ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ...

56
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน .ข้อมูลผู้บริหารและบุคลากร ผู้บริหารคนปัจจุบันคือ นายพรรษกฤช เกตุรัตน์ ผู้อานวยการสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อานวยการชานาญการพิเศษ รองผู้อานวยการจานวน คน คือ จ่าสิบโทพิสรรค์ เอกดารงกิจ วิทยฐานะรองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ จานวนครู ๔๒ คน จานวนบุคลากรทางการศึกษา คน รวม ๕๒ คน ๒. ข้อมูลนักเรียน ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน ( ข้อมูล วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ) ดังนีระดับชั้น จานวนนักเรียน (คน) จานวน ห้องเรียน ชาย หญิง รวม มัธยมศึกษาปีท่ ๑ ๘๙ ๘๘ ๑๗๗ มัธยมศึกษาปีท่ ๒ ๗๑ ๘๓ ๑๕๔ มัธยมศึกษาปีท่ ๓ ๕๘ ๖๒ ๑๒๐ รวมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๒๑๘ ๒๓๓ ๔๕๒ ๑๒ มัธยมศึกษาปีท่ ๔ ๓๙ ๖๒ ๑๐๑ มัธยมศึกษาปีท่ ๕ ๖๔ ๔๒ ๑๐๖ มัธยมศึกษาปีท่ ๖ ๓๑ ๔๓ ๗๔ รวมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๓๔ ๑๔๗ ๒๘๑ รวมทั้งโรงเรียน ๓๕๒ ๓๘๐ ๗๓๒ ๒๑

Upload: others

Post on 20-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน

๑.ข้อมูลผู้บริหารและบุคลากร

ผู้บริหารคนปัจจุบันคือ

นายพรรษกฤช เกตุรัตน์ ผู้อ านวยการสถานศึกษา

วิทยฐานะผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ

รองผู้อ านวยการจ านวน ๑ คน คือ

จ่าสิบโทพิสรรค์ เอกด ารงกิจ

วิทยฐานะรองผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ จ านวนครู ๔๒ คน จ านวนบุคลากรทางการศึกษา ๘ คน

รวม ๕๒ คน

๒. ข้อมูลนักเรียน

ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจ านวนนักเรียน ( ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ) ดังนี้

ระดับชั้น จ านวนนักเรียน (คน) จ านวนห้องเรียน ชาย หญิง รวม

มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๘๙ ๘๘ ๑๗๗ ๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๗๑ ๘๓ ๑๕๔ ๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๕๘ ๖๒ ๑๒๐ ๔

รวมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๒๑๘ ๒๓๓ ๔๕๒ ๑๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๓๙ ๖๒ ๑๐๑ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ๖๔ ๔๒ ๑๐๖ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๓๑ ๔๓ ๗๔ ๓

รวมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๓๔ ๑๔๗ ๒๘๑ ๙ รวมทั้งโรงเรียน ๓๕๒ ๓๘๐ ๗๓๒ ๒๑

Page 2: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ๑. อาคารเรียนและอาคารประกอบ ๒๑ หลัง ได้แก่ อาคารเรียน ๓ หลัง อาคารโรงฝึกงาน ๑ หลัง อาคารหอประชุม-เอนกประสงค์ ๑ หลัง อาคารห้องน้ าห้องส้วมนักเรียน ๓ หลัง อาคารงานลูกเสือ ๑ หลัง อาคารดนตรีไทยและศิลปะ ๑ หลัง อาคารโรงผลิตน้ าดื่ม ๑ หลัง ศาลาพระ ๑ หลัง บ้านพักคร ู ๗ หลัง บ้านพักนักการภารโรง ๒ หลัง ๒. ข้อมูลทรัพยากรที่จ าเป็น คอมพิวเตอร์มีจ านวนทั้งหมด ๙๔ เครื่อง

- ใช้เพื่อการเรียนการสอน ๗๘ เครื่อง - ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้ ๙๑ เครื่อง - ใช้ในงานบริหาร ๑๖ เครื่อง

ปริมาณสื่อมีเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คือ แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารี/ผู้บ าเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมชุมนุม ๓. ห้องท่ีจัดไว้ใช้ปฏิบัติกิจกรรมเฉพาะมีทั้งหมด ๑๙ ห้อง ได้แก่ ห้องคอมพิวเตอร์ ๑ ห้อง ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ๓ ห้อง ห้องวิทยาศาสตร์กายภาพ ๑ ห้อง ห้องแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง หอ้งกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑ ห้อง ห้องนาฏศิลป์ ๑ ห้อง ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ ๒ ห้อง ห้องแนะแนว ๑ ห้อง ห้องจัดแสดงผลงานโรงเรียน ๑ ห้อง ห้องพยาบาล ๑ ห้อง ห้องปฏิบัติการภาษาอังกฤษ ๑ ห้อง ห้องงานผ้าและการตัดเย็บ ๑ ห้อง ห้องดนตรีสากล ๑ ห้อง ห้องประชุม ๒ ห้อง ห้องจริยธรรมและศาสนา ๑ ห้อง

Page 3: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

ห้อง Resource center ๑ ห้อง ห้อง E-Classroom ๑ ห้อง ห้องสมุด ๑ ห้อง ๔. พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรม / นันทนาการ ได้แก่ สนามกีฬาและฟุตบอล ๑ สนาม สนามเปตอง ๒ สนาม สนามวอลเลย์บอล ๑ สนาม สนามบาสเกตบอล ๑ สนาม สนามเซปัคตะกร้อ ๑ สนาม ลายเอนกประสงค์ ๑ ลาน

- อาคารเรียน ๔ ชั้น ๑ หลัง

- อาคารอุตสาหกรรม ๑ หลัง

Page 4: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด าเนินงานเพื่อมุ่งสู่โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)

จากสภาพทั่วไปของนักเรียนที่ประสบกับปัญหาขยะทั้งขยะเปียกและขยะแห้ง ซึ่งโรงเรียนบ้านคาวิทยาเป็นสถานศึกษาขนาดกลาง มีจ านวนนักเรียน ครู บุคลากรจ านวนมาก ท าให้ขยะแต่ละวันมีปริมาณมาก การจัดการขยะจึงเป็นกระบวนการส าคัญที่ต้องมีการวางแผนการด าเนินงานโครงการเพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งการจัดท า โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ตามนโยบายของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมาย และวัตถุประสงค์สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ของโรงเรียนบ้านวิทยา คือ “ โรงเรียนบ้านคาวิทยาเป็นโรงเรียนที่ดี มีมาตรฐาน เป็นผู้น าทางด้านวิชาการ และเทคโนโลยี นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม สืบสานประเพณีไทย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสอดคล้องกับพันธกิจของโรงเรียนบ้านวิทยา ข้อที่ ๑ , ๒ , ๓, ๕ , ๗

๑. พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญสนองความต้องการของ ท้องถิ่น ชุมชน

๒. จัดการศึกษาของโรงเรียนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

๓. พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีแหล่งเรียนรู้ให้เอ้ือต่อการศึกษาของผู้เรียนและชุมชน

๕. เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

๗. พัฒนา(ส่งเสริม)ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม จริยธรรม

ด้วยเหตุดังกล่าว โรงเรียนบ้านคาวิทยา จึงจัดท ากิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะขึ้นเพ่ือสนองนโยบายของรัฐบาล ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย การสร้างจิตส านึกและรณรงค์การคัดแยกขยะมูลฝอย ในสถานศึกษาและชุมชน

Page 5: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

โครงการ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) แผนงาน บริหารงานทั่วไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านคาวิทยา ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ สนองกลยุทธ์สพฐ. กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรมความส านึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิต

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรมความส านึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิต

ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒,๖,๑๑,๑๓ ()ด้านที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน () ด้านที่ ๒ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ( ) ด้านที่ ๓ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ( )ด้านที่ ๔ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา ( ) ด้านที่ ๕ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม

๑. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งส าคัญที่ต้องได้รับการดูแลแก้ไข โดยเฉพาะขยะที่มีปริมาณเพ่ิมมาก

ขึ้นอย่างรวดเร็ว โรงเรียนก็เจอกับปัญหาขยะ ท าให้สภาพสิ่งแวดล้อมไม่ดี ไม่สะอาด จึงคิดหาวิธีการเพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการคัดแยกขยะด้วยนักเรียนเพ่ือเป็นการรักษาสภาพแวดล้อมอีกทั้งยังสามารถ สร้างรายได้ให้กับนักเรียนอีกทางหนึ่งด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงได้จัดท าโครงการงเรียนปลอดขยะนี้ขึ้นโดยมีการบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ ๒๕๕๙

๒. วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือสร้างความตระหนัก จิตส านึก การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดกับนักเรียน ๒. รู้วิธีและสามารถด าเนินการก าจัดขยะอย่างครบวงจร ๓. เพ่ือลดมลพิษจากขยะ ให้โรงเรียนเป็นสถานศึกษาที่ปราศจากขยะ โรงเรียนสวยงาม ร่มรื่น

ปลอดภัย ๔. สร้างรายได้เสริมให้แก่สมาชิกนักเรียน

๓. เป้าหมาย

ด้านปริมาณ ครูและบุคลากรทางการศึกษา จ านวน ๕๒ คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ จ านวน ๗๓๒ คน เข้าร่วมกิจกรรม

ด้านคุณภาพ นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความส าคัญของการลดและคัดแยกขยะและน ามาใช้ในชีวิตประจ าวัน

Page 6: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔. วิธีการด าเนินการ

๔.๑ ขั้นเตรียมการ ๔.๑.๑ โรงเรียนส ารวจสถานที่ภายในโรงเรียนเพ่ือพัฒนาส่งเสริมด้านการด าเนินงานโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ๔.๑.๒ ประชุมคณะครู เพื่อก าหนดแนวทาง ๔.๑.๓ น าเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

๔.๒ ขั้นตอนด าเนินงาน ๔.๒.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ

๔.๒.๒ จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการก าจัดขยะ ให้กับบุคลากรและนักเรียนโรงเรียนบ้านคาวิทยาทุกคน ๔.๒.๓ ประชุมคณะกรรมการด าเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ เพ่ือร่วมกันวางแผนงาน และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ๔.๒.๔ ด าเนินตามแผนที่วางไว้ ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม - กิจกรรมการประกวดชุดที่ท าจากหนังสือพิมพ์ - กิจกรรมปุ๋ยชีวภาพ - กิจกรรมปุ๋ยหมักระบบเติมอากาศ - กิจกรรมน าขยะมาใช้ประโยชน์ - กิจกรรมรณรงค์เก็บขยะในโรงเรียนและชุมชน - กิจกรรมคัดแยกขยะ - กิจกรรมส่งเสริมต่างๆ เช่น การประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย และแผ่นพับ - กิจกรรม Big Cleaning Day

๔.๓ ขั้นสรุปรายงาน ๔.๓.๑ ออกแบบสอบถามเพ่ือประเมินผลการจัดกิจกรรม ๔.๓.๒ สรุปผลรายงานเป็นรูปเล่ม ๔.๓.๓ รายงานผลการด าเนินงานต่อผู้บังคับบัญชาตามล าดับ

๕. ค่าใช้จ่ายของกิจกรรม - จากงบพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน - จากรายได้การจ าหน่ายขยะในโรงเรียน

๖. ปัญหาและอุปสรรค - ระหว่างด าเนินงานตามแผน อาจมีกิจกรรมอ่ืนเข้ามาแทรกท าให้ไม่สามารถด าเนินการได้

ตามเวลาที่ก าหนดและอาจมีการเปลี่ยนแปลงวันเวลาตามความเหมาะสม ๗. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๗.๑ บุคลากรและนักเรียนมีจิตส านึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๗.๒ มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมท่ีดี ๗.๓ นักเรียนมีรายได้เสริมจากการขายขยะ ๗.๔ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน สะอาด น่าอยู่

Page 7: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๘. การติดตามและประเมินผล ๘.๑ ผู้ประเมินผล บุคลากรและคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียน ๘.๒ วธิีการประเมินผล จากแบบสอบถามความพึงพอใจ ๘.๓ แบบบันทึกการฝากขยะของนักเรียน

Page 8: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

ส่วนที่ ๓ การด าเนินกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ

จากแผนการด าเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนบ้านคาวิทยา มีการก าหนดกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียนเพื่อมุ่งสู่โรงเรียน ปลอดขยะ ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ ๑.) กิจกรรมจัดท าป้ายนิเทศให้ความรู้

กิจกรรมจัดท าป้ายนิเทศให้ความรู้มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านคาวิทยา และชุมชนใกล้เคียงโรงเรียน ด าเนินการโดย คณะกรรมการฝ่ายจัดท าป้ายนิเทศ ได้จัดแหล่งเรียนรู้ แผ่นพับและการรณรงค์ ให้แก่นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชนให้มีความรู้เกี่ยวกับ การคัดแยกขยะ ขยะคือเงิน ประเภทขยะ ขยะในโรงเรียน การประหยัดไฟฟ้า พลังงานทดแทน ปุ๋ยชีวภาพ ผลิตภัณฑ์รีไซเคิลและพลังงาน เพื่อไปใช้ในชีวิตประจ าวัน

ป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียน

ตัวอย่างแผ่นพับที่ใช้ในการเผยแพร่ความรู้

Page 9: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมจัดท าป้ายนิเทศให้ความรู้

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกรองนักเรียนโรงเรียนบ้านคาวิทยา และชุมชนใกล้เคียงโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ การใช้ประโยชน์จากขยะ และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อเสนอแนะ

ป้ายนิเทศควรมีจ านวนมากข้ึน ให้ครอบคลุมพ้ืนที่ที่มีการคัดแยกขยะ นอกจากนี้ยังควรเพิ่มเติมป้ายนิเทศบริเวณหน้าโรงเรียน และมีการประชาสัมพันธ์สู้ผู้ปกครองให้มากขึ้น

แนวทางการพัฒนา

๑. จัดท าป้ายนิเทศเพ่ิมเติมให้ครอบคลุมพ้ืนที่ที่มีการคัดแยกขยะ ๒. ควรจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับป้ายนิเทศเพ่ือกระตุ้นให้ นักเรียน บุคลากร และผู้ปกครอง

มีความสนใจมากข้ึน

กิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะในชุมชน

Page 10: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๐

๒.) กิจกรรมเสียงตามสาย

กิจกรรมเสียงตามสายมีกลุ่มเป้ าหมายเป็นนักเรียนโรงเรียนบ้านคาวิทยา ด าเนินการโดย คณะกรรมการเสียงตามสาย โดยจัดเตรียมนักเรียนแกนน าในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕-๖ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ การใช้ซ้ า การรีไซเคิล และขยะอันตรายในรูปของสาระน่ารู้ในตอนเช้า หลังปฏิบัติกิจกรรมหน้าเสาธง โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการตอบค าถาม และช่วงพักกลางวัน

ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมเสียงตามสาย

นักเรียน บุคลากร ผู้ปกรองนักเรียนโรงเรียนบ้านคาวิทยา และชุมชนใกล้เคียงโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องประเภทของขยะ การจัดการขยะในโรงเรียน รวมทั้งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน

ข้อเสนอแนะ

๑. ครูควรฝึกให้นักเรียนน าเสนอด้วยเสียงที่ดัง ชัดเจน ๒. ครูประจ าชั้นมีการตรวจสอบความรู้ที่ได้รับในชั่วโมงโฮมรูม

แนวทางการพัฒนา

๑. จัดให้นักเรียนที่เป็นผู้น าเสนอได้รับการฝึกฝนการอ่านออกเสียง ได้รับการฝึกฝนจนช านาญ ๒. จัดให้มีการบูรณาการความรู้เรื่องการคัดแยกขยะในกิจกรรมโฮมรูม

กิจกรรมเสียงตามสายช่วงเช้าและช่วงพักกลางวัน

Page 11: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๑

๓.) กิจกรรมคัดแยกขยะในบริเวณโรงเรียน

กิจกรรมคัดแยกขยะในบริเวณโรงเรียนมีเป้าหมายให้นักเรียน โรงเรียนบ้านคาวิทยา สามารถแยกขยะจากห้องเรียน แล้วรวบรวมขยะที่สามารถน าไปขายที่ธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือน าไปรีไซเคิลได้ รวมทั้งการคัดแยกขยะในบริเวณโรงเรียน ด าเนินงานโดยคณะกรรมการคัดแยกขยะในบริเวณโรงเรียน

ถังคัดแยกขยะในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์และห้องเรียน

Page 12: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๒

ข้อเสนอแนะ

๑. ประชาสัมพันธ์ความรู้ให้กับนักเรียนในการแยกขยะอย่างต่อเนื่อง ๒. จัดสรรงบประมาณส าหรับถังขยะที่ช ารุดในห้องเรียนและบริเวณต่างๆของโรงเรียนเพ่ิมเติมทุกปี

แนวทางการพัฒนา

๑. ก าหนดตารางเวลาการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง ๒. ก าหนดช่วงเวลาในการรับซื้อขยะให้มากขึ้น ๓. จัดสรรงบประมาณส าหรับถังขยะเพ่ิมเติมในกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ

ถังคัดแยกขยะในบริเวณโรงเรียน

ขยะประเภทต่างๆ ที่คัดแยกไว้แต่ละห้องน ามาขายที่ธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม

Page 13: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๓

๔.) การน าขยะกลับมาใช้ประโยชน์

ด าเนินงานโดยคณะกรรมการด าเนินกิจกรรมน าขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ได้จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการน าขยะที่ใช้ซ้ าได้ และขยะรีไซเคิลมาประดิษฐ์เป็นของใช้ โดยบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ รวมทั้งการผลิตสื่อการสอนของครู โดยน าขยะที่มีภายในโรงเรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์

สิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากทักษะกระบวนการคิด (วิชานักคิด)

ด าเนินการโดยคณะครูและนักเรียนได้จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการน าขยะที่

ใช้ซ้ าได้และสามารถน ามารีไซเคิลมาประดิษฐ์เป็นของใช้ โดยบูรณาการกับวิชานักคิด ได้แก่นักเรียนน ากระป๋องน้ าอัดลมที่ไม่ได้ใช้แล้วจากธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อมมารีไซเคิลประดิษฐ์เป็นเครื่องบิน การเอายางรถยนต์ที่ไม่สามารถใช้งานได้มารีไซเคิลเป็นกระถางต้นไม้ ฯลฯ ส าหรับครู น าหลอดน้ ามาประดิษฐ์เป็นดอกไม้ น าขวดพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นหุ่นยนต์เพ่ือใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน

เครื่องบินเล็กจากกระป๋องน้ าอัดลม

เครื่องบินเล็กจากระป๋องเบียร์และกระป๋องกาแฟ

Page 14: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๔

กระถางดอกไม้จากยางรถยนต์เก่า โคมไฟจากเศษไม้

ขวดน้ าพลาสติกน ามาประดิษฐ์เป็นหุ่นยนต์

เพื่อใช้ในการเรียนการสอน

บอลลูนอากาศร้อนโดยน ากระดาษหนังสือพิมพ์มาต่อกันเป็นรูปบอลลูน

Page 15: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๕

กิจกรรมจรวดขวดน้ า

แบบจ าลองภูเขาไฟแบบต่างๆ จากกระดาษเหลือใช้

โดยน ากระดาษมาแช่น้ าให้อ่อนตัวแล้วน ามาสร้างเป็นแบบจ าลอง

Page 16: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๖

ขวดน้ าที่ขายไม่ได้น ามาท าเป็นแจกันใส่ใบเตยและมะรูดเพื่อดับกลิ่นในห้องน้ านักเรียน

ฟิตเนสพอเพียง โดยการน าขวด กระป๋องท่ีไม่ได้ใช้มาท าเป็นอุปกรณ์ส าหรับออกก าลังกายให้กับนักเรียน

Page 17: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๗

แผนการจัดการเรียนรู้

ท าความสะอาดบริเวณเขตพื้นของแต่ละห้องช่วงเช้าและคัดแยกขยะแต่ละประเภทในบริเวณโรงเรียน

Page 18: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๘

เข้าร่วมกิจกรรมประกวดชุดรีไซเคิล โครงการรวมพลังพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษา

Page 19: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๑๙

๕.กิจกรรมปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพ

Page 20: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๐

ด าเนินการโดยนางสาว สุณิสา จินดา ครูที่ปรึกษากิจกรรมปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพ ให้นักเรียนน าพืชผักผลไม้ที่เหลือจากการเกษตรและจากการแปรรูปจากที่โรงเรียนมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการหมัก เพ่ือให้นักเรียนเห็นคุณค่าของที่เหลือจากการเกษตร ลดการใช้สารเคมี และตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม

น้ าหมักชีวภาพ คือ การน าเอาพืช ผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่าง ๆ มาหมักกับน้ าตาลท าให้เกิดจุลินทรีย์ ที่เป็นประโยชน์จ านวนมากซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้จะไปช่วยสลายธาตุอาหารต่าง ๆ ที่อยู่ในพืช ผัก ผลไม้ สัตว์ ที่น ามาหมัก มีคุณค่าในแง่ของธาตุอาหารพืชเมื่อถูกย่อยสลายโดยกระบวนการย่อยสลายของแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์สารต่างๆจะถูกปลดปล่อยออกมา เช่นโปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง จุลธาตุ ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต เอนไซม์ วิตามิน ซึ่งพืชสามารถน าไปใช้ในการเจริญเติบโตได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพ

หั่นผักและผลไม้

ใส่กากน้ าตาลลงในถัง

เทลงในถัง

คนให้เข้ากัน

หมักทิ้งไว้ ๗ - ๑๔ วัน

Page 21: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๑

นักเรียนมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพ เห็นคุณค่าของเศษพืช และของเหลือจากพืชผลทางการเกษตร ซึ่งน ามาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการหมักให้เป็นในรูปแบบของน้ าหมักชีวภาพ เพ่ือน ามาฉีดพ่น พืชผลทางการเกษตรให้เจริญเติบโต อีกท้ังยังช่วยลดค่าใช้จ่ายและการใช้สารเคมีจนน าไปสู่ความยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ

ครูควรชี้แจงรายละเอียดและให้ความรู้การน าปุ๋ยน้ าหมักไปใช้ให้ชัดเจน

แนวทางการพัฒนา

ควรมีป้ายไวนิล บอกประโยชน์ของปุ๋ยหมักและการน าวัสดุในการท าปุ๋ยน้ าหมักให้หลากหลาย

๖.ปุ๋ยหมักใบไม้ระบบกองเติมอากาศ

Page 22: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๒

การหมักปุ๋ยระบบกองเติมอากาศ (Aerated Static Pile Composting System) เป็นผลจากการวิจัยและพัฒนาของคณาจารย์ประจ าภาควิชาวิศวกรรมเกษตรและอาหาร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประกอบด้วย อ. ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร ผศ. เสมอขวัญ ตันติกุล และ อ. ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากส านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี ๒๕๔๕ โดยมีโจทย์วิจัยที่จะศึกษาศักยภาพของระบบกองเติมอากาศ ในการน ามาผลิตปุ๋ยหมักในเชิงพาณิชย์ของชุมชน โดยไม่ต้องพลิกกลับกองปุ๋ย ซึ่งเป็นข้อจ ากัดของการผลิตปุ๋ยหมักที่ผ่านมาของเกษตรกร ทั้งนี้โรงเรียนบ้านคาวิทยาได้เล็งเห็นถึงความส าคัญประกอบด้วยสอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นจากเศษใบไม้ที่มีจ าจ านวนมากในโรงเรียนจึงได้น าหลักการมาปรับใช้ จนเกิดผลส าเร็จ

แนวคิดและทฤษฏี การหมักปุ๋ยระบบกองเติมอากาศเป็นกระบวนการย่อยสลายอินทรียสารทางชีวภาพด้วยจุลินทรีย์ชนิด

ใช้ออกซิเจน การจัดรูปร่างของกองปุ๋ยให้มีความเหมาะสมทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม การก าหนดอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนของวัตถุดิบ รวมทั้งการย่อยเศษพืชให้มีขนาดเล็กลง และมีความชื้นที่พอเหมาะ จะท าให้กองปุ๋ยสามารถสะสมความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยาการย่อยสลายเอาไว้ภายในกองปุ๋ยได้ ความร้อนในกองปุ๋ย ที่ข้ึนสูง 60-70 ๐C ในช่วง 2-5 วันแรก เป็นช่วงอุณหภูมิที่มีความเหมาะสมในการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ กลุ่มที่ชอบความร้อนและเมื่ออุณหภูมิลดลงเป็น 40-60 ๐C ก็จะมีการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์อีกกลุ่มหนึ่งที่ชอบความร้อนปานกลาง เมื่อความร้อนในกองปุ๋ยนี้ลอยตัวสูงขึ้น อากาศภายนอกท่ีเย็นกว่าก็จะไหลเข้ากองปุ๋ยทางด้านข้าง เท่ากับเป็นการเติมอากาศให้กับกองปุ๋ยตามธรรมชาติตลอดเวลา เรียกว่าปรากฏการณ์ และเมื่อมีการเติมอากาศเพ่ิมเติมแก่บริเวณกลางกองปุ๋ยเป็นครั้ง ๆ ด้วยพัดลมเติมอากาศ (Blower) ก็จะท าให้ภายในกองปุ๋ยมีออกซิเจนในปริมาณที่เพียงพอต่อการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ การย่อยสลายก็จะสามารถด าเนินไปได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพลิกกลับกองปุ๋ย ซึ่งผลดีประการหนึ่งจากการที่ไม่ต้องพลิกกลับคือ จะท าให้การสูญเสียไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนียไนโตรเจนที่ระเหยสู่อากาศจากการพลิกกลับกองปุ๋ยลดลงได้

ขั้นตอนการท าปุ๋ยหมัก

Page 23: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๓

ผ ล ที่ เ กิ ดขึ้นกับผู้เรียน

๑. เตรียมท่อระบบเติมอากาศ

๓.เตรียมท่อระบบเติมอากาศในแปลง

๒. เตรียมแปลง

๔. เตรียมใบไม้เพ่ือใส่ลงในแปลง

๕. เติมมูลสัตว์

๖.หมกัไว้ ๔๕ วนั เติมอากาศลงไปตามท่อ ๑๕ นาที ๗.น ามาตีป่น พกัไว้ ๑๕ วนัสามารถน าไปใช้ได้

Page 24: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๔

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากเศษใบไม้ที่ไม่มีประโยชน์รอการก าจัดโดยการเผาท าลายน ามาพัฒนาให้เกิดประโยชน์โดยน าความรู้ นวัตกรรมมาปรับใช้

ผลที่เกิดขึ้นกับชุมชน

นักเรียนได้มีการน าความรู้ที่ได้จากการท าปุ๋ยหมักระบบเติมอากาศและปุ๋ยที่ได้ไปใช้ในบ้านและชุมชนของตนส่งผลให้มีการลดใช้สารเคมีในชุมชนและได้บริโภคผลิตผลทางการเกษตร เช่น พืชผักสวนครัวสร้างความเข็มแข็งให้ครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ

- ปริมาณใบไม้ภายในโรงเรียนมีมากส่งผลให้ผลิตปุ๋ยยังไม่ทัน

- ควรขยายผลให้นักเรียนทุกคนปรับทัศนคติในการใช้ปุ๋ยหมักและลดการใช้สารเคมีในการปลูกพืชในครัวเรือน

แนวทางการพัฒนา

- ขยายแปลงปุ๋ยให้มากข้ึน

- ประชาสัมพันธ์แก่ผู้เรียนให้น าปุ๋ยหมักไปใช้ในครัวเรือนให้มากขึ้น

๗.กิจกรรมธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม

Page 25: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๕

ด าเนินงานโดยคณะกรรมการกิจกรรมธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยมีครูที่ปรึกษาและนักเรียนติดต่อประสานงานผู้รับซื้อเพ่ือน าขยะที่คัดแยกแล้วจากห้องเรียน บริเวณโรงเรียน และจากบ้านมาชั่งน้ าหนัก จดบันทึกปริมาณกระดาษ ขวดพลาสติก ขวดแก้ว และพลาสติกทั่วไป จากนั้ นรวบรวมน ามาเก็บไว้ที่ธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ร้านค้าเอกชนมารับซื้อต่อไป

กิจกรรมนี้จัดขึ้นเพ่ือให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีจิตส านึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจ สามารถคัดแยกขยะแล้วน ากลับมาเปลี่ยนเป็นเงินทุน และรู้วิธีการจัดการขยะรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ

ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม

นักเรียนน าขยะมาคัดแยกแต่ละประเภท

เจ้าหน้าที่คัดแยกน าขยะประเภทต่างๆมาชั่งน้ าหนักและแจ้งกับเจ้าหน้าที่จดบันทึก

เจ้าหน้าที่คิดค านวณเงินจากขยะแต่ละประเภท

Page 26: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๖

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านคาวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ และเห็นคุณค่าของการคัดแยกขยะประเภทต่างๆ

ข้อเสนอแนะ

๑. ครูควรให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดเก็บขยะประเภทต่างๆ เพ่ือให้ได้มูลค่าและสะดวกในการขายแก่นักเรียน

๒. เพ่ิม วัน และเวลาในการเปิดรับฝากขยะ ให้มากขึ้น

แนวทางการพัฒนา

สถานที่จัดเก็บให้เป็นระบบ

ส่วนที่ ๔ ผลการด าเนินกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ

Page 27: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๗

ผลส าเร็จของการด าเนินกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียนบ้านคาวิทยา ได้ด าเนินกิจกรรมประสบผลส าเร็จเป็นอย่างดี ได้แก่

๑. กิจกรรมจัดป้ายนิเทศให้ความรู้ ท าให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ ส่งผลให้ทุกฝ่ายตระหนักถึงความส าคัญของการรักษาสิ่งแวดล้อม ป้องกันอันตรายที่อาจส่งผลต่อการด าเนินชีวิต

๒. กิจกรรมเสียงตามสาย ท าให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการคัดแยกขยะ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๓. กิจกรรมคัดแยกขยะในโรงเรียน โรงเรียนมีการคัดแยกขยะอย่างเป็นระบบ สามารถลดปริมาณ

ขยะในโรงเรียน และท าให้บริเวณโรงเรียนสะอาด เรียบร้อย มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ๔. กิจกรรมน าขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ท าให้นักเรียนรู้คุณค่าของการคัดแยกขยะเพ่ือน ากลับมาใช้

เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนน าทรัพยากรที่มีอยู่เดิมกลับมาใช้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์ นักเรียนได้สร้างสรรค์ชิ้นงานจากวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และเป็นสื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

๕. กิจกรรมปุ๋ยชีวภาพ เห็นคุณค่าของเศษพืช และของเหลือจากพืชผลทางการเกษตร ซึ่งน ามาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการหมักให้เป็นในรูปแบบของน้ าหมักชีวภาพ เพื่อน ามาฉีดพ่น พืชผลทางการเกษตรให้เจริญเติบโต อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายและการใช้สารเคมีจนน าไปสู่ความยั่งยืน

๖. กิจกรรมปุ๋ยหมักระบบเติมอากาศ นักเรียนได้มีการน าความรู้ที่ได้จากการท าปุ๋ยหมักระบบเติมอากาศและปุ๋ยที่ได้ไปใช้ในบ้านและชุมชนของตนส่งผลให้มีการลดใช้สารเคมีในชุมชนและได้บริโภคผลิตผลทางการเกษตร เช่น พืชผักสวนครัวสร้างความเข็มแข็งให้ครัวเรือน

๗. กิจกรรมธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม ท าให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน ได้รู้คุณค่าของการคัดแยกขยะ การเปลี่ยนขยะให้เป็นสินทรัพย์ ท าให้มีทุนหมุนเวียนในการด าเนินกิจกรรม และท าให้เกิดความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน โดยโรงเรียนมีจุดรวบรวมขยะจัดตั้งเป็นธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม รับฝากขยะรีไซเคิล เพ่ือให้เอกชนได้มารับซื้อและน าไปสู่กระบวนการรีไซเคิลต่อไป

Page 28: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๘

ภาคผนวก

Page 29: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๒๙

ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ

Page 30: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๐

Page 31: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๑

Page 32: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๒

Page 33: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๓

Page 34: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๔

Page 35: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๕

รายงานการด าเนินการรณรงค์

คัดแยกขยะมูลฝอยในสถานศึกษา

Page 36: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๖

ที ่ ศธ ๐๔๒๓๘.๒๕/๒๑๔ โรงเรียนบ้านคาวิทยา อ าเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ๗๐๑๘๐

๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙

เรื่อง การด าเนินการรณรงค์คัดแยกขยะมูลฝอยในสถานศึกษา

เรียน ผู้อ านวยการส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘

อ้างถึง หนังสือส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ ที่ ศธ ๐๔๒๓๘/ว ๒๑๒๖ ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๙

สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบรายงานผลการด าเนินงาน จ านวน ๑ ชุด

ตามหนังสือที่อ้างถึงส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ ให้โรงเรียนด าเนินการรณรงค์คัดแยกขยะมูลฝอยในสถานศึกษาอย่างเคร่งครัด และรายงานผลการด าเนินงานทุก ๓ เดือน ความแจ้งแล้วนั้น

โรงเรียนบ้านคาวิทยา ขอส่งรายงานผลการด าเนินงานครั้งที่ ๑ ประจ าเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ มาพร้อมหนังสือฉบับนี้

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

( นายพรรษกฤช เกตุรัตน์ )

ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านคาวิทยา กลุ่มบริหารทั่วไป โทรศัพท์ ๐ - ๓๒๗๒ –๑๐๑๑ โทรสาร. ๐ - ๓๒๗๒ –๑๐๑๑

แบบรายงานผลการด าเนินการ

Page 37: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๗

เพื่อขับเคลื่อนการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑. การด าเนินการตามแผนงาน/โครงการภายใต้แผนงบประมาณในลักษณะบูรณาการ แผนงานบูรณาการ บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการและคัดแยกขยะในสถานศึกษา ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑.๑ การส่งเสริมการลดและการใช้ประโยชน์ขยะ และการแปรรูปเพื่อผลิตพลังงาน ๑.๑.๑ เป้าหมายในการด าเนินงาน - สร้างส านึกให้กับนักเรียนรู้จักแยกประเภทขยะ ๑.๑.๒ ผลการด าเนินงาน มีการด าเนินการ

- ตั้งจุดคัดแยกขยะประเภทต่างๆ และมีการด าเนินงาน ดังนี้ - มีการน าขยะท่ีมีประโยชน์ไปใช้ต่อ เช่น ขายและท าปุ๋ย ๑.๑.๓ ปัญหาอุปสรรค์ในการด าเนินการ - นักเรียนยังไม่ให้ความร่วมมือมากเท่าท่ีควร ๑.๑.๔ ข้อเสนอแนะระดับนโยบาย (หมายถึง ข้อเสนอแนะที่ต้องการแก้ไขร่วมกับส่วนราชการอ่ืน)

- ก าหนดให้เลิกใช้ถุงพลาสติกและโฟม

๑.๒ การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างจิตส านึก ๑.๒.๑ เป้าหมายในการด าเนินการ - มีการประชาสัมพันธ์หน้าเสาธงสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง ๑.๒.๒ ผลการด าเนินการ

มีการด าเนินการ - ชี้แจงประโยชน์และโทษของขยะ

และมีผลการด าเนินการ ดังนี้ - นักเรียนบางส่วนให้ความร่วมมือ ๑.๒.๓ ปัญหาอุปสรรค์ในการด าเนินการ - นักเรียนบางส่วนยังไม่ให้ความร่วมมือ ๑.๒.๔ ข้อเสนอแนะระดับนโยบาย (หมายถึง ข้อเสนอแนะที่ต้องการแก้ไขร่วมกับส่วนราชการอ่ืน)

- ต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น และมีการแจกถังขยะให้หน่วยงานราชการต่างๆ

๑.๓ การเสริมสร้างศักยภาพ และถ่ายทอดองค์ความรู้

Page 38: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๘

๑.๓.๑ เป้าหมายในการด าเนินงาน - ให้นักเรียนรู้จักประโยชน์และโทษของขยะ ๑.๓.๒ ผลการด าเนินการ มีการด าเนินการ

- ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธงสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง และมีการด าเนินการ ดังนี้ - ประชาสัมพันธ์เรื่องประโยชน์และโทษของขยะ ๑.๓.๓ ปัญหาอุปสรรค์ในการด าเนินการ - นักเรียนบางส่วนยังไม่ให้ความร่วมมือ ๑.๓.๔ ข้อเสนอแนะระดับนโยบาย (หมายถึง ข้อเสนอแนะที่ต้องการแก้ไขร่วมกับส่วนราชการอ่ืน)

- ต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น

๒. การด าเนินการร่วมกับหน่วยงานเกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอย (ถ้ามี)

๒.๒ บทบาทหน้าที่ที่เก่ียวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอย .....................-.................................................................................................................................... ๒.๓ เป้าหมายในการด าเนินการ .....................-.................................................................................................................................... ๒.๓ ผลการด าเนินการ .....................-.................................................................................................................................... ๒.๔ ปัญหาอุปสรรค์ในภาพรวมของการด าเนินการ .....................-.................................................................................................................................... ๒.๕ ข้อเสนอแนะระดับนโยบาย (หมายถึง ข้อเสนอแนะที่ต้องการแก้ไขร่วมกับส่วนราชการอ่ืน) .....................-....................................................................................................................................

*หมายเหตุ ก าหนดการรายงานไปยังส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ ดังนี้ ครั้งที่ ๑ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ ครัง้ที่ ๒ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ ครั้งที่ ๓ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๙

ภาพกิจกรรมการด าเนินการรณรงค์คัดแยกขยะมูลฝอยในสถานศึกษา

Page 39: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๓๙

โรงเรียนบ้านคาวิทยา

ภาพกิจกรรมการด าเนินการรณรงค์คัดแยกขยะมูลฝอยในสถานศึกษา

Page 40: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๐

โรงเรียนบ้านคาวิทยา

Page 41: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๑

บันทึกการฝากขยะ

Page 42: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๒

Page 43: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๓

กิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย

Page 44: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๔

Page 45: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๕

Page 46: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๖

Page 47: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๗

แบบประเมิน “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” โรงเรียนบ้านคาวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘

ค าแนะน า : ขีดเครื่องหมาย และเติมค าลงในช่องว่างตามความเป็นจริง ตอนที่ ๑ ข้อมูลผู้ประเมิน

๑. สถานภาพ นักเรียน ครแูละบุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ๒. เพศ ชาย หญิง

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจ “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” เกณฑ์ คะแนน ๕ = มากท่ีสุด, ๔ = มาก, ๓= ปานกลาง, ๒ = น้อย และ ๑ = น้อยที่สุด

ข้อ ประเด็น ระดับความพึงพอใจ

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การปลูกจิตส านึก พฤติกรรมของท่าน ๑.๑ ท่านตระหนักถงึความส าคัญของโรงเรียนปลอดขยะ ๑.๒ ทุกคนมีส่วนร่วมในการด าเนนิโรงเรียนปลอดขยะ ๑.๓ การจัดกิจกรรมการประกวดต่างๆ ในโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ฝึก

นิสัยในการรักษาความสะอาด เช่น การประกวดห้องเรียนสะอาด

๑.๔ ท่านรู้จักวิธกีารคัดแยกขยะ ๑.๕ ท่านสามารถน าขยะที่มีประโยชน์ไปรไีซเคิล ให้เกิดประโยชนไ์ดม้ากที่สุด ๒. ความเป็นระเรียบ เรียนร้อย และความสะอาดในโรงเรียน ๒.๑ โรงเรียนมีความสะอาดร่มรื่นเหมาะแก่การศกึษา ๒.๒ อาคารเรียนทุกอาคารมีความสะอาดอย่างเหมาะสม ๒.๓ ถังขยะพอเพียงต่อปริมาณขยะแต่ละวัน ๒.๔ ในบริเวณโรงเรียนมีถงัขยะที่แยกประเภทอย่างชัดเจน ๒.๕ ได้รับความร่วมมือจากชุมชนและหน่วยงานราชการในการดูแลรักษาความ

สะอาดเป็นอย่างด ี

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ............

Page 48: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๘

สรุปแบบประเมิน “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” โรงเรียนบ้านคาวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘

ค าแนะน า : ขีดเครื่องหมาย และเติมค าลงในช่องว่างตามความเป็นจริง

ตอนที่ ๑ ข้อมูลผู้ประเมิน ๑. สถานภาพ

นักเรียน ๗๓๑ คน คิดเป็น ๑๐๐ % ๒. เพศ

ชาย ๓๔๖ คน คิดเป็น ๔๗.๓๓ % หญิง ๓๘๕ คน คิดเป็น ๕๒.๖๗ %

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจ “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” เกณฑ์ คะแนน ๕ = มากท่ีสุด, ๔ = มาก, ๓ = ปานกลาง, ๒ = น้อย และ ๑ = น้อยที่สุด

ข้อ ประเด็น ระดับความพึงพอใจ

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การปลูกจิตส านึก พฤติกรรมของท่าน ๑.๑ ท่านตระหนักถงึความส าคัญของโรงเรียนปลอดขยะ ๔๙๖ ๒๐๑ ๓๔ ๑.๒ ทุกคนมีส่วนร่วมในการด าเนนิโรงเรียนปลอดขยะ ๔๒๑ ๒๑๑ ๙๙ ๑.๓ การจัดกิจกรรมการประกวดต่างๆ ในโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ฝึกนิสัย

ในการรักษาความสะอาด เช่น การประกวดห้องเรียนสะอาด ๕๐๗ ๒๐๑ ๒๓

๑.๔ ท่านรู้จักวิธกีารคัดแยกขยะ ๕๕๒ ๑๕๒ ๒๗ ๑.๕ ท่านสามารถน าขยะที่มีประโยชน์ไปรไีซเคิล ให้เกิดประโยชนไ์ดม้ากที่สุด ๔๙๐ ๑๗๐ ๗๑ ๒. ความเป็นระเรียบ เรียนร้อย และความสะอาดในโรงเรียน ๒.๑ โรงเรียนมีความสะอาดร่มรื่นเหมาะแก่การศกึษา ๕๕๙ ๑๖๕ ๗ ๒.๒ อาคารเรียนทุกอาคารมีความสะอาดอย่างเหมาะสม ๔๘๐ ๑๔๙ ๙๑ ๑๑ ๒.๓ ถังขยะพอเพียงต่อปริมาณขยะแต่ละวัน ๔๘๘ ๒๔๓ ๒.๔ ในบริเวณโรงเรียนมีถงัขยะที่แยกประเภทอย่างชัดเจน ๔๔๒ ๒๗๑ ๑๘ ๒.๕ ได้รับความร่วมมือจากชุมชนและหน่วยงานราชการในการดูแลรักษาความ

สะอาดเป็นอย่างด ี๕๐๖ ๑๗๖ ๔๙

เฉล่ียรวม 67.59 26.53 5.73 0.15 0.00 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................

Page 49: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๔๙

สรุปแบบประเมิน “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” โรงเรียนบ้านคาวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘

ค าแนะน า : ขีดเครื่องหมาย และเติมค าลงในช่องว่างตามความเป็นจริง

ตอนที่ ๑ ข้อมูลผู้ประเมิน ๑. สถานภาพ

ครแูละบุคลากรในโรงเรียน ๕๙ คน คิดเป็น ๑๐๐ % ๒. เพศ

ชาย ๒๙ คน คิดเป็น ๔๙.๑๕ % หญิง ๓๐ คน คิดเป็น ๕๐.๘๕ %

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจ “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” เกณฑ์ คะแนน ๕ = มากท่ีสุด, ๔ = มาก, ๓= ปานกลาง, ๒ = น้อย และ ๑ = น้อยที่สุด

ข้อ ประเด็น ระดับความพึงพอใจ

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การปลูกจิตส านึก พฤติกรรมของท่าน ๑.๑ ท่านตระหนักถงึความส าคัญของโรงเรียนปลอดขยะ ๕๐ ๙ ๑.๒ ทุกคนมีส่วนร่วมในการด าเนนิโรงเรียนปลอดขยะ ๕๕ ๔ ๑.๓ การจัดกิจกรรมการประกวดต่างๆ ในโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ฝึกนิสัย

ในการรักษาความสะอาด เช่น การประกวดห้องเรียนสะอาด ๕๖ ๓

๑.๔ ท่านรู้จักวิธกีารคัดแยกขยะ ๕๙ ๑.๕ ท่านสามารถน าขยะที่มีประโยชน์ไปรไีซเคิล ให้เกิดประโยชนไ์ดม้ากที่สุด ๔๙ ๘ ๒ ๒. ความเป็นระเรียบ เรียนร้อย และความสะอาดในโรงเรียน ๒.๑ โรงเรียนมีความสะอาดร่มรื่นเหมาะแก่การศกึษา ๔๘ ๖ ๕ ๒.๒ อาคารเรียนทุกอาคารมีความสะอาดอย่างเหมาะสม ๔๔ ๑๓ ๒ ๒.๓ ถังขยะพอเพียงต่อปริมาณขยะแต่ละวัน ๔๑ ๑๐ ๘ ๒.๔ ในบริเวณโรงเรียนมีถงัขยะที่แยกประเภทอย่างชัดเจน ๕๖ ๑ ๒ ๒.๕ ได้รับความร่วมมือจากชุมชนและหน่วยงานราชการในการดูแลรักษาความ

สะอาดเป็นอย่างด ี๔๗ ๑๒

เฉล่ียรวม ๘๕.๕๙ ๑๑.๑๙ ๓.๒๒ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................

Page 50: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๕๐

สรุปแบบประเมิน “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” โรงเรียนบ้านคาวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘

ค าแนะน า : ขีดเครื่องหมาย และเติมค าลงในช่องว่างตามความเป็นจริง

ตอนที่ ๑ ข้อมูลผู้ประเมิน ๑. สถานภาพ

ผู้ปกครอง ๕๐ คน คิดเป็น ๑๐๐ % ๒. เพศ

ชาย ๒๒ คน คิดเป็น ๔๔.๐๐ % หญิง ๒๘ คน คิดเป็น ๕๖.๐๐ %

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจ “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” เกณฑ์ คะแนน ๕ = มากท่ีสุด, ๔ = มาก, ๓ = ปานกลาง, ๒ = น้อย และ ๑ = น้อยที่สุด

ข้อ ประเด็น ระดับความพึงพอใจ

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การปลูกจิตส านึก พฤติกรรมของท่าน ๑.๑ ท่านตระหนักถงึความส าคัญของโรงเรียนปลอดขยะ ๔๖ ๒ ๒ ๑.๒ ทุกคนมีส่วนร่วมในการด าเนนิโรงเรียนปลอดขยะ ๔๓ ๗ ๑.๓ การจัดกิจกรรมการประกวดต่างๆ ในโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ฝึกนิสัย

ในการรักษาความสะอาด เช่น การประกวดห้องเรียนสะอาด ๔๐ ๑๐

๑.๔ ท่านรู้จักวิธกีารคัดแยกขยะ ๔๕ ๓ ๒ ๑.๕ ท่านสามารถน าขยะที่มีประโยชน์ไปรไีซเคิล ให้เกิดประโยชนไ์ดม้ากที่สุด ๓๘ ๗ ๕ ๒. ความเป็นระเรียบ เรียนร้อย และความสะอาดในโรงเรียน ๒.๑ โรงเรียนมีความสะอาดร่มรื่นเหมาะแก่การศกึษา ๔๕ ๕ ๒.๒ อาคารเรียนทุกอาคารมีความสะอาดอย่างเหมาะสม ๓๖ ๑๐ ๔ ๒.๓ ถังขยะพอเพียงต่อปริมาณขยะแต่ละวัน ๓๕ ๑๒ ๓ ๒.๔ ในบริเวณโรงเรียนมีถงัขยะที่แยกประเภทอย่างชัดเจน ๔๖ ๔ ๒.๕ ได้รับความร่วมมือจากชุมชนและหน่วยงานราชการในการดูแลรักษาความ

สะอาดเป็นอย่างด ี๔๗ ๓

เฉล่ียรวม ๘๔.๒๐ ๑๒.๖๐ ๓.๒๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................

Page 51: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๕๑

สรุปรวมแบบประเมิน “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” โรงเรียนบ้านคาวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘

ค าแนะน า : ขีดเครื่องหมาย และเติมค าลงในช่องว่างตามความเป็นจริง

ตอนที่ ๑ ข้อมูลผู้ประเมิน ๑. สถานภาพ

นักเรียน ๗๓๑ คน คิดเป็น ๘๗.๐๓ % ครแูละบุคลากรในโรงเรียน ๕๙ คน คิดเป็น ๗.๐๒ % ผู้ปกครอง ๕๐ คน คิดเป็น ๕.๕๙ %

๒. เพศ ชาย ๓๙๗ คน คิดเป็น ๔๗.๒๖ % หญิง ๔๔๓ คน คิดเป็น ๕๒.๗๔ %

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจ “ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ” เกณฑ์ คะแนน ๕ = มากท่ีสุด, ๔ = มาก, ๓= ปานกลาง, ๒ = น้อย และ ๑ = น้อยที่สุด

ข้อ ประเด็น ระดับความพึงพอใจ

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การปลูกจิตส านึก พฤติกรรมของท่าน ๑.๑ ท่านตระหนักถงึความส าคัญของโรงเรียนปลอดขยะ ๕๙๒ ๒๑๒ ๓๖ ๑.๒ ทุกคนมีส่วนร่วมในการด าเนนิโรงเรียนปลอดขยะ ๕๑๙ ๒๒๒ ๙๙ ๑.๓ การจัดกิจกรรมการประกวดต่างๆ ในโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ฝึกนิสัย

ในการรักษาความสะอาด เช่น การประกวดห้องเรียนสะอาด ๖๐๓ ๒๑๔ ๒๓

๑.๔ ท่านรู้จักวิธกีารคัดแยกขยะ ๖๕๖ ๑๕๕ ๒๙ ๑.๕ ท่านสามารถน าขยะที่มีประโยชน์ไปรไีซเคิล ให้เกิดประโยชนไ์ดม้ากที่สุด ๕๗๗ ๑๘๕ ๗๘ ๒. ความเป็นระเรียบ เรียนร้อย และความสะอาดในโรงเรียน ๒.๑ โรงเรียนมีความสะอาดร่มรื่นเหมาะแก่การศกึษา ๖๕๒ ๑๗๖ ๑๒ ๒.๒ อาคารเรียนทุกอาคารมีความสะอาดอย่างเหมาะสม ๕๖๐ ๑๗๒ ๙๗ ๑๑ ๒.๓ ถังขยะพอเพียงต่อปริมาณขยะแต่ละวัน ๕๖๔ ๒๖๕ ๑๑ ๒.๔ ในบริเวณโรงเรียนมีถงัขยะที่แยกประเภทอย่างชัดเจน ๕๔๔ ๒๗๖ ๒๐ ๒.๕ ได้รับความร่วมมือจากชุมชนและหน่วยงานราชการในการดูแลรักษาความ

สะอาดเป็นอย่างด ี๖๐๐ ๑๙๑ ๔๙

เฉล่ียรวม ๖๙.๘๕ ๒๔.๖๒ ๕.๔๐ ๐.๑๓ ๐.๐๐ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................... ..................................................... ........................................................................................................................

Page 52: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๕๒

Page 53: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๕๒

Page 54: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๕๒

Page 55: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๕๒

Page 56: ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ ...¸£ายงาน... · 2017-01-11 · ๔ ส่วนที่ ๒ นโยบายและแผนการด

๕๒