การชักน าให้เกิดแคลลัสและต้น...

1
การชักนาให้เกิดแคลลัสและต้นใหม่ของข้าวเหนียวอุบล 2 ด้วยการเพาะเมล็ดข้าวเหนียวอุบล 2 บนอาหารสังเคราะห์สูตร MS (Murashingr and Skoog, 1962) ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต 2, 4 –D (2,4-Dichrolophenoxy acetic acid) ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 2 2.5 และ 3 มก./. เป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม 2, 4 –D ทุกความ เข้มข้นสามารถชักนาให้เกิดแคลลัสได้ ยกเว้นอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ปราศจาก 2, 4 –D และพบว่าอาหารสูตรที่เหมาะสมต่อ การชักนาให้เมล็ดข้าวเหนียวอุบล 2 เจริญเป็นแคลลัสได้ดี ภายหลังจากการเพาะเลี้ยงในสภาวะที่ได้รับแสงและที่มืด คือ อาหาร สูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้มข้น 2.5 มก./. โดยมีเปอร์เซ็นต์การสร้างแคลลัสสูงสุดเท่ากับ 61.17 และ 69.50 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ และขนาดแคลลัสเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 0.51 และ 0.54 ซม. ตามลาดับ จากนั้นย้ายแคลลัสมาเพาะเลี้ยงบนอาหาร สังเคราะห์สูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BA (N 6 -benzyladenine) และ Kinetin (6-furfuryl amino purine) ความเข้มข้น 0 1 2 3 4 และ 5 มก./. เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA Kinetin ที่ระดับความเข้มข้น 2 และ 5 มก./. สามารถชักนาให้แคลลัสพัฒนาเป็นต้นใหม่ได้ Callus induction and plant regeneration in rice (Oryza sativa L.) cv. Niaw Ubon 2 were studied after culturing on MS (Murashige and Skoog, 1962) medium supplemented with 2,4-D (2,4-Dichrolophenoxy acetic acid) at the concentration of 0 0.5 1 1.5 2 2.5 and 3 mg/l, and cultured for 4 weeks. The results showed that the optimal concentration of 2,4-D for callus induction was 2.5 mg/l. The highest percentage of callus induction after culture under light and dark condition were 61.17 and 69.50 percent, respectively. The highest avevages size of callus was 0.51 and 0.54 cm. after culturing under light and dark condition, respectively. Callus were then transferred to MS medium supplemented with BA (N 6 -benzyladenine) and kinetin (6-furfuryl amino purine) at the concentration of 0 1 2 3 4 and 5 mg/l cutured for 8 weeks. The result showed that MS medium added with 2 and 5 mg/l of BA can induce shoot formation. ข้าวเหนียวเป็นข้าวที่ได้รับการคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์จนได้ข้าวที่มีเมล็ดข้าวเหนียว เรียวยาว สีขาว ข้าวเหนียวเมื่อนึ่ง สุกจะนุ่มเหนียว และมีกลิ่นหอม คุณสมบัติที่สาคัญของข้าวเหนียวอุบล 2 เป็นข้าวเหนียวมีโปรตีนสูงถึง 12.5 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ คาร์โบไฮเดรต 70 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณอะไมโลส 16 เปอร์เซ็นต์ และ ยังประกอบไปด้วยธาตุเหล็ก สังกะสี ทองแดง แคลเซียม และ โพแทสเซียม ซึ่งสูงกว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105 นอกจากนี้ลักษณะเด่นของข้าวเหนียวอุบล 2 ที่พบนอกจากคุณค่าทางโภชนาการ คือ มีลักษณะทรงกอแผ่ต้นเตี้ยแตกกอดี ใบสีเขียวเข้ม ใบธงตั้งตรง รวงแน่นปานกลาง คอรวงสั้น เมล็ดมีน้าหนักดี อายุสั้นเพียง 90 วัน ทาให้สามารถปลูกได้ถึง 3 ครั้งต่อปี ดังนั้นหากได้รับการจัดการที่เหมาะสมในการปลูกอาจส่งผลให้มีผลผลิตต่อปีสูงกว่า ข้าวพันธุ์อื่นๆ ( อนุรักษ์ โพธิ์เอี่ยม และคณะ , 2555) ปัจจุบันจึงได้มีการประยุกต์ใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เพื่อการ ขยายพันธุ์พืชได้สายพันธุ์ที่มีคุณภาพ รวมถึงการเพิ่มปริมาณต้นพืชเพื่อการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์และการอนุรักษ์ รวมทั้งด้าน การค้าเชิงพาณิชย์ เนื่องด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเป็นเทคนิคที่สามารถเพิ่มปริมาณต้นพืชจานวนมาก มีคุณภาพ ใช้ เวลาน้อย มีเปอร์เซ็นต์การกลายพันธุ์ต่าและได้พืชที่ปราศจากโรค (อภิชาต จันละคร, 2555) ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาความเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการชักนาเมล็ดข้าว เหนียวอุบล 2 เจริญเป็นแคลลัส และต้นใหม่ เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการขยายพันธุ์ข้าวเหนียวอุบล 2 ต่อไปในอนาคต 1. แกะเปลือกเมล็ดข้าวแล้วล้าง ด้วยนายาล้างจานจากนั้น ล้างด้วยนาที่ไหลผ่าน 2. นาเมล็ดแช่ในแอลกอฮอล์ 70 % เป็นเวลา 5 นาที 3. แช่สารละลายคลอรอกช์ 30 % ร่วมกับ Tween 20 2-3 หยด นาน 30 นาที (เขย่าตลอดเวลา) 4. ล้างด้วยนากลั่นที่ผ่านการนึ่งฆ่า เชื้อแล้ว 3 ครั้งๆ ละ 5 นาที 5. ย้ายไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS+2.4-D ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 2 2.5 และ 3 มก./. 6. นาไปเพาะเลี้ยงในห้อง เพาะเลี้ยงที่ได้รับแสง 16 ซม./วัน บันทึกการเกิดแคลลัส 1. นาแคลลัสที่ได้จากการ ทดลองที1 ไปเพาะเลี้ยงบน อาหาร สูตร MS ที่เติม BA 2. ย้ายไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS+BA ความเข้มข้น 0 1 2 3 4 และ 5 มก./. 3. นาไปเพาะเลี้ยงในห้องเพาะเลี้ยง ที่ได้รับแสง 16 ซม./วัน บันทึกการเกิดต้นใหม่ ภาพที2 ต้นใหม่ของข้าวเหนียวอุบล 2 จากการเพาะเลี้ยงแคลลัสบน อาหารสูตร MS ที่เติม () BA 2 มก./. และ () BA 5 มก./. ภาพที1 เปรียบเทียบอิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต 2, 4-D ต่อการชักนาให้เมล็ดข้าวเหนียวอุบล 2 พัฒนา เป็นแคลลัส () เมื่อเพาะเลี้ยงในสภาพที่ได้รับแสง และ () ในสภาพที่มืด 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 จากการศึกษาอิทธิพลของ 2,4-D ร่วมกับอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เหมาะสมต่อการชักนาให้เมล็ดข้าวเหนียวอุบล 2 เจริญเป็นแคลลัส ที่ระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน เมื่อเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต 2,4-D ความเข้มข้นสามารถชักนาให้เกิดแคลลัสได้ ยกเว้นในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ ปราศจากการเติม 2,4-D ไม่สามารถชักนาให้เกิดแคลลัสได้ และพบว่าอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม 2,4-D ที่ระดับความ เข้มข้น 2 .5 มก ./ . มีขนาดแคลลัสในสภาพแสง เฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 0.51 และในสภาพมืด 0.54 ซม . ตามลาดับ ซึ่ง แตกต่างจากงานวิจัยของ อนุรักษ์ โพธิ์เอี่ยม และคณะ (2555) รายงานว่าอาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้มข้น 0.5 1 3 และ 5 มก./ . ซูโครส 30 ./. พบว่าทุกสูตรอาหารสามารถชักนาให้เกิดแคลลัสได้ แต่สูตรอาหารที่สามารถชักนาให้เกิด แคลลัสได้ขนาดใหญ่ที่สุดคือ 2,4-D ที่ความเข้มข้น 3 มก./. จากนั้นย้ายแคลลัสมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BA และ Kinetin ที่ ระดับความเข้มข้น 0 1 2 3 4 และ 5 มก./ล ที่แตกต่างกัน เพาะเลี้ยงเป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าอาหารสูตรที่เติม BA 2 และ 5 มก./. สามารถชักนาให้แคลลัสเกิดเป็นต้นใหม่ได้ ซึ่งแตกต่างจากงานวิจัยของ Manman et al. (2013) ศึกษา การย้ายแคลลัสไปเพาะเลี้ยงบนอาหารที่เติม BAP 0.5 มก./. และ IBA 0.1 มก./. สามารถชักนาทาให้เกิดต้นจานวนมาก คณะผู้วิจัยขอขอบคุณสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี และ เจ้าหน้าที่สาขาชีววิทยาที่ได้อานวยความสะดวกในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ และสารเคมีต่างๆ ในการ ทาวิจัยในครั้งนีอนุรักษ์ โพธิ์เอี่ยม รัญญิการ์ โปราหา ราริ ช้อนทอง อรสา จันทิมา และ แสงทอง พงษ์เจริญกิจ. 2555. การชักนา แคลลัสและการเพาะเลี้ยงเซลล์แขวนลอยของข้าวเหนียวสายพันธุ์ข้าวโปร่งไคร้ . การประชุมวิชาการ แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน กรุงเทพฯ. Manman, M. A., et al. “Indirect plant regeneration in aromatic rice (Oryza sativa L.) var. ‘Kalijiraand Chinigura’,” Acta Agriculturae Slovenica. 101 (2013): 231-238. การทดลองที1 การชักนาให้เกิดแคลลัสของข้าวเหนียวอุบล 2 การทดลองที2 การศึกษาอิทธิพลของ BA และ Kinetin ต่อการชักนาให้แคลลัสพัฒนาไปเป็นต้นใหม่ 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 จากการชักนาให้เกิดแคลลัสและต้นใหม่ของข้าวเหนียวอุบล 2 ด้วยการเพาะเมล็ดข้าวเหนียวอุบล 2 บนอาหารสังเคราะห์ สูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต 2, 4 –D ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 2 2.5 และ 3 มก./. เป็นเวลา 4 สัปดาห์ และ เพาะเลี้ยงภายใต้สภาวะที่ได้รับแสง และในที่มืด พบว่าอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม 2, 4 –D ทุกความเข้มข้นสามารถชักนา ให้เกิดแคลลัสได้ ยกเว้นอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ปราศจาก 2, 4 –D (ภาพที1) และพบว่าอาหารสูตรที่เหมาะสมต่อการชัก นาให้เมล็ดข้าวเหนียวอุบล 2 เจริญเป็นแคลลัส ได้ดี เมื่อเพาะเลี้ยงในสภาวะที่ได้รับแสง และที่มืด คือ อาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D คาวเข้มข้น 2.5 มก./. โดยมีมีเปอร์เซ็นต์การสร้างแคลลัสสูงสุดเท่ากับ 61.17 และ 69.50 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับขนาด แคลลัสเท่ากับ 0.51 และ 0.54ซม. ตามลาดับ เมื่อเพาะเลี้ยงในสภาพที่ได้รับแสงและในสภาพที่มืด (ตารางที1 และ 2) ผลการทดลองที1 ผลการชักนาให้เกิดแคลลัสของข้าวเหนียวอุบล 2 สูตรอาหาร 2,4-D มก./. เปอร์เซ็นต์การเกิดแคลลัสเฉลี่ย ± S.E. สภาพที่ได้รับแสง สภาพมืด 1 0 - - 2 0.5 37.50±4.725 43.83±6.250 3 1 42.96±7.143 50.14±7.753 4 1.5 50.25±6.820 59.48±8.097 5 2 50.00±9.449 42.86±4.611 6 2.5 61.17±8.448 62.50±47.306 7 3 47.50±5.833 46.88±7.376 ตารางที1 เปอร์เซ็นต์การเกิดแคลลัสเมื่อเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม 2, 4-D ระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกันและเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 4 สัปดาห์ภายใต้สภาพที่ได้รับแสงและสภาพมืด สูตรอาหาร 2,4-D มก./. ขนาดของแคลลัสเฉลี่ย(ซม.) ± S.E. สภาพที่ได้รับแสง สภาพมืด 1 0 - - 2 0.5 0.54±0.0256 0.52±0.0365 3 1 0.46±0.0428 0.58±0.067 4 1.5 0.49±0.0333 0.52±0.0400 5 2 0.51±0.0229 0.50±0.0368 6 2.5 0.51±0.0294 0.54±0.028 7 3 0.46±0.0264 0.58±0.0280 ตารางที2 ขนาดของแคลลัสเฉลี่ยเมื่อเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ทีเติม 2, 4-D ระดับความ เข้มข้นที่แตกต่างกัน และเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 4 สัปดาห์ ภายใต้สภาวะที่ได้รับแสง และในสภาพที่มืด จากนั้นย้ายแคลลัสมาเพาะเลี้ยงบนอาหาร สังเคราะห์สูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BA และ Kinetin ความเข้มข้น 0 1 2 3 4 และ 5 มก./ . เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่ เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 2 และ 5 มก./. สามารถ ชักนาให้แคลลัสพัฒนาเป็นต้นใหม่ได้ (ภาพที2) ผลการทดลองที2 ผลการศึกษาอิทธิพลของ BA และ Kinetin ต่อการชักนาให้แคลลัสพัฒนาไปเป็นต้นใหม่

Upload: others

Post on 16-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การชักน าให้เกิดแคลลัสและต้น ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015194.pdfความเข มข น 0 0.5 1 1.5 2

การชกน าใหเกดแคลลสและตนใหมของขาวเหนยวอบล 2 ดวยการเพาะเมลดขาวเหนยวอบล 2 บนอาหารสงเคราะหสตร MS (Murashingr and Skoog, 1962) ทเตมสารควบคมการเจรญเตบโต 2, 4 –D (2,4-Dichrolophenoxy acetic acid) ความเขมขน 0 0.5 1 1.5 2 2.5 และ 3 มก./ล. เปนเวลา 4 สปดาห พบวาอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตม 2, 4 –D ทกความเขมขนสามารถชกน าใหเกดแคลลสได ยกเวนอาหารสงเคราะหสตร MS ทปราศจาก 2, 4 –D และพบวาอาหารสตรทเหมาะสมตอการชกน าใหเมลดขาวเหนยวอบล 2 เจรญเปนแคลลสไดด ภายหลงจากการเพาะเลยงในสภาวะทไดรบแสงและทมด คอ อาหารสตร MS ทเตม 2,4-D ความเขมขน 2.5 มก./ล. โดยมเปอรเซนตการสรางแคลลสสงสดเทากบ 61.17 และ 69.50 เปอรเซนต ตามล าดบ และขนาดแคลลสเฉลยสงสดเทากบ 0.51 และ 0.54 ซม. ตามล าดบ จากนนยายแคลลสมาเพาะเลยงบนอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตมสารควบคมการเจรญเตบโต BA (N6-benzyladenine) และ Kinetin (6-furfuryl amino purine) ความเขมขน 0 1 2 3 4 และ 5 มก./ล. เปนเวลา 8 สปดาห พบวา อาหารสตร MS ทเตม BA Kinetin ทระดบความเขมขน 2 และ 5 มก./ล. สามารถชกน าใหแคลลสพฒนาเปนตนใหมได Callus induction and plant regeneration in rice (Oryza sativa L.) cv. Niaw Ubon 2 were studied after culturing on MS (Murashige and Skoog, 1962) medium supplemented with 2,4-D (2,4-Dichrolophenoxy acetic acid) at the concentration of 0 0.5 1 1.5 2 2.5 and 3 mg/l, and cultured for 4 weeks. The results showed that the optimal concentration of 2,4-D for callus induction was 2.5 mg/l. The highest percentage of callus induction after culture under light and dark condition were 61.17 and 69.50 percent, respectively. The highest avevages size of callus was 0.51 and 0.54 cm. after culturing under light and dark condition, respectively. Callus were then transferred to MS medium supplemented with BA (N6-benzyladenine) and kinetin (6-furfuryl amino purine) at the concentration of 0 1 2 3 4 and 5 mg/l cutured for 8 weeks. The result showed that MS medium added with 2 and 5 mg/l of BA can induce shoot formation.

ขาวเหนยวเปนขาวทไดรบการคดเลอกและพฒนาพนธจนไดขาวทมเมลดขาวเหนยว เรยวยาว สขาว ขาวเหนยวเมอนงสกจะนมเหนยว และมกลนหอม คณสมบตทส าคญของขาวเหนยวอบล 2 เปนขาวเหนยวมโปรตนสงถง 12.5 เปอรเซนต ปรมาณคารโบไฮเดรต 70 เปอรเซนต ปรมาณอะไมโลส 16 เปอรเซนต และ ยงประกอบไปดวยธาตเหลก สงกะส ทองแดง แคลเซยม และโพแทสเซยม ซงสงกวาขาวขาวดอกมะล 105 นอกจากนลกษณะเดนของขาวเหนยวอบล 2 ทพบนอกจากคณคาทางโภชนาการ คอ มลกษณะทรงกอแผตนเตยแตกกอด ใบสเขยวเขม ใบธงตงตรง รวงแนนปานกลาง คอรวงสน เมลดมน าหนกด อายสนเพยง 90 วน ท าใหสามารถปลกไดถง 3 ครงตอป ดงนนหากไดรบการจดการทเหมาะสมในการปลกอาจสงผลใหมผลผลตตอปสงกวาขาวพนธอนๆ (อนรกษ โพธเอยม และคณะ, 2555) ปจจบนจงไดมการประยกตใชเทคนคการเพาะเลยงเนอเยอพช เพอการขยายพนธพชไดสายพนธทมคณภาพ รวมถงการเพมปรมาณตนพชเพอการขยายพนธ ปรบปรงพนธและการอนรกษ รวมทงดานการคาเชงพาณชย เนองดวยเทคนคการเพาะเลยงเนอเยอพชเปนเทคนคทสามารถเพมปรมาณตนพชจ านวนมาก มคณภาพ ใชเวลานอย มเปอรเซนตการกลายพนธต าและไดพชทปราศจากโรค (อภชาต จนละคร, 2555) ดงนนในการศกษาครงนจงมงเนนศกษาความเขมขนของสารควบคมการเจรญเตบโตทเหมาะสมตอการชกน าเมลดขาวเหนยวอบล 2 เจรญเปนแคลลส และตนใหม เพอน าขอมลทไดไปประยกตใชในการขยายพนธขาวเหนยวอบล 2 ตอไปในอนาคต

ผลการทดลองท 1 การชกน าใหเกดแคลลสของขาวเหนยวอบล 2

ผลการทดลองท 2 ผลการศกษาอทธพลของ (BA) และ Kinetin ตอการชกน าใหเกดแคลลสพฒนาไปเปนตนใหม

วธด าเนนการทดลอง

1. แกะเปลอกเมลดขาวแลวลางดวยน ายาลางจานจากนน

ลางดวยน าทไหลผาน

2. น าเมลดแชในแอลกอฮอล 70 % เปนเวลา 5 นาท

3. แชสารละลายคลอรอกช 30 % รวมกบ Tween 20 2-3 หยด นาน

30 นาท (เขยาตลอดเวลา)

4. ลางดวยน ากลนทผานการนงฆาเชอแลว 3 ครงๆ ละ 5 นาท

5. ยายไปเพาะเลยงบนอาหารสตร MS+2.4-D ความเขมขน 0 0.5 1

1.5 2 2.5 และ 3 มก./ล.

6. น าไปเพาะเลยงในหองเพาะเลยงทไดรบแสง 16 ซม./วน

บนทกการเกดแคลลส

1. น าแคลลสทไดจากการทดลองท 1 ไปเพาะเลยงบนอาหาร สตร MS ทเตม BA

2. ยายไปเพาะเลยงบนอาหารสตร MS+BA ความเขมขน 0 1 2 3 4

และ 5 มก./ล .

3. น าไปเพาะเลยงในหองเพาะเลยงทไดรบแสง 16 ซม./วน บนทกการเกดตนใหม

ภาพท 2 ตนใหมของขาวเหนยวอบล 2 จากการเพาะเลยงแคลลสบน อาหารสตร MS ทเตม (ก) BA 2 มก./ล. และ (ข) BA 5 มก./ล.

ภาพท 1 เปรยบเทยบอทธพลของสารควบคมการเจรญเตบโต 2, 4-D ตอการชกน าใหเมลดขาวเหนยวอบล 2 พฒนา เปนแคลลส (ก) เมอเพาะเลยงในสภาพทไดรบแสง และ (ข) ในสภาพทมด

0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 ก

จากการศกษาอทธพลของ 2,4-D รวมกบอาหารสงเคราะหสตร MS ทเหมาะสมตอการชกน าใหเมลดขาวเหนยวอบล 2 เจรญเปนแคลลส ทระดบความเขมขนทแตกตางกน เมอเพาะเลยงเปนเวลา 4 สปดาห พบวาอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตมสารควบคมการเจรญเตบโต 2,4-D ความเขมขนสามารถชกน าใหเกดแคลลสได ยกเวนในอาหารสงเคราะหสตร MS ทปราศจากการเตม 2,4-D ไมสามารถชกน าใหเกดแคลลสได และพบวาอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตม 2,4-D ทระดบความเขมขน 2.5 มก./ล. มขนาดแคลลสในสภาพแสง เฉลยสงสด เทากบ 0.51 และในสภาพมด 0.54 ซม. ตามล าดบ ซงแตกตางจากงานวจยของ อนรกษ โพธเอยม และคณะ (2555) รายงานวาอาหารสตร MS ทเตม 2,4-D ความเขมขน 0.5 1 3 และ 5 มก./ล. ซโครส 30 ก./ล. พบวาทกสตรอาหารสามารถชกน าใหเกดแคลลสได แตสตรอาหารทสามารถชกน าใหเกดแคลลสไดขนาดใหญทสดคอ 2,4-D ทความเขมขน 3 มก./ล. จากนนยายแคลลสมาเพาะเลยงบนอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตมสารควบคมการเจรญเตบโต BA และ Kinetin ทระดบความเขมขน 0 1 2 3 4 และ 5 มก./ล ทแตกตางกน เพาะเลยงเปนเวลา 8 สปดาห พบวาอาหารสตรทเตม BA 2 และ 5 มก./ล. สามารถชกน าใหแคลลสเกดเปนตนใหมได ซงแตกตางจากงานวจยของ Manman et al. (2013) ศกษาการยายแคลลสไปเพาะเลยงบนอาหารทเตม BAP 0.5 มก./ล. และ IBA 0.1 มก./ล. สามารถชกน าท าใหเกดตนจ านวนมาก

คณะผวจยขอขอบคณสาขาวชาชววทยา คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลยราชภฏอบลราชธาน และเจาหนาทสาขาชววทยาทไดอ านวยความสะดวกในการจดหาวสดอปกรณ เครองมอ และสารเคมตางๆ ในการท าวจยในครงน

อนรกษ โพธเอยม รญญการ โปราหา ราร ชอนทอง อรสา จนทมา และ แสงทอง พงษเจรญกจ. 2555. การชกน า แคลลสและการเพาะเลยงเซลลแขวนลอยของขาวเหนยวสายพนธขาวโปรงไคร. การประชมวชาการ แหงชาต มหาวทยาลยเกษตรศาสตร วทยาเขตก าแพงแสน กรงเทพฯ. Manman, M. A., et al. “Indirect plant regeneration in aromatic rice (Oryza sativa L.) var. ‘Kalijira’ and ‘Chinigura’,” Acta Agriculturae Slovenica. 101 (2013): 231-238.

การทดลองท 1 การชกน าใหเกดแคลลสของขาวเหนยวอบล 2

การทดลองท 2 การศกษาอทธพลของ BA และ Kinetin ตอการชกน าใหแคลลสพฒนาไปเปนตนใหม

0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 ข

จากการชกน าใหเกดแคลลสและตนใหมของขาวเหนยวอบล 2 ดวยการเพาะเมลดขาวเหนยวอบล 2 บนอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตมสารควบคมการเจรญเตบโต 2, 4 –D ความเขมขน 0 0.5 1 1.5 2 2.5 และ 3 มก./ล. เปนเวลา 4 สปดาห และเพาะเลยงภายใตสภาวะทไดรบแสง และในทมด พบวาอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตม 2, 4 –D ทกความเขมขนสามารถชกน าใหเกดแคลลสได ยกเวนอาหารสงเคราะหสตร MS ทปราศจาก 2, 4 –D (ภาพท 1) และพบวาอาหารสตรทเหมาะสมตอการชกน าใหเมลดขาวเหนยวอบล 2 เจรญเปนแคลลส ไดด เมอเพาะเลยงในสภาวะทไดรบแสง และทมด คอ อาหารสตร MS ทเตม 2,4-D คาวเขมขน 2.5 มก./ล. โดยมมเปอรเซนตการสรางแคลลสสงสดเทากบ 61.17 และ 69.50 เปอรเซนต ตามล าดบขนาดแคลลสเทากบ 0.51 และ 0.54ซม. ตามล าดบ เมอเพาะเลยงในสภาพทไดรบแสงและในสภาพทมด (ตารางท 1 และ 2)

ผลการทดลองท 1 ผลการชกน าใหเกดแคลลสของขาวเหนยวอบล 2

สตรอาหาร 2,4-D มก./ล. เปอรเซนตการเกดแคลลสเฉลย ± S.E. สภาพทไดรบแสง สภาพมด

1 0 - -

2 0.5 37.50±4.725 43.83±6.250 3 1 42.96±7.143 50.14±7.753 4 1.5 50.25±6.820 59.48±8.097 5 2 50.00±9.449 42.86±4.611 6 2.5 61.17±8.448 62.50±47.306 7 3 47.50±5.833 46.88±7.376

ตารางท 1 เปอรเซนตการเกดแคลลสเมอเพาะเลยงบนสตรอาหาร MS ทเตม 2, 4-D ระดบความเขมขนทแตกตางกนและเพาะเลยงเปนเวลา 4 สปดาหภายใตสภาพทไดรบแสงและสภาพมด

สตรอาหาร 2,4-D มก./ล. ขนาดของแคลลสเฉลย(ซม.) ± S.E. สภาพทไดรบแสง สภาพมด

1 0 - -

2 0.5 0.54±0.0256 0.52±0.0365 3 1 0.46±0.0428 0.58±0.067 4 1.5 0.49±0.0333 0.52±0.0400 5 2 0.51±0.0229 0.50±0.0368 6 2.5 0.51±0.0294 0.54±0.028 7 3 0.46±0.0264 0.58±0.0280

ตารางท 2 ขนาดของแคลลสเฉลยเมอเพาะเลยงบนสตรอาหาร MS ทเตม 2, 4-D ระดบความ เขมขนทแตกตางกน และเพาะเลยงเปนเวลา 4 สปดาห ภายใตสภาวะทไดรบแสง และในสภาพทมด

จากนนยายแคลลสมาเพาะเลยงบนอาหารสงเคราะหสตร MS ทเตมสารควบคมการเจรญเตบโต BA และ Kinetin ความเขมขน 0 1 2 3 4 และ 5 มก./ล. เปนเวลา 8 สปดาห พบวา อาหารสตร MS ทเตม BA ทระดบความเขมขน 2 และ 5 มก./ล. สามารถชกน าใหแคลลสพฒนาเปนตนใหมได (ภาพท 2)

ผลการทดลองท 2 ผลการศกษาอทธพลของ BA และ Kinetin ตอการชกน าใหแคลลสพฒนาไปเปนตนใหม