบ. ยย.ทบ. พธ.ทบ. พบ. สพ.ทบ.

กพ.ทบ. ขว.ทบ. ยก.ทบ. กบ.ทบ. สปช.ทบ. กร.ทบ.

สลก.ทบ.

สก.ทบ.

วศ.ทบ.

สวนบัญชาการกองทัพบก

Page 7: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๒ -

๒.๒.๖ กองพลทหารมาท่ี ๒ รักษาพระองค

๒.๒.๗ กองพลทหารราบท่ี ๑๑ (กองพลหนุน)

๒.๒.๘ กองพลทหารราบท่ี ๑๕

๒.๓ สวนสนับสนุนการรบ มีหนาท่ีใหการสนับสนุนแกสวนกําลังรบโดยตรง เพ่ือเพ่ิมอํานาจ

กําลังรบหรือกดดันขาศึก เพ่ือใหบรรลุภารกิจของหนวยกําลังรบไดงายข้ึน ซึ่งกองทัพบกอาจ

พิจารณา ใชในลักษณะรวมการ และหรือแบงมอบใหกับสวนราชการใด ๆ ท่ีเปนหนวยข้ึนตรง

กองทัพบกได ตามความเหมาะสม อน่ึงบางหนวยอาจจัดเปนหนวยสนับสนุนทางการชวยรบอีก

จํานวนหน่ึงได เชน

๒.๓.๑ กองพลทหารปนใหญ

๒.๓.๒ กองพลทหารปนใหญตอสูอากาศยาน

๒.๓.๓ กองพันบิน

ทบ.

สวนกําลังรบ

ทภ.1 ทภ.2 ทภ.3 ทภ.4 นสศ. พล.ม.2 รอ. พล.ร.11 พล.ร.15

พล.1 รอ.

พล.ร.2 รอ.

พล.ร.9

บชร.1

พล.ร.3

พล.ร.6

พล.ม.3

บชร.2

พล.ร.4

พล.ม.1

บชร.3

พล.ร.5

บชร.4

พล.รพศ.1

รพศ.

ทน 1 ทน.2 ทน.3

3 กรม ทพ.

3 กรม ทพ. 4 กรม ทพ.

3 กรม ทพ.

รพศ.2

พล.ร.7

Page 8: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๓ -

๒.๓.๔ กองพันปฏิบัติการจิตวิทยา

๒.๓.๕ กรมทหารชางท่ี ๑๑

๒.๓.๖ กองรอยวิทยาศาสตร

๒.๓.๗ กองพันปองกันฐานบิน

๒.๓.๘ กองพันทหารส่ือสาร กองบัญชาการทหารบก

๒.๓.๙ หนวยขาวกรองทางทหารกองทัพบก

๒.๔ สวนสงกําลังบํารุง มีหนาท่ีใหการสนับสนุนทางดานสงกําลังบํารุงใหกับสวนราชการตาง ๆ

ในระดับกองทัพบก ไดแก การสงกําลังบํารุง การสงกลับและการรักษาผูปวยเจ็บ การขนสง และ

การกอสราง ประกอบดวย

๒.๔.๑ กรมการทหารชาง ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุงส่ิงอุปกรณ

สายทหารชาง รวมท้ังการกอสรางในสนาม

๒.๔.๒ กรมการทหารส่ือสาร ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุงส่ิงอุปกรณ

สายทหารส่ือสาร

๒.๔.๓ กรมการขนสงทหารบก ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุงส่ิงอุปกรณ

สายทหารขนสง รวมท้ังการดําเนินการในเร่ืองการขนสงท้ังทางบกและทางนํ้า

๒.๔.๔ กรมแพทยทหารบก ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุงส่ิงอุปกรณ

สายแพทย รวมท้ังการดําเนินการสงกลับและการรักษาพยาบาลผูปวยเจ็บ

๒.๔.๕ กรมพลาธิการทหารบก ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุงส่ิง

อุปกรณ

๒.๔.๖ กรมยุทธโยธาทหารบก ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมส่ิงอุปกรณ

สายยุทธโยธา รวมท้ังการกอสรางอาคารและส่ิงอํานวยความสะดวกในคายทหาร

๒.๔.๗ กรมวิทยาศาสตรทหารบก ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุง

ส่ิงอุปกรณสายวิทยาศาสตร

๒.๔.๘ กรมสรรพาวุธทหารบก ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุง

ส่ิงอุปกรณสายสรรพาวุธ

๒.๔.๙ กรมการสัตวทหารบก ใหการสนับสนุนในเร่ืองการสงกําลังและซอมบํารุงส่ิงอุปกรณ

สายการสัตว รวมท้ังการสงกลับและการรักษาพยาบาลสัตว

Page 9: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๔ -

๒.๕ สวนภูมิภาค มีหนาท่ีปกครองพ้ืนท่ี รักษาความสงบเรียบรอย ดูแลระเบียบวินัยทหาร

นอกกรมกอง ตลอดจนรับผิดชอบในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับการระดมสรรพกําลัง การสัสดี การศาลทหาร

การคดี การเรือนจํา การเกณฑพลเมืองอุดหนุนราชการทหาร การอสังหาริมทรัพย รวมท้ังการ

สนับสนุนทางการสงกําลังบางประเภทใหกับหนวยทหารในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ นอกจากน้ันยังมีอํานาจ

ตามกฎหมายในการส่ังการแกหนวยทหารในพ้ืนท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย และ

การปฏิบัติตามกฎหมายและแบบธรรมเนียม สวนภูมิภาคประกอบดวย

๒.๕.๑ กองทัพภาค ไดแก

๒.๕.๑.๑ กองทัพภาคท่ี ๑ (บก.ทภ.๑ อยูท่ีกรุงเทพฯ)

๒.๕.๑.๒ กองทัพภาคท่ี ๒ (บก.ทภ.๒ อยูท่ีนครราชสีมา)

๒.๕.๑.๓ กองทัพภาคท่ี ๓ (บก.ทภ.๓ อยูท่ีพิษณุโลก)

๒.๕.๑.๔ กองทัพภาคท่ี ๔ (บก.ทภ.๔ อยูท่ีนครศรีธรรมราช)

๒.๕.๒ มณฑลทหารบก (มทบ.)

๒.๕.๒.๑ มณฑลทหารบกในกองทัพภาคท่ี ๑ ไดแก

๒.๕.๒.๑(๑) มณฑลทหารบกท่ี ๑๑ กรุงเทพ

๒.๕.๒.๑(๒) มณฑลทหารบกท่ี ๑๒ ปราจีนบุรี

๒.๕.๒.๑(๓) มณฑลทหารบกท่ี ๑๓ ลพบุรี

๒.๕.๒.๑(๔) มณฑลทหารบกท่ี ๑๔ ชลบุรี

๒.๕.๒.๑(๔) มณฑลทหารบกท่ี ๑๕ เพชรบุร ี

๒.๕.๒.๒ มณฑลทหารบกในกองทัพภาคท่ี ๒ ไดแก

๒.๕.๒.๒(๑) มณฑลทหารบกท่ี ๒๑ นครราชสีมา

๒.๕.๒.๒(๒) มณฑลทหารบกท่ี ๒๒ อุบลราชธานี

๒.๕.๒.๒(๓) มณฑลทหารบกท่ี ๒๓ ขอนแกน

๒.๕.๒.๒(๔) มณฑลทหารบกท่ี ๒๔ อุดรธานี

๒.๕.๒.๓ มณฑลทหารบกในกองทัพภาคท่ี ๓ ไดแก

๒.๕.๒.๓(๑) มณฑลทหารบกท่ี ๓๑ นครสวรรค

๒.๕.๒.๓(๒) มณฑลทหารบกท่ี ๓๒ ลําปาง

๒.๕.๒.๓(๓) มณฑลทหารบกท่ี ๓๓ เชียงใหม

Page 10: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๕ -

๒.๕.๒.๔ มณฑลทหารบกในกองทัพภาคท่ี ๔ ไดแก

๒.๕.๒.๔(๑) มณฑลทหารบกท่ี ๔๑ นครศรีธรรมราช

๒.๕.๒.๔(๒) มณฑลทหารบกท่ี ๔๒ สงขลา

๒.๕.๓ จังหวัดทหารบก (จทบ.)(เปนหนวยรองของมณฑลทหารบก) ไดแก

๒.๕.๓.๑ จังหวัดทหารบก กรุงเทพ (มทบ.๑๑)

๒.๕.๓.๒ จังหวัดทหารบก กาญจนบุรี (มทบ.๑๑)

๒.๕.๓.๓ จังหวัดทหารบก ปราจีนบุรี (มทบ.๑๒)

๒.๕.๓.๔ จังหวัดทหารบก ฉะเชิงเทรา(มทบ.๑๒)

๒.๕.๓.๕ จังหวัดทหารบก สระแกว (มทบ.๑๒)

๒.๕.๓.๖ จังหวัดทหารบก ลพบุรี (มทบ.๑๓)

๒.๕.๓.๗ จังหวัดทหารบก สระบุรี (มทบ.๑๓)

๒.๕.๓.๘ จังหวัดทหารบก ชลบุรี (มทบ.๑๔)

๒.๕.๓.๙ จังหวัดทหารบก ราชบุรี (มทบ.๑๕)

๒.๕.๓.๑๐ จังหวัดทหารบก เพชรบุรี (มทบ.๑๕)

๒.๕.๓.๑๑ จังหวัดทหารบก นครราชสีมา (มทบ.๒๑)

๒.๕.๓.๑๒ จังหวัดทหารบก บุรีรัมย (มทบ.๒๑)

๒.๕.๓.๑๓ จังหวัดทหารบก สุรินทร (มทบ.๒๑)

๒.๕.๓.๑๔ จังหวัดทหารบก อุบลราชธานี (มทบ.๒๒)

๒.๕.๓.๑๕ จังหวัดทหารบก รอยเอ็ด (มทบ.๒๒)

๒.๕.๓.๑๖ จังหวัดทหารบก ขอนแกน (มทบ.๒๓)

๒.๕.๓.๑๗ จังหวัดทหารบก เลย (มทบ.๒๓)

๒.๕.๓.๑๘ จังหวัดทหารบก อุดรธานี (มทบ.๒๔)

๒.๕.๓.๑๙ จังหวัดทหารบก สกลนคร (มทบ.๒๔)

๒.๕.๓.๒๐ จังหวัดทหารบก นครพนม (มทบ.๒๔)

๒.๕.๓.๒๑ จังหวัดทหารบก นครสวรรค (มทบ.๓๑)

๒.๕.๓.๒๒ จังหวัดทหารบก พิษณุโลก (มทบ.๓๑)

๒.๕.๓.๒๓ จังหวัดทหารบก เพชรบูรณ (มทบ.๓๑)

๒.๕.๓.๒๔ จังหวัดทหารบก ตาก (มทบ.๓๑)

๒.๕.๓.๒๕ จังหวัดทหารบก ลําปาง (มทบ.๓๒)

Page 11: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๖ -

๒.๕.๓.๒๖จังหวัดทหารบก พะเยา (มทบ.๓๒)

๒.๕.๓.๒๗ จังหวัดทหารบก อุตรดิตถ (มทบ.๓๒)

๒.๕.๓.๒๘ จังหวัดทหารบก นาน (มทบ.๓๒)

๒.๕.๓.๒๙ จังหวัดทหารบก เชียงใหม (มทบ.๓๓)

๒.๕.๓.๓๐ จังหวัดทหารบก เชียงราย (มทบ.๓๓)

๒.๕.๓.๓๑ จังหวัดทหารบก นครศรีธรรมราช (มทบ.๔๑)

๒.๕.๓.๓๒ จังหวัดทหารบก สุราษฎรธานี (มทบ.๔๑)

๒.๕.๓.๓๓ จังหวัดทหารบก ชุมพร (มทบ.๔๑)

๒.๕.๓.๓๔ จังหวัดทหารบก ทุงสง (มทบ.๔๑)

๒.๕.๓.๓๕ จังหวัดทหารบก สงขลา (มทบ.๔๒)

๒.๕.๓.๓๖ จังหวัดทหารบก ปตตานี (มทบ.๔๒)

๒.๖ สวนการศึกษา มีหนาท่ีอํานวยการ และดําเนิ นการฝก และศึกษากําลังพลของ

กองทัพบกเพ่ือใหกําลังพลเหลาน้ัน มีความสามารถเหมาะสมตามตําแหนงหนาท่ี อันจะทําใหหนวย

ตาง ๆ ของกองทัพบกมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย สวนการศึกษา

ประกอบดวย

๒.๖.๑ กรมยุทธศึกษาทหารบก มีหนาท่ีวางแผน อํานวยการ ประสานงาน แนะนํา

กํากับการ ดําเนินการ สนับสนุน และตรวจตราเกี่ยวกับกิจการสายวิทยาการ การฝกและศึกษาของ

กําลังพลเปนบุคคลและหนวยตางๆของกองทัพบก ท้ังภายในประเทศและตางประเทศ รวมท้ังกิจการ

อนุศาสนาจารย ใหการฝกและศึกษาแกกําลังพลของกองทัพบก และนอกกองทัพบก ในหลักสูตรตางๆ

ท่ีกองทัพบกมอบหมาย อํานวยการฝกและศึกษา วิทยาการเหลาทหารราบ เหลาทหารมา เหลาทหาร

ปนใหญ ดําเนินการวิจัยและพัฒนา ตลอดจนกําหนดหลักนิยมและยุทธศาสตรทางทหารท่ีเกี่ยวของ

กรมยุทธศึกษาทหารบก มีหนวยข้ึนตรง ๗ หนวย คือ

๒.๖.๑.๑ ศูนยการทหารราบ

๒.๖.๑.๒ ศูนยการทหารมา

๒.๖.๑.๓ ศูนยการทหารปนใหญ

๒.๖.๑.๔ โรงเรียนนายสิบทหารบก

๒.๖.๑.๕ วิทยาลัยการทัพบก

๒.๖.๑.๖ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก

Page 12: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๗ -

๒.๖.๒ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา มีหนาท่ีใหการศึกษา อบรม และดําเนินการ

ฝกนักเรียนนายรอย

๒.๖.๓ หนวยบัญชาการ รักษาดินแดน มีหนาท่ีวางแผน อํานวยการ ประสานงาน

กํากับการและดําเนินการเกี่ยวกับกิจการกําลังสํารอง และกิจการอาสารักษาดินแดน

๒.๖.๔ หนวยบัญชาการสงครามพิเศษ มีหนาท่ีวางแผน อํานวยการ และ

ดําเนินการฝกและศึกษาเกี่ยวกับการสงครามพิเศษ การสงกําลังทางอากาศ และการยุทธ �สงทาง

อากาศ โดยมีศูนยสงครามพิเศษเปนลูกมือ

๒.๖.๕ ศูนยการบินทหารบก มีหนาท่ีวางแผน อํานวยการ แล ะดําเนินการฝกและ

ศึกษาเกี่ยวกับกิจการบินของกองทัพบก

๒.๖.๖ โรงเรียนของเหลาและสายงานตาง ๆไดแก โรงเรียนทหารชาง โรงเรียนทหาร

ส่ือสาร โรงเรียนทหารพลาธิการ ฯลฯ ซึ่งโรงเรียนเหลาน้ีเปนหนวยในอัตราของหนวยท่ีเปนหัวหนา

เหลาและสายวิทยาการน้ัน ๆ

๒.๗ สวนชวยการพัฒนาประเทศ แตเดิม ทบ. ไดเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการ

พัฒนาประเทศ ๒ โครงการใหญ คือ งานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ และงานโครงการ

พัฒนาเพ่ือเสริมสรางความมั่นคง โดยใชกําลังพลและยุทโธปกรณจากหนวยตาง ๆ เขาปฏิบัติงาน

ซึ่งหนวยเหลาน้ีไม ไดมีความชํานาญเกี่ยวกับงานดานการพัฒนา กอใหเกิดภาระผูกพันและมี

ผลกระทบความพรอมรบของ ทบ. เปนสวนรวมอีกดวย ดังน้ัน ทบ. จึงไดมีการจัดต้ังหนวยงาน

พัฒนาข้ึน เพ่ือรับผิดชอบการปฏิบัติงานดานการพัฒนาโดยเฉพาะใน ๒ ระดับ คือ

๒.๗.๑ ระดับ ทภ. ไดแก พล.พัฒนา ๑ กองพล ตอ ทภ. เพ่ือปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี ทภ.

๒.๗.๒ ระดับ ทบ. ไดแก พล.ช. เพ่ือรับผิดชอบดานการกอสรางขนาดใหญท่ีเปนงาน

พิเศษเกินขีดความสามารถของ พล.พัฒนา

Page 13: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๘ -

แบบธรรมเนียมทางทหาร

เคร่ืองหมายเหลาทหารบก

เหลาทหารราบ เหลาทหารชาง เหลาทหารปนใหญ เหลาทหารมา

เหลาทหารพลาธิการ เหลาทหารขนสง เหลาทหารสื่อสาร เหลาทหารสรรพาวุธ

เหลาทหารสารวัตร เหลาทหารการเงิน เหลาทหารการขาว เหลาทหารแพทย

เหลาทหารสารบรรณ เหลาทหารพระธรรมนูญ เหลาทหารดุริยางค เหลาทหารแผนท่ี เหลาทหารการสัตว

Page 14: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๕๙ -

เคร่ืองแบบทหารบก

เคร่ืองแบบทหารบกสัญญาบัตรชายมี ๑๑ ชนิด ไดแก

๑. เคร่ืองแบบปกติขาว ๒. เคร่ืองแบบปกติกากีแกมเขียวคอแบะ

๓. เคร่ืองแบบปกติกากีแกมเขียวคอพับ ๔. เคร่ืองแบบปกติกากีนวลแกมเขียวคอพับ

๕. เคร่ืองแบบฝก ๖. เคร่ืองแบบสนาม

๗. เคร่ืองแบบคร่ึงยศ ๘. เคร่ืองแบบเต็มยศ

๙. เคร่ืองแบบสโมสรคอปด ๑๐. เคร่ืองแบบสโมสรอกแข็ง

๑๑. เคร่ืองแบบสโมสรอกออน

เคร่ืองแบบปกติขาว เคร่ืองแบบปกติ

กากีแกมเขียวคอพับ

เคร่ืองแบบปกติ

กากีแกมเขียวคอพับ(แขนยาว)

เคร่ืองแบบปกติ

กากีแกมเขียวคอพับ(แขนส้ัน)

เคร่ืองแบบฝก

(งดใช)

เคร่ืองแบบปกติ

กากีนวลแกมเขียวคอพับ(แขนส้ัน)

(ระงับการใช)

Page 15: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๐ -

เคร่ืองแบบฝก

(งดใช)

เคร่ืองแบบสนาม

เคร่ืองแบบคร่ึงยศ เคร่ืองแบบเต็มยศ

เคร่ืองแบบสโมสรคอปด เคร่ืองแบบสโมสรอกออน เคร่ืองแบบสโมสรอกแข็ง

เคร่ืองแบบเต็มยศรักษาพระองค

เคร่ืองแบบสนาม

Page 16: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๑ -

เคร่ืองแบบทหารบกสัญญาบัตรหญิงมี ๑๓ ชนิด ไดแก

๑. เคร่ืองแบบปกติขาว ๒. เคร่ืองแบบปกติกากีแกมเขียวคอแบะ

๓. เคร่ืองแบบปกติกากีแกมเขียวคอปก ๔. เคร่ืองแบบปกติขาวคอปก

๕. เคร่ืองแบบปกติกากีนวลนวลแกมเขียวคอปก ๖. เคร่ืองแบบปกติกากีนวลนวลแกมเขียวคอพับ

๗. เคร่ืองแบบปกติขาวคอพับ ๘. เคร่ืองแบบฝก

๙. เคร่ืองแบบสนาม ๑๐. เคร่ืองแบบคร่ึงยศ

๑๑. เคร่ืองแบบเต็มยศ ๑๒. เคร่ืองแบบสโมสร

๑๓. เคร่ืองแบบสโมสรอกออน

เคร่ืองแบบปกติ เคร่ืองแบบปกติ

กากีแกมเขียวคอแบะ

เคร่ืองแบบปกติ

กากีแกมเขียวคอปก

Page 17: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๒ -

เคร่ืองแบบปกติขาวคอปก เคร่ืองแบบปกติ

กากีนวลแกมเขียวคอปก

(ระงับการใช)

เคร่ืองแบบปกติ

กากีนวลแกมเขียวคอพับ

(ระงับการใช)

เคร่ืองแบบปกติขาวคอพับ

(แขนส้ัน)

เคร่ืองแบบปกติขาวคอพับ

(แขนยาว)

เคร่ืองแบบฝก

(งดใช)

เคร่ืองแบบสนาม เคร่ืองแบบเต็มยศ เคร่ืองแบบคร่ึงยศ เคร่ืองแบบสโมสร

Page 18: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๓ -

๓. การดําเนินงานของกองทัพบกในยามปกต ิ

๓.๑ ผูบังคับบัญชาแตผูเดียวมีความรับผิดชอบงานทั้งปวงที่หนวยของตนกระทํา หรือ

มิไดกระทํา ผูบังคับบัญชาสามารถมอบอํานา จหนาท่ีใหผูอื่นได แตมอบความรับผิดชอบไมได

ผูบังคับบัญชาไดรับความชวยเหลือในการปฏิบัติงานจากรองหรือผูชวย และฝายอํานวยการ

๓.๒ ผูบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่ตามความรับผิดชอบของตนผานทางสายการบังคับ

บัญชา ผูบังคับบัญชาชั้นเหนือออกคําส่ังท้ังส้ินไปยัง ผูบังคับบัญชาหนวยรองของตนตามลําดับ

เฉพาะในสถานการณท่ีรีบดวนเทาน้ัน คําส่ังจากผูบังคับบัญชาชั้นเหนืออาจส่ังขามผูบังคับหนวย

รองบางหนวยได ในกรณีเชนน้ีผูบังคับบัญชาท่ีออกคําส่ัง และผูบังคับบัญชาท่ีรับคําส่ังควรชี้แจงผู

บังคับหนวยรองท่ีมิไดรับคําส่ังใหทราบโดยเร็วท่ีสุด

๓.๓ รองและผูชวยผูบังคับบัญชา มีอํานาจหนาท่ีตามท่ีผูบังคับบัญชากําหนดไวในระเบียบ

ปฏิบัติของหนวย และจะตองสามารถเขาทําการบังคับหนวยไดเมื่อจําเปน โดยปกติแลวจะไมอยูใน

สายการบังคับบัญชา แตอยางไรก็ดี อาจไดรับมอบหมายให บังคับบัญชาหนวยรองก็ได

ตามท่ีผูบังคับบัญชากําหนดข้ึนตามภารกิจเฉพาะท่ีมอบหมายให

๓.๔ ฝายอํานวยการประกอบดวย นายทหารท่ีไดรับมอบหนาท่ีใหชวยเหลือผูบังคับบัญชาดวย

การใหขาวสาร การทําประมาณการ การทําขอเสนอ การทําแผนและคําส่ัง และการกํากับดูแลการ

ปฏิบัติตามแผนและคําส่ัง

๓.๕ ฝายอํานวยการ แบงออกเปน ๓ ประเภทไดแก

๓.๕.๑ ฝายอํานวยการประสานงาน

๓.๕.๒ ฝายกิจการพิเศษ

๓.๕.๓ ฝายอํานวยการประจําตัว

๓.๖ การปฏิบัติภารกิจของฝายอํานวยการ จะอยูภายใตการควบคุมกํากับดูแลของเสนาธิการ

ของหนวย แตในกรณีท่ีหนวยไมมีเสนาธิการ รองผูบังคับหนวยจะไดรับมอบหนาท่ีเปนหัวหนาฝายเสนาธิ

การ

๓.๗ การฝก และการศึกษา กองทัพบกมีความมุงหมายท่ีจะพัฒนาสถาบันการฝกและ

การศึกษาของ ทบ .เพ่ืออบรมจะเขารับราชการใหมีคุณคาท้ังในทางการทหาร เศรษฐกิจ การเมือง

และสังคมจิตวิทยาเพ่ือใหสอดคลองกับนโยบายทางการทหาร ท้ังในการใชกําลังทหารเพ่ือปองกัน

ประเทศโดยตรงและการใชกําลังทหารเพ่ือพัฒนาประเทศ ท้ังน้ี โดย

๓.๗.๑ พัฒนาการฝกศึกษากําลังพลประจําการ

๓.๗.๒ พัฒนาการศึกษากําลังพลหลักของ ทบ. ไดแก รร.จปร. รร.นส.ทบ. และ รร.ประจํา

เหลาชั้น นนส.

Page 19: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๔ -

๓.๗.๓ พัฒนาการศึกษาดานกําลังพลสํารองของ ทบ.

๓.๘ การสงกําลังบํารุง

๓.๘.๑ ภารกิจในการสงกําลังบํารุงของ ทบ . ไดแก การสนับสนุนหนวยตาง ๆ ใน ทบ .

ใหสามารถปฏิบัติภารกิจได จนบรรลุผลสําเร็จ และการสนับสนุนหนวยราชการ กําลังกึ่งทหาร และ

กําลังพันธมิตร ตามท่ีมีขอตกลงกันไว ๓.๘.๒ นโยบายในการสงกําลังบํารุงของ ทบ. ไดแก การดําเนินการสงกําลังบํารุงตาม

หลักการสงกําลังบํารุง และทําการสงกําลังบํารุงโดยใชส่ิงอุปกรณ กําลังพล และงบประมาณของ ทบ.

๓.๘.๓ หลักการสงกําลังบํารุงของ ทบ.

๓.๘.๓.๑ สนับสนุนหนวยในสนามใหมากท่ีสุดเปนลําดับแรก

๓.๘.๓.๒ ความเทาเทียมกันในความเรงดวนในการพัฒนาหนวยกําลังรบ และ

หนวยสงกําลังบํารุง

๓.๘.๓.๓ จัดยุทโธปกรณใหพรอมกอนการบรรจุกําลังพล และจัดต้ังหนวย

สนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงกอนหนวยกําลังรบ

๓.๘.๓.๔ ประหยัด

๓.๘.๓.๕ กระจายการจัดต้ังสถานท่ีต้ัง และใชเสนหลักการสงกําลังบํารุงหลาย

เสนทาง

๓.๘.๓.๖ ผลักดันไปขางหนา

๓.๘.๓.๗ มีความออนตัวสามารถปรับใหเขากับสภาพการยทุธทุกรูปแบบ

๓.๘.๓.๘ มีความเปนไปไดโดยสามารถดําเนินการดวยพลังอํานาจ และทรัพยากร

ของชาติท่ีมีอยูหรืองบประมาณท่ีจะสนับสนุนได

๓.๘.๓.๙ อาศัยฝายพลเรือนเปนฐานการสงกําลังบํารุง

๓.๘.๓.๑๐ ตอเน่ืองและทันเวลา

๓.๘.๓.๑๑ เอกภาพในการบังคับบัญชา

๓.๘.๓.๑๒ ไดรับการสนับสนุนขาวสารเกี่ยวกับสถานภาพทางการสงกําลังบํารุง

ท่ีถูกตองและทันสมัย

๓.๘.๓.๑๓ การสนับสนุนมีความสัมพันธกันระหวางหนวยสนับสนุนในระดับตาง ๆ

ของแตละพ้ืนท่ีปฏิบัติการ

๓.๙ ที่ตั้งและการแบงเขต กองทัพบกแบงมอบพ้ืนท่ีรับผิดชอบใหแกกองทัพภาคตางๆ ดังน้ี

๓.๙.๑ ทภ.๑ รับผิดชอบพ้ืนท่ีภาคกลางของประเทศรวมภาคตะวันออกของอาวไทย

Page 20: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๕ -

๓.๙.๒ ทภ.๒ รับผิดชอบพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ

๓.๙.๓ ทภ.๓ รับผิดชอบพ้ืนท่ีภาคเหนือของประเทศ

๓.๙.๔ ทภ.๔ รับผิดชอบพ้ืนท่ีภาคใตของประเทศ

๓.๑๐ การระดมสรรพกําลัง เมื่อประเทศจะเขาสูสภาวะการทําสงคราม รัฐจะตองดําเนินการ

ระดมสรรพกําลังของชาติเพ่ือใหไดทรัพยากรมาสนองความตองการดานตางๆ ท่ีจําเปนเพ่ือใหบรรลุ

ความมุงหมายในการทําสงคราม การระดมสรรพกําลังของชาติดังกลาวน้ี ประกอบดวยการระดม

สรรพกําลังทางทหาร กับการระดมสรรพกําลังทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ันแลวยังมีพันธกิจอื่น ๆ ท่ี

จะตองดําเนินการควบคูไปกับการระดมสรรพกําลังอีกหลายประการ ไดแก การปองกันดานพลเรือน

การรักษาเสถียรภาพการบริหารงานของรัฐบาล การประชาสัมพันธและการควบคุมขาว การรักษา

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการฟนฟูบูรณะประเทศภายหลังสงคราม กิจกรรมเหลาน้ีมีความสําคัญ

และมีขอบเขตกวางขวาง เชนเดียวกับการระดมสรรพกําลังในแผนเตรียมพรอมแหงชาติ

๓.๑๐.๑ การระดมสรรพกําลังทางทหาร หมายถึง กระบวนการเพ่ือใหกองทัพของชาติอยู

ในสภาพพรอมท่ีจะเผชิญกับภาวะฉุกเฉิน โดยไดรับการฝก มียุทโธปกรณครบและพรอมท่ีจะทํา

การรบได การน้ีจะมีการเรียกระดมทหารกองหนุนและกองเกินมารับราชการ มีการเรียกเกณฑ

แรงงาน วัสดุ เคร่ืองมือเคร่ืองใช ตลอดจนส่ิงอํานวยความสะดวก และการเตรียมใชยุทโธปกรณ

สํารองสงคราม รวมท้ังการเตรียมการทางดานการสงกําลังบํารุงดวย

การวางแผนระดมสรรพกําลัง จะตองกําหนดความตองการและการจัด

เตรียมการในเร่ืองตาง ๆ ดังน้ี

๓.๑๐.๑.๑ กําลังพลและแรงงาน

๓.๑๐.๑.๒ ยุทโธปกรณ

๓.๑๐.๑.๓ สถานท่ีต้ังและส่ิงอํานวยความสะดวก

๓.๑๐.๑.๔ การบริการ

๓.๑๐.๑.๕ การวิจัยและพัฒนา

๓.๑๐.๑.๖ การฝก

๓.๑๐.๑.๗ การชวยเหลือทางทหาร

๓.๑๐.๒ การระดมสรรพกําลังทางเศรษฐกิจ หมายถึง กรรมวิธีในการเตรียมและ

ดําเนินการเปล่ียนแปลง การจัด และกําหนดหนาท่ีทางเศรษฐกิจของชาติ เทาท่ีจําเปนแกการท่ีจะ

ทําใหมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิผลมากท่ีสุด ในภาวะฉุกเฉินของชาติ การระดมสรรพกําลัง

ทางเศรษฐกิจมีขอบเขตกวางขวาง และเกี่ยวของกับสวนราชการ วิสาหกิจ เอกชน และประชาชน

Page 21: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๖ -

โดยท่ัวไป จึงเปนกิจกรรมท่ีตองอาศัยสภาวะทางเศรษฐกิจ หรือศักยเศรษฐกิจของชาติเปนหลัก

การระดมสรรพกําลังทางเศรษฐกิจน้ันมิไดมุงท่ีจะนําทรัพยากรมาใชแตเฉพาะ เพ่ือสนับสนุนกําลัง

ทหารเทาน้ั น แตจะตองนํามาใชสนองความตองการของพลเรือน ดวยการระดมสรรพกําลังทาง

เศรษฐกิจ เพ่ือสนับสนุนการทหารน้ัน นอกจากจะมีขอบเขตกวางขวางแลว ยังจําเปนท่ีจะตองใช

เวลาสําหรับการพัฒนาสภาวะตาง ๆ เพ่ือใหสามารถสนับสนุนความตองการตางๆ ในภาวะสงคราม

ไดทันเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งในเร่ืองตอไปน้ี

๓.๑๐.๒.๑ การจัดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

๓.๑๐.๒.๒ อาหารวัตถุดิบการเกษตร และวัสดุอุปกรณการเกษตร

๓.๑๐.๒.๓ การอุตสาหกรรมและปจจัยการผลิต

๓.๑๐.๒.๔ การขนสง

๓.๑๐.๒.๕ การส่ือสาร

๓.๑๐.๒.๖ นํ้า

๓.๑๐.๒.๗ เชื้อเพลิงและพลังงาน

๓.๑๐.๒.๘ การแพทยและการสาธารณสุข

๓.๑๐.๒.๙ กําลังคน

๔. กองทัพบกยามสงคราม

โดยท่ี ทบ. มีภารกิจในการใชกําลังรบทางบกเขารวมในการปฏิบัติตามแผนปองกันประเทศ เพ่ือให

บรรลุภารกิจดังกลาว ทบ.จึงไดวางกําลังรบหลัก พรอมท้ังมอบความรับผิดชอบ และกําหนดพ้ืนท่ี

รับผิดชอบในการปองกันประเทศไวต้ังแตยามปกติ

๔.๑ การจัดกําลังกองทพับกในสนาม กําลังรบหลักของ ทบ.ไดแก

๔.๑.๑ ทภ.

๔.๑.๒ นสศ.

๔.๑.๓ กองหนุนท่ัวไป

๔.๑.๔ หนวยสนับสนุนการรบ หนวยสนับสนุนทางการชวยรบ

๔.๒ การจัด ทภ.ในสนาม ประกอบดวย

๔.๒.๑ กองพลทหารราบ และกองพลทหารมา

๔.๒.๒ หนวยสนับสนุนการรบ หนวยสนับสนุนทางการชวยรบ และหนวยปฏิบัติการ

พิเศษท่ีไดรับการแบงมอบ

Page 22: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๗ -

๔.๓ การจัดดินแดน

๔.๓.๑ นิยามศัพท

"การจัดดินแดน" หมายถึง การกําหนดพ้ืนท่ีรับผิดชอบเพ่ือปฏิบัติการทางทหาร

ในเมื่อประเทศเขาสูสภาวะสงคราม

"เขตสงคราม" คือ พ้ืนท่ีทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ซึ่งอาจเกี่ยวของกับการทํา

สงคราม เขตสงครามไมมีขอบเขตจํากัด อาจประกอบดวยยุทธบริเวณแหงหน่ึงหรือมากกวาก็ได

"พ้ืนท่ีสงคราม " คือ เขตสงครามสําหรั บการปฏิบัติ รวม /การยุทธ �รวม (Joint

Operations) และการยุทธ

Page 23: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๘ -

การจัดดินแดนในยามสงคราม

๔.๓.๒ การจัดดินแดนของประเทศไทย

เมื่อประเทศเขาสูภาวะสงคราม รมว.กห.มีอํานาจกําหนดพ้ืนท่ียุทธบริเวณไดตาม

ม.๒๓ แหง พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.๒๕๐๓ การกําหนดพ้ืนท่ียุ ทธบริเวณพิจารณาจาก

ปจจัยวาประเทศไทยจะทําสงครามกับใคร

๔.๔ การจัดกองบัญชาการ

๔.๔.๑ กองบัญชาการของกองพล และหนวยทหารขนาดใหญ จะจัดแบงเปนสองสวนหรือ

มากกวา ซึ่งทําใหมีการกระจายกําลังเจาหนาท่ีและยุทธภัณฑมากข้ึน และจะทําใหมีส่ิงอํานวยความ

สะดวกในการควบคุมสํารองข้ึนดวย แตท้ังน้ีมิไดเปนการแยกระดับการบังคับบัญชา แตตางก็เปน

สวนหน่ึงของกองบัญชาการเดียวกัน

๔.๔.๒ กองบัญชาการของหนวยทหารขนาดใหญมักจะแยกออกเปนสองสวน คือสวนหนา

และสวนหลัง สวนหนาอาจเรียกไดวาเปนท่ีบังคับการห ลัก และนอกจากน้ีผูบังคับบัญชา อาจต้ังท่ี

บังคับการทางยุทธวิธี ซึ่งเปนเสมือนหน่ึงสวนขยายของสวนหนาหรือท่ีบังคับการหลักข้ึนก็ได

พี้นท่ีสนับสนุน

พ้ืนที่สวนหลัง

ของกองพล

พื้นท่ีสวนหลังของ ทภ.

พ้ีนที่สนับสนุน

ของกองพล

พี้นท่ีสนับสนุน

ของ ทภ.

พื้นท่ีขบวนสัม

ภาระของกรม

เขต

สงคราม

เขตหนา

เขตหลัง

ยุทธบริเวณ

Page 24: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๖๙ -

๔.๔.๓ ผูบังคับบัญชา อาจพิจารณาจัดต้ังท่ีบังคับการสํารองข้ึน ดวยความมุงหมายท่ีจะ

ชวยใหการบังคับบัญชาเปนไปอยางต อเน่ืองในระหวางการรบ หรือในระหวางการเปล่ียนท่ีต้ังท่ี

บังคับการหลัก

๔.๔.๔ สวนหนา หรือท่ีบังคับการหลัก ประกอบดวย ตัวผูบังคับบัญชาและเจาหนาท่ี

อื่นๆ ในกองบัญชาการท่ีจําเปนแกการชวยควบคุมการปฏิบัติการทางยุทธวิธี สวนหลังประกอบดวย

เจาหนาท่ีตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับกิจกรรมการชวยรบ ตามปกติจะจัดต้ังอยูในพ้ืนท่ีสวนหลังของพ้ืนท่ี

รับผิดชอบของหนวยบัญชาการ

๔.๕ สิ่งอํานวยความสะดวกในการยุทธ

Page 25: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๗๐ -

๔.๕.๓ ศูนยปฏิบัติการพ้ืนท่ีสวนหลัง โดยปกติจะบรรจุใหแกกรมสนับสนุนแตละกรม

ในกองบัญชาการสวนหนาของกองทัพบกยุทธบริเวณ และกรมสนับสนุนของกองพล ภารกิจของ

ศป.พล. คือ การพิทักษพ้ืนท่ีสวนหลังดวยการปฏิบัติหนาท่ีเสมือนหน่ึงเปน ศปย . ของผูบังคับพ้ืน ท่ี

ในเร่ืองการระวังปองกันในพ้ืนท่ีสวนหลัง โดยปกติแลวมักประกอบดวยสวนตางๆดังน้ี

๔.๕.๓.๑ กองบังคับการ

๔.๕.๓.๒ แผนกธุรการและสงกําลังบํารุง

๔.๕.๓.๓ แผนกรักษาความปลอดภัย แผน และยุทธการ

๔.๕.๓.๔ แผนกบังคับบัญชากําลังรบเฉพาะกิจสําหรับการควบคุมความเสียหาย

เปนพ้ืนท่ี

๕. หลักพื้นฐานการยุทธ �ของกองทัพบก

๕.๑ กลาวท่ัวไป

สงคราม คือ การตอสูกันระหวางประเทศตอประเทศ หรือกลุมประเทศฝายหน่ึงกับกลุม

ประเทศ อีกฝายหน่ึง การดําเนินการสงครามอาจใชพลังอํานาจของชาติบางสวน หรือท้ังหมดเพ่ือ

บังคับใหอีกฝายหน่ึง ซึ่งเปนฝายตรงขาม ตองยินยอมปฏิบัติตามความตองการของตน หรือขัดขวาง

ฝายตรงขามมิใหปฏิบัติการบรรลุผล

โดยปกติ เมื่อเกิดกรณีขอขัดแยง หรือกรณีพิพาท อันเปนการท่ีจะนําไปสูข้ันสงครามตอไป

ท้ังสองฝายจะพยายามใชกําลังอํานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และเทคโนโลยีรวมท้ัง

การดําเนินการทางความสัมพันธระหวางประเทศ หรือการทูต เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคของฝายตน

๕.๒ ประเภทของสงคราม

สงครามมีหลายรูปแบบ และในบางรูปแบบน้ันประชาชนหรือบุคคลท่ัวไปเกือบจะไมทราบวา

ประเทศของตนตกอยูในภาวะของสงคราม เชน การปฏิบัติการปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิสต

ในประเทศไทยเปนตน แบบตาง ๆ ของสงครามท่ีปรากฏในปจจุบัน มีดังน้ี

๕.๒.๑ สงครามทั่วไป

เปนลักษณะของการตอสูกันดวยการใชพลังอํานาจของชาติ และระบบอาวุธท่ีมี

อยูท้ังส้ินของท้ังสองฝายโดยไมมีขอจํากัด หรือละเวนแตอยางใด อยางไรก็ตาม ในรูปแบบของ

สงครามจํากัดซึ่งจะกลาวตอไป อาจขยายขอบเขตไปสูแบบของสงครามท่ัวไปไดในเมื่อฝายหน่ึง

ฝายใดเห็นวาความอยูรอดของชาติอาจอยูในข้ันวิกฤตหรือถึงข้ันอวสาน นอกจากน้ีมุมมองในเร่ือง

ระดับของสงครามจะแตกตางไป ประเทศมหาอํานาจอาจมองวาสงครามท่ัวไป จะมีการใช

อาวุธนิวเคลียร ชีวะ เคมี สวนสงครามท่ีไมมีการใชอาวุธดังกลาวถือเปนสงครามจํากัด ตัวอยาง

Page 26: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๗๑ -

ของสงครามจํากัด ในมุมมองของสหรัฐอเมริกา คือ สงครามเกาหลี และสงครามเวียดนาม แต

สําหรับมุมมองของเวียดนามเหนือ หรือ เกาหลี ยอมมองวาสงครามเกาหลีดังกลาวเขาขายสงคราม

ท่ัวไป เพราะไดระดมทรัพยากรท้ังมวลของชาติ เพ่ือการสงครามจนหมดส้ิน เพราะผลแพชนะของ

สงครามหมายถึงความอยูรอดของชาติ

๕.๒.๒ สงครามจํากัด

เปนลักษณะของการตอสูท่ีใชพลังอํานาจของชาติแตบางสวน หรือเปนลักษณะ

ของสงครามท่ีจํากัดขอบเขตและงดเวนการปฏิบัติบางประการ เพ่ือวัตถุประสงคใหสงครามขยาย

ขอบเขตของยุทธบริเวณ จํากัดระบบอาวุธท่ีใชบางประการ หรืออาจใชระบบอาวุธท้ังส้ิน แตจํากัด

เปาหมายกําลังรบหรือจํากัดวัตถุประสงคทางทหารและจํากัดความมุงหมายทางการเมือง

๕.๒.๓ สงครามเย็น

คือสงครามท่ีมิไดใชกําลังทหารเขาปฏิบัติการโดยเปดเผย อาจเปนรูปแบบของ

สงครามโดยการใชอาวุธธรรมดา หรืออาวุธนิวเคลียรในขอบเขตอันจํากัดก็ได ซึ่งอาจประกอบดวย

สงครามตาง ๆ ดังน้ี

๕.๒.๓.๑ สงครามนอกแบบ

สงครามนอกแบบ คือ การปฏิบัติการทางทหาร และกึ่งทหารใน

ดินแดนท่ีขาศึกยึดครองหรือขาศึกมีอิทธิพล โดยมุงกระทําตางเปาหมายทางทหาร การเมือง

เศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา โดยหนวยรบพิเศษลวน ๆ หรือ รวมกับประชาชนในทองถิ่น รวมท้ัง

กับมิตรประเทศในดินแดนนอกประเทศ

๕.๒.๓.๒ สงครามปฏิวัติ

เปนลักษณะของการตอสูอันเกิดข้ึนจากความขัดแยงภายในรัฐ

จนกอใหเกิดความไมสงบและมีการปฏิบัติการกอการรายข้ึนภายในประเทศ โดยใชกําลังทหารเขาลม

ลางอํานาจรัฐบาล หรือยึดอํานาจทางการเมืองเพ่ือเขาปกครองประเทศตอไป

Page 27: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๗๒ -

๕.๓ ความสําคัญของกําลังทางบก

เหตุการณทางประวัติศาสตรท่ีผานมาเปนท่ียอมรับกันท่ัวไปวา กองกําลัง ทหารบกเปน

กําลังอันสําคัญยิ่งในการปกปองคุมครองดินแดนและการตอตานในการปกปองคุมครองดินแดน

ดังน้ัน กองทัพบกจึงเปนกําลังหลักของวัตถุประสงคทางทหารในการดําเนินการสงครามตลอดมา

อยางไรก็ตาม การควบคุมทางทะเลและทางอากาศนับวามีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับสงคราม

ปจจุบัน เพราะถาหากปราศจากซึ่งความปลอดภัยนอกอาณาเขตประเทศแลว กองกําลังทางบก

ก็คงไมสามารถปฏิบัติภารกิจไดสําเร็จหรือไมสามารถจะทําการสูรบไดโดยตอเน่ือง ดังน้ันกําลัง

ทหารทุกเหลาทัพจะตองมีสวนสนับสนุนซึ่งกันและกันโดยตรง เพ่ือใหสามารถปกปองคุมครอง

ดินแดน และประชาชนไดอยางสูงสุด

ถึงแมวาทหารทุกเหลาทัพตางก็มีกําลังอํานาจในการปองกันประเทศ และทําลายขาศึกก็ตาม

แตหลักพ้ืนฐานอันเปนความจริงก็ปรากฏวา กําลังทางบกเทาน้ันท่ีสามารถควบคุมท้ังพ้ืนท่ีแหลง

ทรัพยากรตาง ๆ และประชาชน และกําลังทางบกจะสามารถปฏิบัติภารกิจท่ีสําคัญและกวางขวาง

ยิ่งข้ึนไปอีก นอกเหนือจากการขัดขวางและการทําลายลาง หากไดรับการสนับสนุนจากกําลังทางเรือ

และทางอากาศอยางเหมาะสม

Page 28: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๗๓ -

๕.๔. กองทัพบกกับการสงคราม

๕.๔.๑ กองทัพบกกับสงครามท่ัวไป

๕.๔.๑.๑ เมื่อประเทศเขาสูสงครามท่ีเขาลักษณะของสงครามท่ัวไป กองทัพบก

จะเปนสวนหน่ึงของพลังอํานาจท่ีประเทศนํามาใชรวมกับแหลงอื่น ตลอดจนใชทรัพยากรท้ังมวลท่ี

มีอยูระดมมาเพ่ือสนับสนุนการสงคราม เพ่ือเอาชนะประเทศท่ีเปนปรปกษ

๕.๔.๒ กองทัพบกกับสงครามจํากัด

๕.๔.๒.๑ ในสงครามจํากัด กองทัพบกจะตองจัดใหมีกําลังรบหลักอยางเพียงพอ

และพรอมท่ีจะปองกันการรุกรานของศัตรูในสงครามทุกขนาดและในทุกรูปแบบ รวมท้ังใหมีขีด

ความสามารถท่ีจะใชกําลังบางสวนเขาสนับสนุนกลุมประเทศในสมาคมอาเซียน ตามพันธกรณี

เพ่ือรักษาความสงบ และสันติสุขในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางมีประสิทธิภาพ และโดย

ฉับพลัน

๕.๔.๒.๒ กองทัพบกจะตองพัฒนา หลักนิยม การจัด และอาวุธยุทโธปกรณ

และใหมีการฝกอยางเหมาะสม และสอดคลองกับภัยคุกคามท่ีคาดวาจะตองเผชิญ ท้ังในลักษณะ

ของสงคราม สภาพส่ิงแวดลอม ภูมิประเทศ และลมฟาอากาศ ตลอดจนขีดความสามารถในการรบ

รวมกับเหลาทัพอื่น และการรบผสมกับพันธมิตรดวย

๕.๔.๓ กองทัพบกกับความมั่นคงแหงชาติ

๕.๔.๓.๑ โดยธรรมดาความมั่นคงแหงชาติ ข้ึนอยูกับผลประโยชนของชาติเปน

สําคัญ และผลประโยชนของชาติ ก็มีความเกี่ยวพันกับมิตรประเทศ โดยเฉพาะประเทศในกลุม

อาเซียน ถาหากประเทศตาง ๆ ในกลุมอาเซียนมีความมั่นคง ก็จะเปนผลดีตอความมั่นคงแหงชาติของ

ประเทศไทยดวย

๕.๔.๓.๒ บทบาทและหนาท่ีของกองทัพบกในการสนับสนุนประเทศเพ่ือใหเกิด

ความมั่นคงแหงชาติโดยตรงน้ัน กองทัพบกจะตองดําเนิน การใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล

อยางตอเน่ือง โดยใหการสนับสนุนหนวยงานอื่น ๆ ของรัฐตามคํารองขอ เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติตามแผนงานของรัฐเปนสวนรวม รวมท้ังเปนเคร่ืองมือท่ีทรงพลังของรัฐในการ

สนับสนุนนโยบายดานการเมืองภายในประเทศ และการปองกันและปราบปรามผูกอการราย

๕.๔.๔ หนาท่ีอื่น ๆ ของกองทัพบก

๕.๔.๔.๑ ภารกิจในการปองกันประเทศตามนโยบายของความมั่นคงแหงชาติ

นับเปนส่ิงสําคัญ และเปนความจําเปนของรัฐท่ีจะตองมีกองทัพบกท่ีมีมาตรฐาน และมีกําลัง

Page 29: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

- ๑๗๔ -

เพียงพอ ท่ีจะใชปองกันประเทศในยามสงคราม สําหรับในยามปกติน้ัน กองทัพบกจะตองใหการ

สนับสนุนรัฐในการพัฒนาประเทศ และชวยเหลือประชาชนเปนสวนรวม รวมท้ังในการชวยเหลือ

แกองคกรอื่น ๆ ของรัฐในการแกปญหาของชาติดานกิจการพลเรือน

๕.๔.๔.๒ นอกเหนือจากภารกิจตามปกติแลว กองทัพบกจะตองเตรี ยมการฝก

หนวยใหมีความชํานาญและใหพรอมท่ีจะสนับสนุนหนวยงานของรัฐไดทันทีเมื่อ

๕.๔.๔.๒(๑) เกิดภัยพิบัติตามธรรมชาติ เชน อุทกภัย ดินถลม

คลื่นยักษสึนาม ิ

๕.๔.๔.๒(๒) เกิดภาวะฉุกเฉินหรือเกิดจลาจล โดยเจาหนาท่ีปกครอง

และตํารวจรองขอรับการสนับสนุนจากกองทัพบก

๕.๔.๔.๒(๓) ตองการพัฒนาประเทศและชวยเหลือประชาชน เชน

การสรางถนนในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต, การสรางถนนรัชดาภิเษก เปนตน

๕.๔.๔.๒(๔) ตองการเสริมสรางความกาวหนาทางเทคโนโลยี โดย

การวิจัยและพัฒนา เชน การวิจัยเพื่อนําไปสูการผลิตยุทโธปกรณภายในประเทศ

ลดการจัดซื้อจากตางประเทศ

(ปรับปรุงจากเอกสารประกอบการบรรยาย วิชาวิทยาการทหาร (Military Science),

กรมยุทธศึกษาทหาร, กองบัญชาการกองทัพไทย, ๒๕๕๑)

Page 30: ตอนที่ ๒ กองทัพบกndsi.rtarf.mi.th/download/ndsi-edu/books/Military... · (๑๓) กรมสารบรรณทหารบก (สบ.ทบ.) (๑๔)

ประวัติผูเรียบเรียง

ยศ ชื่อ สกุล พันโท วิจิตรศักดิ์ เพ็ญศิริ

ตําแหนงปจจุบัน อาจารยโรงเรียนเสนาธิการทหารบก

การศึกษาในประเทศ โรงเรียนเซ็นตคาเบรียล

โรงเรียนเตรียมทหาร รุนที่ ๓๒

โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๔๓

โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๘๔

การศึกษาตางประเทศ หลักสูตรชั้นนายพัน (การรบผสมเหลา) ทบ.ออสเตรเลีย

หลักสูตรฝายอํานวยการระดับกองพันผสม ทบ.นิวซีแลนด

หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ทบ.สหรัฐอเมริกา

ตําแหนงสําคัญ ผูบังคับกองรอยทหารปนใหญตอสูอากาศยาน

กองพันทหารปนใหญตอสูอากาศยานที่ ๑รักษาพระองค

อาจารยโรงเรียนเสนาธิการทหารบก

ราชการพิเศษ Personnel Officer, UNMISET PKF HQ

(กองกําลังรักษาสันติภาพขององคการสหประชาชาติ), ติมอรตะวันออก

Senior Staff Officer Plans, UNAMID FHQ

(กองกําลังรักษาสันติภาพขององคการสหประชาชาติ), ซูดาน