การสังเคราะห และลักษณะบ งชี้ของเส...

1
precursor การสังเคราะหและลักษณะบงชี้ของเสนใยนาโนคอมโพสิท CuO/ZnO ที่มีโครงสรางเฮตเทอโร ดวยเทคนิคอิเล็กโทรสปนนิง Synthesis and Characterization of CuO/ZnO Composite Nanofibers with Heterostructured based on Electrospinning Technique จุฬาลักษณ จันทรคร 1* , รณฤทธิ์ นาโควงศ 2 , รมยธีรา เชื้อโชติ 3 1*,2 ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาราชภัฏอุบลราชธานี, อําเภอเมือง , จังหวัดอุบลราชธานี, 34000 3 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อําเภอเมือง , จังหวัดอุบลราชธานี, 34000 C.Chantharakhon 1* , R.Nakhowong 2 , R.Chueachot 3 1*,2 Department of Physics, Faculty of Science, Ubon Ratchatani Rajabhat University, Ubon Ratchatani, 34000,Thailand. 3 Department of Science, Faculty of Chemistry, Ubon Ratchatani Rajabhat University, Ubon Ratchatani, 34000, Thailand. บทคัดยอ การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค เพื่อที่จะศึกษาการเตรียมเสนใยนาโนคอมโพสิต จากพอลิไวนิลแอลกอฮอลล (Polyvinyl alcohol)/ คอปเปอรออกไซด (Copper oxide) / ซิงคออกไซด (Zinc oxide) ดวยเทคนิคอิเล็กโทรสป นนิง และศึกษาผลของอุณหภูมิแคลไซน โดยใชสารตั้งตนซิงคอะซิเตด(Zinc acetate) และคอปเปอรอะซิเตด(Copper acetate) จากอัตราสวนโมลาร CuO / ZnO ในอัตราสวน คือ 1:1 และ 2:1 ตามลําดับ ใชคาความตาง ศักยไฟฟา 14 kV ระหวางปลายเข็มถึงวัสดุรองรับและควบคุมอัตราการไหลของสาร 0.5 mL/hr เมื่อสังเคราะหเสนใยไดถูกนํามาศึกษาลักษณะบงชี้โดยเทคนิค Thermogravimetric/differential thermal analysis (TG/DTA) , X-ray diffraction (XRD), Scanning electron microscopy (SEM) และ Fourier transform infrared (FT-IR) พบวา การวิเคราะหสมบัติ XRD จะแสดงใหเห็นถึง ผลของอุณหภูมิที่แตกตางกันที่มีตอองคประกอบเฟสของผลึก CuO / ZnO และจากภาพ SEM จะเห็นรูปรางลักษณะของเสนใยนาโนมีลักษณะที่เรียบและไมเปนระเบียบ โดยขนาดเสนผาศูนยกลางของเสนใยนาโนลดลง ภายหลังการแคลไซนที่อุณหภูมิสูงขึ้น จากผลเหลานี้ เปนลักษณะสัณฐาน วิทยาและโครงสรางผลึกของเสนใยนาโนคอมโพสิทโดยอุณหภูมิแคลไซน คําสําคัญ : คอปเปอรออกไซด/ซิงคออกไซด ,เสนใยนาโน,โครงสรางเฮตเทอโร ,อิเล็กโตรสปนนิง 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการเตรียมและการสังเคราะห CuO/ZnO ดวยกระบวนการโซลเจลและสังเคราะหเสนใยนาโน โดยวิธีอิเล็กโทรสปนนิ่ง 2. เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิแคลไซน (Calcination temperature) ศึกษาลักษณะบงชี(characterization) ของเสนใยที่สังเคราะห โดยเทคนิค TG/DTA, XRD, FTIR และ SEM 3. วิธีการทดลอง TG/DTA Calcination XRD SEM , FTIR 1. บทนํา ในปจจุบันเทคนิคการปนเสนใยดวยไฟฟาสถิต(Electrospinning)แปนกระบวนการผลิตในระดับนาโนเมตร ที่ไดรับความสนใจ ซึ่งมีคุณสมบัติที่พิเศษโดดเดนกวา คือ มีอัตราสวนระหวางพื้นที่ผิวตอปริมาตรสูง (surface- to-volume ratio) และมีขนาดรูพรุนที่เล็ก(Pore size) จึงเปนที่ไดรับความนิยม ซึ่งเทคนิคอิเล็กโตรสปนนิงไดถูก นํามาเตรียมเสนใยนาโนของวัสดุพอลิเมอรผสมจากวัสดุผสมของซิงคออกไซดและคอปเปอรออกไซด อยางสาร ดังกลาวทางเทคนิคนี้ คือ การทําใหเกิดศักยไฟฟาระหวางหยดของสารละลายพอลิเมอรที่ปลายหัวฉีดกับวัสดุ ขางตน โดยอาศัยกระบวนการที่เปนฉากรับ ทําใหสารละลายพอลิเมอรเกิดประจุขึ้น เมื่อใหศักยไฟฟามาก พอที่จะเอาชนะแรงตึงผิวที่หยดของสารละลายพอลิเมอร สารละลายจะถูกพุงออกไปยังฉากรับ ทําใหเกิดเสนใยทีมีขนาดเล็กมากระดับไมโครเมตรจนถึงระดับนาโนเมตรได ดวยสมบัติที่โดดเดนของเสนใยนาโนและการ ประยุกตใชงานไดหลากหลาย ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงไดทําการสังเคราะหสารเพื่อใหเกิดเสนใยนาโนจาก กระบวนการอิเล็กโตรสปนนิ่ง รวมทั้งศึกษาผลของอุณหภูมิแคลไซน (Calcination temperature)ที่อุณหภูมิทีแตกตางกันและลักษณะบงชี้ของเสนใยนาโนเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาชิ้นงาน และนําไปประยุกตใชงานไดใน ดานตางๆตอไป 0 200 400 600 800 1000 -120 -100 -80 -60 -40 -20 0 20 40 TG DTA Temperature ( o C) % Weigt loss -120 -100 -80 -60 -40 -20 0 20 40 60 DTA ( µ V) 4. ผลการทดลอง ผลการทดลองในรูปภาพที2 แสดงผลการวิเคราะหสมบัติ ทางความรอนของสารลักษณะของกราฟ TG ซึ่งพบการลดลง ของนํ้าหนักประมาณ 90% เทียบกับนํ้าหนักเริ่มต้น กราฟ DTA แสดงให้เห็นอีกว่ามีพีคการคายพลังงานความร้อนและ จะลดลงจนช่วงอุณหภูมิ 550 o C แสดงว่าที่อุณหภูมิ 550 o C เป็นต้นไป มีการสลายพอลิเมอร์อย่างสมบูรณ์แล้ว ส่วน รูปที3 เป็นการวิเคราะห์เพื่อหมู ่ฟังก์ชันของสารอินทรีย์ และอนินทรีย์ ซึ่งพบว่ามีการแสดงตัวกลุ ่มฟังก์ชันที่แสดง สารประกอบของคอปเปอร์ /ซิงค์ออกไซด์ ซึ่งภายหลังการแคล ไซน์พบว่ามีการสั่นของกลุ ่ม v Cu-O และ v Zn-O ที่เป็นพันธะ โลหะออกไซด์ ที่ตรงตําแหน่ง 531 ซม -1 นั่นแสดงว่า มีการ สลายตัวของสารประกอบโมเลกุลอินทรีย์อย่างสมบูรณ์ รูปที4 และ 5 เปนกราฟ XRD กอนเผาซึ่งเปนอะมอรฟส และ หลังการแคลไซนที่อุณหูมิแตกตางกัน พบวามีการแสดงเฟสของ CuO/ZnO อยางเดนชัดมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งผลึกของ คอปเปอร์ออกไซด์จะมีโครงสร้างเแบบโมโนคลินิก และ ผลึก โครงสร้างของซิงค์ออกไซด์มีโครงสร้างแบบเฮกซะโกนอล โดย (*) เป็นเครื่องหมายแสดงสัญลักษณ์ของผลึกคอปเปอร์ ออกไซด์ และในรูปที6 เป็นภาพ SEM ที่ก่อนการแคลไซน์ และหลังการแคลไซน์ทั้งสองสองอัตราส่วน ที่อุณหภูมิ 500 o C จะเห็นรูปรางลักษณะของเสนใยนาโนมีลักษณะที่เรียบและไม เปนระเบียบ โดยขนาดเสนผาศูนยกลางของเสนใยนาโนลดลง ภายหลังการแคลไซนที่อุณหภูมิสูงขึ้น Charecterization PVA 12% Stirring 3 h. T=60 ° C CuA 1g: dI 10 mL Stirring 1 h. T=60 ° C ZnA 1 g:dI 10 mL Stirring 1 h. T=60 ° C CuA 1 g : ZnA 1 g : PVA 20 mL Stirring 3 h. T=60 ° C Electrospinning รูปที1. แผนผังการทดลอง Cu-O, Zn-O C=C N-H C=N กิตติกรรมประกาศ ในการทําวิจัยในครั้งนี้จะสําเร็จลุลวงดวยดีดวยความอนุเคราะหจากอาจารยที่ใหคําปรึกษาและใหความ ชวยเหลือในตลอดระยะเวลาของการทําวิจัยฉบับนี้ จากอาจารยรณฤทธินาโควงศ และอาจารยรมยธีรา เชื้อ โชติ รวมไปถึงขอขอบพระคุณคณาจารยสาขาภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี และสถานทีเครื่องมือในการทําวิจัย เครื่องมือที่ใชวิเคราะหตางๆ และบิดา มารดา เพื่อนๆที่คอยชวยเหลือและใหกําลังใจ จนทําใหงานวิจัยฉบับนี้สําเร็จลุลวงมาไดอยางสมบูรณ จึงใครขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี5. สรุปผลการทดลอง การเตรียมเสนใยนาโนคอมโพสิต จาก PVA/ CuO/ZnO ดวยเทคนิคอิเล็กโทรสปนนิง และ ศึกษาผลของอุณหภูมิแคลไซน พบวาเมื่อ สังเคราะหเสนใยไดแลวถูกนํามาศึกษาลักษณะบงชีโดยเทคนิค TG/DTA, XRD, SEM และ FT-IR พบวา ผลของอุณหภูมิที่แตกตางกันมีผลตอ องคประกอบเฟสของผลึก CuO / ZnO และจาก ภาพ SEM จะเห็นรูปรางลักษณะของเสนใยนาโนมี ลักษณะที่เรียบและไมเปนระเบียบ โดยขนาด เสนผาศูนยกลางของเสนใยนาโนลดลง ภายหลัง การแคลไซนที่อุณหภูมิสูงขึ้น เอกสารอางอิง [1] วิวัฒน นวลสิงห . การสังเคราะหเสนใยนาโนพอลิเมอรและเซรามิ กดวยวิธีอิเล็กโตรสปนนิ่ง . วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกส บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน,2549. [2] G. Nixon Samuel Vijayakumar a,b , S. Devashankar b , M. Rathnakumari b , P. Sureshkumar c,* . Synthesis of electrospun ZnO/CuO nanocomposite fibers and their dielectric and non-linear optic studies. ( a Department of Physics, R.M.K. Engineering College, R.S.M. Nagar, Kavaraipettai 601206, India , b Materials Research Centre, Department of Physics, Velammal Engineering College, Chennai 600066, TN, India, c Department of Physics, Saveetha School of Engineering, Saveetha University, Thandalam, Chennai 602105, India), 2010. รูปภาพที2 แสดงอุณหภูมิการสลายตัวของเสนใยนาโน ZnO/CuO โดยใชเทคนิค TG/DTA รูปภาพที3 สเปกตรัมที่ไดจากเทคนิค FT-IR ของเสนใยนาโนคอมโพสิต กอนและหลังการแคลไซนที่อุณหภูมิ 600 0 C รูปภาพที4รูปแบบการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซของเสนใยนาโน ZnO/CuO ที่แคลไซน 600 o C รูปภาพที5 รูปแบบการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซของเสนใยนาโน ZnO/CuO กอนเผาแคลไซนและที่แคลไซน 400 o C,500 o C และ600 o C เปนเวลา 3 ชม. รูปภาพที6 ภาพ SEM ของเสนใยนาโน CuO/ZnO ที่อัตราสวน 1:1 () กอนการเผาแคลไซนที่ ความตางศักย 14 kV () หลังการแคลไซนที่อุณหภูมิ 500 o C () เสนใยนาโน CuO/ZnO ที่อัตราสวน 2:1 กอนการเผาแคลไซนที่ ความตางศักย 14 kV () หลังการแคลไซนที่อุณหภูมิ 500 o C

Upload: others

Post on 06-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การสังเคราะห และลักษณะบ งชี้ของเส นใยนาโนคอมโพสิท …nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015258.pdfCuO/ZnO

precursor

การสังเคราะหและลักษณะบงชี้ของเสนใยนาโนคอมโพสทิ CuO/ZnO ทีมี่โครงสรางเฮตเทอโร

ดวยเทคนิคอิเล็กโทรสปนนิงSynthesis and Characterization of CuO/ZnO Composite Nanofibers with Heterostructured based

on Electrospinning Techniqueจุฬาลักษณ จันทรคร1*, รณฤทธิ์ นาโควงศ2, รมยธรีา เช้ือโชติ3

1*,2ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาราชภัฏอุบลราชธาน,ี อําเภอเมือง , จังหวัดอุบลราชธานี, 340003ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน,ี อําเภอเมือง , จังหวัดอุบลราชธานี, 34000

C.Chantharakhon1*, R.Nakhowong2 , R.Chueachot3

1*,2 Department of Physics, Faculty of Science, Ubon Ratchatani Rajabhat University, Ubon Ratchatani, 34000,Thailand. 3 Department of Science, Faculty of Chemistry, Ubon Ratchatani Rajabhat University, Ubon Ratchatani, 34000, Thailand.

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค เพื่อท่ีจะศึกษาการเตรียมเสนใยนาโนคอมโพสิต จากพอลิไวนิลแอลกอฮอลล (Polyvinyl alcohol)/ คอปเปอรออกไซด (Copper oxide) / ซิงคออกไซด (Zinc oxide) ดวยเทคนิคอิเล็กโทรสป

นนิง และศึกษาผลของอุณหภูมิแคลไซน โดยใชสารตั้งตนซิงคอะซิเตด(Zinc acetate) และคอปเปอรอะซิเตด(Copper acetate) จากอัตราสวนโมลาร CuO / ZnO ในอัตราสวน คือ 1:1 และ 2:1 ตามลําดับ ใชคาความตาง

ศักยไฟฟา 14 kV ระหวางปลายเข็มถึงวัสดุรองรับและควบคุมอัตราการไหลของสาร 0.5 mL/hr เม่ือสังเคราะหเสนใยไดถูกนํามาศึกษาลักษณะบงชี้โดยเทคนิค Thermogravimetric/differential thermal analysis (TG/DTA) ,

X-ray diffraction (XRD), Scanning electron microscopy (SEM) และ Fourier transform infrared (FT-IR) พบวา การวิเคราะหสมบัติ XRD จะแสดงใหเห็นถึง ผลของอุณหภูมิท่ีแตกตางกันท่ีมีตอองคประกอบเฟสของผลึก

CuO / ZnO และจากภาพ SEM จะเห็นรูปรางลักษณะของเสนใยนาโนมีลักษณะท่ีเรียบและไมเปนระเบียบ โดยขนาดเสนผาศูนยกลางของเสนใยนาโนลดลง ภายหลังการแคลไซนท่ีอุณหภูมิสูงขึ้น จากผลเหลานี้ เปนลักษณะสัณฐาน

วิทยาและโครงสรางผลึกของเสนใยนาโนคอมโพสิทโดยอุณหภูมิแคลไซน

คําสําคัญ : คอปเปอรออกไซด/ซิงคออกไซด ,เสนใยนาโน,โครงสรางเฮตเทอโร ,อิเล็กโตรสปนนิง

2. วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาการเตรียมและการสังเคราะห CuO/ZnO ดวยกระบวนการโซลเจลและสังเคราะหเสนใยนาโน

โดยวิธีอิเล็กโทรสปนนิ่ง

2. เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิแคลไซน (Calcination temperature) ศึกษาลักษณะบงชี้(characterization)

ของเสนใยท่ีสังเคราะห โดยเทคนิค TG/DTA, XRD, FTIR และ SEM

3. วิธีการทดลอง

TG/DTA

Calcination

XRD

SEM , FTIR

1. บทนํา

ในปจจุบันเทคนิคการปนเสนใยดวยไฟฟาสถิต(Electrospinning)แปนกระบวนการผลิตในระดับนาโนเมตร

ท่ีไดรับความสนใจ ซึ่งมีคุณสมบัติท่ีพิเศษโดดเดนกวา คือ มีอัตราสวนระหวางพื้นท่ีผิวตอปริมาตรสูง (surface-

to-volume ratio) และมีขนาดรูพรุนท่ีเล็ก(Pore size) จึงเปนท่ีไดรับความนิยม ซึ่งเทคนิคอิเล็กโตรสปนนิงไดถูก

นํามาเตรียมเสนใยนาโนของวัสดุพอลิเมอรผสมจากวัสดุผสมของซิงคออกไซดและคอปเปอรออกไซด อยางสาร

ดังกลาวทางเทคนิคนี้ คือ การทําใหเกิดศักยไฟฟาระหวางหยดของสารละลายพอลิเมอรท่ีปลายหัวฉีดกับวัสดุ

ขางตน โดยอาศัยกระบวนการท่ีเปนฉากรับ ทําใหสารละลายพอลิเมอรเกิดประจุขึ้น เมื่อใหศักยไฟฟามาก

พอท่ีจะเอาชนะแรงตึงผิวท่ีหยดของสารละลายพอลิเมอร สารละลายจะถูกพุงออกไปยังฉากรับ ทําใหเกิดเสนใยท่ี

มีขนาดเล็กมากระดับไมโครเมตรจนถึงระดับนาโนเมตรได ดวยสมบัติท่ีโดดเดนของเสนใยนาโนและการ

ประยุกตใชงานไดหลากหลาย ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงไดทําการสังเคราะหสารเพื่อใหเกิดเสนใยนาโนจาก

กระบวนการอิเล็กโตรสปนนิ่ง รวมท้ังศึกษาผลของอุณหภูมิแคลไซน(Calcination temperature)ท่ีอุณหภูมิท่ี

แตกตางกันและลักษณะบงชี้ของเสนใยนาโนเพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาชิ้นงาน และนําไปประยุกตใชงานไดใน

ดานตางๆตอไป

0 200 400 600 800 1000-120

-100

-80

-60

-40

-20

0

20

40

TG DTA

Temperature (oC)

% W

eigt

loss

-120

-100

-80

-60

-40

-20

0

20

40

60

DTA

(µV)

4. ผลการทดลอง

ผลการทดลองในรูปภาพท่ี 2 แสดงผลการวิเคราะหสมบัติทางความรอนของสารลกัษณะของกราฟ TG ซึง่พบการลดลง

ของนํา้หนกัประมาณ 90% เทียบกบันํา้หนกัเร่ิมต้น กราฟ

DTA แสดงให้เห็นอีกว่ามีพีคการคายพลงังานความร้อนและ

จะลดลงจนช่วงอณุหภมิู 550 o C แสดงว่าท่ีอณุหภมิู 550 o C เป็นต้นไป มีการสลายพอลเิมอร์อย่างสมบรูณ์แล้ว ส่วน

รูปท่ี 3 เป็นการวิเคราะห์เพ่ือหมู่ฟังก์ชนัของสารอินทรีย์และอนินทรีย์ ซึง่พบว่ามีการแสดงตวักลุ่มฟังก์ชนัท่ีแสดง

สารประกอบของคอปเปอร์/ซงิค์ออกไซด์ ซึง่ภายหลงัการแคล

ไซน์พบว่ามีการสัน่ของกลุ่ม vCu-O และ vZn-O ท่ีเป็นพนัธะ

โลหะออกไซด์ ท่ีตรงตําแหน่ง 531 ซม-1 นัน่แสดงว่า มีการสลายตวัของสารประกอบโมเลกลุอินทรีย์อย่างสมบรูณ์

รูปท่ี 4 และ 5 เปนกราฟ XRD กอนเผาซึ่งเปนอะมอรฟส และ

หลังการแคลไซนท่ีอุณหูมิแตกตางกัน พบวามีการแสดงเฟสของCuO/ZnO อยางเดนชัดมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึง่ผลกึของคอปเปอร์ออกไซด์จะมีโครงสร้างเแบบโมโนคลินิก และ ผลกึ

โครงสร้างของซงิค์ออกไซด์มีโครงสร้างแบบเฮกซะโกนอล โดย

(*) เป็นเคร่ืองหมายแสดงสญัลกัษณ์ของผลกึคอปเปอร์

ออกไซด์ และในรูปท่ี 6 เป็นภาพ SEM ท่ีก่อนการแคลไซน์

และหลงัการแคลไซน์ทัง้สองสองอตัราส่วน ท่ีอณุหภมิู 500oC

จะเห็นรูปรางลักษณะของเสนใยนาโนมีลักษณะท่ีเรียบและไม

เปนระเบียบ โดยขนาดเสนผาศูนยกลางของเสนใยนาโนลดลง

ภายหลังการแคลไซนท่ีอุณหภูมิสูงขึ้น

Charecterization

PVA 12%

Stirring 3 h. T=60 ° C

CuA 1g: dI 10 mL

Stirring 1 h. T=60 ° C

ZnA 1 g:dI 10 mL

Stirring 1 h. T=60 ° C

CuA 1 g : ZnA 1 g : PVA 20 mLStirring 3 h. T=60 ° C

Electrospinning

รูปที่ 1. แผนผังการทดลอง

Cu-O, Zn-O

C=C

N-H

C=N

กิตติกรรมประกาศ

ในการทําวิจัยในคร้ังนี้จะสําเร็จลุลวงดวยดีดวยความอนุเคราะหจากอาจารยท่ีใหคําปรึกษาและใหความ

ชวยเหลือในตลอดระยะเวลาของการทําวิจัยฉบับนี้ จากอาจารยรณฤทธ์ิ นาโควงศ และอาจารยรมยธีรา เช้ือ

โชติ รวมไปถึงขอขอบพระคุณคณาจารยสาขาภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี และสถานท่ี

เคร่ืองมือในการทําวิจัย เคร่ืองมือท่ีใชวิเคราะหตางๆ และบิดา มารดา เพื่อนๆท่ีคอยชวยเหลือและใหกําลังใจ

จนทําใหงานวิจัยฉบับนี้สําเร็จลุลวงมาไดอยางสมบูรณ จึงใครขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

5. สรุปผลการทดลอง

การเตรียมเสนใยนาโนคอมโพสิต จากPVA/

CuO/ZnO ดวยเทคนิคอิ เ ล็กโทรสปนนิง และ

ศึกษาผลของอุณหภูมิ แคลไซน พบว า เมื่ อ

สังเคราะหเสนใยไดแลวถูกนํามาศึกษาลักษณะบงชี้

โดยเทคนิค TG/DTA, XRD, SEM และ FT-IR

พบวา ผลของอุณหภูมิ ท่ีแตกตางกันมีผลตอ

องคประกอบเฟสของผลึก CuO / ZnO และจาก

ภาพ SEM จะเห็นรูปรางลักษณะของเสนใยนาโนมี

ลักษณะท่ีเรียบและไมเปนระเบียบ โดยขนาด

เสนผาศูนยกลางของเสนใยนาโนลดลง ภายหลัง

การแคลไซนท่ีอุณหภูมิสูงขึ้น

เอกสารอางอิง

[1] วิวัฒน นวลสิงห. การสังเคราะหเสนใยนาโนพอลิเมอรและเซรามิ

กดวยวิธีอิเล็กโตรสปนนิ่ง.วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาฟสิกส บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน,2549.

[2] G. Nixon Samuel Vijayakumara,b, S. Devashankarb, M.

Rathnakumari b, P. Sureshkumarc,*. Synthesis of electrospun

ZnO/CuO nanocomposite fibers and their dielectric and

non-linear optic studies. ( a Department of Physics, R.M.K.

Engineering College, R.S.M. Nagar, Kavaraipettai 601206, India ,b

Materials Research Centre, Department of Physics, Velammal

Engineering College, Chennai 600066, TN, India, c Department of

Physics, Saveetha School of Engineering, Saveetha University,

Thandalam, Chennai 602105, India), 2010.

รูปภาพท่ี 2 แสดงอุณหภูมิการสลายตัวของเสนใยนาโน ZnO/CuO

โดยใชเทคนิค TG/DTA

รูปภาพท่ี 3 สเปกตรัมท่ีไดจากเทคนิค FT-IR ของเสนใยนาโนคอมโพสิต

กอนและหลังการแคลไซนท่ีอุณหภูมิ 600 0C

รูปภาพท่ี 4รูปแบบการเลีย้วเบนรงัสีเอ็กซของเสนใยนาโน ZnO/CuO

ท่ีแคลไซน 600oC

รูปภาพท่ี 5 รูปแบบการเลีย้วเบนรังสีเอ็กซของเสนใยนาโน ZnO/CuO

กอนเผาแคลไซนและท่ีแคลไซน 400oC,500oC และ600oC เปนเวลา 3 ชม.

รูปภาพท่ี 6 ภาพ SEM ของเสนใยนาโน CuO/ZnO ท่ีอัตราสวน 1:1 (ก) กอนการเผาแคลไซนท่ี ความตางศักย 14 kV

(ข) หลังการแคลไซนท่ีอุณหภมูิ 500oC (ค) เสนใยนาโน CuO/ZnO ท่ีอัตราสวน 2:1 กอนการเผาแคลไซนท่ี ความตางศักย 14 kV

(ง) หลังการแคลไซนท่ีอุณหภูมิ 500oC